36
#include ......... <stdio.h> void main() { statement; ………………………….; } 1 โครงสร้างภาษาซี

7 2โครงสร้าง

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 7 2โครงสร้าง

#include ......... <stdio.h>

void main()

{

statement;

………………………….;

}

1

โครงสร้างภาษาซี

Page 2: 7 2โครงสร้าง

Main () function ส่วนฟังกช์นัหลกั ทุก ๆ โปรแกรมจะต้องมี โปรแกรมเร่ิมท ำงำนจำกค ำสัง่แรกถดัจำก

main() แต่ละประโยคต้องจบด้วย ; เร่ิมต้นด้วย main() ตำมด้วย { และจบด้วย }

2

Page 3: 7 2โครงสร้าง

3

statement • ก าหนดค่าคงที่ต่างๆ

เช่น a = 0; b = 500;

• การก าหนดตัวแปรต่างๆ

เช่น int a,b; float a,b;

• ค าส่ังการท างานของโปรแกรม

เช่น printf(“My name is”);

Page 4: 7 2โครงสร้าง

ชนิดตัวแปร Int = จ ำนวนเต็ม + , -

float = เลขทศนิยม

char = ตัวอักษร

bool = ค่ำลอจิก ถูก/ผิด

Page 5: 7 2โครงสร้าง

การก าหนดชนดิขอ้มลูทีจ่ะใชใ้นโปรแกรมซึง่ตวัแปรหรอืขอ้มลูตา่ง ๆ น ัน้จะตอ้งถกูประกาศในสว่นนีก้อ่น จงึจะสามารถน าไปใช้

ในโปรแกรมได ้ เชน่ เป็นการก าหนดวา่ตวัแปร stdno เป็นขอ้มลูชนดิจ านวนเต็ม หรอื interger ซึง่อาจไดแ้กค่า่ 0,4,-1,-3,…. เป็นตน้ เป็นการก าหนดวา่ตวัแปร score เป็นขอ้มลูชนดิเลขมจีดุ ทศนยิม (floating point)ซึง่อาจมคีา่ 0.23, 1.34 เป็นตน้

ประกาศตวัแปร

int stdno;

float score;

Page 6: 7 2โครงสร้าง

กำรแสดงผลและรบัค่ำข้อมลูเข้ำ

6

ฟังกช์นัแสดงผลข้อมลู 1. printf()

2. putchar()

3. puts()

Page 7: 7 2โครงสร้าง

1. ฟังกช์นั printf(); เป็นฟังกช์นัในกำรพิมพข้์อควำมต่ำง ๆ ออกทำง

จอภำพ ต้องท ำกำร #include “stdio.h” รปูแบบ

7

printf(“ข้อความ รหัส”,ตัวแปร);

Page 8: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั printf : ตวัอย่ำง

8

printf(“Computer Programming 1”);

printf(“Computer\nProgramming 1”);

printf(“Result is %f”,area);

printf(“Result is\n%f”,area);

Page 9: 7 2โครงสร้าง

#include “stdio.h” void main() { printf(“Hello World”); //พิมพค์ ำว่ำ Hello World ออกมำ }

9

Hello World

Page 10: 7 2โครงสร้าง

#include “stdio.h” void main()

{ printf(“Hello\n”); printf(“World”); }

10

Hello

World

Page 11: 7 2โครงสร้าง

#include “stdio.h” void main() { printf(“Hello\n”); printf(“World\n”); }

11

Hello

World

Page 12: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั printf : รหสัแบก็สแลช

12

รหสัแบ็กสแลช อกัขระ

\a bell (กระดิง่ )

\b backspace

\t แท็บตามแนวนอน

\n ขึน้บรรทดัใหม ่

\v แท็บตามแนวต ัง้

\f ขึน้หนา้ใหม ่

\r ปดัแคร ่

\” อญัประกาศ

\’ อะโพสโตรฟิ

\? เครือ่งหมายค าถาม

\\ แบ็กสแลช

\0 นลั

Page 13: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั printf : รหสัควบคมุกำรพิมพ ์

13

Page 14: 7 2โครงสร้าง

2. ฟังกช์นั putchar() เป นฟ งก ชนัท่ีมีกำรแสดงผลทำงจอภำพครัง้ละ

1 ตวัอกัษร ต้องท ำกำร #include “stdio.h” รปูแบบ

14

putchar(variable);

Page 15: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั putchar : ตวัอย่ำง

15

#include “stdio.h”

void main ( ) {

char s;

s = ‘A’;

putchar(s);

}

A

Page 16: 7 2โครงสร้าง

3. ฟังกช์นั puts() เป นฟ งก ชนัท่ีมีกำรแสดงผลทำงจอภำพ ใช้เมื่อต องกำรแสดงผลของข อมูลท่ีเป นตวัอกัษร

