16
บทท่ 1 หลักการออกแบบเว็บ Chapter 1 Principles of Web Design ความหมายของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซตและเว็บแอ็พพลเคชั่น (Web Design and Applications) เก่ยวของกับมาตรฐานในการสราง (Build) และการแสดงผล (Rendering) ทั งหนา เว็บเพจ โดยใชเทคโนโลยภาษาเอชทเอ็มแอล (Hypertext Markup Language: HTML) สไตลชท (Cascading Style Sheet: CSS) เอสว (Scalable Vector Graphics: SVG) เอพไอ (Application Programming Interface: APIs) และ เทคโนโลยอ่นๆ ท่ใชในการพัฒนาเว็บแอ็พพลเคชั่น หรอ เรยกว“WebApps” นอกจากน ยังรวมถงทางการออกแบบเว็บไซตท่ผู ใชทั่วไปและผู การเขาถงเน อหา ได (Web Content Accessibility Guidelines: WCAG) และสามารถแสดงผลไดใน อุปกรณเคล่อนท่ดวย อางอง World Wide Web Consortium: W3C, 2015 ความหมายของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต เป็นสหวทยาการท่เก่ยวของกับการวางแผน และการผลตเว็บไซต โดยไมมการจํากัดทางดานเทคโนโลยท่ใช โครงสรางขอมูล การออกแบบภาพ และการสงขอมูลผานเครอขาย โดยมการคํานงถง 5 แงมุมสําคัญท่ชวยใหการออกแบบเว็บไซตม ความเหมาะสม คอ 1) เนอหา (Content) 2) การรับภาพ (Visual) 3) เทคโนโลย (Technology) 4) การสงถายขอมูล (Delivery) และ 5) วัตถุประสงค (Purpose) อางอง Thomas A. Powell.,2003 ความหมายของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต คอ การวางกรอบการพัฒนาเว็บไซต ประกอบ ไปดวย สถาปัตยกรรมของเว็บไซต กรอบแนวคดของเว็บไซต การนํา ทางในเว็บไซต การตอประสานผูใชกับเว็บไซต โดยการออกแบบ เว็บไซตจะตองคํานงถงสภาพแวดลอมท่เว็บไซตจะสามารถแสดงผล และสงถายใหแกผูใชเรยกคนได และ การออกแบบเว็บไซตจะตอง เป็นอสระจากภาษาโปรแกรมหรอเคร ่องมอพัฒนาเชงเทคนค อางอง Daniel Schwabe, 2001

บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

บทที่ 1 หลักการออกแบบเว็บChapter 1 Principles of Web Design

ความหมายของการออกแบบเว็บไซต์• การออกแบบเว็บไซต์และเว็บแอ็พพลิเคชั่น (Web Design and Applications)

เกี่ยวข้องกับมาตรฐานในการสร้าง (Build) และการแสดงผล (Rendering) ทั้งหน้าเว็บเพจ โดยใช้เทคโนโลยีภาษาเอชทีเอ็มแอล (Hypertext Markup Language: HTML) สไตล์ชีท (Cascading Style Sheet: CSS) เอสวีจี (Scalable Vector Graphics: SVG) เอพีไอ (Application Programming Interface: APIs) และเทคโนโลยีอื่นๆ ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บแอ็พพลิเคชั่น หรือ เรียกว่า “WebApps” นอกจากนี้ยังรวมถึงทางการออกแบบเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ทั่วไปและผู้พิการเข้าถึงเนื้อหาได้ (Web Content Accessibility Guidelines: WCAG) และสามารถแสดงผลได้ในอุปกรณ์เคลื่อนที่ด้วย

• อ้างอิง World Wide Web Consortium: W3C, 2015

ความหมายของการออกแบบเว็บไซต์

• การออกแบบเว็บไซต์ เป็นสหวิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนและการผลิตเว็บไซต์ โดยไม่มีการจํากัดทางด้านเทคโนโลยีที่ใช้ โครงสร้างข้อมูล การออกแบบภาพ และการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย โดยมีการคํานึงถึง 5 แง่มุมสําคญัที่ช่วยให้การออกแบบเว็บไซต์มีความเหมาะสม คือ 1) เนื้อหา (Content) 2) การรับภาพ (Visual) 3)เทคโนโลยี (Technology) 4) การส่งถ่ายข้อมูล (Delivery) และ 5)วัตถุประสงค์ (Purpose)

