12
ปีท่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนเมษ�ยน – ธันว�คม 2560 นักวิจัย มจธ. วิจัยด้�น LCA สร้างผลกระทบในวงการ อ�จ�รย์ มจธ. รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2560 มจธ. โดดเด่นในง�น 256 มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ

มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

ปีที่ 3

ฉบับ

ที่ 2

ประจ

ำ�เดือ

นเมษ

�ยน

– ธัน

ว�คม

256

0

นักวิจัย มจธ.วิจัยด�้น LCAสร้างผลกระทบในวงการ

อ�จ�รย์ มจธ. รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2560

มจธ. โดดเด่นในง�น

256มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ

Page 2: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ.2

CONTENTSปีที่ 3 ฉบับที่ 2

ประจำ�เดือนเมษ�ยน – ธันว�คม 2560

คณะผู้จัดท�ำที่ปรึกษำรศ. ดร.บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร ผศ. ดร.มณฑิรา นพรัตน์ ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร ดร.วรินธร สงคศิริ รศ. ดร.สุภาภรณ์ ชีวะธนรักษ์ ดร.ผ่องศรี เวสารัช

บรรณำธิกำร คุณวงศิยา เลิศไตรรักษ์

กองบรรณำธิกำร ส�านักงานวิจัย นวัตกรรมและพันธมิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โทรศัพท์ 0-2470-9651 โทรสาร 0-2872-9083

พิมพ์ที ่บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ากัด (มหาชน)

[email protected]  https://www.facebook.com/RIPOKMUTT  https://www.kmutt.ac.th/rippc

04นักวิจัย มจธ. สร้�งผลกระทบ ในวงก�รวิจัยด้�น LCA

05พิธีลงน�มบันทึกข้อตกลง คว�มร่วมมือระหว่�งมห�วิทย�ลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้�ธนบุรี กับกองทัพเรือ

06อ�จ�รย์ มจธ. รับร�งวัล นักวิทย�ศ�สตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2560

08มจธ. โดดเด่นในง�น “มหกรรมง�นวิจัยแห่งช�ติ 2560”

07นวัตกรรมท่อสเตนเลสทนคว�มร้อนของไทย ได้รับร�งวัลระดับโลก

10ง�นเชิดชูเกียรติบุคล�กร มจธ. ประจำ�ปี 2559

11โปรดเกล้�ฯ แต่งตั้ง ศ�สตร�จ�รย์ใหม่

02

Page 3: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 3

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม  มจธ.  ฉบับนี้  เป็นฉบับส่งท้ายปลายปี  2560  และเข้าสู่ปีที่  4  ของจุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 

ส�าหรับจุลสารฯ  ฉบับนี้  มจธ.  ยังคงให้ความส�าคัญกับการผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ  ซึ่งมหาวิทยาลัยขอขอบคุณอาจารย์  นักวิจัย  ท่ีร่วมกันสร้างงานวิจัย  เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของสังคม  จุลสารฯ  ฉบับนี้มีหลากหลายเร่ืองราวท่ีสะท้อนให้เห็นคุณภาพงานวิจัยของ  มจธ.  อาท ิศ. ดร.แชบเบียร์ กีวาลา ศาสตราจารย์ประจ�าบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคนิคการประเมินผลกระทบเชิงสิ่งแวดล้อม (LCA หรือ Life Cycle Assessment) สร้างผลกระทบในวงการวจิยัด้าน LCA อกีท้ัง ศ. ดร.แชบเบยีร์ ได้รบัเกยีรตแิต่งตัง้ให้เป็น Subject Editor ด้าน Energy and Waste Management Systems ของ The International Journal of Life Cycle Assessment  ของส�านักพิมพ์  Springer  โดยที่ท่านเป็นท่านเดียวในเอเชียท่ีได้รับเกียรติดังกล่าวมาเป็นเวลาเกือบ 10 ปี

มจธ. ขอแสดงความยินดีกับ ผศ. ดร.วิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรม       อุตสาหการ  คณะวิศวกรรมศาสตร์  ที่ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ประจ�าปี  2560  จากมูลนิธิ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์  จากผลงานวิจัยเรื่อง  “การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการตัดด้วยเลเซอร์ส�าหรับอุตสาหกรรมผลิตสมัยใหม่” 