ควำมยำวมำกกว ำ 1 ตวั variable หมำยถึง ข อมูลท่ีต องกำรแสดงผล จะต

องเป น ข อมลูชนิดตวัอกัษรควำมยำวตัง้แต 1 ตวัอกัษร

รปูแบบ

16

puts(variable);

Page 17: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั puts : ตวัอย่ำง

17

#include “stdio.h”

#include<string.h>

void main ( ) {

char str[30];

str = “C Programming”;

strcpy(str,”C programming”);

puts(str);

printf(“\nOutput = %s\n”,str);

}

C Programming

Page 18: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั clrscr();

18

เป็นฟังกช์นัในเคลียรจ์อภำพ ต้องท ำกำร #include “conio.h” รปูแบบ

#include <conio.h>

void main()

{

clrscr();

............... }

Page 19: 7 2โครงสร้าง

กำรแสดงผลและรบัค่ำข้อมลูเข้ำ

19

ฟังกช์นัรบัข้อมลูเข้ำ 1. scanf()

2. getchar()

3. getch(), getche()

4. gets()

Page 20: 7 2โครงสร้าง

1. ฟังกช์นั scanf() เป็นฟังกช์นัในกำรอ่ำนค่ำจำกกำรกดคียบ์อรด์ไป

เกบ็ในตวัแปรท่ีก ำหนด หลงัจำกกด Enter ข อมลูจะถกูเกบ็ไว ในตวั

แปร และเคอร เซอร จะขึน้บรรทดัใหม่ ต้องท ำกำร include “stdio.h” รปูแบบ

20

scanf(“Control String”,arg1,arg2,arg3,..);

Page 21: 7 2โครงสร้าง

21

scanf(“%d%f”,&a,&b);

%d%f a,b

22 30 a b …22 30….

Input Stream int a; float b; scanf(“%d%f”,&a,&b);

Page 22: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั Scanf : ตวัอย่ำง

22

int num; scanf(“%d”,&num); printf(“the value in num variable is %d”,num);

char str[80]; printf(“Enter a string : ”); scanf(“%s”,str); printf(“Here ‘s your string : %s”, str);

Page 23: 7 2โครงสร้าง

#include < stdio.h > void main ( ) { int years; printf (“How long have you been here? ”); scanf (“%d”, &years); printf (“You’ve been here for %d years.”, years); printf (“\tReally?”); }

23

How long have you been here? 20

You’ve been here for 20 years. Really?

Page 24: 7 2โครงสร้าง

2. ฟังกช์นั getchar() เป็นฟังกช์นัใช ส ำหรบัป อนตวัอกัษรผ ำนทำงแป

นพิมพ โดยจะรบัตวัอกัษร 1 ตวัเท ำนัน้ และแสดงตวัอกัษรบนจอภำพ

เมื่อโปรแกรมท ำงำนถึงค ำสัง่น้ี จะหยดุเพื่อให ปอนตวัอกัษร 1 ตวั หลงัจำกกด Enter ตวัอกัษรป อนจะถกูเกบ็ไว ในตวัแปร ซ่ึงเป นชนิดตวัอกัษร และเคอร เซอร จะขึน้บรรทดัใหม

รปูแบบ

24

ch = getchar();

Page 25: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั getchar : ตวัอย่ำง

25

#include “stdio.h”

void main ( ) {

char ch;

ch = getchar();

printf(“The Character you typed is %c\n”, ch);

}

d

The Character you typed is d

Page 26: 7 2โครงสร้าง

เป นฟ งก ชนัในกำรรบัข อมูล 1 อกัษรโดยจะปรำกฎตวัอกัษรให เหน็ในกำรป อนข อมูล และไม ต องกด Enter

รปูแบบ

3. ฟังกช์นั getch(),getche() เป นฟ งก ชนัในกำรรบัข อมูล 1 อกัษรโดยไม

ปรำกฎอกัษรให เหน็ในกำรป อนข อมูล และไม ต องกด Enter

รปูแบบ

26

ch = getch();

ch = getche();

ตอ้งก ำหนด #include<conio.h>

Page 27: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั getch : ตวัอย่ำง

27

#include “stdio.h”

#include “conio.h”

void main ( ) {

char ch;

ch = getch();

printf(“The Character you typed is %c\n”, ch);

}

The Character you typed is d

Page 28: 7 2โครงสร้าง

4. ฟังกช์นั gets() เป นฟ งก ชนัในกำรรบัข อมลูชนิดสตริงก

หรือข อควำมซ่ึงป อนทำงแป นพิมพ เมื่อโปรแกรมท ำงำนถึงค ำสัง่น้ี จะหยดุเพื่อให ป

อน ข อควำม หลงัจำกกด Enter ข อควำมทัง้หมดจะถกู

เกบ็ไว ในตวัแปรท่ีเป นอำร เรย สตริงก และเคอร เซอร จะขึน้บรรทดัใหม

รปูแบบ

28

gets(variable);