• อ้างอิง Thomas A. Powell.,2003

ความหมายของการออกแบบเว็บไซต์

• การออกแบบเว็บไซต์ คือ การวางกรอบการพัฒนาเว็บไซต์ ประกอบไปด้วย สถาปัตยกรรมของเว็บไซต์ กรอบแนวคิดของเว็บไซต์ การนําทางในเว็บไซต์ การต่อประสานผู้ใช้กับเว็บไซต์ โดยการออกแบบเว็บไซต์จะต้องคํานึงถึงสภาพแวดล้อมที่เว็บไซต์จะสามารถแสดงผลและส่งถ่ายให้แก่ผู้ใช้เรียกค้นได้ และ การออกแบบเว็บไซต์จะต้องเป็นอิสระจากภาษาโปรแกรมหรือเครื่องมือพัฒนาเชิงเทคนิค

• อ้างอิง Daniel Schwabe, 2001

Page 2: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

สรุปความหมายของการออกแบบเว็บไซต์

การออกแบบเว็บไซต์ มาจากคําว่า “Web Design” โดยมีความหมาย คือ การวางแผนและการดําเนินงานในการผลิตเว็บไซต์ ซึ่งประกอบไปด้วย• วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ • การวางกรอบแนวคิด • การออกแบบ เ นื้ อหาและการ

สื่อสาร • การออกแบบเค้าร่างของเว็บไซต์

• การออกแบบอักษร • การออกแบบเว็บไซต์ที่ผู้ใช้ทั่วไป

และผู้พิการเข้าถึงเนื้อหาได้ • การคํ านึ งถึ งสภาพแวดล้อม ที่

เว็บไซต์จะสามารถทํางานและส่งถ่ายไปยังผู้ใช้ได้

• ทั้ ง นี้ แ น วคิ ด ใ นก า รออกแบบเว็บไซต์จะเป็นอิสระจากภาษาโปรแกรมหรือเครื่องมือพัฒนาเชิงเทคนิคด้วย

สรุปความหมายของการออกแบบเว็บไซต์

Web Designvs

Web Development

สรุปความหมายของการออกแบบเว็บไซต์

การออกแบบเว็บไซต์ในลักษณะเชิงสุนทรียะ “Design Aesthetic for Web Design”

เน้นมุมมอง (Viewpoints) คือ มุมมองความสวยงาม (Aesthetic) และมุมมองทางด้านอารมณ์ (Emotional)

ประวัติความเป็นมาของเว็บไซต์

• โดยต้นกําเนิดของเว็บไซต์เกิดขึ้นเมื่อ ปี ค.ศ.1945 โดยแวนเนวาบุช (Vannevar Bush) ได้เขียนบทความเกี่ยวกับการสืบค้นสารสนเทศเชิงเชื่อมโยงจากแผ่นไมโครฟิล์มเล็ก (Microfiche) โดยเรียกว่า “เมมเมคซ์ (Memex)”

Microfiche Memex

Page 3: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

ประวัติความเป็นมาของเว็บไซต์

ในปี ค.ศ.1980 ทิมเบอเนอร์ลี (Tim Berners-Lee) ได้เสนอโครงการไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) ระหว่างทํางานอยู่ที่ เซิร์น (the EuropeanOrganization for Nuclear Research: CERN)

ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) ทิมเบอเนอร์ลี

(Tim Berners-Lee)

ประวัติความเป็นมาของเว็บไซต์

• ซึ่งต่อมานําไฮเปอร์ เท็กซ์มาใช้ร่วมกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจนกลายเป็นมาตรฐานเว็บที่สําคัญของโลกที่อยู่ภายในการดูแลของสมาคมเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web Consortium: W3C) ซึ่งทิมเบอเนอร์ลีก็เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมดังกล่าวเช่นกัน

สมาคมเวิลด์ไวด์เว็บ ทิมเบอเนอร์ลี (Tim Berners-Lee)

ยุคของเว็บไซต์Era of Web Site

• ปัจจุบันมีการจําแนกยคุของเว็บออกเป็น 4 รุ่น ดังนี้• เว็บรุ่นที่ 1 (Web 1.0) หรือ เว็บคงที่ (Static Web)• เว็บรุ่นที่ 2 (Web 2.0) หรือ เว็บพลวัตร (Dynamic Web)• เว็บรุ่นที่ 3 (Web 3.0) หรือ เว็บเชิงความหมาย (Semantic Web)• เว็บรุ่นที่ 4 (Web 4.0) หรือ เว็บตัวแทน (Intelligent Personal Agents)

FACEBOOK? GOOGLE? INSTAGRAM?APPLE.COM? SAMSUNG.COM?

