8
ผลของเชื้อเห็ดตับเตา (Boletus colossus Heim.) ไอโซเลทตางๆ ตอการเติบโตทางกิ่งใบ และมวลชีวภาพของตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ Various Isolates of Bolete (Boletus colossus Heim.) Spawn Affecting Vegetative Growth and Biomass of ‘Okinawa’ Guava Seedlings ปานทิพย ขันวิชัย 1 และ ประภาพร ตั้งกิจโชติ 1 Panthip Kanwichai 1 and Prapaporn Tangkijchote 1 บทคัดยอ การศึกษาผลของเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลทตางๆ ตอการเติบโตทางกิ่งใบและมวลชีวภาพของตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ วางแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ (CRD) มี 4 ทรีทเมนต คือ เชื้อเห็ดตับเตา 3 ไอโซเลท: BE TR1 TR2 และไมใสเชื้อเห็ดตับเตา (ชุดควบคุม) บันทึกขอมูลการเติบโต ทุก 30 วัน และมวลชีวภาพ ทุก 60 วัน หลัง การยายปลูก รวม 180 วัน พบวาเชื้อเห็ดตับเตาทําใหคาเฉลี่ยความสูง จํานวนใบที่แตกใหม และดัชนีความเขียว ใบ แตกตางกัน โดยการปลูกเชื้อเห็ดตับเตา TR1 สงผลใหตนกลาฝรั่ง อายุ 180 วัน มีความสูง และจํานวนใบทีแตกใหม เฉลี่ยสูงสุด เทากับ 108.3 ซม. และ 4.4 ใบ/ตน ตามลําดับ แตตนควบคุมมีคาดัชนีความเขียวใบเฉลี่ย สูงสุด เทากับ 34.1 SPAD unit นอกจากนี้ยังพบวามวลชีวภาพของตนกลาฝรั่งทุกทรีทเมนตมีคาเฉลี่ยมวลแหงทั้ง ตน และมวลแหงสวนเหนือดินไมแตกตางกัน แตมวลแหงรากใหญ และมวลแหงรากแขนง แตกตางกัน โดยตน ควบคุมและตนที่ปลูกเชื้อเห็ดตับเตา TR2 มีคาเฉลี่ยดังกลาวสูงสุด เทากับ 3.9 และ 1.7 กรัม ตามลําดับ Abstract The various isolates of bolete spawn on vegetative growth and biomass of ‘Okinawa’ guava seedlings were studied using a completely randomized design (CRD) with 4 treatments, bolete spawn 3 isolates: BE, TR1, TR2 and without spawn (control). The growth and biomass were respectively recorded every 30 days and 60 days after transplanting for 180 days. It was found that the average height, number of new leaves and leaf chlorophyll content from the treatments were different. The inoculation with bolete spawn TR1 gave the 180-day old guava seedlings the maximum average height and number of new leaves of 108.3 centimeters and 4.4 leaves per plant, respectively, but the control had the maximum mean in leaf chlorophyll content of 34.1 SPAD unit. Moreover, it was found that the biomass of all treatments were not different in total dry mass and shoot dry mass. But the control and the inoculated plants with bolete spawn TR2 had the maximum average in dry mass of root stump and lateral roots of 3.9 and 1.7 grams, respectively. Key words: bolete spawn, growth, biomass e-mail address: [email protected] คํานํา 1 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม 1 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakhon Pathom.

7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

ผลของเชื้อเห็ดตับเตา (Boletus colossus Heim.) ไอโซเลทตางๆ ตอการเติบโตทางกิ่งใบและมวลชีวภาพของตนกลาฝร่ัง ‘Okinawa’

Various Isolates of Bolete (Boletus colossus Heim.) Spawn Affecting Vegetative Growth andBiomass of ‘Okinawa’ Guava Seedlings

ปานทิพย ขันวิชัย1 และ ประภาพร ตั้งกิจโชต1ิ

Panthip Kanwichai1 and Prapaporn Tangkijchote1

บทคัดยอการศึกษาผลของเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลทตางๆ ตอการเติบโตทางกิ่งใบและมวลชีวภาพของตนกลาฝรั่ง

