42
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาครั้งนีผูวิจัยไดเสนอรายละเอียดของ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เปนประเด็นใหญ ดังนีเจตคติ ความหมายของเจตคติ ทฤษฎีเจตคติ ลักษณะของเจตคติ องคประกอบของเจตคติ การเกิดเจตคติ การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ประโยชนของการวัดเจตคติ เจตคติตอวิทยาศาสตร ความหมายของเจตคติตอวิทยาศาสตร แนวทางในการพัฒนาเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร องคประกอบที่มีอิทธิพลตอเจตคติตอวิทยาศาสตร การวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร มาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท การสรางมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท การแปลความหมายของคะแนนของมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท วิธีวิเคราะหองคประกอบ แนวคิดและลักษณะของการวิจัยที่ใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ ขอสังเกตเกี่ยวกับงานวิจัยที่ใชเทคนิคเกี่ยวกับการวิเคราะหองคประกอบ เทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ ขั้นตอนในการวิเคราะหองคประกอบ การหาเกณฑปกติ เกณฑในการสรางเกณฑปกติ ประเภทของเกณฑปกติ

อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดเสนอรายละเอียดของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เปนประเด็นใหญ ๆ ดังนี้ เจตคติ ความหมายของเจตคติ ทฤษฎีเจตคติ ลักษณะของเจตคติ องคประกอบของเจตคติ การเกิดเจตคติ การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ประโยชนของการวัดเจตคติ เจตคติตอวิทยาศาสตร ความหมายของเจตคติตอวิทยาศาสตร แนวทางในการพัฒนาเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร องคประกอบที่มีอิทธิพลตอเจตคติตอวิทยาศาสตร การวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร มาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท การสรางมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท การแปลความหมายของคะแนนของมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท วิธีวิเคราะหองคประกอบ แนวคิดและลักษณะของการวิจัยที่ใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ ขอสังเกตเกี่ยวกับงานวิจัยที่ใชเทคนิคเกี่ยวกับการวิเคราะหองคประกอบ เทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ ข้ันตอนในการวิเคราะหองคประกอบ การหาเกณฑปกติ เกณฑในการสรางเกณฑปกติ ประเภทของเกณฑปกติ

Page 2: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

8

คะแนนทีปกติ งานวิจัยที่เกี่ยวของ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเจตคติตอวิทยาศาสตร งานวิจัยที่เกี่ยวของกับมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท เจตคต ิ 1. ความหมายของเจตคติ “เจตคติ” เปนศัพทบัญญัติทางวิชาการตรงกับภาษาอังกฤษวา ”Attitude” ซึ่งมีรากศัพทมาจากภาษาลาตินวา “Aptus” แปลวา ความเหมาะสม (Fitness) หรือการ ปรุงแตง (Adaptedness) (Webster, 1981 : 141) คําวาเจตคติหรือทัศนคติ ตรงกับภาษาอังกฤษวา Attitude หมายถึง ทาที ความรูสึก แนวความคิดเห็นของบุคคลตอส่ิงใดสิ่งหนึ่ง (พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, 2538 : 237,393) นอกจากนี้ การใหคํานิยามของเจตคติ มีนักการศึกษาและนักจิตวิทยาใหนิยามหรือคําจํากัดความไวหลากหลายแตกตางกัน ดังนี้ เทอรสโตน (Thurstone, 1964 : 49) กลาววา เจตคติเปนตัวแปรทางจิตวิทยาชนิดหนึ่งซึ่งไมสามารถสังเกตไดงาย แตเปนความโนมเอียงภายใน แสดงออกใหเห็นไดโดยพฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง และเจตคติยังเปนเรื่องของความชอบ ไมชอบ ความลําเอียง ความคิดเห็น ความรูสึกและความเชื่อมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ออลพอรท (Allport, 1967 : 3) ไดใหความหมายของเจตคติวา เปนสภาวะความพรอมทางดานจิตใจอันเกิดขึ้นจากประสบการณ สภาวะความพรอมนี้จะเปนแรงกําหนดทิศทางปฏิกิริยาของบุคคลที่มีตอบุคคล ส่ิงของ หรือสถานการณที่เกี่ยวของ กูด (Good, 1973 : 46) กลาววา เจตคติ หมายถึง ความโนมเอียงหรือ แนวโนมของบุคคลที่จะตอบสนองตอส่ิงของ สถานการณหรือคานิยม โดยปกติจะแสดงออกมาพรอมกับความรูสึกและอารมณ เจตคติไมอาจสังเกตไดโดยตรงแตจะอางอิงไดจากพฤติกรรมที่แสดงออกทั้งที่เปนพฤติกรรมทางภาษาและไมใชภาษา กาเย (Gagne, 1977 : 231) กลาววา เจตคติเปนสภาพภายในที่มีอิทธิพลตอการเลือกปฏิบัติของแตละบุคคล เจตคติไมไดกําหนดการปฏิบัติที่เปนเฉพาะ แตทําในกลุมของการ

Page 3: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

9

ปฏิบัติในแตละบุคคลมีโอกาสเกิดขึ้นไดมากหรือนอย เจตคติจึงเปนแนวโนมของการตอบสนอง หรือความพรอมในการตอบสนองของบุคคล อนาสตาซี (Anastasi, 1988 : 584) กลาววา เจตคติเปนความโนมเอียงที่จะมีปฏิกิริยาตอบสนองตอส่ิงเราที่กําหนดให เปนพวกที่ชอบหรือไมชอบตอส่ิงตาง ๆ เปน การตอบสนองอยางสม่ําเสมอ ลวน สายยศ (2530 : 2) กลาววา เจตคติเปนความรูสึกเชื่อศรัทธาตอส่ิงหนึ่งสิ่งใด พรอมที่จะประพฤติปฏิบัติตอส่ิงนั้นได บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2540 : 239) ไดสรุปความหมายของเจตคติวา เจตคติ หมายถึง กิริยาทาทีรวม ๆ ของบุคคลที่เกิดจากความโนมเอียงของจิตใจ และแสดงออกตอส่ิง ๆ นั้น โดยแสดงออกในทางสนับสนุน มีความรูสึกเห็นดีเห็นชอบตอส่ิงเรานั้น ๆ หรือแสดงออกในทางตอตาน ซึ่งเปนความรูสึกที่ไมเห็นชอบตอส่ิงนั้น จากความหมายของเจตคติที่กลาวมาแลวพอจะสรุปไดวา เจตคติ หมายถึง ความรูสึก ความคิด ความเชื่อ ของบุคคลที่มีตอประสบการณ หรือส่ิงหนึ่งสิ่งใดที่ไดรับและพรอมที่จะแสดงออกมาในทางที่สนับสนุนหรือตอตานก็ได ซึ่งเจตคตินี้เปนสิ่งที่ไมสามารถวัดไดโดยตรง แตสามารถวัดไดโดยการศึกษาพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงตอส่ิงนั้น 2. ทฤษฎีเจตคติ ทฤษฎีเจตคตินั้นมีหลายทฤษฎี ซึ่งพอจะแบงออกเปน 3 ทฤษฎีใหญ ๆ ไดดังนี้ (ศักดิ์ สุนทรเสณี, 2531 : 8 -15) 1. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขและการใหแรงเสริม (Conditioning and Reinforcement Theories) เปนทฤษฎีเจตคติที่ใชหลักการเรียนรูที่มีเงื่อนไขและแรงเสริมคือ จะใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมีเจตคติที่ดีตอส่ิงใด ก็นําส่ิงนั้นมาเปนเงื่อนไข หรือนําไปเกี่ยวโยง (Associate) กับอีกสิ่งหนึ่งที่ชอบ หรือส่ิงที่มีเจตคติที่ดีอยูกอน แลวจะเชื่อมโยงของสองสิ่งดังกลาว และจะชอบในสิ่งที่เปนเงื่อนไขนั้นดวย การเกิดเจตคติตามทฤษฎีนี้มี 3 วิธี คือ 1.1 วิธีการเชื่อมโยง (Association) เปนหลักของพาฟลอฟ (Pavlov) คือเมื่อบุคคลจะสรางเจตคติไดโดยการนํามาเชื่อมโยงสิ่งเราตั้งแตสองตัวขึ้นไป โดยทั่วไปในชีวิตประจําวันของเราจะไดรับการเรียนรูประเภทนี้มาก เชน การโฆษณา การคาขาย เปนตน 1.2 วิธีการใหแรงเสริม (Reinforcement) เปนหลักการของสกินเนอร (Skinner) คือ บุคคลจะเกิดเจตคติอยางใดอยางหนึ่งก็โดยการใหรางวัล คําชมเชย พฤติกรรม

Page 4: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

10

ใดที่ไดรับรางวัลบุคคลนั้นก็จะประพฤติตอไป ถาไมมีคนชมก็ชมตัวเอง ภูมิใจ ตัวเอง (Self Reinforcement) ซึ่งทําใหเจตคติคงอยูตลอดไป การติชม (Verbal Reinforcement) เปนสิ่งที่มนุษยตองการ ซึ่งจะทําใหเปลี่ยนแปลงเจตคติได การเปลี่ยนแปลงเจตคติของคนมี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรก เปนการเปลี่ยนแปลงเจตคติอยางผิวเผิน คือ ความคิดกับการกระทําไมสอดคลองกัน ความคิดหรือเจตคติอยางหนึ่ง การกระทําอีกอยางหนึ่ง เปนการปฏิบัติตามไปโดยความรูสึกไมเห็นดีเห็นงามดวย เพราะกลัววาจะเสียผลประโยชนไปบางสวน ลักษณะที่สอง เปนการเปลี่ยนแปลงทั้งดานความคิด ความเชื่อ และการกระทําไปทั้งหมดเปนการยอมรับส่ิงตาง ๆ ดวยจิตใจ 1.3 เจตคติเกิดจากการเลียนแบบ (Imitation a Model) คือ คนอื่นมี เจตคติอยางไรก็มีเจตคติตามอยางเขาบาง ซึ่งมี พอ แม เพื่อน และครู เปนตัวแบบสําคัญที่เด็กจะเลียนแบบเจตคติตอส่ิงตาง ๆ ตามตัวแบบนั้น ข้ึนอยูกับความสําคัญของตัวแบบ เชน พอ-แม นับถือศาสนาพุทธ ลูกจะมีเจตคติที่ดีตอศาสนาพุทธ และยอมรับนับถือศาสนาพุทธดวย 2. ทฤษฎีเครื่องลอใจ (Incentive Theories) ทฤษฎีนี้ยึดหลักวา บุคคลจะมีเจตคติที่ดีตอส่ิงใดจะตองเชื่อแลววา ส่ิงนั้นจะมีประโยชนหรือสรางความพอใจแกตนเอง หนาที่ของเจตคติตามทฤษฎีนี้ แบงออกเปน 4 ประเภท คือ 2.1 เจตคติชวยเปนเครื่องมือทําใหไปถึงจุดมุงหมาย และชวยในการปรับตัว (Instrumental and Adjustive Function) การที่คนเราจะมีเจตคติตอส่ิงใดทางใดก็เพราะวาสิ่งนั้นจะนําไปยังจุดมุงหมายบางอยางได ถาบรรลุถึงจุดมุงหมายก็มีเจตคติที่ดีตอส่ิงนั้น แตถาเปนส่ิงที่กีดขวางตอจุดมุงหมายก็จะมีเจตคติที่ไมดีตอส่ิงนั้น 2.2 เจตคติชวยปองกันตัวเราเองได (Self-defensive Function) เจตคติบางอยางจะชวยปองกันตัวเองได คือ การเชื่อในบางสิ่งบางอยางแบบบิดเบือนซึ่งจะทําใหสบายใจขึ้น เพื่อเปนการรักษาภาพพจนของตัวเอง จะทําใหเราเห็นภาพพจนในทางที่ดี ทําใหสบายใจและลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับปญหาของตัวเองได บุคคลมักจะหลีกเลี่ยงในสิ่งที่ไมดีหรือปกปดความจริงบางอยาง ซึ่งนําความไมพอใจมาสูตนเอง 2.3 เจตคติชวยใหไดแสดงออกทางดานพฤติกรรมตาง ๆ (Self-expressive Function) บุคคลมีความคิดอยางไร หรือมีคานิยมอยางไร ก็พยายามที่จะมีเจตคติตอส่ิงตาง ๆ ใหสอดคลองกับความคิดหรือคานิยมของตนดวย เพื่อใหมีลักษณะตามที่ตนเองคิดวาเปนเชนนั้น

Page 5: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

11

2.4 เจตคติชวยทําหนาที่ใหเกิดความรู (Knowledge Function) บุคคลจะอยูในโลกไดตองมีความรอบรูพอควรเกี่ยวกับส่ิงแวดลอมตาง ๆ เหลานั้นเปนอยางไร เราสามารถคิดและแกปญหาเล็ก ๆ นอย ๆ ได สามารถทํานายสถานการณตาง ๆ ได เพื่อไมใหเกิดความสับสนจนเกินไป 3. ทฤษฎีการสอดคลองของการรู (Cognitive Consistency Approach) เปนเรื่องเกี่ยวกับความคิด หรือการรูเร่ืองใดเรื่องหนึ่งทําใหเกิดความรูสึกหลาย ๆ ดาน หรือมีสวนประกอบของการรู (Cognitive Element) หลายอยาง รูในทางที่ดีหรือไมดี ถารูในทางที่ดีมากกวาในทางที่ไมดี ก็จะเกิดความสอดคลองของการรูข้ึน ทําใหเกิดเจตคติที่ดีในสิ่งนั้น หรือถารูในทางที่ไมดีมากกวาในทางที่ดี ก็จะเกิดความไมสอดคลองของการรับรู ทําใหมี เจตคติที่ไมดีหรือไมชอบส่ิงนั้น และเมื่อรูในทางที่ดีหรือไมดีพอ ๆ กัน ก็จะทําใหเกิดความขัดแยงของการรูข้ึน เรียกวาเกิดความไมสอดคลองของการรู (Cognitive Dissonance) ดังนั้นบุคคลจะตองรูในทางที่ดีใหมากกวาในทางที่ไมดี จึงจะมีเจตคติในทางที่ดีมากกวา ทฤษฎีสอดคลองของการรูแบงออกเปนทฤษฎียอย ๆ 3 ทฤษฎี ไดดังนี้ 3.1 ทฤษฎีความสมดุลของไฮเดอร (Heider’s Balance Theory) ไฮเดอร (Heider) ไดคิดทฤษฎีนี้ข้ึนบางทีเรียนทฤษฎีนี้วา Heider’s P-O-X Formulation หรือ Heider’ Three Elements System ทฤษฎีนี้กลาวถึง 3 ส่ิง คือ P หมายถึง บุคคลคนหนึ่ง (อาจเปนตัวเราเอง) O หมายถึง บุคคลอีกคนหนึ่ง (อาจเปนเพื่อนเรา) X หมายถึง วัตถุหรือส่ิงของ (อาจเปนภาพยนตจีน) ความสัมพันธระหวาง P-O-X จะสมดุลหรือไมสมดุล ข้ึนอยูกับความสัมพันธระหวางสวนประกอบตาง ๆ เหลานั้นวาเปนไปทางใด อาจจะเปนทางบวก (+) หรือ ทางลบ (-) ดังภาพประกอบ 1 ในที่นี้ เครื่องหมาย + หมายถึง ชอบ เครื่องหมาย - หมายถึง ไมชอบ ภาวะสมดุล (Balanced States) ภาวะไมสมดุล (Unbalanced States) P P 1. 5. O X