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

• 1. เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)

• 2. การคํานึงถึงอัตราความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต (Connection Speed)

• 3. การเก็บหน่วยความจําและเวลาในการดาวน์โหลดหน้าเว็บ (Browser Cache and Download Time)

• 4. อุปกรณ์และระบบปฏิบัติการ (Device and Operating System Issues)

Page 4: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

Web Browser Cache

Internet

Device and Operating System Issues

Browser Cache and Download Time

Connection Speed

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

• 1. เว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser)แสดงแผนภูมิร้อยละของ

แนวโน้มการใช้เว็บเบราว์เซอร์ระหว่างช่วง

ค.ศ. 2011 - 2015

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

• 2. การคํานึงถึงอัตราความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต (Connection Speed)

Mobile Broadband

Fixed Broadband

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

• 2. การคํานึงถึงอัตราความเร็วของสัญญาณอินเทอร์เน็ต (Connection Speed)

ประเทศ อัตราความเร็ว MbpsSingapore 121.7Hong Kong 102.6

Japan 82.4South Korea 59.5

Macau 51.1Taiwan 50.6China 29.8

Thailand 19.9Vietnam 17.6

Cambodia 9

เมือง/จังหวัด อัตราความเร็ว Mbpsมุกดาหาร 32.19สัตหีบ 31.3หัวหิน 25.4พัทยา 22.6

กรุงเทพฯ 18.1

Page 5: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

• 3. การเก็บหน่วยความจําและเวลาในการดาวน์โหลดหน้าเว็บ (Browser Cache and Download Time)

• ในการเรียกค้นเว็บไซต์นั้น จะกระทําผ่านเว็บเบราว์เซอร์ ซึ่งปัจจุบันเว็บเบราว์เซอร์จะมีฟังก์ชั่นการทํางานที่เรียกว่า “แคช (Cache)” ซึ่งหมายถึงหน่วยความจําที่เว็บเบราว์เซอร์เก็บข้อมูลไว้

• โดยสาเหตุที่จําเป็นต้องมีแคช เพื่อช่วยให้การแสดงผลหน้าเว็บมีความรวดเร็วมากขึ้น โดยไม่จําเป็นต้องดาวน์โหลดข้อมูลทั้งหน้าเว็บใหม่ทั้งหมด กรณีที่เคยเข้าเว็บไซต์นั้นๆ แล้ว• ทําให้ประหยัดเวลาในการดาว์โหลดหน้าเว็บ• ประหยัดปริมาณของสัญญาณอินเทอร์เน็ต

สภาพแวดล้อมของเว็บไซต์Web Site Environment

• 4. อุปกรณ์และระบบปฏิบัติการ (Device and Operating System Issues)

• 4.1 การคํานึงถึงขนาดหน้าจอและความลึกของสี (Screen Resolution and Color Depth) • 4.2 การคํานึงถึงชนิดและรุ่นของเว็บเบราว์เซอร์

(Browser Type and Version) • 4.3 การแสดงผลตัวอักษร

(Font)

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• ในการออกแบบเว็บไซต์นั้น ผู้ออกแบบเว็บไซต์ไม่สามารถทราบได้ว่าผู้ใช้เข้าถึงเว็บไซต์ด้วยอุปกรณ์ชนิดใด ขนาดหน้าจอเท่าใด

• ตัวอย่างเช่น การใช้จอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personnel Computer: PC) ผู้ใช้สามารถปรับขนาดของหน้าจอได้ (Screen Resolution) โดยอาจกําหนดเป็น 600x800 px หรือ จอประเภทไวด์สกรีน 1366x768 px เป็นต้น

• ในส่วนของหน้าจอบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ ผู้ใช้ไม่สามารถปรับขนาดของหน้าจอได้ แต่อุปกรณ์เคลื่อนที่แต่ละยี่ห้อก็มีขนาดหน้าจอที่แตกต่างกันตามรุ่นที่ผลิต เช่น ขนาดหน้าจอของ iPhone และ iPad เป็นต้น

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 1. การแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop and Laptop Displays)แสดงขนาดของหน้าจอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจําแนกตามปี ค.ศ.

ปี ค.ศ. / ขนาดจอ 1920x1080 1366x768 1280x1024 1280x800 1024x768 800x6002015 16% 33% 7% 5% 4% 0.30%2014 13% 31% 8% 7% 6% 0.50%2013 11% 25% 10% 8% 9% 0.50%2012 8% 19% 12% 11% 13% 1%2011 6% 15% 14% 14% 0%2010 2% 18% 17% 20% 1%2009 36% 4%

Page 6: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 1. การแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop and Laptop Displays)แสดงความลึกของสีบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจําแนกตามปี ค.ศ.