‘Okinawa’ วางแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ (CRD) มี 4 ทรีทเมนต คือ เชื้อเห็ดตับเตา 3 ไอโซเลท: BE TR1TR2 และไมใสเชื้อเห็ดตับเตา (ชุดควบคุม) บันทึกขอมูลการเติบโต ทุก 30 วัน และมวลชีวภาพ ทุก 60 วัน หลังการยายปลูก รวม 180 วัน พบวาเชื้อเห็ดตับเตาทําใหคาเฉลี่ยความสูง จํานวนใบที่แตกใหม และดัชนีความเขียวใบ แตกตางกัน โดยการปลูกเชื้อเห็ดตับเตา TR1 สงผลใหตนกลาฝรั่ง อายุ 180 วัน มีความสูง และจํานวนใบที่แตกใหม เฉลี่ยสูงสุด เทากับ 108.3 ซม. และ 4.4 ใบ/ตน ตามลําดับ แตตนควบคุมมีคาดัชนีความเขียวใบเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 34.1 SPAD unit นอกจากนี้ยังพบวามวลชีวภาพของตนกลาฝรั่งทุกทรีทเมนตมีคาเฉลี่ยมวลแหงทั้งตน และมวลแหงสวนเหนือดินไมแตกตางกัน แตมวลแหงรากใหญ และมวลแหงรากแขนง แตกตางกัน โดยตนควบคุมและตนที่ปลูกเชื้อเห็ดตับเตา TR2 มีคาเฉลี่ยดังกลาวสูงสุด เทากับ 3.9 และ 1.7 กรัม ตามลําดับ

AbstractThe various isolates of bolete spawn on vegetative growth and biomass of ‘Okinawa’ guava

seedlings were studied using a completely randomized design (CRD) with 4 treatments, boletespawn 3 isolates: BE, TR1, TR2 and without spawn (control). The growth and biomass wererespectively recorded every 30 days and 60 days after transplanting for 180 days. It was found thatthe average height, number of new leaves and leaf chlorophyll content from the treatments weredifferent. The inoculation with bolete spawn TR1 gave the 180-day old guava seedlings the maximumaverage height and number of new leaves of 108.3 centimeters and 4.4 leaves per plant,respectively, but the control had the maximum mean in leaf chlorophyll content of 34.1 SPAD unit.Moreover, it was found that the biomass of all treatments were not different in total dry mass andshoot dry mass. But the control and the inoculated plants with bolete spawn TR2 had the maximumaverage in dry mass of root stump and lateral roots of 3.9 and 1.7 grams, respectively.Key words: bolete spawn, growth, biomasse-mail address: [email protected]

คํานํา

1ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม1 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakhon Pathom.

