7
Thai Reader Project http://readingthai.wisc.edu Volume 2 Chapter 13 Page 1 บทท่ ๑๓ เร่อง กวยเตยว การเตรยมการอ่าน ดูรูปแลวตอบคำ�ถ�ม - ในรูปท่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร รูจักไหม จ�กช่อเร่องน�จะบอกอะไรเร�บ�ง - กวยเตยวทำ�ม�จ�กอะไร และม�จ�กประเทศอะไร - จ�กรูป ๓ ๔ และ ๕ คุณเคยรับประท�นกวยเตยวแบบไหน ใสอะไรและมรสอะไรบ�ง การอ่าน อ�นเร่องตอไปน รูปท่ ๑ รูปท่ ๒ รูปท่ ๓ รูปท่ ๔ รูปท่ ๕

บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 1

 

บทที่ ๑๓ เรื่อง ก๋วยเตี๋ยว

การเตรียมการอ่าน

ดูรูปแล้วตอบคำ�ถ�ม

- ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร รู้จักไหม จ�กชื่อเรื่องน่�จะบอกอะไรเร�บ้�ง

- ก๋วยเตี๋ยวทำ�ม�จ�กอะไร และม�จ�กประเทศอะไร

- จ�กรูป ๓ ๔ และ ๕ คุณเคยรับประท�นก๋วยเตี๋ยวแบบไหน ใส่อะไรและมีรสอะไรบ้�ง

การอ่าน

อ่�นเรื่องต่อไปนี้

รูปที่ ๑ รูปที่ ๒รูปที่ ๓

รูปที่ ๔ รูปที่ ๕

Page 2: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 2

ก๋วยเตี๋ยว

ก๋วยเตี๋ยวเป็นอาหารชนิดหนึ่งมีลักษณะเป็นเส้นยาวทำามาจากแป้งข้าวเจ้าเป็นส่วน

ใหญ่โดยมากจะลวกให้สุกในน้ำาเดือดแล้วนำามาใส่เครื่องปรุงชนิดต่างๆนิยมรับประทานทั้งแบบ

น้ำาและแบบแห้งโดยนิยมใช้“ตะเกียบ”เป็นเครื่องมือในการรับประทาน

สันนิษฐานกันว่าก๋วยเตี๋ยวในประเทศไทยมีมาเมื่อประมาณสมัยสมเด็จพระนารายณ์

กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นช่วงที่ไทยมีการติดต่อกับชาวต่างชาติมากมายและชาวจีนก็ได้นำาเอา

ก๋วยเตี๋ยวเข้ามากินกันในเรือโดยต้มในน้ำาซุปมีการใส่หมูใส่ผักและเครื่องปรุงเพื่อความอร่อย

แต่สำาหรับคนไทยแล้วถือว่าเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ในยุคนั้นและต่อมาได้นำามาประกอบเป็นอาหาร

อื่นๆบริโภคกันจนเป็นที่รู้จักกันดีและเริ่มมีการทำาเส้นก๋วยเตี๋ยวในประเทศไทย

มาถึงสมัยกรุงธนบุรีก็ยิ่งมีคนจีนเดินทางมาค้าขายและมาสร้างเนื้อสร้างตัวใน

เมืองไทยมากขึ้นก็เลยมีการทำาเส้นก๋วยเตี๋ยวกันมากขึ้นหาซื้อได้ง่ายและแถมด้วยการทำา

ก๋วยเตี๋ยวขายแบบหาบเร่รวมถึงการเร่ขายทางเรือไปถึงผู้ซื้อด้วย

ในสมัยกรุงเทพฯจอมพลป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีได้มีนโยบายรัฐนิยม

ที่สนับสนุนให้ประชาชนบริโภคก๋วยเตี๋ยวโดยท่านนายกฯเห็นว่าหากประชาชนหันมาร่วมกัน

บริโภคก๋วยเตี๋ยวจะเป็นการแก้ไขเศรษฐกิจของชาติในตอนนั้นเพื่อจะได้มีเงินหมุนเวียนใน