+

+ O X +

+

+

-

Page 6: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

12

P P 2. 6. O X O X

+

+

+ - -

- P P 3. 7. O X O X

-

+

- ++

- P P 4. 8. O X O X

-

-

- - -

+ ภาพประกอบ 1 ภาพความสมดุลและไมสมดุลของทฤษฎี P-O-X ที่มา : ศักดิ์ สุนทรเสณี, 2531 : 13-14 ตัวอยางจากภาพ P-O-X.3 จะเห็นวา P ชอบ X และไมชอบ O แตวา O ไมชอบ X ในกรณีนี้จะเกิดความสมดุลข้ึน เพราะวา P จะพอใจในสิ่งที่ตนชอบ และจะ พอใจเมื่อเห็นบุคคลที่ตนไมชอบ ไมชอบในส่ิงเดียวกับที่ตนชอบ คือ เราพอใจคนที่เราเกลียดไมมีอะไรเหมือนกับเรา ในกรณีนี้ P ไมตองเปลี่ยนแปลงเจตคติตอส่ิงหนึ่งสิ่งใด เพราะเกิดภาวะสมดุล ตัวอยางจากภาพ P-O-X.7 จะเห็นวา P ชอบ X และไมชอบ O แต O ชอบ X ในกรณีนี้จะเกิดความไมสมดุลข้ึน เพราะวา P จะพอใจในสิ่งที่ตนชอบ และไม พอใจเมื่อบุคคลที่ตนไมชอบมาชอบในสิ่งเดียวกับที่ตนเองชอบ คือเราไมอยากใหคนที่เราเกลียดมามีอะไรเหมือนกับเรา ในกรณีนี้ P จะเกิดความขัดแยงหรือเกิดภาวะไมสมดุลข้ึน จึงจําเปนที่จะตองทําใหเกิดภาวะสมดุล โดยการเปลี่ยนแปลงเจตคติตอ X คือ ไมชอบ X เสีย ซึ่งจะกลายเปน P-O-X.4 ไป และเกิดความสมดุล 3.2 ทฤษฎีความสอดคลองของออสกูด (Osgood’s Congruity Theory) ออสกูดสนใจเรื่องของแหลงขาวสารที่มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงหรือการเกิดเจตคติ แหลงของขาวสารสามารถเกิด หรือทําใหเปลี่ยนแปลงเจตคติได ผูรับขาวสารจะประเมินคาจากแหลงขาวสาร และจะยอมรับ (Accept) ขาวสารนั้นแตกตางกัน ออสกูด (Osgood, 1957 อางถึงใน ศักดิ์ สุนทร

Page 7: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

13

เสณี, 2531 : 15) กลาววา “ขอความเดียวกันถาคนพูดมีสองคน เราจะเชื่อไมเหมือนกัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับเจตคติที่เรามีตอสองคนนั้นมากอนวามีเจตคติในทางบวกหรือลบ” 3.3 ทฤษฎีการไมสอดคลองของการรูของเฟสติงเกอร (Festinger’s Theory of Cognitive Dissonance) ทฤษฎีนี้สรางขึ้นโดย เฟสติงเกอร (Festinger) ไดแนวคิดมาจากที่วามนุษยไมสามารถทนตอความขัดแยง หรือความไมสอดคลองกันได มนุษยจึง จําเปนที่จะตองลดความขัดแยงนั้นดวยการเปลี่ยนแปลงเจตคติ เฟสติงเกอร (Festinger, 1957 อางถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, 2531 : 15) กลาววา “ถาเจตคติไมสอดคลองกับการกระทําแลว เจตคติตอส่ิงนั้นจะเปลี่ยนไป” ซึ่งเปนเรื่องของความรูสึกกับการกระทําที่ไม สอดคลองกัน จึงตองเปลี่ยนเจตคติตอส่ิงนั้นเพื่อใหสอดคลองกับการกระทํา ความขัดแยงจะไดไมเกิดขึ้น 3. ลักษณะของเจตคติ ส.วาสนา ประวาลพฤกษ (2524 : 5) ไดสรุปลักษณะที่สําคัญของเจตคติไวดังนี้ 1. เจตคติเปนการตระเตรียมหรือความพรอมในการตอบสนองตอส่ิงเราในทางที่ชอบหรือไมชอบตอส่ิงนั้น ซึ่งการตระเตรียมนั้น จะเปนการตระเตรียมภายในของจิตใจมากกวาภายนอกที่จะสังเกตเห็นได 2. สภาวะของความพรอม จะตอบสนองนั้นเปนลักษณะที่ซ้ําซอนของบุคคลที่จะยอมรับ หรือไมยอมรับ ชอบหรือไมชอบตอส่ิงตาง ๆ ที่เกี่ยวของสัมพันธกับอารมณดวย ซึ่งเปนสิ่งที่อธิบายไมคอยได และบางครั้งไมมีเหตุผล 3. เจตคติไมใชพฤติกรรม แตเปนสภาวะทางจิตใจที่มีอิทธิพลตอความรูสึก นึกคิดและเปนตัวกําหนดแนวทางในการแสดงออกของพฤติกรรม 4. เจตคติไมสามารถวัดไดโดยตรง แตสามารถสรางเครื่องมือวัดพฤติกรรมที่แสดงออกมาเพื่อใชเปนแนวทางในการทํานายหรืออธิบายเจตคติได 5. เจตคติเกิดจากการเรียนรูและประสบการณ บุคคลจะมีเจตคติในเรื่องเดียวกัน แตกตางกันไดดวยสาเหตุหลายประการ เชน สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ และสังคม ระดับอายุ เชาวปญญา เปนตน 6. เจตคติมีความคงที่และแนนอนพอสมควร แตอาจเปลี่ยนแปลงไดเมื่อประสบสภาพแวดลอมที่เหมาะสมใหมแตกตางไปจากเดิม สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529 : 92-93) กลาววา ลักษณะของเจตคติเปน 2 มิติ คลาย ๆ กับวัตถุซึ่งเปนมิติความกวางและมิติความยาว ซึ่งมีลักษณะดังตอไปนี้

Page 8: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

14

1. ทิศทาง (Direction) มีอยู 2 ทิศทาง คือทางบวกและทางลบ ทางบวก ไดแกความรูสึกหรือทาทีในทางที่ดี ชอบ หรือพึงพอใจ เปนตน สวนทางลบก็จะเปนไปในทางตรงกันขาม ไดแก ความรูสึกหรือทาทีในทางที่ไมดี หรือไมพึงพอใจ 2. ความเขม (Magnitude) มีอยู 2 ขนาด คือ ความเขมมากและความเขมนอย ถาบุคคลมีเจตคติที่มีความเขมมากจะเปนอุปสรรคในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ นอกจากนี้ ลวน สายยศ (2530 : 3) ไดกลาวถึงลักษณะของเจตคติไวดังนี้ 1. เปนผลหรือข้ึนอยูกับการที่บุคคลประเมินผลสิ่งเรา แลวแปรเปลี่ยนมาเปนความรูสึกภายในที่กอใหเกิดแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรม 2. เจตคติแปรคาไดทั้งความเขมขนและทิศทาง มีคาตอเนื่องกัน 3. เจตคติเปนสิ่งที่เกิดจากการเรียนรูมากกวาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเอง 4. เจตคติข้ึนอยูกับเปาเจตคติหรือส่ิงเราเฉพาะอยางทางสังคม 5. เจตคติของบุคคลที่มีตอส่ิงเราที่เปนกลุมเดียวกันอาจสัมพันธกัน 6. เจตคติเกิดขึ้นแลวมีความคงเสนคงวาเปลี่ยนแปลงยาก 4. องคประกอบของเจตคติ ตามแนวความคิดของนักจิตวิทยาไดเสนอองคประกอบเจตคติไวเปน 3 แนว ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2540 : 240) 1. เจตคติสามองคประกอบ นักจิตวิทยากลุมนี้เสนอวา เจตคติประกอบดวย 3 องคประกอบ 1.1 องคประกอบดานความรู (Cognitive Component) ไดแก ความรู ความเชื่อ ความคิด และความคิดเห็นของบุคคลที่มีตอที่หมายของเจตคติ (attitude object) เชน เจตคติตอการสูบบุหร่ี การที่จะแสดงความรูสึกตอการสูบบุหรี่ไปในทางชอบหรือไมชอบ เห็นดวยหรือไมเห็นดวยนั้น จะตองมีความเขาใจกอนวา “บุหร่ี” คืออะไร การสูบบุหร่ีมีคุณและมีโทษอยางไร 1.2 องคประกอบดานทาทีความรูสึก (Affective Component) ไดแกความรูสึกชอบ ไมชอบ หรือทาทีที่ดีหรือไมดี ตอที่หมายของเจตคติ เปนภาวะความรูสึกที่สนองตอบตอส่ิงเราหรือตอที่หมายไปในทางที่ดีหรือไมดี หรือในทางบวก (positive) หรือในทางลบ (negative) ซึ่งเปนผลสืบเนื่องจากองคประกอบดานความรู

Page 9: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

15

1.3 องคประกอบดานการปฏิบัติ (Behavioral Component) ไดแก แนวโนมหรือความพรอมของบุคคลที่จะปฏิบัติตอที่หมายของเจตคติ หากมีส่ิงเราหรือที่หมายของเจตคติที่เหมาะสมจะเกิดการปฏิบัติ หรือมีปฏิกิริยาอยางใดอยางหนึ่ง นักจิตวิทยาที่สนับสนุนวา เจตคติมี 3 องคประกอบที่สําคัญไดแก Kretch, Crutchfield, pallachey และ Triandis (ธีรพร อุวรรณโณ, 2527 อางถึงใน บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2540 : 240) นักจิตวิทยาเหลานี้จะใหความหมายของเจตคติ โดยครอบคลุมองคประกอบทั้งสามอยางครบถวน และเห็นวาองคประกอบทั้งสามมีความสัมพันธเกี่ยวของซึ่งกันและกัน 2. เจตคติสององคประกอบ แนวความคิดนี้ระบุวา เจตคติมีเพียง 2 องคประกอบเทานั้น ไดแก องคประกอบดานความรูกับองคประกอบดานทาทีความรูสึก นักจิตวิทยาที่สนับสนุนแนวความคิดนี้ ไดแก Katz และ Rosenberg ซึ่งนักจิตวิทยา ทั้งสองไดใหความหมายของเจตคติโดยครอบคลุมโครงสรางรวมระหวางความรูกับทาทีความรูสึก 3. เจตคติองคองคประกอบเดียว แนวความคิดนี้ระบุวาเจตคติมีองคประกอบเดียว คือองคประกอบดานทาทีความรูสึก ซึ่งแสดงออกหรือตอบสนองตอที่หมายของ เจตคติไปในทางชอบหรือไมชอบ หรือดี หรือไมดี นักจิตวิทยาที่สนับสนุนแนวความคิดนี้ ไดแก Bem, Fishbein & Ajzen, Insko และ Thurstone สําหรับการพัฒนาแบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรคร้ังนี้ผูวิจัยไดใชแนวในการสรางที่มองเจตคติวามีสามองคประกอบ คือ องคประกอบดานความรู องคประกอบดาน ทาทีความรูสึก และองคประกอบดานการปฏิบัติ 5. การเกิดเจตคติ เปนที่ยอมรับกันวา เจตคติไมใชส่ิงที่มีมาแตกําเนิดแตเกิดจากการเรียนรูและประสบการณ (Shrigley, 1983 : 427) เจตคติบางอยางมีข้ึนเพื่อตอบสนองความตองการ ที่อยากใหตนเองเปนที่ยกยองของสังคม ดังนั้นอาจกลาวถึงการสรางเจตคติโดยพิจารณา องคประกอบทั้ง 3 ดาน ของเจตคติดังนี้ (ยงยุทธ วงศภิรมยศานต, 2529 : 181-183) 1. ความรูและความเชื่อ การเกิดความรูหรือความเชื่อนั้นเปนกระบวนการ จัดระเบียบขอมูลของสิ่งที่เรารับรู และเรียนรูใหเขากันเปนหมูพวก เร่ืองที่คลายคลึงกันก็จะจัดไวเปนประเภทเดียวกันเพื่อประโยชนในการจดจํา และสามารถนําไปแกปญหาอื่นตอไปได ถาการจัด

Page 10: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

16

ระเบียบขอมูลนั้นเกิดจากประสบการณโดยตรงซ้ํากันหลาย ๆ คร้ังก็จะเปนความเชื่อที่คงทนมากข้ึน 2. ความรูสึก การเกิดความรูสึกประกอบความรูความเชื่อนั้น จําแนกเปน 2 ทิศทาง คือ ทางบวก (ชอบ พอใจ ประทับใจ) หรือทางลบ (รังเกียจ ไมพอใจ ไมประทับใจ) 3. พฤติกรรมการแสดงออก โดยทั่วไปการแสดงออกตามเจตคติจะไดรับอิทธิพลมาจากบรรทัดฐานทางสังคมที่กลุมคาดหวังใหสมาชิกปฏิบัติตาม รวมทั้งเปนกรอบกวาง ๆ ในการแสดงออกดวย บรรทัดฐานนี้ไดรับการเลียนแบบจากพอแมและบุคคลอื่น สวนแอลพอรท เสนอความคิดเห็นวา เจตคติตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดของบุคคลเกิดไดตามเงื่อนไข 4 ประการ คือ (Hilgard, 1962 : 614 อางถึงใน ศักดิ์ สุนทรเสณี, 2531 : 4) 1. กระบวนการเรียนรูที่ไดจากการเพิ่มพูน และบูรณาการของการตอบสนองแนวความคิดตาง ๆ เชน เจตคติจากครอบครัว โรงเรียน ครู การเรียนการสอน และอ่ืน ๆ 2. ประสบการณสวนตัวขึ้นอยูกับความแตกตางของบุคคล ซึ่งมีประสบการณที่แตกตางกันออกไป นอกจากประสบการณของคนจะสะสมขึ้นไปเรื่อย ๆ แลวยังทําใหกระสวน (Pattern) เปนของตัวเองดวย ดังนั้นเจตคติบางอยางจึงเปนเรื่องเฉพาะของแตละบุคคลแลวแตพัฒนาการและความเจริญเติบโตของคน ๆ นั้น 3. การเลียนแบบ การถายทอดเจตคติของคนบางคนไดมาจากการเลียนแบบเจตคติของคนอื่นที่ตนพอใจ เชน พอ-แม ครู พี่นอง และบุคคลอื่น ๆ 4. อิทธิพลของกลุมสังคม คนยอมมีเจตคติคลอยตามกลุมสังคมที่ตนอาศัยอยูตามสภาพแวดลอม เชน เจตคติตอศาสนา สถาบันตาง ๆ เปนตน นอกจากนั้น สาโรช บัวศรี (2534 : 27) ไดกลาวถึงการเกิดเจตคติไวในเรื่อง ปฏิจสมุปบาท มีข้ันตอนดังนี้ ผัสสะ ปจจยา เวทนา คือ การไดประสบหรือสัมผัส กระตุนใหเกิดความรูสึก เวทนา ปจจยา ตัณหา คือ ความรูสึก กระตุนใหเกิดความอยากได ตัณหา ปจจยา อุปทาน คือ ความอยาก กระตุนใหเกิดความยึดมั่นถือมั่น หรือถือวามีคานิยม อุปทาน ปจจยา ภพ คือ คานิยม กระตุนใหเกิดสภาวะรุมรอน หรือพรอมอยูในใจ หรือเจตคตินั้นเอง ภพ ปจจยา ชาติ คือ เจตคติกระตุนใหเกิดการกระทําที่ปรากฏออกมาภายนอก หรือปรากฏการณที่กระทําออกมาภายนอก