Page 2: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

ฝรั่ง ‘Okinawa’ เปนพันธุที่ไดจากการรวบรวมและคัดเลือกโดย รศ.ดร.อุณารุจ บุญประกอบ ซึ่งฝรั่งพันธุดังกลาวสามารถเจริญเติบโตไดดี ทนทานตอดินเค็ม (จีรภัทร, 2550) แตผลขนาดเล็ก รสชาติไมอรอย จึงไมเหมาะตอการรับประทานผลสด นอกจากนี้ สมชาย (2549) พบวาฝรั่ง ‘Okinawa’ ทนทานตอไสเดือนฝอยรากปมMeloidogyne incognita และไมแสดงอาการตนโทรม เม่ือเปรียบเทียบกับฝรั่ง ‘แปนสีทอง’ และ ‘Beaumont’ดังนั้นฝรั่งพันธุนี้อาจเหมาะสมในการใชเปนตนตอทนทานตอปญหาที่เกิดกับระบบราก ซึ่งลักษณะตนตอที่ดีตองเติบโตเร็วและมีระบบรากแข็งแรง เพื่อชวยเพิ่มการดูดซับน้ํา และแรธาตุอาหาร นอกจากนี้มีรายงานวาเห็ดตับเตาเปนเชื้อราเอ็คโตไมคอรไรซา (ectomycorrhiza) ที่อาศัยอยูรวมกับรากพืชแบบพึ่งพาอาศัยกัน โดยเสนใยของราเจริญหอหุมรากตนไมเหมือนนวม ชวยใหตนไมดูดซับน้ํา แรธาตุอาหารไดดีขึ้น สงผลใหตนไมเจริญเติบโตดี ในขณะเดียวกันยังปองกันโรคที่เกิดกับรากได (อุทัยวรรณ, 2537) จากการทดลองของประภาพร และคณะ (2554)พบวาการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาใหกับตนกลามะละกอ ‘เม็กซิโก-เกษตร’ ชวยสงเสริมใหตนกลาดังกลาวมีความสูงเสนผานศูนยกลางที่ระดับผิววัสดุปลูก เสนผานศูนยกลางลําตน จํานวนใบที่เกิดขึ้นใหม และพื้นที่ใบเพิ่มขึ้น สวนสาวิตรี (2550) พบวาการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาใหกับตนกลายูคาลิปตัส ชวยสงเสริมใหตนกลาดังกล าวมีความสูงเสนผานศูนยกลางที่ระดับคอราก มวลชีวภาพรวม และปริมาณการดูดซับธาตุอาหารของใบรวมกับลําตนเพิ่มขึ้นดังนั้นการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาใหกับตนกลาฝรั่งอาจเปนแนวทางหนึ่งที่ชวยสงเสริมใหตนฝรั่งเติบโตและทนทานตอโรคทางดินไดมากขึ้น แตยังไมมีรายงานเกี่ยวกับปลูกเชื้อเห็ดดังกลาวใหกับตนกลาฝรั่ง การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อคัดเลือกเชื้อเห็ดตับเตาที่มีประสิทธิภาพสูงในการสงเสริมการเติบโตของตนและรากของกลาฝรั่ง‘Okinawa’ เพื่อใชเปนแนวทางในการผลิตตนตอฝรั่งที่มีประสิทธิภาพและทนทานตอปญหาที่เกิดกับรากรวมทั้งไสเดือนฝอยรากปม และคาดวาจะสามารถนําไปประยุกตใชกับไมผลชนิดอ่ืนตอไป

อุปกรณและวิธีการการเตรียมตนกลาฝรั่ง โดยคัดเลือกตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ อายุ 6 เดือน ลักษณะสมบูรณแข็งแรง

ขนาดใกลเคียงกัน จํานวน 48 ตน ในถาดเพาะทรงสูง และใชวัสดุปลูก ประกอบดวย แกลบดิบ : ขี้เถาแกลบ : ขุยมะพราว : ทราย : มูลวัว อัตราสวน 1 : 1 : 1 : 1 : 1/2 โดยน้ําหนักรดน้ําวันละ 1 ครั้ง หรือตามสภาพอากาศ

การเตรียมเชื้อเห็ดตับเตา โดยตมเมล็ดขาวเปลือกที่ผานการแชน้ํา 1 คืน ในน้ํา นาน 23-25 นาที คลุกเมล็ดขาวเปลือกสุกในอาหารเหลวพีดีวายบี (potato dextrose yeast extract broth) ซับน้ําสวนเกินออกดวยขุยมะพราว บรรจุเมล็ดขาวเปลือกดังกลาวในขวดสุราแบน ปริมาณ 60 กรัม/ขวด อุดจุกสําลีและนึ่งฆาเชื้อดวยหมอนึ่งความดัน อุณหภูมิ 121˚ซ ความดัน 1.05 กก./ตร.ซม. 25 นาที ตักหัวเชื้อขาวเปลือกของเห็ดตับเตาไอโซเลทBE, TR1 และ TR2 อายุ 30 วัน ดวยเทคนิคปลอดเชื้อ ใสลงในขวดขาวเปลือกสุกขางตน ขวดละ 2 ชอน(ประมาณ 10-15 เมล็ด/ชอนสแตนเลสตักสารเคมี) บมที่อุณหภูมิหอง เฉลี่ย 30±2˚ซ จนเสนใยเจริญทั่วเมล็ดขาวเปลือก ซึ่งใชเวลา 45 วัน สําหรับใชในการทดลองตอไป