ประเทศดังคำากล่าวของท่านนายกฯในสมัยนั้นว่า

“อยากให้พี่น้องกินก๋วยเตี๋ยวให้ทั่วกันเพราะก๋วยเตี๋ยวมีประโยชน์ต่อร่างกายมีรส

เปรี้ยวเค็มหวานพร้อมทำาเองได้ในประเทศไทยหาได้สะดวกและอร่อยด้วยหากพี่น้องชาวไทย

กินก๋วยเตี๋ยวคนละหนึ่งชามทุกวันวันหนึ่งจะมีคนกินก๋วยเตี๋ยวสิบแปดล้านชามตกลงวันหนึ่ง

ค่าก๋วยเตี๋ยวของชาติไทยหนึ่งวันเท่ากับเก้าสิบล้านสตางค์เท่ากับเก้าแสนบาทเป็นจำานวนเงิน

หมุนเวียนมากพอใช้เงินเก้าแสนบาทนั้นก็จะไหลไปสู่ชาวไร่ชาวนาชาวทะเลทั่วกันไม่ตกไปอยู่

ในมือใครคนหนึ่งคนใดเพียงคนเดียวและเงินหนึ่งบาทก็มีราคาหนึ่งบาทซื้อก๋วยเตี๋ยวได้เสมอ

ไม่ใช่ซื้ออะไรก็ไม่ได้เหมือนอย่างทุกวันนี้ซึ่งเท่ากับไม่มีประโยชน์เต็มที่ในค่าของเงิน”

จากวิกิพีเดียสารานุกรมเสรี<http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B9%8B%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B9%8B%E0%B8%A2%E0%B8%A7>และ<http://my.dekd.com/nareedang/story/view.php?id=246106>

Page 3: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

เปรียบเทียบ สิ่งที่บอก กับ สิ่งที่อ่านว่ามีอะไรที่เหมือน หรือ แตกต่างกัน

เหมือนกัน ต่�งกัน

..................................................................... ...........................................................................

..................................................................... ...........................................................................

..................................................................... ...........................................................................

๑. เลือกวงข้อที่ถูกที่สุด

๑.๑ ย่อหน้�ที่แสดงคว�มสำ�คัญของก๋วยเตี๋ยวที่ทำ�ให้รัฐบ�ลต้องชักชวนให้ประช�ชนหัน

ม�รับประท�นก่วยเตี๋ยวกัน

ก. ย่อหน้� ๑ – ๒ ข. ย่อหน้� ๓ – ๔ ค. ย่อหน้� ๔ – ๕

๑.๒ ย่อหน้�ที่บอกถึงก�รนำ�ก๋วยเตี๋ยวเข้�ม�ในประเทศไทย และพัฒน�จนกล�ยเป็นอ�ห�ร

ที่ทำ�ข�ยประจำ�วัน

ก. ย่อหน้� ๑ ข. ย่อหน้� ๒ - ๓ ค. ย่อหน้� ๔ - ๕

๒. เขียน ๑ ๒ ๓ ....................... หน้าข้อเพื่อเรียงข้อความให้ถูกตามเนื้อเรื่อง

.............. ก. ท่�นน�ยกฯเห็นว่�ถ้�คนรับประท�นก๋วยเตี๋ยวกันก็จะทำ�ให้เงินหมุนเวียนอยู่ในประเทศ

.............. ข. คนจีนทำ�เส้นก๋วยเตี๋ยวจ�กแป้งข้�วเจ้� ทำ�ให้สุกแล้วใส่เครื่องปรุงต่�งๆ และใช้

ตะเกียบเป็นเครื่องมือในก�รกิน

.............. ค. ก�รทำ�เส้นก๋วยเตี๋ยวมีม�กขึ้น และมีก�รข�ยก๋วยเตี๋ยวทั้งท�งบกและท�งน้ำา ในสมัย

กรุงธนบุรี

.............. ง. ก�รชักชวนประช�ชนให้รับประท�นก๋วยเตี๋ยวกันม�กขึ้นในสมัยกรุงเทพฯ ก็เพื่อให้เงิน

กระจ�ยไปสู่ช�วไร่ ช�วน� และช�วทะเล

.............. จ. ช�วจีนเข้�ม�ค้�ข�ยในสมัยอยุธย�และได้นำ�เอ�ก๋วยเตี๋ยวเข้�ม�กินกันในเรือ และ

เป็นของแปลกสำ�หรับคนไทยสมัยนั้น

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 3

Page 4: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

๓. เขียนแสดงเหตุผล ๓ ข้อว่า “เห็นด้วย” หรือ “ไม่เห็นด้วย” เกี่ยวกับการชักชวน

ประชาชนให้ช่วยกันแก้ไขเศรษฐกิจของชาติด้วยการรับประทานก๋วยเตี๋ยวของ จอมพล ป.