และขอแสดงความยินดีกับ  ศ. ดร.สมชาย  วงศ์วิเศษ  ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล  คณะวิศวกรรมศาสตร์  ที่ติดอันดับนักวิจัยที่มีการอ้างอิงผลงานสูงสุดระดับโลก  (Highly  Cited  Researchers)  ประจ�าปี  2017  ของ Web  of  Science  โดยชื่อของ  ศ. ดร.สมชาย  ติดหนึ่งในห้า อันดับสูงสุด สร้างชื่อเสียงเป็นอย่างมาก

นอกจากน้ี  ยังมีเร่ืองราวท่ีน่าสนใจอื่นๆ  ในฉบับนี้  แล้วพบกับจุลสารวิจัย และนวัตกรรม มจธ. ฉบับต่อไปครับ

บรรณาธิการบริหาร

สารจากรองอธิการบดีอาวุโส ฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม

รศ. ดร.บัณฑิต ฟุ้งธรรมสาร

รองอธิการบดีอาวุโสฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม

Page 4: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ.4

  LCA หรอื Life Cycle Assessment คอืเทคนิคการประเมินผลกระทบเชิงสิ่งแวดล้อม  ที่เกี่ยวพันกับ ทุกขั้นตอนของวัฏจักรหรือวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ ์ตัง้แต่การสกดั / ผลติวตัถดุบิ (extraction) การแปรรปูวัสดุ  (processing)  การผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตลอดจนกระทั่งการใช้งาน  การซ่อมบ�ารุงและการก�าจัดหรือ การรีไซเคิลผลิตภัณฑ์นั้น 

  LCA  มีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการผลิต เพราะท�าให้ทราบว่า  ขั้นตอนใดในวงจรที่ส ่งผล กระทบมาก  สามารถหาแนวทางปรับปรุงแก้ไข  ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ต่อการส่งออกสินค้า  และการสร้าง ทางเลือกให้ผู ้บริโภค  โดยเฉพาะอย่างย่ิงถ้ามีการ ติดฉลากฟุตพร้ินต์ของสินค้า  (footprint)  (ได้มาจากการประเมิน  LCA)  นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ต่อ ภาครัฐในการก�าหนดเกณฑ์มาตรฐาน  และมาตรการ ส่งเสริมการผลิตที่ยั่งยืนด้วย 

  ศ.  ดร.แชบเบียร์  กีวาลา  (Dr.  Shabbir  Gheewala)  ศาสตราจารย์ประจ�าบัณฑิตวิทยาลัย ร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม  (JGSEE) มจธ.  เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้าน  LCA  ที่ฝากผลงานวิจัยและบ่มเพาะ นักวิจัยรุ่นใหม่ไว้มากมาย ได้รับทุน Chair Professor ของ สวทช. ประจ�าป ี2559 ด้วยเงินอุดหนุนเครือข่ายวิจัยของอาจารย์  จ�านวน  20  ล้านบาท  ผลงานวิจัยของ  ศ. ดร.แชบเบียร์  เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาต ิจนได้รบัแต่งตัง้ให้เป็น Subject Editor ด้าน Energy and Waste Management Systems 

Highlight

ของ  The  International  Journal  of  Life  Cycle  Assessment ของส�านกัพมิพ์ Springer ซึง่เป็นวารสารวชิาการด้าน LCA ทีม่ชีือ่เสยีงมากทีส่ดุในโลก และท่านเป็นเพียงหนึ่งเดียวในเอเชียท่ีได้รับเกียรติดังกล่าวมาเกือบ 10 ปีแล้ว

  ล่าสุดท่านได้รับเกียรติให้เป็นบรรณาธิการฉบับพิเศษของวารสารดังกล่าวในหัวข้อ “Promoting Sustainability  in Emerging Economics via Life Cycle Thinking” (Volume 22, Issue II, November 2017)  ซึ่งมีบทความจากประเทศไทยที่ได้รับการพิจารณาให้ตีพิมพ์ถึงครึ่งหนึ่งของจ�านวนบทความในฉบับทั้งหมดมี  20  เรื่อง  และเป็นบทความที่มี  ศ. ดร.แชบเบียร ์  เป ็นผู ้แต ่งร ่วมอยู ่ถึง  6  เรื่อง  แสดงถึงบทบาทของท่านในการพัฒนางานวิจัยและบ่มเพาะนักวิจัยสาขานี้ ในประเทศไทยท่ีผ ่านมา นอกจากนี้ผลงานวิจัยจ�านวนมากของท ่านเป ็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมโดยตรง  ทั้งอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ  อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร  และอุตสาหกรรมอื่น ๆ

นักวิจัย มจธ.