การปลูกเชื้อเห็ดตับเตา (เตรียมไวขางตน) โดยยายตนกลาฝรั่งขางตนลงปลูกในกระถางขนาด 6 นิ้วบรรจุวัสดุปลูก (ดินรวน : ทราย : ขุยมะพราว อัตราสวน 1 : 1 : 1 โดยน้ําหนัก) กระถางละ 1 กก. พรอมทั้งใสเชื้อเห็ดตับเตา โดยรองกนหลุมและโรยรอบๆ ตุมราก

Page 3: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

วางแผนการทดลองแบบสุมสมบูรณ (Completely randomized design) มี 4 ทรีทเมนต (เชื้อเห็ดตับเตา 3 ไอโซเลท: BE, TR1 และ TR2) และไมใสเชื้อเห็ดตับเตา (ชุดควบคุม) ทรีทเมนตละ 12 ซ้ํา (ตน) รดน้ําวันละ 1 ครั้ง หรือตามสภาพอากาศ และใสปุยละลายชา (slow-release fertilizers) สูตร 14-14-14 ครั้งละ 10เม็ด/ตน ทุก 2 เดือน บันทึกขอมูล ทุก 30 วัน ต้ังแตวันที่ยายปลูกและปลูกเชื้อเห็ด รวมเปนเวลา 180 วัน โดยบันทึกการเติบโตของตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ ดังนี้ วัดความสูงของตน (ซม.) จากสวนของลําตนที่ระดับขอบกระถางถึงสวนฐานของใบออนที่สุด จํานวนใบที่แตกใหม คาดัชนีความเขียวใบที่เจริญเติบโตเต็มที่ (ใบที่ 2-3จากยอด) ดวยเครื่อง chlorophyll meter รุน SPAD-502 (บริษัท Minolta Camera ประเทศญี่ปุน) ประเมินมวลชีวภาพ (กรัม) ต้ังแตวันที่ยายปลูกและใสเชื้อเห็ด ทุก 60 วัน โดยสุมตัวอยาง ครั้งละ 2 ตน ชั่งมวลแหงของตนรากใหญ และรากแขนง ภายหลังการอบที่อุณหภูมิ 70˚ซ ประมาณ 72 ชั่งโมง จนมวลแหงคงที่ คํานวณสัดสวนการกระจายมวลของสวนตางๆ ของตน วิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยวิธี Analysis of Variance (ANOVA) และเปรียบเทียบคาเฉลี่ยดวยวิธี Duncan’s new multiple range test (DMRT)

ผลจากการศึกษาการเติบโตของตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ ภายหลังการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท BE, TR1

และ TR2 พรอมการยายปลูก เปนเวลา 180 วัน พบวาตนกลาฝรั่งทุกทรีทเมนตมีการเติบโตใกลเคียงกัน(Figure 1) โดยแตละชวงมีการเติบโตทางดานตางๆ ดังนี้

ความสูง ตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาทุกไอโซเลท และตนที่ไมไดปลูกเชื้อเห็ด (ตนควบคุม)สูงขึ้นเล็กนอย ในชวง 0-60 วัน จากนั้นความสูงของตนกลาฝรั่งดังกลาวเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และมีคาสูงสุด เม่ืออายุ 180 วัน โดยตนกลาที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR1 มีความสูงเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 108.3 ซม.รองมาคือ ตนที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR2, BE และตนควบคุม มีความสูงเฉลี่ย 94.0, 92.0 และ88.0 ซม. ตามลําดับ (Figure 2a)

จํานวนใบแตกใหม พบวาตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาทุกไอโซเลท และตนควบคุม มีจํานวนใบมากขึ้น ไมแตกตางกัน จนถึงอายุ 90 วัน หลังยายปลูก แตตนกลาฝรั่งดังกลาวสรางใบใหมมากที่สุดเฉลี่ย 5.3 ใบ/ตน จากนั้นจํานวนใบแตกใหมลดลงและเพิ่มอีกครั้ง จนถึงอายุ 180 วัน และมีคาเฉลี่ยแตกตางกันโดยการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR1 สงผลใหตนกลาฝรั่งมีจํานวนใบเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 4.4 ใบ/ตน รองมาคือ การปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR2, BE และตนควบคุม ซึ่งมีจํานวนใบใหมเฉลี่ย 4.2, 4.0 และ 3.5 ใบ/ตนตามลําดับ (Figure 2b)