ปี ค.ศ. / จํานวนสี 16,777,216 65,536 2562015 99% 0.50% 0.50%2014 98.50% 1% 0.50%2013 98% 1.50% 0.50%2012 98% 2% 0%2011 97% 3% 0%2010 97% 3% 0%2009 95% 4% 1%

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 1. การแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop and Laptop Displays)

WEB PAGE WEB PAGE

ขนาดจอภาพ 800 x 600 px ขนาดจอภาพ 1366 x 768 px

เกิดพื้นที่เปล่า (Space)

Fixed Design

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 1. การแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Desktop and Laptop Displays)

VS

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 2. อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Devices)

Page 7: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 2. อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Devices)

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 3. โมบายไซต์ (Mobile Site)

Desktop Site Mobile Site

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 3. โมบายไซต์ (Mobile Site)

มีการให้ผู้ใช้เลือกมุมมองการแสดงเนื้อหาได้ 3 ลักษณะคือ ลักษณะทั่วไป (Desktop) ลั กษณะ เ ข้ า กับ อุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile) และ ลักษณะมุมมองเหมือนพิมพ์ (Print)

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 4. เว็บเชิงตอบสนอง (Responsive Web)

สมาร์ทโฟนในแกนแนวตั้ง(Vertical Orientation)

สมาร์ทโฟนในแกนแนวนอน(Horizontal Orientation)

Page 8: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 5. การจัดการปัญหาขนาดของจอภาพแสดงผล (Solving the Screen Resolution Dilemma)

• เป็นสิ่งที่ผู้ออกแบบเว็บต้องให้ความสําคัญ โดยการออกแบบเว็บมีเค้าร่างเกี่ยวกับการจัดการขนาดของจอภาพ อยู่ 2 เค้าร่าง คือ – แบบคงที่หรือแบบตายตัว (Fixed) – แบบยืดหยุ่น (Flexible)

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 5. การจัดการปัญหาขนาดของจอภาพแสดงผล (Solving the Screen Resolution Dilemma)

• เป็นสิ่งที่ผู้ออกแบบเว็บต้องให้ความสําคัญ โดยการออกแบบเว็บมีเค้าร่างเกี่ยวกับการจัดการขนาดของจอภาพ อยู่ 2 เค้าร่าง คือ – แบบคงที่หรือแบบตายตัว (Fixed)

– แบบยืดหยุ่น (Flexible)

จําเป็นต้องพึ่งผู้ใช้ในการส่ายหน้าเวบ็ (Pan) การขยายหน้าเว็บ (Zoom) และการเลื่อน (Scroll)

ลดการเลื่อนหรือส่ายหน้าเว็บในแนวนอนเพื่ออ่านหน้าเว็บไซต์ที่ล้นเวบ็เบราว์เซอร์

การแสดงผลบนหน้าจอหลายขนาด Multi-Display

• 5. การจัดการปัญหาขนาดของจอภาพแสดงผล (Solving the Screen Resolution Dilemma)

5.1 ข้อดีของการออกแบบเว็บไซต์แบบยืดหยุ่น1) มุมมองของเว็บไซต์เหมาะสมกับอุปกรณ์ของผู้ใช้2) ลดการเลื่อนหรือส่ายหน้าเว็บในแนวนอนเพื่ออ่านหน้าเว็บไซต์ที่ล้นเว็บเบราว์เซอร์3) มีความยืดหยุ่นในการแสดงผลบนหลากหลายอปุกรณ์4) อักษรและเค้าร่างเว็บมีการปรับขนาดให้เหมาะสมกับหน้าจอของอปุกรณ์5) สามารถปรับตําแหน่งและซ่อนหรือแสดงผลบางองค์ประกอบของหน้าเว็บไซต์ให้เข้ากับขนาดหรือแกนของจอภาพได้

5.2 ข้อดีของการออกแบบเว็บไซต์แบบยึดหรือแบบตายตัว1) ผู้ออกแบบเว็บไซต์จะเป็นผู้กําหนดมุมมองให้แก่ผู้ใช้แบบเดียวเท่านั้น 2) สามารถกําหนดขนาดอกัษรคงที่ไม่แปรผันตามขนาดของหน้าจอแสดงผล

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 1. ความสมดุลระหว่างการออกแบบและเนื้อหา (Balance Design and Content) • เป็นส่วนสําคัญที่ผู้ออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์จะต้องคํานึงถึงเนื้อหา (Content) ที่จะนําเสนอ

และคํานึงถึงความต้องการของผู้ใช้เว็บไซต์ (Need) ซึ่งนําไปสู่แนวทางในการตัดสินใจที่จะออกแบบเว็บไซต์ไปในมุมมองหรือลักษณะใด ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นจะประกอบไปด้วยทีมงานหลายคน โดยในแต่ละคนจะมีมุมมองและความเชื่อมั่นในความคิดของตนเองเป็นสําคัญ ดังนั้นการหาสมดุลระหว่างการออกแบบและเนื้อหาจึงจําเป็นต้องประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการมีส่วนร่วมในการออกแบบเว็บไซต์