สร้าง ผลกระทบ ในวงก�ร

วิจัยด้�น LCA

Page 5: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 5

  วันที่  29  พฤษภาคม  2560  ที่ผ่านมา  มจธ. จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมืองานวิจัย  กับกองทัพเรือ  (ทร.)  มีระยะเวลารวม  5  ปี  โดยมี  รศ. ดร.ศกัรนิทร์ ภมูริตัน อธกิารบดี และ พล.ร.ต. บญุเรอืง หอมขจร  ผู้อ�านวยการส�านักงานวิจัยและพัฒนาการทางทหาร กองทัพเรือ ร่วมลงนาม ณ ห้องประชุมชล ีสินธุโสภณ ส�านักหอสมุด มจธ. ในการนี้ ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร  รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์วิจัย  ได้กล่าว รายงานความเป็นมาของบันทึกความร่วมมือด้านงานวิจัยฉบับนี ้ รวมทั้งผลงานที่เกิดขึ้นจากการด�าเนินการ ร่วมกันภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมืองานวิจัยฉบับเเรกที่เริ่มด�าเนินการตั้งเเต่  16 กุมภาพันธ์ 2555 และได้สิ้นสุดลง 

  จากนั้น ผศ. ดร.ปรีชา  เติมสุขสวัสดิ์  หัวหน้ากลุ่มวิจัย  และคณะนักวิจัยจากกลุ่มวิจัยการประยุกต์และเทคโนโลยีวัสดุ  (Materials  Applications  and Technology  Research  Group:  MA&T)  ทั้งน้ี กลุม่วจิยัการประยกุต์และเทคโนโลยวีสัด ุประกอบด้วย  ดร.ชีวารัตน์  ม่วงพัฒน์  ดร.นคร  ศรีสุขุมบวรชัย  ดร.นภฉัตร  ธารีลาภ  ผศ. ดร.นุชธนา  พูลทอง  ดร.นันทน์  ถาวรังกูร  สังกัดคณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวสัด ุและ น.ส. เกศนิ ีศรรัีกษาสนิธุ ์ สงักดัส�านักงานวจัิย นวตักรรมและพนัธมติร เป็นผูร่้วมวิจยั ได้น�าคณะ ผู้เข้าร่วมพิธีเย่ียมชมการด�าเนินงานและผลงานวิจัยภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมืองานวิจัยระหว่าง มจธ. และ กองทัพเรือ ฉบับที่  1  ได้แก่  งานวิจัยด้านเทคโนโลยีการกัดกร่อนและการป้องกันการกัดกร่อนในใบจักรเรือหลวง  งานวิจัยการพัฒนากระบวนการหล่อโลหะที่ใช้ส�าหรับเรือในกองทัพ  งานวิจัยด้าน การพฒันาระบบป้องกนัเพรยีงในท่อน�าน�า้ทะเล เป็นต้น 

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กับ กองทัพเรือ

Page 6: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ.6

ข่าวประชำสัมพันธ์ อ�จ�รย์

มจธ. รับรางวัล นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2560

  วันที่   26  กรกฎาคม  2560  มูลนิธิส ่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์  ได้จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่  ประจ�าปี  2560  ซึ่งเป็นที่น่ายินดีที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.วิบุญ  ตั้งวโรดมนุกูล  อาจารย์ประจ�าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.  ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�าปี 2560 จากผลงาน “การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการตัด ด้วยเลเซอร์ส�าหรับอตุสาหกรรมการผลติสมัยใหม่” โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยทุธ ยทุธวงศ์ อดตีรองนายกรฐัมนตรแีละกรรมการสภามหาวทิยาลยั มจธ. ให้เกยีรติแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลพร้อมชมนิทรรศการผลงาน

  ผลงานของ ผศ. ดร.วบิญุ มคีวามโดดเด่นด้วยการใช้เลเซอร์ในการตดัวัสดพุร้อมการใช้น�า้หล่อเยน็ ซึง่ท�าให้การตดัมคีวามแม่นย�า และมคีวามเรว็สงู ท�าให้การใช้เลเซอร์ส�าหรับงานตัดวัสดุได้รับความนิยมและแพร่หลายออกไป ในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิง่ในอุตสาหกรรมการผลติท่ีต้องการความละเอียดของงานตัดสูง และมีขนาดชิ้นงานที่เล็ก 