Page 11: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

17

และไดสรุปการเกิดความรูสึกวา เร่ิมจากความจําเปน (Need) หรือความตองการ (Desire) ข้ันตอไปก็ทําใหเกิดความชอบ (Preference) หรือความสนใจติดตามมา ความชอบนี้ยอมจะกระตุนใหมีความนิยมชมชอบหรือเขาใจในคุณคา แลวกลายเปน คานิยม (Value) ข้ึนมา คานิยมที่กอตัวอยูระยะเวลาหนึ่งนานพอสมควร (Fixed Value) ก็ยอมจะกระตุนใหเกิดสภาวะที่รุมรอน หรือพรอมที่จะกระทําการอยูในใจ เรียกวา เจตคติ (Attitude) นั้นเอง 6. การเปลี่ยนแปลงเจตคติ ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงเจตคตินี้ ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2520 : 84-85) ไดสรุปวา เจตคติของบุคคลสามารถจะทําใหถูกเปลี่ยนแปลงไดหลายวิธี ดังนี้ 1. บุคคลไดรับขาวสารตาง ๆ ซึ่งขาวสารนั้นอาจจะมาจากบุคคลอื่น หรือมาจากอุปกรณส่ือมวลชนตาง ๆ ขาวสารที่ไดรับนี้จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสวนประกอบของเจตคติทางดานความรูหรือการรับรู (Cognitive component) เปนที่เชื่อกันวาถา สวนประกอบสวนใดสวนหนึ่งเปลี่ยนแปลง สวนประกอบดานอื่นจะมีแนวโนมที่จะ เปลี่ยนแปลงดวยเชนเดียวกัน 2. บุคคลนั้นไดรับประสบการณตรง เชน บุคคลหนึ่งอาจจะไมชอบนิโกร แตถาเขามีประสบการณโดยตรงจากการไดพบปะกับนิโกรที่มีความประพฤติเรียนรอย พูดจาดี ฉลาด ส่ิงเหลานี้จะทําใหความเชื่อหรือความไมชอบนิโกรดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงไป 3. การรับรูของบุคคล (perception) การเปลี่ยนแปลงการรับรูนี้เกิดจาก องคประกอบหลาย ๆ อยาง เชน อิทธิพลจากบุคคลอื่น การโฆษณาชวนเชื่อ เปนตน 4. ภาวะการจูงใจ (motivation) ในตัวบุคคล โดยปกติแลวขาวสารใหมและการรับรูจะชวยใหภาวะจูงใจในตัวบุคคลเปลี่ยนแปลง และในทางตรงกันขาม การเปลี่ยนภาวะการจูงใจของบุคคลจะทําใหการรับรูของบุคคลที่มีตอสถานการณหนึ่ง ๆ เปลี่ยนแปลงไปดวย 5. การบังคับใหบุคคลไดปฏิบัติบางสิ่งบางอยาง เชน การออกกฎขอบังคับหรือกฎหมาย เพื่อใหปฏิบัติในสิ่งบางอยางอาจจะมีผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสวนประกอบของเจตคติบางสวน 6. โดยการหาวิธีการที่จะทําใหบุคคลไดมีความเขาใจอยางทะลุปรุโปรง (insight) เกี่ยวกับเหตุผลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการที่เขามีเจตคติตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดในทางบวกหรือทางลบ ซึ่งการทําใหเกิด insight ในบุคคลนั้นจะทําไดโดย การใหรางวัล หรือส่ิง ตอบแทนตาง ๆ ที่นําความพอใจมาใหบุคคลนั้น หรืออาจจะทําโดยการสรางสิ่งเราบางอยางที่กอใหเกิดความกังวลใจ

Page 12: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

18

จะเห็นไดวาสิ่งที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคตินั้น เร่ิมตนดวย องคประกอบที่สําคัญอันหนึ่ง คือ แหลง หรือ source ของการเปลี่ยนแปลงเจตคติ แหลงนี้อาจจะเปนบุคคลคนเดียว กลุมบุคคล หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศนหรือส่ิงที่กอใหเกิด เจตคตินั้นโดยตรง แหลงเหลานี้จะสรางขาวสาร (message) ข้ึนมา ซึ่งอาจจะออกมาโดยจากการพูดหรือการกระทําของบุคคลคนเดียว กลุมบุคคล จากขาวในหนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน หรือประสบการณตรงของบุคคล พัชนี วรกวิน (2522 : 74) กลาวถึงวิธีการที่มีผลตอการเปลี่ยนเจตคติไวดังนี้ 1. การแนะใหเปลี่ยน (Suggesuon Situation) การแนะมี 2 วิธี คือ แนะนําตามปกติ คือ คําแนะนําจากกลุมเพื่อน ผูมีความสําคัญทางสังคม หรือแกตนเอง หรืออีกวิธีหนึ่ง คือ การสะกดจิต ซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการสัมผัสและการเคลื่อนไหว 2. การทําใหเกิดการคลอยตาม (Conformity Situation) เปนการสื่อสารโดยการบอกใหทราบวา กลุมที่คลายกับทานมีความคิดเห็นเปนอยางไร เปนการแนะใหเขาเกิดความรูสึกข้ึนมาเองวา สมควรจะเปลี่ยนเพื่อใหสอดคลองกับกลุมอ่ืนหลังจากที่ไดการบอกเลาแลว 3. การอภิปรายกลุม (Group Dicussion) การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน โดยมีผูนําอภิปรายจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติได 4. การใหขอมูลยอนกลับ (Persuasive Messages) เปนการใหขอมูลที่มาจากคนที่มีความสําคัญในดานนี้ หรือกลุมที่เหมือนกันมากเทาใดก็จะทําใหคนเปลี่ยนแปลง เจตคติไดมากข้ึนเทานั้น ผูรับจะไมมีสิทธิโตแยง คัดคานหรือแสดงความคิดเห็นตอที่มาของขอมูล 5. การปลูกฝงความเชื่อ (Intensive Indoctrination) เชน การอบรมเลี้ยงดู การลางสมอง การฉีดยาใหประสาทหลอน การทรมานรางกายเพื่อใหประสาทเกิดความออนแอ ประสาท อิศรปรีดา (2523 : 181) ไดกลาวถึงหลักสําคัญในการสรางและเปลี่ยนเจตคติของบุคคลมี 3 ประการ คือ 1. การวางเงื่อนไข และการใหรางวัล การวางเงื่อนไขซึ่งเปนการเรียนรูโดยการสรางความสัมพันธเชื่อมโยงขึ้นระหวางสิ่งเราหลายสิ่ง ความสัมพันธเชื่อมโยงของสิ่งเราอาจมีผลใหการตอบสนองหรือเจตคติเปลี่ยนแปลงไปได เชน ขณะที่เราไดยินคําวา “สกปรก นารังเกียจ ผอมโซ มอมแมม” จากผูอ่ืน และเวลาเดียวกันก็ไดยินคําวา “คนติดยาเสพติด” คําวายาเสพติดนี้จะไปสัมพันธกับคําวา สกปรก นารังเกียจ ผอมโซ มอมแมม เกิด ภาพพจนข้ึนมาประกอบคํา ๆ นั้น และเมื่อไดอานหรือไดยินจากที่ใดก็ตามวายาเสพติดไมดี หรือพบคนติดยาเสพติด ภาพตาง ๆ ที่เกิดจากการเคยไดยินไดฟงมาก็จะไปเกี่ยวของสัมพันธกับยาเสพติดทันที เราจะมีแนวโนมที่จะ

Page 13: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

19

เรียนรูวายาเสพติดมีอันตรายและเปนสิ่งชั่วไมดี เปนสาเหตุที่ทําใหคนนั้นกลายเปนคนสกปรก นารังเกียจ ผอมโซ มอมแมม ความสัมพันธกันในแตละครั้งจะกลายมาเปนการสรางเจตคติใหเกิดข้ึน สวนการใหรางวัล เชน ถาคนใดคนหนึ่งใชยาเสพติดและมีความรูสึกวามีความสุข การใชยานั้นเราถือวาเปนรางวัล ซึ่งจะทําใหเกิดความตองการที่จะใชยาเสพติดอีกในอนาคต เชนเดียวกันถาเกิดมีใครเสนอความเห็นขึ้นมาวา “ยาเสพติดนั้นดีมาก” และในขณะที่เขามีคนอื่นสนับสนุน การสนับสนุนคําพูดที่วายาเสพติดนั้นดีมาก ก็ถือวาเปนรางวัล ดังนั้นการกระทําสองอยาง คือการได เสพยา และยาใหความสุข กับคําพูดที่วายาเสพติดนั้นดีมากแลวมีผูสนับสนุน จึงลวนเปนรางวัลซ่ึงเปนสวนสําคัญในการสรางเจตคติใหเกิดขึ้นแกเขา 2. ทฤษฎีเกี่ยวกับเครื่องลอ และความขัดแยงในใจ ทฤษฎีนี้จะมองเจตคติในรูปความขัดแยงในใจแบบ บวก-ลบ แตละคนมีเหตุผลที่แนนอนในการยอมรับเกี่ยวกับตําแหนงฐานะของคนหนึ่ง และในเวลาเดียวกันก็มีเหตุผลอ่ืน ๆ ในการที่จะตอตานเกี่ยวกับคน ๆ นั้น เปนตนวา นาย ก. มีความเห็นวายาเสพติดเปนอันตรายผิดกฎหมาย (เจตคติในทางลบ) แตในขณะเดียวกันนาย ก. ก็มีความรูสึกวายาเสพติดสรางความสุข และความ ตื่นเตนใหกับเขา (เจตคติในทางบวก) ตามทฤษฎีเกี่ยวกับเครื่องลอ ถือวาคุณคาของเครื่องลอจะเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอการลดภาวะความขัดแยงในใจลงได และจะเปนสิ่งที่จะมีผลใหบุคคลเปลี่ยนจากความรูสึกที่ไมชอบกลายเปนชอบได นั้นก็คือ ถาเจตคติที่นาย ก. แสดงออกครั้งแรกเกิดขึ้นในขณะที่ไมชอบ การที่จะกลายมาเปนชอบได ก็ตอเมื่อมีเครื่องลอใจอยางอื่นที่ดีกวามาลอให นาย ก. เปลี่ยนจากการไมชอบไปสูการชอบ ทั้งนี้ก็เพราะวา เมื่อบุคคลเกิดความตองการ 2 อยางซึ่งมีลักษณะขัดแยงกัน (Conflict) เขาก็มักจะตัดสินใจเลือกสิ่งที่ดีกวา หรือใหคุณคาแกเขามากกวาเสมอ 3. การเปลี่ยนเจตคติโดยการใชสารสื่อ วิธีการชักจูงดวยการใชสารสื่อ สารที่ใชชักจูง (การใชขอความชักจูงใหผูอ่ืนเปลี่ยนเจตคติ) มีหลายประเภท แตที่มีผูกลาวถึงอยูเสมอก็คือ สารส่ือที่มีลักษณะในเชิงปลอบ (Positive Message) กับสารสื่อในเชิงขู (Negative Message) สารสื่อในเชิงปลอบก็หมายถึง สารสื่อที่จะเสนอแนะวา เมื่อเชื่อตามแลวจะบังเกิดผลดีอยางไร สวนสารสื่อในเชิงขูนั้นจะตองมีลักษณะตรงกันขาม คือ จะเสนอแนะวาถาไมเชื่อตามแลวจะบังเกิดผลรายอยางไร 3.1 อิทธิพลของสารปลอบในการเปลี่ยนเจตคติ การที่บุคคลจะเกิดเจตคติหรือเปลี่ยนเจตคติไปนั้น จะขึ้นอยูกับประโยชนที่เขาจะไดรับจากเจตคติทํานองนั้น ๆ กลาวคือ ถาการชอบส่ิงหนึ่งนํามาซึ่งประโยชนมากกวาการที่เขาไมชอบส่ิงนั้น เขาก็จะมีแนวโนมที่จะมีเจตคติที่ดีตอส่ิงนั้น ในทํานองเดียวกันถาหากการไมชอบส่ิงหนึ่งนํามาซึ่งประโยชนมากกวาการที่เขาชอบสิ่ง

Page 14: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

20

นั้น เขาก็จะมีแนวโนมที่จะมีเจตคติที่ไมดีตอส่ิงนั้น ดังนั้นเมื่อเสนอสารปลอบที่กลาวเนนถึงรางวัลจะไดรับ ก็จะทําใหบุคคลเปลี่ยนเจตคติตามสารสื่อไดโดยงาย เพราะตองการจะไดรับผลประโยชนนั้น นอกจากนี้ บุคคลอาจเกิดความพอใจขึ้นจากการที่เขาไดแสดงเจตคติของตนใหประจักษแกผูอ่ืน เชน คนที่มีเจตคติรุนแรงตอแนว ความคิดแหงการมีเสรีภาพ และประชาธิปไตย ก็อาจตอบสนองออกมาในรูปของการมี กิจกรรมที่เปนการสนับสนุนแนวความคิดนั้น ฉะนั้นถาสารปลอบสามารถทําใหบุคคลเขาใจไดวาการมีเจตคติตามที่สารสื่อชักจูง เปนการแสดงคานิยมอันถูกตอง และสอดคลองกับแนวความคิดอื่น ๆ ที่มีอยูแตเดิมแลว ก็จะมีผลใหบุคคลเปลี่ยนเจตคติเชื่อตามสารปลอบนั้นได 3.2 อิทธิพลของสารขูในการเปลี่ยนแปลงเจตคติ คําวาสารขูนั้น หมายถึง ขอความที่ชักจูงที่จะขมขูบุคคลใหเกิดความรูสึกที่ไมปลอดภัย ถาหากไมปฏิบัติตามสารขูนั้น ความวิตกกังวลของบุคคลจะเพิ่มมากขึ้นถาหากบุคคลหลีกเลี่ยงคําเตือนหรือสารขูที่เขาไดรับ จากภาวะดังกลาวจึงเปนแรงผลักดันใหบุคคลเปลี่ยนแปลงเจตคติไปตามสารขูที่เสนอแกเขาได นอกจากนี้ทวี ทอแกว และ อบรม สินภิบาล (2517 : 58) ยังไดกลาวถึงวิธีการที่ครูอาจเปลี่ยนเจตคติของเด็กได ดังนี้ 1. ชี้แจงและอภิปรายกับเด็กเพื่อใหเด็กเกิดความเขาใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางแจมแจง 2. การยั่วยุอารมณเด็กใหเกิดความชอบหรือไมชอบ ก็อาจชวยใหเด็กเปลี่ยน เจตคติได 3. คบกับเพื่อนที่มีเจตคติที่ดี บางทีเด็กอาจแกไขเจตคติบางอยางโดยอาศัยเอาอยางเพื่อน 4. อานหนังสือ และชวยชี้ชองใหมองเห็นจุดสําคัญ 5. จัดประสบการณใหโดยการกระทํา จะเห็นไดวาเจตคติเปนสภาพทางจิตใจที่มีความถาวรพอสมควร โดยทั่วไปเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไดคอนขางยาก เพราะเมื่อบุคคลเกิดเจตคติอยางใดตอส่ิงใด หรือบุคคลใดแลว การที่จะทําใหเขาเปลี่ยนเจตคติไปเปนอยางอื่นจําเปนตองอาศัยเวลานานพอสมควร (ประดินันท อุปรมัย, 2518 : 114) ซึ่งในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงเจตคตินับวา เปนประโยชนอยางยิ่งทางสังคม และทางการศึกษา เพราะเหตุวามีเจตคติบางประเภทที่ไมพึงปรารถนาของสังคม จําเปนตองขจัดหรือเปลี่ยนแปลงเจตคติที่ไมพึงปรารถนานี้ โดยการ จัดสถานการณใหม สรางแรงจูงใจ หรือโดยการพยายามใหขอเท็จจริง ที่ถูกตองในเรื่องเหลานี้ใหมดวย เหตุผล การกระทํา หรือการ