Page 9: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 1. ความสมดุลระหว่างการออกแบบและเนื้อหา (Balance Design and Content) • การออกแบบเว็บไซต์ควรส่งเสริมเนื้อหาและสนับสนุนผู้อ่าน • การออกแบบเนื้อหาข้อมูลบนเว็บควรจะแบ่งออกหรือจัดกลุ่มอย่างมีเหตุผลและมีโครงสร้าง • รวมถึงการออกแบบระบบนําทางเนื้อหาบนเว็บให้ชัดเจนและเข้าใจได้ง่าย• ผู้ออกแบบเว็บในปัจจุบันมักจะเลือกใช้การออกแบบเว็บที่เรียบง่ายและแสดงเนื้อหาอย่าง

ตรงไปตรงมา ทําให้ง่ายต่อการเข้าถึงและไม่มีความจําเป็นที่จะต้องออกแบบเว็บให้มีความซับซ้อนหรือใช้เทคโนโลยีที่ไม่สอดคล้องกับประสบการณ์ผู้ใช้

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 2. วางแผนเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล (Plan for Easy Access to Information)

• เป็นปัจจัยที่สําคัญและมีอิทธิพลต่อความสําเร็จของเว็บไซต์ เพราะเป็นการกําหนดวิธีการที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเน้ือหาเว็บได้อย่างง่ายดาย

• เป้าหมายของวางแผนเพือ่ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล คือ การจัดระเบียบเน้ือหาของเว็บไซต์ การนําเสนอที่เข้าใจได้ง่าย และมีเซ็ตการนําทางที่เหมาะสม ทําให้ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาในการตรวจดูสํารวจการเข้าถึงข้อมูลบนหน้าเว็บไซต์ (Quests for Information)

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 2. วางแผนเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูล (Plan for Easy Access to Information)

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 3. วางแผนเพื่อการนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจน (Plan for Clear Presentation of Information)

Page 10: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 3. วางแผนเพื่อการนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจน (Plan for Clear Presentation of Information)

• การวางแผนเพือ่การนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจนเป็นส่วนสําคัญที่ทําให้ผู้ใช้เกิดประสบการณ์ที่ดีและสามารถจดจ่อกับข้อมูลที่ปรากฎบนเว็บไซต์ได้ไม่ว่าจะเข้าถึงด้วยอุปกรณ์ชนิดใดหรือเกิดการขยับร่างกายระหว่างการอ่านข้อมูล ซึ่งนักออกแบบเว็บไซต์จะต้องให้ความสําคัญกับการออกแบบความชัดเจนให้เกิดกับเว็บไซต์

• เว็บไซต์จํานวนมากประสบความล้มเหลวในการออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากขาดความใส่ใจและมีความไม่เข้าใจเกี่ยวกับความชัดเจนของการนําเสนอข้อมูลอย่างถ่องแท้ เช่น การใช้ลักษณะอักษร (Font) ที่หลากหลายมากเกินไป การใช้สีกับอักษรโดยไม่คํานึงถึงความหมาย สีพื้นหลัง (Background) ที่ไม่ส่งผลให้อักษรมีความเด่น และการเสนอข้อมูลด้วยอักษรที่มีประโยคยาวเกินไปโดยไม่คํานึงถึงจุดหยุด (Breakpoint) ในการนําเสนอข้อมูลทําให้ผู้อ่านเกิดความสับสนและอาจเกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อเว็บไซต์ได้

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 3. วางแผนเพื่อการนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจน (Plan for Clear Presentation of Information)

• 3. วางแผนเพื่อการนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจน (Plan for Clear Presentation of Information)

• การใช้ลักษณะอักษร สีของอักษร พื้นหลังที่ลงตวั การแบ่งข้อความให้เป็นสัดส่วนที่ชัดเจนเหมาะสม รวมถึงการใช้ประโยชน์จาก สําหรับการแยกเนื้อหาหรือจัดโครงสร้างบนหนา้เว็บไซต์ก็จะช่วยให้การอ่านข้อมูลมีความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

พื้นที่ว่างสีขาว (White Space)

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 3. วางแผนเพื่อการนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจน (Plan for Clear Presentation of Information)

• ผู้ออกแบบเว็บไซต์จะต้องคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล • ผู้เข้าชมเว็บไซต์แต่ละคนมีประสบการณ์และอุปนิสัย (Characterologic Pattern) ในการอ่าน