  ผศ. ดร.วบิญุ กล่าวถงึผลงานวจิยัชิน้นีว่้า เป็นเวลากว่า 9 ปีทีไ่ด้ทุม่เทวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการตัดด้วยเลเซอร์เพื่อให้ได้คุณภาพงานตัดท่ีดีขึ้น และใช้ระยะเวลาในการตัดที่สั้นลง ผลงานวิจัยต่าง ๆ สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในการตัดแผ่นซิลิกอนส�าหรับผลิตเป็นเซลล์แสงอาทิตย์ประสิทธิภาพสูง  การตัดโลหะในกลุ่มชีวการแพทย์ส�าหรับผลิตเป็นชิ้นส่วนเทียมและอุปกรณ ์ทางการแพทย์ขนาดเล็ก เช่น ขดลวดถ่างขยายหลอดเลือด (Stent) รวมไปถึง การน�าไปใช้ในการผลิตไมโครเซนเซอร์  (Micro-sensors)  ไมโครแชนแนล (Micro-channel) ส�าหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และพลังงาน ซึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมเหล่านี้จะมีความส�าคัญต่อประเทศมากยิ่งขึ้นในอนาคต

Page 7: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 7

นวัตกรรม

ท่อสเตนเลสทนความร้อน ของไทยได้รับร�งวัลระดับโลก

  “ท่อสเตนเลสทนความร้อน” นวตักรรมสินค้าไทย คว้ารางวลัจากเวทรีะดบัโลก จากประเทศสวติเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่  7  กันยายน ที่ผ่านมา  บริษัท  ไทย-เยอรมัน โปรดกัส์ จ�ากดั (มหาชน) (TGPRO) ได้จดังานแถลงข่าว เปิดตัว  EXTUBA  ท่อเกลียวสเตนเลสนวัตกรรมใหม่ ซึ่งเป็นนวัตกรรมด้านท่อแลกเปลี่ยนความร้อนที ่ประหยัดพลังงาน  ผลงานดังกล่าวเป็นผลพวงของ การวิจยัและพฒันาทีท่�าร่วมกบั ศ. ดร.สมชาย วงศ์วเิศษ ซึ่งเคยได้รับรางวัลทองเกียรติยศในนาม  “Enhanced Tubes for Improving the Thermal Performance” ในงาน “44th International Exhibition and Invention of  Geneva  2016”  ณ  ประเทศสวิตเซอร์แลนด์  รวมถงึได้รบัใบประกาศเกยีรตคิณุ ยกย่อง  “EXTUBA” เป็นท่อสเตนเลสช่วยประหยัดพลังงานจากวุฒิสภา 

ของไทยด้วย

  ผู้บริหารบริษัท ไทย-เยอรมัน โปรดักส์ฯ และ ศ. ดร.สมชาย  วงศ์วิเศษ  อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. ซึ่งเป็นผู้วิจัยท่อ EXTUBA  ได้กล่าวถึงจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ว่า  “ท่อนี ้มีลักษณะเป ็นเกลียว  ด ้านผิวในของท่อสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพในการถ่ายเทความร้อนได้มากกว่าท่อปกติถึง  50%  ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงาน  และ ลดต ้นทุนการผลิต  เหมาะส�าหรับใช ้ ในโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีการใช้ความร้อนเป็นปริมาณมาก  เช่น อุตสาหกรรมน�้าตาล เป็นต้น” 

Page 8: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ.8

  วันที่ 23 - 27 สิงหาคมที่ผ่านมา มจธ. ได้ร่วม แสดงผลงานวิจัยในงาน  “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2560”  ณ  โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์  และบางกอก คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ โดยใน คร้ังนี้   มจธ.  คว ้าถ ้วยรางวัล  “Gold  Award”  จากนายกรฐัมนตรีมาครอง จากผลงาน 5 รายการ ได้แก่