Page 15: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

21

จัดสภาพแวดลอมทางสังคม จัดใหมีการรวมสัมพันธกับบุคคลที่มีเจตคติที่พึงปรารถนา อาจจะชวยใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติของคนได (สุวิมล เขี้ยวแกว, 2526 : 97) 7. ประโยชนของการวัดเจตคติ การวัดเจตคติของบุคคลตอเปาหมายตาง ๆ ทั้งในเรื่องของบุคคล วัตถุ และส่ิงตาง ๆ ลวนใหประโยชนแกบุคคล หรือสังคมในดานตาง ๆ ดังนี้ (วรรณดี แสงประทีปทอง, 2536 : 55-57) 1. การวัดเจตคติเพื่อการทํานาย เจตคติของบุคคลตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดเปนเครื่องทํานายวาบุคคลนั้นมีการกระทําไปในทํานองใด ดังนั้นการทราบเจตคติของบุคคลยอมชวยใหทํานายการกระทําของบุคคลได ความสามารถในการทํานายพฤติกรรมของผูอ่ืนเปนความตองการของมนุษยและสังคม เพราะจะเปนแนวทางใหผูอ่ืนปฏิบัติตอบุคคลนั้นไดอยางถูกตอง เหมาะสมและอาจเปนแนวทางใหผูอ่ืนสามารถควบคุมพฤติกรรมของบุคคลนั้นไดดวย 2. การวัดเจตคติเพื่อเขาใจสาเหตุและผล เจตคติตอส่ิงตาง ๆ นั้น เปรียบเสมือนสาเหตุภายในซึ่งมีกําลังผลักดันใหบุคคลกระทําไดตาง ๆ กัน เจตคติตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดของบุคคลนี้ อาจไดรับสาเหตุมาจากผลภายนอกดวยสวนหนึ่ง และเจตคติของบุคคลอาจเปนเครื่องกรองหรือหักเหอิทธิพลของสาเหตุจากภายนอกที่มีตอการกระทําของบุคคลนั้นได ดังนั้นการจะเขาใจอิทธิพลของสาเหตุภายนอกที่มีตอการกระทําของบุคคลตาง ๆ ใหชัดเจนบางกรณีจําเปนตองวัดเจตคติของบุคคลตาง ๆ ตอสาเหตุภายนอกนั้นดวย 3. การวัดเจตคติเพื่อหาทางปองกัน ในสังคมนั้นการที่บุคคลจะมีเจตคติตอ ส่ิงหนึ่งส่ิงใดอยางไรนั้นเปนสิทธิของแตละบุคคล แตการที่จะอยูรวมกันอยางสงบสุขในสังคมยอมเปนไปไดเมื่อประชาชนมีเจตคติตอส่ิงเดียวกันคลายคลึงกัน ซึ่งจะเปนแนวทางใหเกิดความรวมมือรวมใจกันและไมเกิดความแตกแยกขึ้นในสังคม 4. การวัดเจตคติเพื่อหาทางแกไข ในสังคมประชาธิปไตย บุคคลสามารถจะมีเจตคติตอเร่ืองใดเรื่องหนึ่งแตกตางกันไปไดมาก แตในบางเรื่องจําเปนที่จะตองไดรับความคิดเห็นและเจตคติที่สอดคลองกัน เพื่อที่ประชาชนจะไดมีการกระทําที่พรอมเพรียงกัน การวัดเจตคติจึงอาจแสดงใหทราบวา บุคคลมีลักษณะที่เหมาะสมหรือไมเพียงไร เพื่อประโยชนในการหาทางแกไขเจตคติที่ไมถูกตองและปลูกฝงเจตคติที่ดีตอไป สงวน สุทธิเลิศอรุณ (2529 : 95-96) ก็ไดกลาวถึงประโยชนของเจตคติดังนี้ 1. ชวยทําใหเขาใจสิ่งแวดลอมรอบ ๆ ตัว โดยการจัดรูปหรือการจัดระบบสิ่ง ตาง ๆ ที่อยูรอบตัว

Page 16: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

22

2. ชวยใหบุคคลหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไมดี หรือปกปดความจริงบางอยางซึ่งนําความไมพอใจมาสูตัวเขา 3. ชวยในการปรับตัวใหเขากับส่ิงแวดลอมที่ซับซอน ซึ่งการมีปฏิกิริยาโตตอบหรือการกระทําสิ่งหนึ่งสิ่งใดออกไปนั้น สวนมากจะทําในสิ่งที่นําความพอใจมาใหหรือเปนรางวัลจากสิ่งแวดลอม 4. ชวยใหบุคคลสามารถแสดงออกถึงคานิยมตนเอง ซึ่งแสดงวาเจตคตินั้นนําความพอใจมาใหกับบุคคลนั้น สวนดวงเดือน พันธุมนาวิน (2530 : 1-3 อางถึงใน แสงจันทร อุนเรือน, 2536 : 18) ไดกลาวถึงประโยชนของการวัดเจตคติสรุปไดดังนี้ 1. จัดเพื่อทํานายพฤติกรรม เจตคติตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดของบุคคล ยอมเปนเครื่องที่แสดงวาเขามีความรูทางดานที่ดีหรือไมดี เกี่ยวกับส่ิงนั้นมากหรือนอยเพียงใด ซึ่งเจตคติของบุคคลตอส่ิงนั้นจะเปนเครื่องทํานายวาบุคคลนั้นมีการกระทําตอส่ิงนั้นไปในทํานองใด นอกจากนี้ยังเปนแนวทางใหผูอ่ืนปฏิบัติตอบุคคลนั้นไดอยางถูกตอง และอาจเปนแนวทางใหผูอ่ืนสามารถควบคุมพฤติกรรมของบุคคลนั้นไดดวย 2. วัดเพื่อหาทางปองกัน การที่บุคคลจะมีเจตคติตอส่ิงใดอยางไร ซึ่งเปนสิทธิของบุคคลนั้น แตการอยูดวยกันดวยความสงบสุขในสังคมไดก็ตอเมื่อบุคคลในสังคมนั้น ๆ ควรมีเจตคติตอส่ิงตาง ๆ คลายคลึงกัน ซึ่งจะทําใหเกิดความรวมมือ รวมใจกัน และไมเกิดความแตกตางข้ึนในสังคม 3. วัดเพื่อหาทางแกไข เพื่อทราบเจตคติของบุคคลใด ซึ่งบุคคลนั้นมีลักษณะที่เหมาะสมหรือไมเหมาะสมเพียงไร แลวควรไดรับการเปลี่ยนแปลงแกไขลักษณะนั้น ๆ ของบุคคลนั้นหรือไม 4. วัดเพื่อใหเขาใจสาเหตุและผล เจตคติตอส่ิงตาง ๆ นั้นเปรียบเสมือนสาเหตุภายในซึ่งมีกําลังผลักดันใหบุคคลกระทําไปไดตาง ๆ กัน สาเหตุภายในหรือเจตคติตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งของบุคคลนี้ อาจไดผลกระทบมาจากสาเหตุภายนอกดวยสวนหนึ่ง และเจตคติ ของบุคคลอาจเปนเครื่องกรอง หรือเครื่องหักเห อิทธิพลของสาเหตุภายนอก ที่มีตอการกระทําของบุคคลใหชัดเจน บางกรณีอาจจําเปนตองวัดเจตคติของบุคคลตาง ๆ ตอสาเหตุภายนอกนั้นดวย

Page 17: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

23

เจตคติตอวิทยาศาสตร 1. ความหมายของเจตคติตอวิทยาศาสตร ไดมีผูใหความหมายของเจตคติตอวิทยาศาสตรไวหลายประการ ดังนี้ ฮาสัน และบิลเลห (Hasan and Billeh, 1975 : 247) กลาววา เจตคติตอวิทยาศาสตร เปนความรูสึก ความคิด ความเชื่อและความซาบซึ้งของบุคคลที่เกิดจากผลของวิทยาศาสตร ทั้งทางตรงและทางออม และผลของวิทยาศาสตรนั้นจะสงผลตอ พฤติกรรมของมนุษยที่มีตอวิทยาศาสตร คอบเบลลา และคราวเลย (Kobella and Crawley, 1985 : 222-232) กลาววา เจตคติที่มีตอวิทยาศาสตรใชสําหรับอางถึงบุคคลที่มีความรูสึกตอวิทยาศาสตรทั้งในทางบวกและลบเชน ความรูสึกชอบ ไมชอบวิชาวิทยาศาสตร เปนตน อนันต จันทรกวี (2523 : 61) กลาววา เจตคติตอวิทยาศาสตร หมายถึง ความรูสึกพอใจ ชอบ ไมชอบ หรือความเบื่อหนายเกี่ยวกับประสบการณทางวิทยาศาสตร นวลจิตต โชตินันท (2524 : 9) กลาววา เจตคติตอวิทยาศาสตรเปนความรูสึกหรือพฤติกรรมที่แสดงออกตอวิทยาศาสตรดานตาง ๆ ซึ่งจะแสดงออก 2 ทาง คือ เจตคติตอวิทยาศาสตรเชิงนิมาน (Positive Attitudes toward Science) เปนพฤติกรรมที่แสดงออกในลักษณะพอใจ ชอบ อยากเรียน อยากเขาใกลส่ิงตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตร และเจตคติตอวิทยาศาสตรเชิงนิเสธ (Negative Attitudes toward Science) เปน พฤติกรรมที่แสดงออกในลักษณะที่ไมพึงพอใจ ไมชอบ ไมอยากเรียน ไมอยากเขาใกล เบื่อหนายสิ่งตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตร บุปผชาติ เรืองสุวรรณ (2530 : 10) กลาววา เจตคติตอวิทยาศาสตรหมายถึง ความรูสึกและความเชื่อมั่นของนักเรียนที่มีตอวิทยาศาสตรทั้งดานดีและดานไมดี เกี่ยวกับคุณประโยชน ความสําคัญ เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร ฮาลาไดนา และชอเนสซี (Haladyna and Shaughnessy, 1982 : 547-549) ไดศึกษาสังเคราะหเชิงปริมาณในงานวิจัยเกี่ยวกับเจตคติตอวิทยาศาสตร แลวสรุปความหมายของเจตคติที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรตามคํานิยามของนักวิจัยแตละคน ดังนี้ 1. เจตคติตอนักวิทยาศาสตร (Attitudes toward Scientists) เปนการรับรูเกี่ยวกับคุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร และอาชีพวิทยาศาสตร

Page 18: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

24

2. เจตคติตอวิธีการสอนวิทยาศาสตร (Attitudes toward a Method of Teaching Science) เปนความรูสึกของผูเรียนที่มีตอกิจกรรมหรือวิธีการสอนวิทยาศาสตรรวมทั้ง การทดลอง การใชผูเชี่ยวชาญ หนังสือ และครู

3. เจตคติตอหลักสูตรวิทยาศาสตร (Attitudes toward Parts of the Curriculum) เปนการรับรูของนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมที่หลากหลาย หรือสวนตาง ๆ ของหลักสูตรวิทยาศาสตร รายวิชาที่เสนอในชั้นเรียนวิทยาศาสตร 4. เจตคติตอวิชาวิทยาศาสตร (Attitudes toward the Subject of Science) เปนความรูสึกของผูเรียนที่มีตอเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร โดยสรุป เจตคติตอวิทยาศาสตร หมายถึง ความรูสึก ความคิด ความเชื่อ และพฤติกรรมการรับรูคุณลักษณะของนักวิทยาศาสตร ศรัทธาในอาชีพวิทยาศาสตรและ ผลงานทางวิทยาศาสตร มีความสนใจและชอบกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตร ชอบเรียนวิชาวิทยาศาสตร เห็นความสําคัญและประโยชนของวิทยาศาสตรรวมถึงใชความรูทางวิทยาศาสตรอยางมีคุณธรรม 2. แนวทางในการพัฒนาเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรในโรงเรียนนั้น จุดประสงคที่สําคัญประการหนึ่งก็คือ การปลูกฝงใหผูเรียนไดพัฒนาเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร ในการที่จะทราบวา การพัฒนาเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตรใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียนประสบผลสําเร็จ หรือไม หรือนักเรียนคนใดมีเจตคติทางบวกหรือทางลบตอวิทยาศาสตร อาจจะสังเกตไดจากพฤติกรรมหรือลักษณะตาง ๆ ของผูเรียนที่แสดงออก ดังมีผูเสนอไว ดังนี้ นวลจิตต โชตินันท (2524 : 32) ไดกําหนดลักษณะของผูที่มีเจตคติที่ดีตอ วิทยาศาสตรไวดังตอไปนี้ 1. มีความคิดเห็นที่ดีตอวิทยาศาสตรโดยทั่ว ๆ ไป 2. มีความรูสึกวาวิทยาศาสตรมีความสําคัญ 3. มีความนิยมชมชอบวิทยาศาสตร 4. มีความสนใจวิทยาศาสตร 5. แสดงออกหรือมีสวนรวมตอกิจกรรมวิทยาศาสตร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2531 : 14) ไดกําหนดไววาผูที่มีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร ควรมีลักษณะบงชี้/พฤติกรรม ดังนี้

Page 19: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

25

1. พอใจในประสบการณการเรียนรูที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร 2. ศรัทธาและซาบซึ้งในผลงานทางวิทยาศาสตร 3. เห็นคุณคาและประโยชนของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. ตระหนักในคุณและโทษของการใชเทคโนโลยี 5. เรียนหรือเขารวมกิจกรรมทางวิทยาศาสตรอยางสนุกสนาน 6. เลือกใชวิธีการทางวิทยาศาสตรในการคิดและปฏิบัติ 7. ตั้งใจเรียนวิชาวิทยาศาสตร 8. ใชความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรม 9. ใชความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยใครครวญไตรตรองถึงผลดีและผลเสีย การพัฒนาเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตรใหเกิดขึ้นในตัวผูเรียนเปนเปาหมายที่สําคัญอันหนึ่งของหลักสูตรวิทยาศาสตร สสวท. เพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาว ทบวงมหาวิทยาลัยไดเสนอแนวทางในการพัฒนาเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร ดังนี้ (คณะอนุกรรมการการพัฒนาหลักสูตรและผลิตอุปกรณการสอนวิทยาศาสตร, 2525 : 57-58) 1. เปดโอกาสใหนักเรียนไดฝกประสบการณ เพื่อการเรียนรูอยางเต็มที่ โดยเนนวิธีการเรียนรูจากการทําปฏิบัติการ ซึ่งนักเรียนจะไดมีโอกาสใชทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรมากขึ้น 2. มอบหมายใหทํากิจกรรมการเรียนวิทยาศาสตร โดยเฉพาะการทําปฏิบัติการควรไดทํางานเปนกลุม เพื่อการทํางานรวมกับผูอ่ืน ฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน ฝกความ รับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย ในขณะที่นักเรียนทํางานครูตองดูแลหรือใหความชวยเหลือบางอยาง และสังเกตพฤติกรรมนักเรียนไปดวย 3. การใชคําถามหรือการสรางสถานการณเปนการชวยกระตุนใหนักเรียนสามารถสรางเจตคติตอวิทยาศาสตรไดดี 4. ในขณะทําปฏิบัติการควรนําหลักจิตวิทยาการศึกษาในรูปตาง ๆ เพื่อใหเด็ก ไดฝกประสบการณหลาย ๆ ทาง ไดแก กิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวสถานการณที่แปลกใหม การใหความเอาใจใสของครู ฯลฯ ส่ิงเหลานี้จะเปนพลังสําคัญสวนหนึ่งตอการพัฒนา เจตคติได 5. ในการสอนแตละครั้งพยายามสอดแทรกลักษณะเจตคติแตละลักษณะตามความเหมาะสมของเนื้อหาของบทเรียนและวัยของนักเรียน กับใหมีการพัฒนาเจตคตินั้น ๆ ดวย

Page 20: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

26

6. นําตัวอยางที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันซึ่งเปนปญหาสังคม แลวใหนักเรียนชวยกันคิดเพื่อหาทางแกปญหาดังกลาว หลังจากไดมีการสรุปแลว ครูควรอภิปรายเพื่อชี้ให นักเรียนเห็นวาทุกขั้นตอนจะมีลักษณะของเจตคติตอวิทยาศาสตร ซึ่งนักเรียนสามารถนําไปพัฒนาตนเองได 7. เสนอแนะแบบอยางของผูที่มีเจตคติตอวิทยาศาสตร ซึ่งนักเรียนอาจจะศึกษาหรือเลียนแบบได เชน นักวิทยาศาสตร ครู บิดามารดา เพื่อนนักเรียน เปนตน 3. องคประกอบที่มีอิทธิพลตอเจตคติตอวิทยาศาสตร แมคมิลแลน และเมย (Mcmillan and May, 1979 : 218-220) ไดศึกษา องคประกอบที่มีอิทธิพลตอเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน ผลการศึกษาพบวาสิ่งที่มีอิทธิพลตอเจตคติตอวิทยาศาสตร ดังนี้ 1. กิจกรรมในชั้นเรียน 1.1 รอยละ 70 ของนักเรียนเห็นวา การทดลอง การสืบเสาะและกิจกรรมที่ตองลงมือปฏิบัติ มีอิทธิพลตอความชอบวิทยาศาสตรมากที่สุด 1.2 รอยละ 35 ของนักเรียนเห็นวา การเขียนงานที่มอบหมายใหซึ่งรวมทั้งการเขียนรายงาน และการรายงานผลการทดลอง เปนสิ่งที่นักเรียนชอบนอยที่สุด รอยละ 25 บอกวาชอบการทดลองนอยที่สุด 2. ครู 2.1 บุคลิกของครู นักเรียนหญิงเห็นวาลักษณะบุคลิกของครูมีผลตอความชอบหรือไมชอบวิทยาศาสตรมากกวานักเรียนชายถึง 3 เทา 2.2 ส่ิงที่ครูปฏิบัติ นักเรียนชายเห็นวาสิ่งที่ครูชวยทําใหพวกเขาชอบ วิทยาศาสตรมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งการชวยในการทดลองและการใหความเปนอิสระแก นักเรียน 3. พอ-แม รอยละ 84 ของนักเรียนชาย และรอยละ 67 ของนักเรียนหญิง เห็นวา พอแมไมมีอิทธิพลตอการชอบหรือไมชอบวิทยาศาสตร 4. บรรยากาศในการเรียน นักเรียนหญิงรอยละ 71 และนักเรียนชายรอยละ 43 เห็นวายิ่งพวกเขาใชความพยายามมากเทาใด พวกเขายิ่งชอบวิทยาศาสตรมากเทานั้น นักเรียนหญิงนอยกวารอยละ 25 และนักเรียนชายรอยละ 43 เห็นวาความพยายามของพวกเขาไมมีผลทําใหเกิดความรูสึกที่แตกตางกันตอการเรียนวิทยาศาสตร