แตกต่างกัน • และเมื่อเปรียบเทียบการอ่านข้อมูลในกระดาษ (Hard Copy) กับ การอ่านข้อมูลแบบออนไลน์

(Soft Copy) เช่น หน้าเว็บไซต์ เป็นต้น พบว่า ผู้อ่านบนสื่อออนไลน์จะมีพฤติกรรมการอ่านไม่มาก (Read Less) หรือ อ่านแบบคร่าว (Scanning Reading) และมีการเลื่อนผ่านข้อความอย่างรวดเร็ว (Quick Scrolling)

• นอกจากนี้การแบ่งแยกหัวข้อที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถสังเกตุหัวข้อที่ต้องการและหยุดการเลื่อนผ่านได้อย่างทันเวลา

Page 11: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

หลักการสร้างมุมมองและความรู้สึกที่มีต่อเว็บไซต์View and Emotion

• 3. วางแผนเพื่อการนําเสนอข้อมูลที่ชัดเจน (Plan for Clear Presentation of Information)

เครื่องมือค้นหา(Search Tool)

เมนูและการนําทาง(Menu and Navigation)

ใช้พื้นที่ว่างเพื่อแยกเนื้อหาให้ได้สัดส่วน

(Active White Space)

เลือกใช้ลกัษณะอักษรที่ชัดเจน มีการจําแนกสีอักษรเพือ่สือ่ถึงลิงค์

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• ในการออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ (Unified Site Design) จะต้องทําการวางแผนเกี่ยวกับ

ลักษณะของเว็บไซต์ (Themes) โครงสร้างของเว็บไซต์ (Structure)

• ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันในทุกๆ เว็บเพจ โดยใช้สี ลักษณะอักษรและโครงร่างเว็บผสมผสานกันเพือ่สื่อสารและถ่ายทอด (Convey) ให้ผู้ใช้เว็บไซต์เกิดความประทับใจและจดจําเว็บไซต์ได้

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 1. วางแผนเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพทางด้านการเปลี่ยนถ่ายหน้าเว็บ (Plan Smooth Transitions) • 1) เลือกใช้องค์ประกอบและภาพลักษณ์เดียวกันทั้งเว็บไซต์ เช่น สีของอักษร สัญลักษณ์ สี

พื้นหลัง เส้นสีของกรอบข้อความ ความหนาบางของกรอบข้อความ เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ในการออกแบบเว็บเพจในระดับชั้นถัดไปได้อย่างมีเอกภาพ (Unified Hierarchy)

• 2) จัดตําแหน่งส่วนประกอบในการนําทาง (Navigation) ให้เห็นได้ชัด (Obvious Section) และให้มีลักษณะเดียวกันทั้งเว็บไซต์ (Keep Consistent) โดยผู้ใช้จะเกิดการปรับประสบการณ์เกี่ยวกับทิศทางในการท่องเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและไม่เกิดความสับสนในการเข้าถึงข้อมูล

• 3) หลีกเลี่ยงการใช้กราฟิกที่ซับซ้อนหรือใช้กราฟิกเคลื่อนไหวที่ฟุ่มเฟือย เนื่องจากบั่นทอนประสบการณ์ผู้ใช้เกี่ยวกับการรู้จําทิศทางการนําทางในเว็บไซต์

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 1. วางแผนเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพทางด้านการเปลี่ยนถ่ายหน้าเว็บ (Plan Smooth Transitions)

มีการใช้สีของ Mouse Over Link ไปในทิศทางเดียวกนักบัสีของตราสญัลกัษณ์

ส่วนของการนําทางอยู่แถบด้านบนของเว็บไซต์

ส่วนของการนําทางในระดับต่ํากว่า มีการแสดงภาพกราฟิกลายเส้นพื้นฐาน ประกอบกับข้อความ

การนําทางโดยการดึงดูดสายตาผู้ใช้เว็บให้เกิดความสนใจเกี่ยวกับจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ที่จําหน่าย

Page 12: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 1. วางแผนเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพทางด้านการเปลี่ยนถ่ายหน้าเว็บ (Plan Smooth Transitions)

ส่วนของการนําทางยังคงอยู่แถบด้านบนของเว็บไซต์

การนําทางในระดับต่ํากว่ายังคงมีลักษณะเดียวกันกับการนําทางระดับต้น

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 2. การใช้ตาข่ายข้อมูลช่วยวางโครงรา่งของเว็บเพจ (Use a Grid to Provide Visual Structure)

• โดยตาข่ายข้อมูล หรือ Grid มีลักษณะเป็นตารางประเภทหนึง่ที่มีจุดมุ่งหมายในการวางโครงร่าง (Layout) ของเว็บไซต์ ต่างจากตารางข้อมูล (Table) ที่มีไว้สําหรับแสดงข้อมูลเท่านั้น