1  อุปกรณ์สวมใส่ส�าหรับผู้บกพร่องทางการมองเห็น  (Visionear)  โดย  นายนันทิพัฒน์  นาคทอง นักศึกษา มจธ. เป็นหัวหน้าโครงการ และ รศ. ดร.ธีรณี อจลากุล  อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์  เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ  วิชั่นเนียร์ช่วยแก้ไขปัญหาให้กับผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นในรูปแบบต่าง  ๆ  เช่น  ตาบอดสี  ตามุมมองคับแคบ  โดยออกแบบเป็นอุปกรณ์ส�าหรับการสวมใส่ที่ประกอบด้วย  แว่นตาติดกล้องส�าหรับ ถ่ายภาพจากด้านหน้าของผู้ใช้  และกล่องประมวลผล   ซึ่งท�าหน้าที่วิเคราะห์รูปภาพและอธิบายในรูปแบบ 

ของเสียงพูดให้แก่ผู้ใช้งาน

2  อิฐทางเดินแม่เหล็กและไม้เท้าน�าทาง ผูพ้กิารทางสายตา โดย ผศ. ดร.ธดิารตัน์ บญุศร ีอาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม  คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป ็นหัวหน้าโครงการ  ผลงานวิจัยชิ้นนี้ได ้พัฒนากระบวนการสังเคราะห์ผงแม่เหล็กอ่อนแมงกานีส-สังกะสี  เฟอร์ไรต์จากผงถ่านที่บรรจุในถ่านไฟฉายคาร์บอน-สังกะสี  และถ่านอัลคาไลน์  แล้วน�าผงที่ได้มาฉาบบนผิวหน้าของอิฐทางเท้า  โดยการใช้งานจะใช้คู่กับไม้เท้าน�าทางผู้พิการทางสายตาที่ติดตั้งเครื่องมือกระตุ้นและตรวจวัดสนามแม่เหล็กเพื่อแสดงสัญญาณบ่งบอกแนวทางเดิน

3  หุน่ยนต์ BLISS ช่วยส่งเสรมิการเรยีนรูส้�าหรบั เด็กออทิสติก โดย ผศ. ดร.บุญเสริม แก้วก�าเหนิดพงษ์ อาจารย์ประจ�าหลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ  คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการ หุ่นยนต์ BLISS ช่วยส่งเสรมิการเรยีนรู้ส�าหรบัเดก็ในกลุม่โรคออทสิตกิ (Autism Spectrum Disorders) เพื่อให้เด็กสามารถ

ข่าวประชำสัมพันธ์

มจธ. โดดเด่นในง�น

256มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ

อุปกรณ์สวมใส่ สำ�หรับผู้บกพร่องท�งก�รมองเห็น (Visionear)

อิฐท�งเดินแม่เหล็ก และไม้เท้�นำ�ท�ง

ผู้พิก�รท�งส�ยต�

Page 9: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 9

เรียนรู้และพัฒนาทักษะตามระดับที่เหมาะสม  รวมถึง ส ่งเสริมการเรียนรู ้ที่จะควบคุมตนเองในสังคม  และปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นผ่านการเล่นตามกฎกติกา 

4  เครื่องตรวจหารอยนิ้วมือแฝงส�าหรับ การพิสูจน์หลักฐานอาชญากรรม โดย ผศ. ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน ์อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ เป็นหวัหน้าโครงการ อปุกรณ์ดงักล่าวจะช่วยสนบัสนนุการท�างานของกองพิสูจน์หลักฐาน  โดยวัตถุพยาน หลักฐานส่วนใหญ่ที่พบในสถานที่เกิดเหตุเป็นวัตถ ุที่มีส่วนประกอบของโลหะ เช่น ปืน ปลอกกระสุนปืน มีด กุญแจ และอาวุธพกพาต่าง ๆ  อาจมีรอยลายนิ้วมือ 

(Fingerprint)  ที่สามารถน�ามาตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์บคุคลเพือ่ยนืยนัตวัผูก้ระท�าผดิได้ นวตักรรมนีส้ามารถหารอยนิ้วมือแฝงที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าและท�าให้ภาพรอยนิ้วมือปรากฏได้ชัดเจนมากขึ้น

5  สกูต๊เตอร์ไฟฟ้าแบบพกพา โดย ผศ. ดร.ธรีนชุ จันทโสภีพันธ์  อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์  เป็นหัวหน้าโครงการ  ทางทีม วิจัยได้พัฒนาสกู ๊ตเตอร์ไฟฟ้าขึ้นที่มีลักษณะการโดยสาร 3 ล้อ เพือ่ให้ง่ายต่อการทรงตวัและเคลือ่นทีไ่ด้ แคล่วคล่อง  ผู ้ใช้สามารถพกพาขึ้นรถไฟฟ้าหรือรถ สาธารณะได้ สกูต๊เตอร์ไฟฟ้านี ้อาศยัเทคโนโลยทีางกล ท�าให้เคลือ่นท่ีง่าย มีวงเลีย้วแคบ สามารถขบัเคลือ่นเข้าในทางแคบโดยไม่มีอุปสรรค