Page 21: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

27

5. ผลการเรียนนักเรียนมากกวาครึ่งเห็นวา ผลการเรียนเปนรางวัลชนิดเดียวที่พวกเขาไดรับจากการทําดีในวิทยาศาสตร และนักเรียนสวนมากเห็นวารางวัลมีสวนชวยใหพวกเขามีความรูสึกที่ดีตอวิทยาศาสตร 6. ความมีประโยชนหรือความมีคุณคาของวิทยาศาสตรและความสนุกสนานในการเรียนวิทยาศาสตร 6.1 นักเรียน 2 ใน 3 มีความแตกตางกันระหวางการรับรูในเรื่องความมีประโยชนและความชอบวิทยาศาสตร 6.2 นักเรียนชายสวนมากและนักเรียนหญิงสวนนอยเห็นวา วิทยาศาสตรมีประโยชนมาก และมีความสนุกสนานกับการเรียนวิทยาศาสตร 7. ระดับช้ันเรียน การรับรูของนักเรียนเกี่ยวกับอิทธิพลที่มีตอการชอบ ไมชอบวิทยาศาสตรจะแตกตางกันคือ กิจกรรมในชั้นเรียนมีความสําคัญเปนพิเศษ สําหรับนักเรียนระดับช้ัน 7 นักเรียนชายระดับช้ัน 8 จํานวนงานที่ทํามีผลสําหรับนักเรียนชายระดับช้ัน 7 และ ระดับช้ัน 9 เนื้อหาที่เรียนมีผลสําหรับนักเรียนชายระดับช้ัน 8 และเพื่อนรวมชั้นมีความสําคัญสําหรับนักเรียนระดับช้ัน 7 4. การวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร

การวัดเจตคติ การวัดเจตคติเปนเรื่องที่ทําไดยาก เพราะมีตัวแปรแทรกซอนมาก (Shrigley and Koballa, 1984 : 111) แตเมื่อยอมรับกันวาเจตคติมีประโยชนมากมาย จึงจําเปน ที่นักจิตวิทยาจะตองคนหาวิธีวัดเจตคติ เพรดดี้และคาซิออปโป (Petty and Cacioppo, 1982 : 9) ไดเสนอวาในการศึกษาเพื่อวัดเจตคตินั้นจะตองศึกษาเพื่อตอบคําถามดังตอไปนี้ 1. เจตคติคืออะไร 2. เจตคติตอเร่ืองอะไร 3. เจตคติตอเร่ืองนั้น ๆ อยูที่ไหน 4. เจตคติตอเร่ืองนั้น ๆ จะเกิดขึ้นเมื่อใด 5. ใครแสดงเจตคติตอเร่ืองนั้น ๆ 6. เราจะศึกษาเจตคติตอเร่ืองนั้น ๆ ไดอยางไร เมื่อเราตอบปญหาตาง ๆไดเปนที่นาพอใจก็ยอมเปนหลักประกันไดวา เราสามารถวัดเจตคติไดตรงกับที่เราตองการ เอ็ดเวอรด (Edwards, 1957 : 195-196) ไดเสนอวิธีการวัดเจตคติไวดังนี้

Page 22: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

28

1. การถามโดยตรง (Direct Procedure) วิธีนี้เปนวิธีที่งายและตรงไปตรงมา ที่สุดคือ ถาเราตองการทราบความรูสึกหรือความคิดเห็นสวนตัวของใครสักคนหนึ่งตอส่ิงใด ส่ิงหนึ่ง เราก็ใชวิธีถามเขาโดยตรงเลยวา เขามีความรูสึกหรือมีความคิดเห็นตอส่ิงนั้น อยางไร วิธีนี้มีขอเสียที่วา ผูถามจะไมไดรับคําตอบที่จริงใจจากผูตอบ หรือผูตอบอาจ บิดเบือนคําตอบ เพราะผูตอบอาจเกิดความเกรงกลัวตอการแสดงความคิดเห็น วิธีแกไขที่ดีที่สุดคือ การทําบรรยากาศใหผูตอบรูสึกเปนอิสระคําตอบนั้นตองเปนความลับ รูกันเฉพาะ ผูถาม ผูตอบ และใหบุคคลนั้นแนใจวาผลของการตอบจะไมกลับมากระทบกระเทือน สถานภาพของผูตอบ 2. การวัดทางออม (Indirect Procedure) เปนการวัด จากการสังเกต พฤติกรรม มีผูเสนอวาถาตองการทราบวาใครมีความคิดเห็นหรือความรูสึกตอส่ิงใดอยางไร ก็ใหสังเกตพฤติกรรมของบุคคลนั้นตอส่ิงนั้น 3. การวัดโดยการสรางขอความเปนเชิงขอคิดเห็นตอส่ิงเราที่เราตองการวัด เจตคติเปนเครื่องเราใหคนที่เราตองการจะใหเขาแสดงเจตคติตอส่ิงนั้นตอบในเชิงวา เห็นดวย หรือไมเห็นดวยตอขอความนั้น ๆ

เครื่องมือวัดเจตคติ การสรางเครื่องมือวัดเจตคติข้ึนอยูกับความเชื่อของแตละบุคคลวาจะสามารถวัดเจตคติออกมาไดดวยวิธีใด สกอตต (Scott, 1968 : 206-210) ไดเสนอขอคิดในการสรางเครื่องมือวัดเจตคติวาจําเปนตองศึกษาลักษณะของเจตคติ ดังนี้ 1. ทิศทางของเจตคติ แสดงออกได 2 ทาง คือ 1.1 เจตคติเชิงนิมาน หรือเจตคติทางบวก (Positive Attitude) เปนความโนมเอียงของอารมณในทางชอบ พึงพอใจ คลอยตามหรือเห็นดวย ทําใหบุคคลแสดงออกหรือปฏิบัติในทางที่ดีตอส่ิงนั้น ๆ 1.2 เจตคติเชิงนิเสธ หรือเจตคติทางลบ (Negative Attitude) เปนความโนมเอียงของอารมณในลักษณะไมพึงพอใจ เกลียดหรือตอตาน ไมเห็นดวย ทําใหบุคคลเกิดความเบื่อหนายตองการหนีใหหางจากสิ่งนั้นหรือสถานการณนั้น ๆ 2. ระดับของเจตคติ หมายถึง การที่บุคคลแสดงความรูสึกตอส่ิงใดสิ่งหนึ่งนั้นอาจจะมีความรูสึกเพียงผิวเผินเล็กนอยหรือลุมลึก เจตคติระดับผิวเผินจะไมคงที่เปลี่ยนแปลงงาย สวนเจตคติระดับลุมลึก จะคงทนและเปลี่ยนแปลงยาก 3. ความเขมของเจตคติ หมายถึง ปริมาณของความรูสึกหรือความคิดเห็นที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดซึ่งปรากฏในรูปของความรูสึกตอส่ิงนั้นมากนอยเพียงใด

Page 23: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

29

ในการสรางเครื่องมือวัดเจตคตินั้นจะตองสรางใหสามารถวัดไดครอบคลุมทั้งทางบวกและทางลบ มีระดับผิวเผินหรือลุมลึกเพียงใด มีความรูสึกตอส่ิงที่ตองการวัดมากนอยเพียงใด อยูที่การสรางขอความที่ใชกระตุนใหผูที่เราตองการวัดตอบสนองไดมากนอยเพียงใด ชริกเลยและทรูบลัด (Shrigley and Trueblood, 1979 : 74) ไดเสนอวา ขอความที่ใชเปนเครื่องมือวัดเจตคตินั้นควรจะเปน ขอความที่กระตุนใหผูตอบตอบเกี่ยวกับส่ิงตอไปนี้ 1. ตนเอง (Egocentric) 2. สังคม (Sociocentric) 3. พฤติกรรมที่สามารถสังเกตได (Action-centered)

ชนิดของเครื่องมือวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร ในการสรางเครื่องมือวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรนั้น เครื่องมือที่นิยมใชกันมากที่สุดก็คือ แบบมาตราสวนประมาณคาของลิเคอรท (Likert Type Rating Scale) แบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ 1. ประเภทที่ใชวัดเจตคติออกมาโดยไมแยกใหเห็นปจจัยดานตาง ๆ ที่สงผลตอเจตคติ เชน 1.1 แบบวัดเจตคติตอการสอนวิทยาศาสตร ของ Bratt and Davito (1978) และของพิมพมาศ สุทธนารักษ (2526) 1.2 แบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร ของ Shrigley (1974), Story and Brown (1979) และของฉลองพร แกววชิราภรณ (2526) 2. ประเภทที่ใชวัดเจตคติโดยแยกใหเห็นปจจัยดานตาง ๆ ที่สงผลตอเจตคติการกําหนดปจจัยดานตาง ๆ นั้นขึ้นอยูกับผูสรางเครื่องมือมีความเชื่อวา มีปจจัยดานใดบางที่ สงผลตอการเกิดเจตคติตอวิทยาศาสตร เครื่องมือชนิดนี้เรียกวา ชุดเครื่องมือวัดเจตคติ (Battery) เชน 2.1 แบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรของ Levin (1981) ซึ่งประกอบดวยปจจัยดานตาง ๆ 8 ดาน คือ 2.1.1 ประโยชนของวิทยาศาสตร 2.1.2 ความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตร 2.1.3 การยอมรับวาวิทยาศาสตรเปนเรื่องของผูชาย 2.1.4 การรับรูเจตคติของบิดา 2.1.5 การรับรูเจตคติของมารดา 2.1.6 การรับรูเจตคติของครู

Page 24: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

30

2.1.7 ความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร 2.1.8 แรงจูงใจในการเรียนวิทยาศาสตร 2.2 แบบสอบถามเจตคติตอวิทยาศาสตร (Lesotho Attitude to Science Test) ของ Towse (1983) ซึ่งประกอบดวยปจจัยดานตาง ๆ 4 ดาน คือ 2.2.1 ความสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร 2.2.2 ความยุงยากในการเรียนวิทยาศาสตร 2.2.3 อิทธิพลของครูในการเรียนวิทยาศาสตร 2.2.4 การนําเอาวิทยาศาสตรไปใชในสังคม มาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท มาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท คิดคนโดยนักจิตวิทยาสังคมชื่อ เรนซิส ลิเคอรท (Rensis Likert) มาตรวัดนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ เหมือนกัน เชน Sigma Scale, Method of Summated Rating, Likert Type (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2540 : 249) เปนมาตรวัดเจตคติที่ไดรับความนิยมมากที่สุด เพราะสรางไดงาย สรางใหมีความเปน เอกพันธงาย การตรวจใหคะแนนไมยุงยาก ยอมใหผูตอบไดพิจารณาระดับความมากนอยของความรูสึกของตนเอง (Mehrens and Lehmann, 1984 : 241 อางถึงใน ปราณี ทองคํา, 2539 : 155) ลักษณะของมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท เปนมาตรอันตรภาคชั้นที่มีชวงเทากัน (Equal Interval Scale) ประกอบดวยระดับตาง ๆ อาจจะเปน 5 ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ หรือต่ําสุด 2 ระดับ วิเชียร เกตุสิงค (2530 : 79) และบุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2531 : 88-89) ไดกลาวถึง ขอดีของมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท ดังนี้ 1. สรางไดงาย สะดวกในการนําไปใช และวิเคราะหผล 2. ไมตองหากลุมที่จะนํามาตัดสินเพื่อกําหนดคาประจําขอ 3. ไมตองคํานวณคาประจําขอ ซึ่งชวยลดภาระงานลงมาก 4. สามารถวัดเจตคติไดแนนอนกวามาตรวัดเจตคติแบบเทอรสโตน เพราะ ผูตอบตองตอบทุกขอความ ในขณะที่วิธีของเทอรสโตนเลือกตอบเพียงบางขอผูตอบจึงมีโอกาสบิดเบือนความจริงได

Page 25: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

31

5. มีความเชื่อมั่นสูง ใชเพียงไมกี่ขอก็มีความเชื่อมั่นไดสูงพอ ๆ กับเทคนิคอื่น ๆ ที่ใชจํานวนขอมาก 6. สามารถนําไปประยุกตใชในการวัดเจตคติที่มีตอสถานการณตาง ๆ ไดอยางกวางขวางทั้งยังสามารถวัดไดทั้งทิศทางและปริมาณความมากนอยของเจตคติไดอีกดวย (Anderson, 1988 : 428) 7. การตรวจใหคะแนนไมยุงยาก ยอมใหผูตอบไดพิจารณาระดับความมากนอยของความรูสึกของตนเอง (Mehrens and Lehmann, 1984 : 241 อางถึงใน ปราณี ทองคํา. 2539 : 155) มาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรทนั้นประมวลผลโดยการรวมคะแนนทั้งหมดที่บุคคลไดสนองตอบขอคําถามทุกขอเขาดวยกัน โดยมีขอตกลงเบื้องตน 3 ประการ ดังนี้ (สวัสด์ิ สุคนธรังษี, 2525 : 237) 1. การตอบสนองตอคําถามหรือขอความแตละขอในมาตรวัดจะมีลักษณะคงที่ (Monoonic Trace Line) แตมิไดหมายความวาลักษณะคงที่ของการตอบสนองในทุกขอจะตองเหมือนและเทากัน 2. ผลรวมของลักษณะคงที่ของการสนองตอบตอขอความทั้งหมดของแตละคนจะมีลักษณะเสนตรงหรือเกือบเปนเสนตรง (Linear) เพราะถึงแมวาลักษณะที่คงที่ในทุก ๆ ขอจะไมเทาเทียมกันแตเมื่อนํามารวมกันแลว จะทําใหสวนที่เกินหรือนอยกวาจะหักลบกันได 3. ผลรวมของลักษณะคงที่ของการสนองตอบตอขอความหนึ่ง ๆ จะมี องคประกอบรวมกันอยูตัวหนึ่ง นั้นคือ ผลรวมนี้จะแทนคาลักษณะนิสัยที่วัดไดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียว 1. การสรางมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท การสรางมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรทมีข้ันตอนการสราง ดังนี้ (Anderson, 1988 : 427 and Likert, 1967 : 90-91) 1. การกําหนดที่หมายของเจตคติ กําหนดใหชัดเจน เชน วิชาวิทยาศาสตร 2. การเลือกคําถามและรวบรวมขอความคิดเห็น การเก็บรวบรวมขอความคิดเห็นที่จะเปนตัวกระตุนใหบุคคลแสดงปฏิกิริยาโตตอบออกมา ขอความนั้นควรมีลักษณะ ดังนี้