• การใช้ตาข่ายข้อมูลในการวางโครงร่างของเว็บนัน้ มีหลายลักษณะ เช่น การใช้แนวคิดแบบตาข่าย 4 คอลัมน์ หรือ 6 คอลัมน์ เป็นต้น แต่ในปัจจุบันที่นิยมใช้ในแนวคิดแบบตาข่าย 12 คอลัมน์ในการช่วยวางโครงร่างของเว็บเพจ

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 2. การใช้ตาข่ายข้อมูลช่วยวางโครงรา่งของเว็บเพจ (Use a Grid to Provide Visual Structure)

• แนวคิดแบบตาข่าย 12 คอลัมน์ในการช่วยวางโครงร่างของเว็บเพจ

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 2. การใช้ตาข่ายข้อมูลช่วยวางโครงรา่งของเว็บเพจ (Use a Grid to Provide Visual Structure)

• แนวคิดแบบตาข่าย 12 คอลัมน์ในการช่วยวางโครงร่างของเว็บเพจ

Page 13: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 2. การใช้ตาข่ายข้อมูลช่วยวางโครงรา่งของเว็บเพจ (Use a Grid to Provide Visual Structure)

• แนวคิดแบบตาข่าย 12 คอลัมน์ในการช่วยวางโครงร่างของเว็บเพจ

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 2. การใช้ตาข่ายข้อมูลช่วยวางโครงรา่งของเว็บเพจ (Use a Grid to Provide Visual Structure)

• แนวคิดแบบตาข่าย 12 คอลัมน์ในการช่วยวางโครงร่างของเว็บเพจ

Col-1

Col-10

Col-3

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 3. การใช้งานช่องระยะห่าง (Use Active White Space) หรือ ท่อ (Gutter)• ช่วยให้การนําเสนอข้อมูลบนเว็บไซต์มีการจัดกลุ่มหรือจําแนกข้อมูลออกจากกัน ทําให้เกิด

ความชัดเจนในการรับข้อมูลมากขึ้น การใช้ช่องระยะห่างสีขาว หรือ White Space นั้น แท้จริงไม่จําเป็นต้องเป็นระยะห่างสีขาวเพียงอย่างเดียว อาจเป็นสีของพื้นหลังที่มีความแตกต่างจากกล่องข้อความอย่างชัดเจน

• ระยะห่างที่ปรากฎบนเว็บเพจมี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1) ระยะห่างแบบมีส่วนร่วม (Active White Space) คือ ระยะห่างที่เป็นประโยชน์ต่อการจําแนกส่วนประกอบที่ปรากฎในหน้าเว็บเพจ ทําให้ผู้ใช้อ่านข้อมูลได้สะดวก ชัดเจน

2) ระยะห่างแบบไม่มีส่วนร่วม (Passive White Space) คือ ระยะห่างที่ไร้ประโยชน์ อาจเกิดจากหลายกรณี เช่น การจัดเรียงโครงร่างของเว็บที่ไม่คํานึงถึงพื้นที่ทั้งหมด การที่ข้อมูลในแต่ละหน้าเว็บเพจมีขนาดไม่เท่ากันทําให้เกิดพื้นที่ว่างขึ้นได้ เป็นต้น

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 3. การใช้งานช่องระยะห่าง (Use Active White Space) หรือ ท่อ (Gutter)ระยะห่างแบบมีส่วนร่วม (Active White Space) ใช้จําแนกการนําทางออกจาก

เนื้อหา

ระยะห่างแบบมีส่วนร่วม (Active White Space) ใช้จําแนกหวัข้อยอ่ย (Section Heading)

ระยะห่างแบบมีส่วนร่วม (Active White Space) ใช้จําแนกเนื้อหาหลัก (Main Section)

Page 14: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 3. การใช้งานช่องระยะห่าง (Use Active White Space) หรือ ท่อ (Gutter)

ระยะห่างแบบไม่มีส่วนร่วม (Passive White Space)

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 3. การใช้งานช่องระยะห่าง (Use Active White Space) หรือ ท่อ (Gutter)• การใช้หลักการตาข่ายข้อมูลแบบ 12 คอลัมน์ ยังมีการกําหนดขนาดพื้นที่ความกว้างที่ดีที่สุด

คือ 960 พิกเซล (Pixels) เนื่องจากสามารถแสดงผลได้ดีในจอภาพขนาด 1024 x 768 พิกเซล ขึ้นไป