  ด้วยผลงานท่ีโดดเด่นดังกล่าว  ท�าให้  มจธ. ได้รับคัดเลือกให้รับถ้วยรางวัลจากนายกรัฐมนตรี  (พลเอก  ประยุทธ์  จันทร์โอชา)  ระดับ  Gold  Award พร้อมเกียรติบัตร และเงินรางวัล 25,000 บาท โดยมี รศ. ดร.สุภาภรณ ์ชีวะธนรักษ์ เป็นผู้แทนรับมอบ 

หุ่นยนต์ BLISS ช่วยส่งเสริม ก�รเรียนรู้สำ�หรับเด็กออทิสติก

เครื่องตรวจห� รอยนิ้วมือแฝงสำ�หรับก�รพิสูจน์หลักฐ�นอ�ชญ�กรรม

สกู๊ตเตอร์ไฟฟ้�แบบพกพ�

Page 10: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ.10

ข่าวประชำสัมพันธ์

  วนัที ่29 สงิหาคมทีผ่่านมา ณ โรงแรมแบงคอ็ก แมริออท  ควีนส์ปาร์ค  สุขุมวิท  กรุงเทพฯ  ได้จัด งานเลี้ยงแสดงความยินดีเพ่ือเชิดชูเกียรติบุคลากรผู้สร้างชื่อเสียงทางวิชาการ  ประจ�าปี  2559  โดยมี ดร.ทองฉัตร  หงศ์ลดารมภ์  นายกสภามหาวิทยาลัย  และ รศ. ดร.ศกัรนิทร์ ภมูริตัน อธกิารบดี มอบของทีร่ะลกึ และกล่าวแสดงความยินดี  เช่นเดียวกับปีที่ผ่านมาบุคลากร  มจธ.  ได้รับรางวัลประเภทต่าง  ๆ  มากมาย ทั้งจากภายในและภายนอก มจธ.  ซึ่งงานเชิดชูเกียรติบุคลากรเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงความชื่นชมต่อทุกรางวัลอันทรงเกียรติที่สร้างความภาคภูมิใจ และเป็นแบบอย่างท่ีดีของชาว  มจธ.  และในโอกาส ครบรอบการจัดงานเชิดชูเกียรติบุคลากร  มจธ.  เป็นปีที่  10  ในปีน้ี  มหาวิทยาลัยฯ  ได้เชิญบุคลากร มจธ.  ที่ได้สร้างชื่อเสียงอย่างยิ่งและอย่างต่อเนื่องแก่มหาวิทยาลัยให้อยู่ใน KMUTT Hall of Fame หรือหอเกียรติยศ  มจธ.  5  ท่าน  ได้แก่  ศ. ดร.ณรงค์ฤทธิ์ 

สมบัติสมภพ  คณะพลังงานสิ่งแวดล้อมและวัสด ุ ศ. ดร.ภมู ิค�าเอม ภาควชิาคณติศาสตร์ คณะวทิยาศาสตร์ ศ. ดร.สมชาติ โสภณรณฤทธิ ์คณะพลังงานสิ่งแวดล้อม และวัสดุ  ศ. ดร.สมชาย  วงศ์วิเศษ  ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล  คณะวิศวกรรมศาสตร์  และ  ศ. ดร.สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์

  ในป ีนี้มีผู ้ ได ้ รับประกาศเกียรติภูมิ รวม 75  ท่านประกอบด้วยรางวัลดีเด่น  11  ท่าน  ได้แก่  ผศ. ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน์ ผศ. ดร.ชูจิต ตรีรัตนพันธ์ ศ. ดร.แชบเบียร์  กีวาลา  ศ. ดร.นวดล  เหล่าศิริพจน ์รศ. ดร.บัณฑิต  ฟุ ้งธรรมสาร  รศ. ดร.ภูมิ  ค�าเอม  รศ. ดร.วรีะศกัดิ ์สรุะเรอืงชยั  ศ. ดร.สมชาย โสภณรณฤทธิ ์ศ. ดร.สมชาย  วงศ์วิเศษ  ผศ. ดร.สิริพร  โรจนนันต ์  และ ผศ. ดร.สุรศิษฐ์ โรจนนันต์    