Page 26: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

32

2.1 คําถามทุกขอตองเปนขอความเกี่ยวกับเจตคติ ไมใชเปนการถาม เรื่องราวของขอเท็จจริง เพราะคําถามเกี่ยวกับขอเท็จจริงนั้นไมสามารถบอกไดวา ผูตอบมี เจตคติเปนอยางไร คือจะไมสามารถวัดความแตกตางของเจตคติได 2.2 คําถามทุกขอตองแจมแจง ชัดเจน รัดกุม และตรงประเด็นที่ตองการศึกษา การเขียนคําถามควรถามครั้งละหนึ่งประเด็นเทานั้น เพราะถาเขียนคําถามครั้งละหลายประเด็นจะทําใหผูตอบเกิดความสับสน เพราะผูตอบอาจจะเห็นดวยกับคําถามเพียงประเด็นเดียว สวนประเด็นอื่น ผูตอบอาจไมเห็นดวย เชน มหาวิทยาลัยควรจะสงเสริมดานการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ควรจะแยกเปน มหาวิทยาลัยควรจะสงเสริมดานการเรียนการสอน กับ มหาวิทยาลัยควรจะสงเสริมกิจกรรมนักศึกษา เปนตน 2.3 ขอคําถามนั้น ควรใชคําและศัพทงาย ๆ ที่ทุกคนอานแลวเขาใจตรงกัน พยายามหลีกเลี่ยงคําที่มีความหมายหลายแงหลายมุม 2.4 หลีกเลี่ยงการใชคําปฏิเสธวา “ไม” ใหใชคําอ่ืนที่มีความหมายคลายกันแทน 2.5 คําถามควรมีลักษณะที่สามารถจําแนกเจตคติของบุคคลในแงตาง ๆ ได กลาวคือ บุคคลที่มีเจตคติตางกันควรมีแนวคําถามปรากฏใหเห็นแตกตางกัน สวนแนว คําถามใดที่บุคคลทุก ๆ คนมีแนวโนมที่จะตอบเหมือน ๆ กัน ทั้งที่มีเจตคติตางกันขอนั้นควรตัดทิ้งไป 2.6 ผลจากการตอบคําถาม ควรจะกระจายพอสมควร ตามแนวของ เจตคติ คือ มีทั้งกลุมที่เห็นดวยและกลุมที่ไมเห็นดวย 2.7 ในมาตรวัดชุดหนึ่ง ๆ ควรมีคําถามประเภทบวก หรือนิมาน และประเภทลบ หรือนิเสธ อยางละเทา ๆ กัน 2.8 ถาใชคําถามประเภทเลือกตอบ (Multiple Choice Statement) ตัวเลือกแตละตัว จะตองสามารถแยกเจตคติได และไมมีหลายตัวแปรในแตละคําตอบ เชน วิทยาศาสตรทําใหทานเครียดเพียงใด ก. เครียดมากกวาวิชาอื่น ๆ ทุกวิชา ข. เครียดมากกวาวิชาอื่น ๆ เล็กนอย ค. เครียดเทา ๆ กับวิชาอื่น ๆ ง. เครียดนอยกวาวิชาอื่น ๆ เล็กนอย จ. เครียดนอยกวาวิชาอื่น ๆ

Page 27: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

33

3. การกําหนดตัวแปรของเจตคติ เมื่อไดต้ังคําถามไวเรียบรอยแลว ก็นําคําถามเหลานั้นมากําหนดคาเจตคติวาควรจะมีคาตั้งแตเทาใด ถึงเทาใด ซึ่งจะพิจารณาไดโดยยึดหลักเกณฑดังนี้ 3.1 ขอคําถามทั้ง 2 ประเภท กําหนดคาเปน 5 ลักษณะ คือ ขอคําถามประเภทนิมาน (Favorable Statement) - เห็นดวยอยางยิ่ง (Strongle Agree) - เห็นดวย (Agree) - ไมแนใจ (Uncertain) - ไมเห็นดวย (Disagree) - ไมเห็นดวยอยางยิ่ง (Strongly Disagree) ขอคําถามประเภทนิเสธ (Unfavorable Statement) - ไมเห็นดวยอยางยิ่ง (Strongly Disagree) - ไมเห็นดวย (Disagree) - ไมแนใจ (Uncertain) - เห็นดวย (Agree) - เห็นดวยอยางยิ่ง (Strongle Agree) 3.2 การกําหนดน้ําหนัก คําถามประเภทนิมาน กําหนดใหน้ําหนักสูงสุดอยูที่ “เห็นดวยอยางยิ่ง” และน้ําหนักต่ําที่สุด “ไมเห็นดวยอยางยิ่ง” ดังนี้ เห็นดวย เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็น ไมเห็นดวย อยางยิ่ง ดวย อยางยิ่ง 5 4 3 2 1 ตัวอยางเชน คณิตศาสตรเปนวิชาที่พัฒนาสมอง 5 4 3 2 1

Page 28: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

34

คําถามประเภทนิเสธ กําหนดใหน้ําหนักสูงสุดอยูที่ “ไมเห็นดวยอยางยิ่ง” และน้ําหนักต่ําที่สุด “เห็นดวยอยางยิ่ง” ดังนี้ เห็นดวย เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็น ไมเห็นดวย อยางยิ่ง ดวย อยางยิ่ง 1 2 3 4 5 4. การเลือกคําถาม คําถามทุกขอที่สรางขึ้นในตอนแรกนี้ จะนําไปใชเปนแบบสอบถามเจตคติยังไมได จะตองนําคําถามเหลานี้ไปทดสอบดูกอนวา คําถามแตละขอนั้นจะเชื่อถือไดหรือไม สามารถวัดเจตคติที่ตองการจะวัดไดหรือไมเพียงไร โดยการนําขอความไปทดลองใชกับผูตอบที่มีลักษณะพื้นฐานคลายกับกลุมที่เราจะศึกษา จํานวนประมาณ 80-100 คน แลวนํามาวิเคราะหรายขอเพื่อประเมินคุณภาพของแตละขอความ ซึ่งกระทําได 2 วิธี คือ (วิเชียร เกตุสิงห, 2530 : 81) 4.1 หาคา t-test ระหวางคาเฉลี่ยของกลุมที่ไดคะแนนรวมสูงกับกลุมที่ไดคะแนนรวมต่ํา ขอใดที่คาทีแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงวาขอความนั้นมีอํานาจจําแนกแยกกลุมที่เห็นดวย และไมเห็นดวยออกจากกันได ใหคัดเลือกขอความที่มี คาทีสูงสุดลงมาตามจํานวนที่ตองการ 4.2 หาคาสหสัมพันธระหวางคะแนนแตละขอกับคะแนนรวมทั้งหมดลบคะแนนขอนั้น เปนการวิเคราะหโดยใชเกณฑความคงที่ภายในมาตรวัด (Criterion of Internal Consistency) ถาไดคาสหสัมพันธสูง แสดงวาใชได วิธีคัดเลือกขอความดังกลาวนี้ ลิเคอรทเสนอวา การวิเคราะหสหสัมพันธจะไดผลดีกวา แตจากการหาสหสัมพันธระหวางผลการวิเคราะหทั้งสองวิธีพบวามีความสัมพันธกัน (rho) ถึง 0.91 แสดงวา จะใชวิธีใดก็ได บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2531 : 88) สําหรับการหาคาความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติสามารถกระทําไดโดยหาความเชื่อมั่นแบบความคงที่ภายในดวยวิธีการแบงครึ่ง หรือวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา แตการหาคาความเชื่อมั่นแบบความคงที่ภายในดวยวิธีการแบงครึ่งนั้นมีขอจํากัด คือ ควรใชเมื่อขอ คําถามเรียงตามลําดับความยากงาย และมีคาความแปรปรวนของคะแนนแตละครึ่งที่แบงแลวเทากัน ถาไมเทากันคาความเชื่อมั่นจะสูงกวาหาดวยวิธีอ่ืน สวนแบบสัมประสิทธิ์แอลฟาใชกับเครื่องมือที่ใหคําตอบอยางไรก็ได ไมจําเปนตองเปนแบบตอบถูกให 1 คะแนน และตอบผิดหรือไมตอบให 0

Page 29: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

35

คะแนน จะใหคะแนนไมเทากันอยางแบบวัดเจตคติที่ใหคะแนนคําตอบเปน 5, 4, 3, 2, 1 หรือลักษณะอื่น ๆ ก็ได (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2540 : 212,253) ครอนบัคไดพัฒนาสูตรหาความเชื่อมั่นในรูปสัมประสิทธิ์แอลฟา (α -Coefficient) ในป ค.ศ. 1951 โดยพัฒนามาจากสูตร KR.20 ทั้งนี้เพราะจะไดใหคาความเชื่อมั่นกับเครื่องมือที่ไมไดตรวจใหคะแนนเปน 1 กับ 0 จะตรวจใหคะแนนลักษณะใดก็ได เชน ในลักษณะแบบสอบถามที่ใหคะแนนแตละขอเปน 3, 2, 1, หรือ 5, 4, 3, 2, 1 (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2539 : 218) 2. การแปลความหมายของคะแนนของมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท กรณีพิจารณาคะแนนของผูตอบเปนรายบุคคล ใชคะแนนรวมจากขอคําถามทั้งฉบับเปนเจตคติของผูถูกวัดตอส่ิงที่ตองการวัด ฉะนั้น คะแนนที่ไดของแตละบุคคลจะแทนวาเขาควรจะมีความรูสึกอยางไร มากกวาแทนวาเขามีความรูสึกจริง ๆ อยางไร และในกรณีที่ไดคะแนนจากผูตอบสองคนเทากัน ก็มิไดหมายความวาคนทั้งสองจะมีความเห็นดวยเหมือนกัน (อนันต ศรีโสภา, 2525 : 305) กรณีพิจารณาคะแนนของผูตอบเปนรายกลุม สวนมากจะคิดคะแนนเฉลี่ย (mean) ของกลุมประชากรที่เราศึกษา โดยดูวาคะแนนเฉลี่ยตกอยูสวนใดของสเกล โดยเอาคะแนนตรงกลางเปนหลัก วิธีการนี้จึงใชไดดีในกรณีที่ตองการเปรียบเทียบเจตคติที่มีตอส่ิงหนึ่งสิ่งใดระหวางกลุม หรือกลุมเดียวกันในการหาคาการเปลี่ยนแปลงเจตคติอันเนื่องมาจากการนําเอาตัวแปรบางอยางเขาไปในการทดลอง เชน หลังจากใชวิธีการศึกษาบางอยางแลวเปรียบเทียบเจตคติที่เปลี่ยนแปลงไปของกลุม (ประภาเพ็ญ สุวรรณ, 2520 : 31) วิธีวิเคราะหองคประกอบ 1. แนวคิดและลักษณะของการวิจัยที่ใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ บุญชม ศรีสะอาด (2540 : 160-161) ไดกลาวเกี่ยวกับแนวคิด และลักษณะของการวิจัยที่ใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบวา การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) เปนเทคนิคทางสถิติที่ใชวิเคราะหผลการวัด โดยใชเครื่องมือหรือเทคนิคหลายชุด หรือหลายดาน (อาจใชแบบทดสอบ แบบวัด แบบสํารวจ ฯลฯ อาจใชชุดเดียวแตมีการแยกวัดเปนหลายดานหรือหลายชุดก็ได) ผลการวิเคราะหจะชวยใหทราบวา เครื่องมือหรือเทคนิคเหลานั้นวัดในส่ิงเดียวกัน หรือที่เรียกวา วัดองคประกอบรวมกันหรือไม มีกี่ องคประกอบ เครื่องมือหรือเทคนิค

Page 30: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

36

เหลานั้นวัดแตละองคประกอบมากนอยเพียงใด ผูวิจัยจะพิจารณาผลการวิเคราะหแลวใชหลักเหตุผลระบุ (หรือกําหนดชื่อ) องคประกอบที่วัดนั้น ผลจากการวิเคราะหองคประกอบจะปรากฏคาตาง ๆ ที่สําคัญคือ คา Communality ซึ่งเขียนแทนดวย h2 เปนคาความแปรปรวนที่แตละดานแบงใหกับแตละองคประกอบ เปนสวนที่ชี้ถึงวาแตละดานวัดองคประกอบนั้นรวมกับตัวแปรอื่นมากนอยเพียงใด คา Eigen Value เปนผลรวมกําลังสองของสัมประสิทธิ์ขององคประกอบรวมในแตละองคประกอบ ซึ่งตองมีคาไมต่ํากวา 1 จึงจะถือเปนองคประกอบหนึ่ง ๆ ที่แทจริง Factor Loading เปนคาน้ําหนักองคประกอบที่แตละดานวัดในองคประกอบนั้น ผูวิจัยอาจตองการทราบวา เครื่องมือหรือเทคนิคที่ใชวัดสิ่งตาง ๆ จะเปน เครื่องมือที่สรางขึ้นเองหรือขอใชจากคนอื่นก็ตาม สามารถวัดอะไรรวมกันไดบาง (มี องคประกอบอะไรบาง) ก็สามารถทราบไดโดยใชเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ หรือกรณีที่ผูวิจัยสรางเครื่องมือวัดตามทฤษฎีหรือแนวคิดอยางหนึ่ง แลวตองการทราบวาเมื่อนําไปใชวัดจริงจะปรากฏผลตรงตามทฤษฎีหรือแนวคิดนั้นหรือไม ผูวิจัยสามารถทําไดโดย การนําเอาเครื่องมือที่สรางขึ้นไปใชวัดกับกลุมตัวอยางของประชากรที่ผูวิจัยสนใจศึกษา แลวนําเอาผลการวัดมาวิเคราะหดวยเทคนิคของการวิเคราะหองคประกอบ 2. ขอสังเกตเกี่ยวกับงานวิจัยที่ใชเทคนิคเกี่ยวกับการวิเคราะหองคประกอบ

บุญชม ศรีสะอาด (2540 : 164) ไดใหขอสังเกตเกี่ยวกับการวิจัยที่ใชเทคนิคในการวิเคราะหองคประกอบวา 1. ผูวิจัยอาจเนนการวิเคราะหองคประกอบเปนจุดเดนของการวิจัย แลวเสริมดวยจุดประสงคอ่ืน เชน เปรียบเทียบความสามารถแตละฉบับ (แตละดาน) ระหวางกลุมตาง ๆ ตามตัวแปรอิสระ เชน ระหวางเพศชาย หญิง ฯลฯ หรือวิจัยเพื่อสรางเครื่องมือ หรือเทคนิคในการวัดเปนสําคัญ แลวมีการวิเคราะหองคประกอบเปนสวนหนึ่ง เพื่อตรวจสอบถึงความเที่ยงตรงเชิงโครงสรางของเครื่องมือวัดเหลานั้นวาสามารถวัดองคประกอบตามที่มุงหวังจริง 2. ผลจากการวิเคราะหองคประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอร จะปรากฏคาตาง ๆ ซึ่งยังไมสมบูรณ เพราะบอกแตคาน้ําหนักองคประกอบ ไมไดบอกวาองคประกอบที่ 1, 2, 3, (ถามี) นั้นคือองคประกอบอะไร ผูวิจัยตองพิจารณาโดยใชหลักเหตุผลวา ฉบับใดบางที่วัดองคประกอบนั้นมาก กลุมนั้นควรเปนเรื่องอะไร แลวตั้งชื่อองคประกอบเอง 3. สามารถนําเทคนิคนี้ไปวิจัยไดอีกอยางกวางขวาง โดยมีเงื่อนไขวาตองมีการวัดหลาย ๆ ดาน

Page 31: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

37

3. เทคนิคการวิเคราะหองคประกอบ อุทุมพร ทองอุไทย (2523 : 19-20) ไดสรุปเทคนิคการวิเคราะหองคประกอบตามขั้นตอนตาง ๆ ดังนี้ 1. สกัดตัวประกอบจากเมตริกสหสัมพันธ 2. ทําการหมุนตัวประกอบที่สกัดได ซึ่งอาจทําไดโดยจัดใหตัวประกอบเปนอิสระตอกัน หรืออาจทําโดย ใหตัวประกอบสัมพันธกันได แลวแตธรรมชาติของตัวประกอบ 3. ทําการแปลความหมายตัวประกอบที่ไดรับ 4 ขั้นตอนในการวิเคราะหองคประกอบ ส.วาสนา ประวาลพฤกษ (2535 อางถึงใน สายพิณ ศรีสุวรรณรัตน, 2540 : 30) ไดกลาวถึงขั้นตอนในการวิเคราะหองคประกอบไวดังนี้ 1. การเตรียมขอมูล 2. การสรางเมตริกสหสัมพันธหรือเมตริกความแปรปรวนและความแปรปรวนรวม 3. การสกัดตัวประกอบ 4. การหมุนแกน 5. การสรางมาตราองคประกอบ (Factor Scale)