พิบูลสงคราม

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 4

Page 5: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

การใช้ภาษาและคำาศัพท์

๔. เลือกเติมคำาที่ให้ในช่องว่างต่อไปนี้

ลักษณะ เครื่องมือ สันนิษฐาน แปลกใหม่ บริโภค

สร้างเนื้อสร้างตัว นโยบาย สนับสนุน ประโยชน์ สะดวก

ประกอบ ทั่วกัน เครื่องปรุง

๔.๑ เวล�ลูกส�ว หรือ ลูกช�ยแต่งง�น พ่อแม่ของทั้งสองฝ่�ยมักจะให้เงินแก่คู่แต่งง�น

เพื่อเข�ทั้งสองจะได้ไปใช้ในก�ร.......................................ของเข�

๔.๒ รัฐบ�ลของทุกประเทศพย�ย�ม...............................ให้ประช�ชนของเข�........................

อ�ห�รและผลไม้กระป๋อง ที่ทำ�ขึ้นภ�ยในประเทศ เงินจะได้ไม่รั่วไหลออกนอกประเทศ

๔.๓ ตำ�รวจตรวจบริเวณรอบๆบ้�นแล้วไม่พบร่องรอยก�รงัดแงะเพื่อเปิดประตู หรือ หน้�ต่�ง

เข�จึง.................................ว่�เจ้�ของบ้�นคงลืมปิดประตูหรือ หน้�ต่�ง ทำ�ให้ขโมยเข้�ไป

ในบ้�นได้..........................................

๔.๔ ปีนี้ โรงเรียนมี............................ที่จะให้นักเรียนได้เรียนรู้ก�ร.........................อ�ห�ร

แบบง่�ยๆ จึงเพิ่มชั่วโมงภ�คปฏิบัติในหลักสูตร

๔.๕ เด็กวัยรุ่นส่วนม�กชอบใส่น�ฬิก�ที่มีรูปร่�ง.............................พิเศษไม่เหมือนใคร เข�จะ

รู้สึกภูมิใจที่มีของ................................กว่�คนอื่นๆ

๔.๖ โทรศัพท์มือถือมี...........................เพร�ะช่วยให้คนติดต่อกันได้อย่�งรวดเร็ว ทันใจ แต่ไม่

ควรใช้ในขณะขับรถ เพร�ะอ�จเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่�ย

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 5

Page 6: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

๕. เขียนประโยคที่ใช้คำาต่อไปนี้ (จะใช้กี่คำาก็ได้ในแต่ละประโยค)

เพื่อ ประมาณ โดย รวมถึง

สำาหรับ ทั่วกัน ต่อ เต็มที่

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

.........................................................................................................................................................

กิจกรรมหลังการอ่าน

นักศึกษ�ชักชวนให้คนดัดแปลงทำ�อ�ห�รบ�งประเภทให้มีเครื่องปรุงและรสแปลกจ�กของเดิม

๑ อย่�ง อ�ห�รนั้นอ�จจะม�จ�กช�ติตนเองหรือช�ติอื่นก็ได้ ตัวอย่�งเช่น สป�เก็ตตี้ที่มีซอส

แบบอื่นๆ หรือ อ�จจะเอ�ข้�วม�ทำ�อ�ห�รที่ยังไม่มีใครทำ�ม�ก่อน เป็นต้น

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 6

Page 7: บทที่ ๑๓ - Thai Reader Projectreadingthai.wisc.edu/Volume2/13noodle.pdf · 2010-04-01 · - ในรูปที่ ๑ และ ๒ เป็นรูปอะไร

Thai Reader Projecthttp://readingthai.wisc.edu

Volume 2 Chapter 13Page 7

คำาศัพท์

เรื่อง ก๋วยเตี๋ยว

เครื่องมือ - tool

สันนิษฐ�น - to hypothesize

เครื่องปรุง - condiment, seasoning

ยิ่ง - increasingly, progressively

สร้�งเนื้อสร้�งตัว - to establish one’s self

ห�บเร่ - to peddle, hawk

นโยบ�ย - policy

สนับสนุน - to support, encourage