คาดัชนีความเขียวใบ พบวาตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาทุกไอโซเลท และตนควบคุม มีคาดัชนีความเขียวใบเพิ่มขึ้นเล็กนอยและคอนขางคงที่ไมแตกตางกัน จนถึงอายุ 90 วัน หลังยายปลูก จากนั้นดัชนีความเขียวใบของตนกลาฝรั่งดังกลาวลดลงและเพิ่มขึ้น ไมแตกตางกัน ในชวง 90-150 วัน แตเม่ือตนกลาอายุ180 วัน พบวาคาดัชนีความเขียวใบลดลงและแตกตางกัน โดยตนควบคุม มีคาดัชนีความเขียวใบเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 34.1 SPAD unit รองมาคือตนที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR1, BE และ TR2 ซึ่งมีคาดัชนีความเขียวใบเฉลี่ย 30.1, 29.4 และ 27.6 SPAD unit ตามลําดับ (Figure 2c)

Page 4: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

Figuere 1 Seedlings of guava ‘Okinawa’ after inoculation with various isolates of bolete spawn for180 days.

Figure 2 Growth of guava ‘Okinawa’ seedling: (a) Plant height (b) Number of new leaves and(c) Leaf chlorophyll contentns Means are not significantly different* Means are significantly different at P< 0.05** Means are significantly different at P< 0.01

control BE TR1 TR2

(a) (b) (c)

Page 5: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

จากการประเมินมวลชีวภาพของตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ ภายหลังการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท BE,TR1 และ TR2 พรอมการยายปลูก เปนเวลา 180 วัน พบวามวลแหงรวมทั้งตน (total dry mass) และมวลแหงสวนเหนือดิน (shoot dry mass) ของตนฝรั่งทุกทรีทเมนตเพิ่มขึ้นตามอายุของตนกลา และไมแตกตางกันตลอดการทดลอง โดยตนกลาที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR1 มีมวลแหงของสวนดังกลาวเฉลี่ยสูงสุดเทากับ 18.1 และ 14.2 กรัม ตามลําดับ (Figure 3a และ 3b) สวนมวลแหงของรากใหญ (root stump dry mass)และรากแขนง (lateral root dry mass) เพิ่มขึ้นตามอายุของกลาและไมแตกตางกันเชนเดียวกัน แตหลังจาก 120วัน เปนตนไป พบวามวลแหงที่เพิ่มขึ้นของสวนดังกลาว แตกตางกัน และมีคาสูงสุด เม่ืออายุ 180 วัน โดยตนควบคุมและตนปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR2 มีมวลแหงรากใหญและรากแขนงสูงสุดไมแตกตางกัน เฉลี่ย 3.9และ 1.7 กรัม ตามลําดับ (Figure 3c และ 3d)

Figure 3 Biomass of guava seedling ‘Okinawa’: (a) Total day mass (b) Shoot dry mass(c) Root stump dry mass and (d) Lateral root dry massns Means are not significantly different* Means are significantly different at P< 0.05

(a) (b)

(c) (d)

Page 6: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

นอกจากนี้เม่ือพิจารณาสัดสวนการกระจายมวลสวนตางๆ ของตน พบวาการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท BE, TR1 และ TR2 สงผลใหตนกลาฝรั่งมีสัดสวนการกระจายมวลแหงสวนเหนือดินเพิ่มขึ้น จนถึงอายุ 120วัน จากนั้นสัดสวนมวลแหงสวนเหนือดินมีแนวโนมลดลง ในขณะที่สัดสวนมวลรากใหญและรากแขนงเพิ่มขึ้นโดยตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาทุกไอโซเลท อายุ 180 วัน มีคาเฉลี่ยสัดสวนมวลแหงสวนเหนือดิน :มวลแหงรากใหญ : มวลแหงรากแขนง เทากับ 72.5 : 20 : 7.5 เปอรเซ็นต ซึ่งแตกตางจากตนควบคุมที่มีสัดสวนการกระจายมวลแหงสวนเหนือดินเพิ่มขึ้น จนถึงอายุ 60 วัน จากนั้นสัดสวนการกระจายมวลแหงสวนเหนือดิน :มวลแหงรากใหญ : มวลแหงรากแขนง มีคาเฉลี่ยคงที่ประมาณ 70 : 20 : 10 เปอรเซ็นต จนสิ้นสุดการทดลอง(Figure 4)