การสกัดองคประกอบ จุดมุงหมายในการสกัดองคประกอบ คือ เพื่อหาจํานวนแฟกเตอรรวมที่นอยที่สุดระหวางตัวแปรสังเกต วิธีการสกัดองคประกอบมีหลายวิธี เชน (ส.วาสนา ประวาลพฤกษ, 2535 อางถึงใน สายพิณ ศรีสุวรรณรัตน, 2540 : 30) 1. Principal Component Analysis (PC.) 2. Least Square Analysis (LS) 3. Maximum Likelyhood 4. Alpha Factoring 5. Image

การหมุนแกน วิธีการหมุนแกนมี 2 วิธี คือ Orthogonal และ Oblique 1. Orthogonal องคประกอบรวมตาง ๆ ไมสัมพันธกันซึ่งอาจทําโดย 1.1 Quartimax หมุนแกนโดยเนนการเปลี่ยนแถวใหงายขึ้น

Page 32: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

38

1.2 Varimax หมุนแกนโดยเนนการเปลี่ยนคอลัมนใหงายขึ้น คือ ทําใหเกิดความแปรผันของคอลัมนใน Factor Structure Matrix 1.3 Eqlique ใชวิธีประนีประนอมระหวาง Quartimax กับ Varimax 2. Oblique มี 2 วิธีหลัก คือ 2.1 หมุนแกนโดยยึด Reference Axes ซึ่งอาจจะใชวิธี Quartimin, Biquartimin หรือ Covariamin 2.2 หมุนแกนโดยไมได Reference Axes แตใช Pattern matrix ใชวิธี Oblimax หมุนแกนโดยเปลี่ยนแถวใหงายขึ้น เชนเดียวกับ Quartimax ใน Orthogonal การหาเกณฑปกติ (Norms) 1. เกณฑในการสรางเกณฑปกติ เกณฑปกติ หมายถึง ขอเท็จจริงทางสถิติที่บรรยายการแจกแจงของคะแนนจากประชากรที่นิยามไวอยางดีแลว และเปนคะแนนตัวที่บอกระดับความสามารถของผูสอบวาอยูระดับใดของกลุมประชากร แตในทางปฏิบัติประชากรที่นิยามไวอยางดี (Well Defined Population) เปนกลุมตัวอยางที่ดีของประชากรนั้นเอง แตตองมีจํานวนมากพอที่จะเปน ตัวแทนของประชากรไดดวย ไมอยางนั้นแลวเกณฑปกติเชื่อมั่นไมได การสรางเกณฑปกติจึงขึ้นอยูกับเกณฑ 3 ประการ (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2539 : 314) 1. ความเปนตัวแทนที่ดี การสุมตัวอยางของประชากรที่นิยามทําไดหลายวิธี เชน สุมแบบธรรมดา สุมแบบแบงชั้น สุมแบบเปนระบบ หรือสุมแบบแบงกลุม เปนตน เลือกสุมตามความเหมาะสมโดยการพิจารณาประชากรเปนตัวสําคัญ ถาประชากรมีลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไมมีคุณสมบัติอะไรแตกตางกันมาก ใชวิธีสุมแบบธรรมดา (Sample Random Sampling) ดีที่สุด แตถาเปนลักษณะมีอะไรแตกตางกันมากเชน ขนาดโรงเรียนตางกัน ระดับความสามารถแตกตางกัน ทําเลการตั้งแตกตางกัน และมีผลตอการเรียน ถาแบบนี้การสุมจะตองใชวิธีสุมแบบแบงชั้น (Stratified Random Samlping) จึงจะเหมาะ ถาแตละหนวยการสุม เชน โรงเรียน หองเรียน มีคุณลักษณะไมแตกตางกัน แตแบงหนวยการสุมไวแลว การสุมแบบนี้ใชวิธีการสุมแบบแบงกลุม (Cluster Random Sampling) จะดีที่สุด 3 วิธีนี้ใชในการสุมเพื่อสรางเกณฑปกติมากที่สุด 2. มีความเที่ยงตรง ในที่นี้หมายถึงการนําคะแนนดิบไปเทียบกับเกณฑปกติที่ทําไวแลว สามารถแปลความหมายไดตรงกับความเปนจริง

Page 33: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

39

3. มีความทันสมัย เกณฑปกตินั้นขึ้นอยูกับความสามารถของประชากรกลุมนั้น การพัฒนาคนมีอยูตลอดเวลา ดังนั้นเกณฑปกติที่เคยศึกษามานานแลวหลายป อาจมีความผิดพลาดจากความเปนจริง โดยทั่วไปแลวเกณฑปกติควรเปลี่ยนทุก ๆ 5 ป จึงจะ ทันสมัย 2. ประเภทของเกณฑปกติ เกณฑปกติอาจแยกไดเปนหลาย ๆ ประเภท โดยใชหลักในการแบงที่ตางกันออกไป ดังนี้ (เยาวดี วิบูลยศรี, 2540 : 59) 1. แบงตามกลุมตัวอยางประชากร และความเปนตัวแทนของพื้นที่ทางภูมิศาสตร ซึ่งอาจแบงออกไดดังนี้ 1.1 เกณฑปกติภายในชั้นเรียน 1.2 เกณฑปกติภายนอก แบงยอยตอไปไดอีกเปน 1.2.1 เกณฑปกติระดับทองถิ่น (Local Norms) 1.2.2 เกณฑปกติระดับภาค (Regional Norms) 1.2.3 เกณฑปกติระดับประเทศ (National Norms) 2. แบงตามลักษณะการแปลงคะแนน โดยอาจแบงออกไดอีก 2 ลักษณะ คือ 2.1 คะแนนเกณฑปกติในระบบเปอรเซ็นตไทล 2.2 คะแนนเกณฑปกติในระบบคะแนนมาตรฐาน 3. แบงตามลักษณะกลุมการใชเพื่อการเปรียบเทียบ เชน 3.1 เกณฑปกติจําแนกตามระดับอายุ 3.2 เกณฑปกติจําแนกตามระดับช้ันเรียน 3. คะแนนทีปกติ คะแนนทีปกติ (Normalized T-score) เปนคะแนนที่ไดจากการแปลงคะแนนดิบ โดยใชหลักแปลงตามพื้นที่ของโคงปกติ (Area Transformation) ปรับการกระจายของคะแนนดิบใหเปนการกระจายแบบโคงปกติ คะแนนทีปกตินี้ตางกับคะแนนมาตรฐาน T-score กลาวคือ คะแนนมาตรฐาน T-score นั้น เปนคะแนนที่ไดจากการแปลงคะแนนดิบในเชิงเสนตรง (Linear Transformation) การกระจายของคะแนนมาตรฐาน T-score จึงมีลักษณะคงเดิม เหมือนกับการกระจายของคะแนนดิบทุกประการ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2524 : 97) ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยหาเกณฑปกติ โดยวิธีการแปลงคะแนนดิบใหเปนคะแนนทีปกติ

Page 34: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

40

งานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับเจตคติตอวิทยาศาสตร ในป 1973 ชริกเลย (Shrigley, 1973 : 789-793) ไดศึกษาความแตกตางระหวางเพศที่มีผลตอการมีเจตคติตอวิทยาศาสตรและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับช้ัน 6 ผลการศึกษาพบวา

1) นักเรียนชายมีเจตคติตอวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนหญิง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2) นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมแตกตางกัน ตอมาในป 1974 ฮอพแมน (Hofman, 1974 : 7068-A) ไดศึกษาเจตคติของนักเรียนอายุ 8 ขวบ ที่กําลังเรียนอยูในชั้นประถมศึกษา จํานวน 79 คน ที่มีตอวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและตอนักวิทยาศาสตร โดยการสนทนาโตตอบกันแลวบันทึกการสนทนาดวยเทปบันทึกเสียง หลังจากนั้นใหกรรมการ 4 คน ตัดสินใหคะแนนจากการเปดเทปบันทึกเสียง แลวแปลงมาเปนมาตรวัดเจตคติ 3 ระดับ คือ บวก กลาง และลบ ผลการศึกษาพบวา เจตคติตอวิทยาศาสตร เจตคติตอทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และเจตคติตอนักวิทยาศาสตรของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงไมแตกตางกัน ป 1975 แอเรสและไพรซ (Ayres and Price, 1975 : 311-318) ไดศึกษา เจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนที่มีระดับช้ันเรียน เพศและหลักสูตรตางกัน ผลการศึกษาพบวา นักเรียนระดับช้ัน 4 ชอบวิทยาศาสตรมากกวานักเรียนระดับช้ัน 5 นักเรียนระดับช้ัน 4 และระดับชั้น 5 มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร แตนักเรียนระดับช้ัน 6 มีเจตคติตอวิทยาศาสตรในทางลบ .ในป 1979 ไอเคน (Aiken, 1979 : 229-234) ไดศึกษาเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับช้ัน 6, 7 และ 8 ของประเทศอิหราน โดยเลือกกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชาย 50 คน และนักเรียนหญิง 50 คน นักเรียนในกลุมตัวอยางกําลังเรียนที่กรุงเตหะราน ผลจากการศึกษาพบวา 1) นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีเจตคติตอวิทยาศาสตรไมแตกตางกัน

2) เจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนชายและหญิงไมเปลี่ยนแปลงเมื่อระดับช้ันเรียนสูงขึ้น ในป 1982 ฮัฟและไปเปอร (Hough and Piper, 1982 : 33-38) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับประถม

Page 35: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

41

ศึกษาในเมืองฮิวตัน จํานวน 583 คน ผลการศึกษาพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความสัมพันธกับเจตคติตอวิทยาศาสตรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในป 1984 เลวินและเฟาวเลอร (Levin and Fowler, 1984 : 151-166) ไดศึกษาและเปรียบเทียบเจตคติตอวิทยาศาสตรโดยสวนรวมและดานตาง ๆ ซึ่งประกอบดวย ดานประโยชนของวิทยาศาสตร ความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตร การยอมรับวา วิทยาศาสตรเปนเรื่องของผูชาย การรับรูเจตคติของบิดา การรับรูเจตคติของมารดา การรับรูเจตคติของครู ความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร และแรงจูงใจในการเรียน วิทยาศาสตร ของนักเรียนมัธยมศึกษาที่มีเพศ ระดับช้ันเรียนและโปรแกรมการเรียน วิทยาศาสตรที่ตางกัน จํานวน 988 คน ในรัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา เฉพาะในเรื่องเพศและระดับช้ันผลการศึกษาพบวา นักเรียนโดยสวนรวมมีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรอยูในระดับมาก นักเรียนหญิงมีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรมากกวานักเรียนชายใน 3 ดาน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ การยอมรับวาวิทยาศาสตรเปนเรื่องของ ผูชาย การยอมรับเจตคติของครู และความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร สวนดานที่เหลืออีก 5 ดาน นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีเจตคติตอวิทยาศาสตรไมแตกตางกัน นักเรียนระดับช้ัน 11 มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรมากกวานักเรียนระดับช้ัน 10 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในเกือบทุกดาน ยกเวนดานแรงจูงใจในการเรียนวิทยาศาสตร นักเรียนระดับช้ัน 11 และนักเรียนระดับช้ัน 12 มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรไมแตกตางกันในเกือบทุกดาน ยกเวน ดานการยอมรับวาวิทยาศาสตรเปนเรื่องของผูชาย และ นักเรียนระดับช้ัน 10 มีเจตคติแตกตางจากนักเรียนระดับช้ัน 12 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ใน 3 ดานคือ ดานประโยชนของวิทยาศาสตร ความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตร และการยอมรับเจตคติของครู ในปเดียวกัน ฮารตีและคณะ (Harty, et al., 1984 : 308-315) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางความสนใจวิทยาศาสตร ความอยากรูอยากเห็น และเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นประถมปที่ 5 ที่มีเพศตางกัน ผลการศึกษาพบวา 1) เพศหญิง ความสนใจวิทยาศาสตรกับเจตคติตอวิทยาศาสตรมีสหสัมพันธกันในทางบวก ความสนใจวิทยาศาสตรกับความอยากรูอยากเห็นมีสหสัมพันธกันในทางบวก เจตคติตอวิทยาศาสตรกับความอยากรูอยากเห็นมีสหสัมพันธกันในทางบวก 2) เพศชาย ความสนใจวิทยาศาสตรกับเจตคติตอวิทยาศาสตรมีสหสัมพันธกันในทางบวก ความสนใจวิทยาศาสตรกับความอยากรูอยากเห็นมีสหสัมพันธกันในทางบวก เจตคติตอวิทยาศาสตรกับความอยากรูอยากเห็นมีสหสัมพันธกันในทางบวก

Page 36: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

42

ในป 1985 เบคเกอร (Baker, 1985 : 103-113) ไดศึกษาปจจัยของเจตคติตอวิทยาศาสตร ความสัมพันธทางมิติสัมพันธ ความสามารถทางคณิตศาสตรและบุคคลิกภาพทางวิทยาศาสตรของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ผลการศึกษาพบวา นักเรียนทั้งชายและหญิงที่ไดเกรด A และ B วิชาวิทยาศาสตรนั้น มีบุคลิกภาพทางวิทยาศาสตร และไดคะแนนสูงในวิชาคณิตศาสตร แตมีเจตคติทางลบตอวิทยาศาสตร สวนนักเรียนชายและหญิงที่ไดเกรด C และ D วิชาวิทยาศาสตร มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร แตไดคะแนนต่ําในวิชาคณิตศาสตร และมีความสามารถทางมิติสัมพันธต่ําและมีบุคลิกทาง วิทยาศาสตรนอย และพบวา เจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนชาย และนักเรียนหญิงไมแตกตางกัน .ในป 1987 โอลิเวอร (Oliver, 1987 : 2983-A) ไดศึกษาวาเจตคติตอ วิทยาศาสตร แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ และอัตมโนทัศน จะเปนตัวพยากรณผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิทยาศาสตรไดหรือไม โดยศึกษาแบบระยะยาวจากนักเรียนระดับช้ัน 6 จนถึง ระดับช้ัน 10 ในโรงเรียนขนาดใหญ ในรัฐนอรทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา จํานวน 5,000 คน ผลการศึกษาพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีมากอนมีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปจจุบัน เจตคติตอวิทยาศาสตรและแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์เปนตัวพยากรณ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ในทุกระดับช้ันเรียน อัตมโนทัศนทางวิทยาศาสตรเปนตัวพยากรณผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ในป 1987 ตันนิกร (Tunnikorn, 1987 : 1679-A) ไดศึกษาความแตกตางของเจตคติตอวิทยาศาสตรและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรกายภาพ และวิทยาศาสตรชีวภาพของนักเรียนระดับช้ัน 7 ระดับช้ัน 8 และระดับช้ัน 9 จากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จํานวน 709 คน เปนนักเรียนชาย 374 คน นักเรียนหญิง 335 คน ผลการศึกษาพบวา นักเรียนชายมีเจตคติตอวิทยาศาสตรทางบวกมากกวานักเรียนหญิงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนระดับช้ัน 7 ระดับช้ัน 8 และระดับช้ัน 9 มีเจตคติตอวิทยาศาสตรไมแตกตางกัน และเมื่อระดับช้ันเรียนสูงขึ้นเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนหญิงลดลง แตเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนชายเพิ่มข้ึน สําหรับในประเทศไทย ไดมีผูทําวิจัยเกี่ยวกับเจตคติตอวิทยาศาสตรไวดังนี้ ฉลองพร แกววชิราภรณ (2526 : ง) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางเจตคติตอวิทยาศาสตรกับทักษะการปฏิบัติการทดลองวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โปรแกรม