• โดยตาข่ายข้อมูลแบบ 12 คอลัมน์ 960 พิกเซล จะมีช่องว่างระยะห่างระหว่างแต่ละคอลัมน์ที่เรียกว่า “ท่อ” (Gutter) ที่มีขนาด 14 พิกเซล และแต่ละคอลัมน์จะมีขนาด 68 พิกเซล

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 3. การใช้งานช่องระยะห่าง (Use Active White Space) หรือ ท่อ (Gutter)

ช่องระยะห่าง (Use Active White

Space) หรือ ท่อ(Gutter)

การออกแบบเว็บไซต์เชิงเอกภาพ Unified Site Design

• 3. การใช้งานช่องระยะห่าง (Use Active White Space) หรือ ท่อ (Gutter)

Page 15: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

การออกแบบเว็บกับประสบการณ์ผู้ใช้Web Design with User Experience

• องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการกําหนดมาตรฐาน ได้นิยามคําว่า ประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience) ไว้ใน ISO 9241-210:2010 หรือ มาตรฐานระหว่างประเทศเกี่ยวกับการยศาสตร์ของการปฏิสัมพันธ์ระบบของมนุษย์ (Ergonomics of Human-System Interaction ; Part 210: Human-Centred Design for Interactive Systems)

• ประสบการณ์ผู้ใช้ (UX) มีความหมาย คือ การรับรู้ของบุคคลและการตอบสนองที่เกิดขึ้นจากการใช้งานผลิตภัณฑ์ในลักษณะระบบหรือบริการ โดยประสบการณ์การผู้ใช้งานจะรวมถึงทุกอารมณ์ของผู้ใช้ ความเชื่อ การรับรู้ การตอบสนองทางร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมและความสําเร็จที่เกิดขึ้นก่อนระหว่างและหลังการใช้งานด้วย ISO 9241-210:2010 ยังระบุถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสบการณ์ผู้ใช้ คือ ระบบ (System) ผู้ใช้ (User) และบริบท (Context) ของการใช้งาน

• ที่มา: International Organization for Standardization: ISO, 2010

การออกแบบเว็บกับประสบการณ์ผู้ใช้Web Design with User Experience

การแสดงผลเนื้อหาบนเว็บไซต์ Wikiwand

เครื่องมือสําหรับการปรับลักษณะของเน้ือหา

การออกแบบเว็บกับประสบการณ์ผู้ใช้Web Design with User Experience

แสดงการเปรียบเทียบการแสดงผลเนื้อหาบนเว็บไซต์ Wikiwand กับ Wikipedia

การออกแบบเว็บกับประสบการณ์ผู้ใช้Web Design with User Experience

แสดงการเปรียบเทียบการนําเมาสว์างเหนือลิงค์ (Mouse Over Hyperlink)

Page 16: บทที่ 1 หลักการออกแบบเว ็บ Chapter 1 ......บทท 1 หล กการออกแบบเว บ Chapter 1 Principles of Web Design

เอกสารอ้างอิงReferences

1. Cailliau, Robert (1995). "A Little History of the World Wide Web". World Wide Web Consortium. Retrieved 5 January 2015. URL: https://www.w3.org/History.html

2. Clark Wimberly. (2015) Reimagining the Web Design Process. Retrieved 1 July 2015. URL: http://sixrevisions.com/web_design/reimagine-web-design-process/

3. Daniel Schwabe, Gustavo Rossi, Luiselena Esmeraldo, Fernando Lyardet. (2001). Web Design Frameworks: An Approach to Improve Reuse in Web Applications Web Engineering: Managing Diversity and Complexity of Web Application Development. Springer Berlin Heidelberg Berlin, Heidelberg 978-3-540-45144-0 335-352 http://link.springer.com/chapter/10.1007%2F3-540-45144-7_32

4. International Organization for Standardization (2010). Ergonomics of human system interaction - Part 210: Human-centered design for interactive systems (formerly known as 13407). ISO9241-210:2010.

5. Palmer, Sean B.; Berners-Lee, Tim (February–March 2001). "Enquire Manual — In HyperText". Retrieved 5 January 2015. URL: https://www.w3.org/People/Berners-Lee/EnquireManual.htm

6. Thomas A. Powell.(2003) Web Design: The Complete Reference. ISBN 0-07-058252-1. McGraw-Hill Publishing Company Limited 914 p.

7. Sareh Aghaei, Mohammad Ali Nematbakhsh and Hadi Khosravi Farsani. (2012) EVOLUTION OF THE WORLD WIDE WEB: FROM WEB 1.0 TO WEB 4.0. International Journal of Web & Semantic Technology (IJWesT) Vol.3, No.1, January 2012 http://airccse.org/journal/ijwest/papers/3112ijwest01.pdf