Page 29: 7 2โครงสร้าง

ฟังกช์นั gets : ตวัอย่ำง

29

#include “stdio.h”

void main ( ) {

char str[51];

gets(str);

printf(“The Message you typed is %s\n”, str);

}

test

The Message you typed is test

Page 30: 7 2โครงสร้าง

เครือ่งหมายทีใ่ชค้ านวณในภาษาซเีรยีกวา่ ตวัด าเนนิการ (Operator) มดีงันี ้

เครือ่งหมายทีใ่ชค้ านวณในภาษาซ ี

ตวัด ำเนนิกำร ควำมหมำย ตวัอยำ่ง ผลลพัธ ์

+ กำรบวก 6 + 8 14

- กำรลบ 7 – 5 2

* กำรคณู 3 * 4 12

/ กำรหำร 8/2 4

- ลบ (ยนูำรเีครือ่งหมำยลบ) -5 -5

% โมดลูสั

(หำเศษเหลอืจำกกำรหำร)

7 % 2 1

4 % 2 0

Page 31: 7 2โครงสร้าง

ท าไดโ้ดยระบชุนดิทีต่อ้งการเปลีย่นภายใน เครือ่งหมาย ( ) แลว้วางหนา้ตวัแปรหรอืขอ้มลู ทีต่อ้งการเปลีย่นแปลงชนดิ ตวัอยา่ง ถา้ในโปรแกรมภาษาซมีกีารประกาศ ตวัแปรเป็น ตอ้งการเปลีย่นตวัแปร float ไปเป็น integer ท าไดด้งันี ้

การเปลีย่นชนดิของขอ้มลู

float money;

(int) money;

Page 32: 7 2โครงสร้าง

นพิจนก์ าหนดคา่ (Assignment expression) เครือ่งหมายทีใ่ชก้ าหนดคา่คอื = โดยเป็นการ ก าหนดคา่ทางขวาของเครือ่งหมาย ใหก้บัตวัแปร ทีอ่ยูท่างซา้ย เชน่

นพิจนก์ าหนดคา่

j = 7+2;

k = k + 4;

หรอื

Page 33: 7 2โครงสร้าง

นพิจนก์ าหนดคา่

สญัลกัษณ ์ ความหมาย

> มากกวา่

< นอ้ยกวา่

>= มากกวา่หรอืเทา่กบั

<= นอ้ยกวา่หรอืเทา่กบั

== เทา่กบั

!= ไมเ่ทา่กบั

Page 34: 7 2โครงสร้าง

ความแตกตา่งของเครือ่งหมาย = และ == o เครือ่งหมาย = เป็นตวัก าหนดคา่ o เครือ่งหมาย == เป็นเครือ่งหมายเปรยีบเทยีบ

ตวัอยา่งเชน่ หมายถงึ เป็นการก าหนดคา่ใหก้บัตวัแปร point ใหม้คีา่เทา่กบั 44 หมายถงึ เป็นการตรวจสอบวา่คา่ point มคีา่เทา่กบั 44 หรอืไม ่

นพิจนก์ าหนดคา่

point = 44;

point == 44;

Page 35: 7 2โครงสร้าง

เครือ่งหมายและนพิจนเ์ปรยีบเทยีบแบบ ตรรกศาสตร ์ && หมายถงึ และ (and) | | หมายถงึ หรอื (or) ! หมายถงึ ไม ่ (not) ตวัอยา่งเชน่ จะไดค้า่ความจรงิเป็นจรงิก็ตอ่เมือ่ a และ b เป็นจรงิท ัง้คู ่ จะไดค้า่ความจรงิเป็นเท็จก็ตอ่เมือ่ a และ b เป็นเท็จท ัง้คู ่

เครือ่งหมายและนพิจนแ์บบตรรกศาสตร ์

a && b

a || b

Page 36: 7 2โครงสร้าง

สามารถใชเ้ครือ่งหมายตอ่ไปนีแ้ทนการเพิม่หรอื ลดคา่ของตวัแปร ++ เป็นการเพิม่คา่ใหก้บัตวัแปรทลีะ 1 -- เป็นการลดคา่ตวัแปรทลีะ 1 ตวัอยา่งเชน่ ++n เป็นการเพิม่คา่ n อกี 1 --n เป็นการลดคา่ n ลง 1 ความแตกตา่งระหวา่ง n++ และ ++n เชน่ n = 5; x = n++; จะไดค้า่ x เทา่กบั 5 แลว้คา่ n เทา่กบั 6 แตถ่า้ x = ++n; จะไดค้า่ x เทา่กบั 6

การเพิม่คา่และลดคา่ตวัแปร