  นอกจากนี้ยังมีผู ้ได้รับรางวัลนักวิจัยดาวรุ่ง มจธ.  3  ท่าน  รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติอาจารย์ด้าน การเรียนการสอน  3  ท่าน  รางวัลอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการดีเด ่น  3  ท่าน  รางวัลอาจารย์ที่ปรึกษากิจกรรมดีเด่น 3 ท่าน รางวัลเจ้าหน้าที่สนับสนุนดีเด่น ด้านการพัฒนานักศึกษาดีเด่น  3  ท่าน  และรางวัล เชิดชูเกียรติประเภทหน่วยงาน 9 หน่วยงาน

งานเชิดชูเกียรติบุคลากร มจธ. ประจำ�ปี 2559

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ.10

Page 11: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 11จุลสารวิจัยและนวัตกรรม มจธ. 11

โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง ศ�สตร�จ�รย์ใหม่  วันที่ 20 กันยายน 2560 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี  เรื่อง  แต่งตั้งศาสตราจารย์ความว่า  มีพระราชโองการโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมแต่งตั้ง  รองศาสตราจารย์ภูมิ  ค�าเอม พนักงานมหาวิทยาลัย  ต�าแหน่ง  รองศาสตราจารย์ สังกัดคณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี  ให้ด�ารงต�าแหน่งศาสตราจารย์ ในสาขาวิชาคณิตศาสตร์  สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี  ตั้งแต่ วันที่ 29 ตุลาคม 2558 ประกาศ ณ วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2560

  ปัจจุบัน  ศ. ดร.ภูมิ  ค�าเอม  ด�ารงต�าแหน่ง รองคณบดีฝ่ายวิจัยและเครือข่าย  คณะวิทยาศาสตร์ และเป็นหัวหน้ากลุ่มวิจัย  Theoretical  and  Com-putational  Science  Center  (Tacs)  Computa-tional and Applied Science for Smart Innovative  Research Cluster

  จุลสารวิจัยฯ  ขอแสดงความความยินดีกับศาสตราจารย์ ดร.ภูม ิค�าเอม มา ณ ที่นี้

Page 12: มจธ. - KMUTT · 2019-09-10 · 2 จุลสารวิจัยและนวัตกรรมมจธ. contents ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 ประจำ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีขอแสดงความยินดีและชื่นชม

ศ. ดร.สมชาย วงศวิเศษลกงอ่ืรคเมรรกวศิวาชิวคาภำจะรปยราจาอ

รตสาศมรรกวศิวะณค

Clarivate Analytics : Highly Cited Researchers

ไดรับการอางอิงผลงานวิจัยสูงสุดระดับโลกประจำป 2017จากสถาบัน Clarivate Analyticsประเทศสหรัฐอเมริกา

2017 Highly Cited Researcherนักวิจัยหนึ่งเดียวของสาขาวิศวกรรมศาสตรในประเทศไทย2017 Highly Cited Researcherนักวิจัยหนึ่งเดียวของสาขาวิศวกรรมศาสตรในประเทศไทย

Corealues

เกงอยางมืออาชีพ พรอมยึดมั่นและยืนหยัดบนความถูกตอง(Professional and Integrity)

เปนการจำแนกผลงานวิจัยที่ตีพิมพโดยอาศัยขอมูลและการวิเคราะหของ

ผูเชี่ยวชาญดานบรรณมิติดวยการใชแพลตฟอรมวิเคราะหและสืบคนประเภท

Web based ช้ันนำระดับโลกอยาง InCites (TM) Essential Science Indication

(SM) รวมถึงการรวบรวมขอมูลดานการวัดคุณภาพเชิงวิทยาศาสตรและขอมูล

บงช้ีแนวโนมโดยพิจารณาจากจำนวนการตีพิมพงานวิจัยและขอมูลการอางอิง

จาก Web of Science (TM) ซึ่งเปนแพลตฟอรมประเภท Web based

ที่สามารถสืบคนงานวิจัยเขิงวิทยาศาสตรและเชิงวิชาการไดอยางแมนยำที่สุด

และยังสามารถระบุจำนวนการอางอิงผลงานวิจัยไดอีกดวย

Untitled-1.pdf 1 5/2/18 11:10 AM