Page 37: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

43

วิทยาศาสตร จากโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 115 คน ผลการศึกษาพบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร และทักษะการปฏิบัติในการทดลองวิทยาศาสตรไมมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ราตรี อ้ิวสวัสด์ิ (2529 : จ) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางเจตคติตอวิทยาศาสตร ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิทยาศาสตร และสภาพแวดลอมในชั้นเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในเขตการศึกษา 1 จํานวน 546 คน พบวา 1) เจตคติตอวิทยาศาสตรกับสภาพแวดลอมในชั้นเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนมีความสัมพันธกันทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรกับสภาพแวดลอมในชั้นเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนไมมีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) เจตคติตอวิทยาศาสตรกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรของนักเรียนมีความสัมพันธกันทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เทอด แกวคีรี (2529 : บทคัดยอ) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางองคประกอบของนิสัยทางการเรียนและทัศนคติตอการเรียน กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ตัวอยางประชากรเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2526 จํานวน 606 คน จากโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวาองคประกอบของทัศนคติตอการเรียนที่มีความสัมพันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรอยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 7 องคประกอบ คือ องคประกอบความรูสึกที่มีตอ บุคลิกภาพ และวิธีการสอนของครู การเห็นความจําเปนในการเรียน การตัดสินใจ การเห็นคุณคาในการเรียน ความรูสึกที่มีตอคะแนน ความสนุกในการเรียน และความเห็นเกี่ยวกับการใชภาษาของครู และองคประกอบของทัศนคติตอการเรียนที่สามารถรวมกันทํานาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ไดอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มี 9 องคประกอบ โดยเรียงลําดับความสําคัญของการเขาทํานายคือ องคประกอบความรูสึกที่มีตอบุคลิกภาพ และวิธีการสอนของครู ความรูสึกวาครูเปนที่พึ่งของนักเรียน ความสนุกในการเรียน ความเห็นเกี่ยวกับการใชภาษาของครู ความขยันมาเรียน และการดูถูก อารมณและการเห็นคุณคาในการเรียน การเห็นคุณคาในการเรียน ความกระตือรือรนในการเรียน และการตัดสินใจ บุปผชาติ เรืองสุวรรณ (2530 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเจตคติตอวิทยาศาสตร ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตการศึกษา 10 ปการศึกษา 2529 พบวา นักเรียนชายมีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรมากกวานักเรียนหญิงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในดานความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตร และดานการยอมรับเจตคติของบิดา สวนนักเรียน

Page 38: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

44

หญิงมีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร โดยสวนรวมและดานที่เหลือมากกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเวนดานแรงจูงใจในการเรียนวิทยาศาสตรเทานั้นที่นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีเจตคติตอวิทยาศาสตรไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 4 มีเจตคติทางบวกตอ วิทยาศาสตร มากกวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 และปที่ 6 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเวนดานความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตรที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีเจตคติไมแตกตางจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 มีเจตคติทางบวกมากกวานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติในเกือบทุกดาน ยกเวนดานความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร นิรันดร รมพุดตาล (2531 บทคัดยอ) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางเจตคติตอวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เขตการศึกษา 6 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกส มีคาความเที่ยง 0.91 และ 0.89 ตามลําดับ ผลการวิจัยพบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เขตการศึกษา 6 มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางเจตคติตอวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟสิกสของนักเรียนมีคาเทากับ 0.342 ซึ่งมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สุวิทย วงษาไฮ (2532 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบเจตคติตอวิทยาศาสตรโดยสวนรวมและดานตาง ๆ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน พบวา นักเรียนจําแนกตามเพศมีเจตคติตอวิทยาศาสตรโดยสวนรวม และแตละดานอยูในระดับมาก และนักเรียนหญิงมีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร โดยสวนรวมและเกือบทุกดานมากกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเวนดานความเชื่อในการเรียนวิทยาศาสตรที่นักเรียนชายมีเจตคติทางบวกมากกวานักเรียนหญิงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่จําแนกตามประสบการณในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร มีเจตคติตอวิทยาศาสตรโดยรวมและแตละดานอยูในระดับมาก และนักเรียนที่มีประสบการณในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร 1 ป มีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตร โดยสวนรวมและเกือบทุกดานมากกวานักเรียนที่มีประสบการณในการเรียนวิทยาศาสตร 2 ป อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเวนดานความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตรที่นักเรียนทั้งสองกลุมมีเจตคติทางบวกตอวิทยาศาสตรไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 39: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

45

ทวีศักดิ์ ทิพโกมล (2532 : บทคัดยอ) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางอัตมโนทัศนทางวิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตรและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เขตการศึกษา 9 ผลการศึกษาพบวา สัมประสิทธสหสัมพันธระหวางอัตมโนทัศนทางวิทยาศาสตรและเจตคติตอวิทยาศาสตรของนักเรียนมีคาเทากับ 0.362 ซึ่งมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางอัตมโนทัศนทางวิทยาศาสตรและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนมีคาเทากับ 0.345 ซึ่งมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางเจตคติตอวิทยาศาสตรและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรของนักเรียนมีคาเทากับ 0.297 ซึ่งมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 รัชณีพร รัตนพลที (2539 : บทคัดยอ) ไดศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพื้นฐานและเจตคติตอวิทยาศาสตร กลุมตัวอยางที่ใช เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 และปที่ 3 ปการศึกษา 2538 ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติในเขตการศึกษา 9 จํานวน 2,215 คน ผลการศึกษาพบวานักเรียนจํานวนมากมีเจตคติตอวิทยาศาสตรโดยสวนรวมและอีก 5 ดาน อยูในระดับมาก คือ ดานประโยชนของวิทยาศาสตร ดานการยอมรับวาวิทยาศาสตรเปนเรื่องของผูชาย การรับรูเจตคติของมารดา ความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร และแรงจูงใจในการเรียนวิทยาศาสตร สวนที่เหลืออีก 3 ดาน คือ ดานความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตร ดานการรับรูเจตคติของบิดา และการรับรูเจตคติของครู นักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรไมแตกตางกัน แตนักเรียนหญิงมีเจตคติตอ วิทยาศาสตรโดยสวนรวมและอีก 4 ดานสูงกวานักเรียนชายอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ดานประโยชนของวิทยาศาสตร ดานการรับรูเจตคติของบิดา ดานการรับรูเจตคติของมารดา และดานความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร นักเรียนที่มีประสบการณในการเรียน 2 ป มีคะแนนเฉลี่ยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพื้นฐานและมีคะแนนเจตคติตอวิทยาศาสตรดานความสําเร็จในการเรียนวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนที่มีประสบการณในการเรียน 1 ป แตนักเรียนที่มีประสบการณในการเรียน 1 ป มีคะแนนเฉลี่ยเจตคติตอวิทยาศาสตรโดยสวนรวมสูง และอีก 5 ดาน คือ ดานการยอมรับวาวิทยาศาสตรเปนเรื่องของผูชาย ดานการรับรูเจตคติของบิดา ดานการรับรูเจตคติของครู ดานประโยชนของวิทยาศาสตร และดานความเชื่อมั่นในการเรียนวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนที่มี ประสบการณในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร 2 ป และไมมีปฏิสัมพันธระหวางเพศและ ประสบการณในการเรียนวิชาวิทยาศาสตรตอการมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ข้ันพื้นฐาน แตมีปฏิสัมพันธระหวางตัวแปรทั้งสอง

Page 40: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

46

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เฉพาะเจตคติตอวิทยาศาสตร ดานแรงจูงใจในการเรียนวิทยาศาสตรเทานั้น 2. งานวิจัยที่เกี่ยวของกับมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท แมทเทลล และจาโคบี (Matell and Jacoby, 1971 : 657-674) ไดศึกษาเรื่องจํานวนที่เหมาะสมของตัวเลือกสําหรับขอความในมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรทมีหรือไม โดยศึกษาในเรื่องความเชื่อมั่นและความตรง พบวา คาความเชื่อมั่นแบบสอบซ้ํา (Test-Retest Reliability) คาความตรงตามสภาพ (Concurrent) คาความตรงเชิงทํานาย (Predictive Validity) เปนอิสระกับจํานวนตัวเลือกของมาตรวัดแบบลิเคอรท ซิมปสัน และคณะ (Simson, et. al., 1976 : 275-281) ไดศึกษาอิทธิพลของเครื่องมือวัดคุณลักษณะที่มีผลตอการตอบสนองของนักเรียน เครื่องมือที่ใชเปนมาตรวัด เจตคติแบบลิเคอรทที่มีตอ ศาสนา ประชากร ภาวะมลพิษ การเมือง พฤติกรรม และความลําเอียง แตละหัวขอ ใชขอความทางบวกอยางรุนแรง (Strong-Positive) ทางบวกอยางออน (Mild-Positive) ทางลบอยางรุนแรง (Strong-Negative) และทางลบอยางออน (Mild- Negative) เปนมาตรวัดเจตคติที่มี 5 มาตรา นําไปทดสอบกับนักเรียนระดับช้ัน 10 และระดับช้ัน 11 พบวา นักเรียนตอบเห็นดวยในขอความทางบวกอยางออนมากกวาขอความทางบวกอยางรุนแรง และนักเรียนตอบไมเห็นดวยในขอความทางลบอยางรุนแรงมากกวาขอความทางลบอยางออน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เบนสัน และฮอคเซวาร (Benson and Hocevar, 1985 : 231-240) ไดศึกษาผลของการใชมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรทของขอความที่เปนบวกทั้งหมด ขอความที่เปนลบทั้งหมดและขอความผสม กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษา เครื่องมือที่ใชเปนมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท 3 ฉบับ ฉบับที่ 1 เปนขอความทางบวก (Positive) 15 ขอ ฉบับที่ 2 เปนขอความทางลบ (Negative) 15 ขอ และฉบับที่ 3 เปนขอความผสม (Mixture of Positive and Negative) มีขอความทางบวก 8 ขอ ขอความทางลบ 7 ขอ ซึ่งขอความทางลบไดจากการเติมคําวา “ไม” ลงในขอความทางบวก นําแบบทดสอบทั้ง 3 ฉบับไปสอบกับกลุมตัวอยางซึ่งเปนนักเรียนระดับช้ัน 4, 5 และ 6 จํานวน 522 คน โดยแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม กลุมละ 174 คน แตละกลุมทําการทดสอบกับมาตรวัดเจตคติหนึ่งฉบับ ผลพบวา แบบทดสอบที่มีขอความทางบวก และทางลบมีคะแนนเฉลี่ย ความแปรปรวน และคาความเที่ยงตรง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

Page 41: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

47

สําหรับในประเทศไทย ไดมีผูทําวิจัยเกี่ยวกับมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรทไวดังนี้ อารยา ตังคนิวาส (2529 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบคาความ เชื่อมั่น ความตรงรวมสมัย และความตรงเชิงจําแนกของมาตรวัดเจตคติแบบลิเคอรท 3 ชุด ที่มีสัดสวนจํานวนขอความที่เปนนิเสธ 75% 50% และ 25% ของจํานวนขอความทั้งหมดตามลําดับ กลุมตัวอยางเปนนิสิตชั้นปที่ 1 คณะครุศาสตร หรือศึกษาศาสตร จํานวน 702 คน เครื่องมือที่ใชเปนมาตรวัดเจตคติตอวิชาชีพครู ผลการศึกษาพบวา คาความเชื่อมั่นของมาตรวัดเจตคติตอวิชาชีพครูแบบลิเคอรททั้ง 3 ฉบับ คือ ชุดที่มีอัตราสวนจํานวนขอความที่เปนนิเสธทั้ง 3 แบบ ไมมีความแตกตางกัน คาความตรงรวมสมัยของมาตรวัดเจตคติทั้ง 3 แบบ ไมแตกตางกัน สวนความตรงเชิงจําแนกของมาตรวัดทั้ง 3 แบบมีความเทาเทียมกัน วันเพ็ญ วัฒนาพล (2537 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบคาความเชื่อมั่น และคาความเที่ยงตรง ของแบบทดสอบวัดเจตคติตอคณิตศาสตร อันประกอบดวย เนื้อหา วิธีสอน กิจกรรม และคุณประโยชน ที่สรางแบบเทอรสโตนและแบบลิเคอรทที่มีจํานวนมาตรา และการเลือกตอบจํานวนขอสอบตางกัน กลุมตัวอยางที่ใชเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2536 ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ จํานวน 1,840 คน ผลการศึกษาพบวา แบบทดสอบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร จํานวน 8 ฉบับ คือ แบบเทอรสโตนชนิด 7 มาตรา และใหตอบทุกขอ แบบเทอรสโตนชนิด 7 มาตรา และใหเลือกตอบ 3 ขอ แบบเทอรสโตนชนิด 5 มาตรา และใหตอบทุกขอ แบบเทอรสโตนชนิด 5 มาตรา และใหตอบ 3 ขอ แบบลิเคอรทชนิด 7 มาตรา และใหตอบทุกขอ แบบลิเคอรทชนิด 7 มาตรา และใหตอบ 3 ขอ แบบลิเคอรทชนิด 5 มาตรา และใหตอบทุกขอ แบบลิเคอรทชนิด 5 มาตรา และใหตอบ 3 ขอ มีคา ความเชื่อมั่น และคาความเที่ยงตรงแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 รุงฤดี คําชุม (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยและคาความเชื่อมั่นของแบบวัดเจตคติตอคณิตศาสตร สรางโดยวิธีของลิเคอรท ที่มีการจัดกลุม ขอสอบตางกัน 2 ฉบับ คือ ฉบับที่มีการจัดกลุมขอสอบแบบแยกตามสวนประกอบ และฉบับที่มีการจัดกลุมขอสอบแบบสุม เครื่องมือที่ใชในการศึกษา ประกอบดวย เจตคติตอวิชาคณิตศาสตร 5 ดาน คือ ดานเนื้อหา ดานกิจกรรม ดานคุณประโยชน ดานแรงจูงใจ และดานมโนภาพแหงตน จํานวน 100 ขอ กลุมตัวอยางที่ใชเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2538 ของโรงเรียนสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดลําปาง จํานวน 794 คน ผลการศึกษาพบวา คา

Page 42: อว - dc.oas.psu.ac.thdc.oas.psu.ac.th/dcms/files/00400/Chapter2.pdf · 1.1 วิธีื่การเช (Association) อมโยง เป นหลักของพาฟลอฟ

48

คะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบวัดเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรสรางโดยวิธีของลิเคอรท ที่มีการจัดกลุมขอสอบตางกัน ไมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญ .05 สําหรับคาความเชื่อมั่นของแตละสวนประกอบเดียวกัน ของแบบทดสอบ ทั้ง 2 ฉบับ มีคาไมตางกันที่ระดับนัยสําคัญ .05 แตคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับของแบบทดสอบทั้ง 2 ฉบับ มีคาแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วนิดา เหลี่ยมศรี (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการเปรียบเทียบคุณภาพของแบบวัดเจตคติที่แตกตางกัน เครื่องมือที่ใชเปนแบบวัดเจตคติตอวิชาพระพุทธศาสนาที่สรางตามแนวเทอรสโตน แนวฟชไบน-ไอเซน แนวลิเคอรท และแนวออสกูด กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2537 ของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดสกลนคร จํานวน 1,200 คน ผลการศึกษาพบวา แบบวัดเจตคติที่ได ประกอบดวย แบบวัดที่สรางตามแนวเทอรสโตน แบบวัดที่สรางตามแนวฟชไบน-ไอเซน แบบวัดที่สรางตามแนวลิเคอรท และแบบวัดที่สรางตามแนวออสกูด หาคุณภาพในดานสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นเปน 0.6005, 0.8395, 0.8590 และ 0.8909 สัมประสิทธิ์ความเที่ยงตรงไดเปน 0.2061, 0.4325, 0.5586 และ 0.4731 สวนคาอํานาจจําแนกได 0.2300, 0.3500, 0.4100 และ 0.3000 ตามลําดับ และเปรียบเทียบคุณภาพในดานคาความเชื่อมั่น แบบวัดที่สรางตามแนวเทอรสโตนมีคาต่ํากวาแบบวัดอีก 3 ฉบับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และแบบวัดที่สรางตามแนวฟชไบน-ไอเซน มีคาต่ํากวาแบบวัดที่สรางตามแนวออสกูด อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดานคาความเที่ยงตรง แบบวัดที่สรางตามแนวเทอรสโตน มีคาต่ํากวาแบบวัดอีก 3 ฉบับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และแบบวัดที่สรางตามแนวฟชไบน-ไอเซน มีคาต่ํากวาแบบวัดที่สรางตามแนวลิเคอรท อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนในดานคาอํานาจจําแนกแบบวัดทั้ง 4 ฉบับ มีคาไมแตกตางกัน