Figure 4 Partition of dry mass into various parts of guava seedling ‘Okinawa’ after inoculation withvarious isolates of bolete spawn for 1, 60, 120 and 180 days.

วิจารณตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ ที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท BE, TR1 และ TR2 มีความสูงและ

จํานวนใบที่แตกใหมมากกวาตนควบคุม อาจเนื่องมาจากราเอ็คโตไมคอรไรซาชวยเพิ่มความเปนประโยชนของธาตุอาหาร เชน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ฯลฯ แกพืช (อุทัยวรรณ, 2537) สอดคลองกับการทดลองของประภาพรและคณะ (2554) พบวาตนมะละกอ ‘เม็กซิโก-เกษตร’ ที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตา มีความสูงและจํานวนใบที่เกิดใหมเพิ่มขึ้นแตกตางจากตนที่ไมไดปลูกเชื้อเห็ด สวนคาดัชนีความเขียวใบเฉลี่ยของตนกลาฝรั่งทุกทรีทเมนตไมแตกตางกัน ยกเวนชวง อายุ 180 วัน หลังยายปลูก พบวาตนควบคุมมีคาดังกลาวสูงสุด อาจเปนเพราะตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาทุกไอโซเลทแตกใบใหมมากขึ้น และการทดลองนี้ใสปุยละลายชาสูตร 14-14-14 ใหกับตนกลาฝรั่ง ซึ่งปุยสูตรดังกลาวมีไนโตรเจนคอนขางตํ่าอาจไมเพียงพอกับความตองการของตนกลา จึงสงผลใหคาดัชนีความเขียวของใบลดลง

control BE TR1 TR2

Day after transplanting (days)

Page 7: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

นอกจากนี้ตนกลาฝรั่งทุกทรีทเมนตสรางมวลชีวภาพเพิ่มขึ้นตามอายุของตนกลา โดยมีคาเฉลี่ย มวลแหงทั้งตน มวลแหงสวนเหนือดิน ไมแตกตางกัน ตลอดการทดลอง แตมวลแหงรากใหญ และมวลแหงรากแขนงของตนควบคุมและตนปลูกเชื้อเห็ดตับเตาโซเลท TR2 มีคาเฉลี่ยสูงสุดและแตกตางกัน อาจเพราะตนกลาดังกลาวมีการเติบโตทางกิ่งใบลดลง ดังนั้นอาหารที่ใบสังเคราะหได อาจถูกนําไปสรางรากใหมมากขึ้น ซึ่งแตกตางจากการทดลองของสาวิตรี (2550) พบวาเชื้อเห็ดตับเตาชวยสงเสริมใหตนกลายูคาลิปตัสมีมวลแหงรากเพิ่มขึ้นและแตกตางจากตนควบคุม

เม่ือพิจารณาสัดสวนการกระจายมวล พบวาตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท BE,TR1 และ TR2 มีการสรางมวลสวนเหนือดินเพิ่มขึ้น ในขณะที่สัดสวนมวลรากใหญและรากแขนงลดลง ตามอายุของตนกลา แตในชวง 180 วัน หลังยายปลูก พบวาตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดไอโซเลทดังกลาว มีการสรางรากใหญและรากแขนงเปนสัดสวนเพิ่มขึ้น ในขณะที่ตนควบคุม สรางมวลสวนเหนือดิน มวลรากใหญและรากแขนงในสัดสวนคอนขางคงที่ตลอดการเติบโต อยางไรก็ตามจากการทดลองนี้ ตนควบคุมสามารถสรางรากแขนงไดดีกวาตนที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตา แต เม่ือพิจารณาสัดสวนการกระจายมวลรวมกับการเติบโตทางกิ่งใบ พบวาตนที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาทุกไอโซเลทเติบโตดีกวาตนควบคุม ดังนั้นเชื้อเห็ดตับเตาอาจมีสวนชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูดน้ํา และแรธาตุอาหาร ของรากตนกลาฝรั่ง จึงสงผลใหตนกลาที่ไดรับการปลูกเชื้อดังกลาวมีการเติบโตทางกิ่งใบสูง ซึ่งหากทําการศึกษาอยางตอเนื่องและใชเวลานานขึ้น คาดวาเชื้อเห็ดตับเตาจะชวยสงเสริมการสรางมวลของรากและการเติบโตดีขึ้นดวย

สรุปการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR1 สงผลใหตนกลาฝรั่ง ‘Okinawa’ อายุ 180 วัน มีความสูง และ

จํานวนใบที่แตกใหม แตกตางกัน เฉลี่ยสูงสุด เทากับ 108.3 ซม. และ 4.4 ใบ/ตน ตามลําดับ แตตนที่ไมไดปลูกเชื้อเห็ด (ตนควบคุม) มีคาดัชนีความเขียวใบเฉลี่ยสูงสุด เทากับ 34.1 SPAD unit

ตนกลาฝรั่งทุกทรีทเมนตมีคาเฉลี่ย มวลแหงทั้งตน และมวลแหงสวนเหนือดิน ไมแตกตางกัน ตลอดการเติบโต แตตนควบคุมและตนปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท TR2 มีคาเฉลี่ยมวลแหงรากใหญ และมวลแหงรากแขนงสูงสุด เทากับ 3.9 และ 1.7 กรัม ตามลําดับ เม่ืออายุ 180 วันหลังยายปลูก

ตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดตับเตาไอโซเลท BE, TR1 และ TR2 สรางมวลแหงสวนเหนือดินเพิ่มขึ้น แตมวลแหงรากใหญและรากแขนงลดลง ในชวง 0-120 วัน จากนั้นตนกลาฝรั่งที่ไดรับการปลูกเชื้อเห็ดดังกลาวมีแนวโนมสรางมวลแหงรากใหญและรากแขนงเพิ่มขึ้น สวนตนควบคุม มีการสรางมวลแหงสวนเหนือดินรากใหญและรากแขนงคอนขางคงที่ตลอดการทดลอง

Page 8: 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2( Boletus colossus Heim.) D - B ...lib.ku.ac.th/KUCONF/2556/KC5001017.pdf · 7 I - @ + G 1 ˆ @ ÷ 2(Boletus colossus Heim.) D - B @ % ÷ 2 F ÷ - 2 # @ 4 ˆ

เอกสารอางอิงจีรภัทร อัฐฐิศิลปเวท. 2550.การถายทอดทางพันธุกรรมของลักษณะทนเค็มในฝร่ัง. วิทยานิพนธปริญญาโท,

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.ประภาพร ต้ังกิจโชติ, มัญชนี เขียววิชัยและ กวิศร วานิชกุล. 2554. ผลของเชื้อเห็ดตับเตาตอการเติบโต

ทางกิ่งใบของมะละกอพันธุเม็กซิโก-เกษตร, น. 296-303. ใน เร่ืองเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คร้ังท่ี 49. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ

สมชาย สุขะกุล. 2549. การกอโรคของไสเดือนฝอยสาเหตุโรครากปมและโรคตนโทรมของฝรั่ง.วิทยาสารกําแพงแสน 4(2): 1-9.

สาวิตรี วีระเสถียร. 2550. การพัฒนาเช้ือเห็ดตับเตาตอการเจริญเติบโตของกลาไมยูคาลิปตัส.วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

อุทัยวรรณ แสงวณิช. 2537. เอคโตไมคอรไรซาของไมปา. 21: 192-199.ใน ประพันธ จิระมงคล, บรรณาธิการ.เร่ืองนารูสําหรับประชาชน. บริษัท เอช เอ็น กรุป จํากัด. กรุงเทพฯ.