45
4-1 หน่วยที4 หลักความเป็นธรรมทางกฎหมาย และกฎหมายทรัสต์ อาจารย์สิริพันธ์ พลรบ

หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-1

หน่วยที่4หลักความเป็นธรรมทางกฎหมายและกฎหมายทรัสต์

อาจารย์สิริพันธ์พลรบ

Page 2: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-2

หลักความ

เป็นธรรมทาง

กฎหมาย และ

กฎหมายทรัสต์

4.1 หลักความ

เป็นธรรมทาง

กฎหมายหรือ

เอ็คควิตี้

4.2 กฎหมายทรัสต์

4.1.1 ที่มาและพัฒนาการของเอ็คควิตี้

4.2.1 ที่มาและความหมายของทรัสต์

4.1.2 หลักกฎหมายเอ็คควิตี้ที่สำคัญ

4.2.2 หลักกฎหมายทรัสต์

4.2.3 ทรัสต์ในระบบกฎหมายไทย

แผนผังแนวคิดหน่วยที่4

Page 3: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-3

หน่วยที่4

หลักความเป็นธรรมทางกฎหมายและกฎหมายทรัสต์

เค้าโครงเนื้อหาตอน ที่ 4.1 หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ เอ็คค วิ ตี้

4.1.1 ที่มา และ พัฒนาการ ของ เอ็คค วิ ตี้

4.1.2 หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ ที่ สำคัญ

ตอน ที่ 4.2 กฎหมาย ทรัสต์

4.2.1 ที่มา และ ความ หมาย ของ ทรัสต์

4.2.2 หลัก กฎหมาย ทรัสต์

4.2.3 ทรัสต์ ใน ระบบ กฎหมาย ไทย

แนวคิด1. หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ “เอ็คค วิ ตี้” (Equity) เป็น หลัก กฎหมาย ที่ พัฒนา

ใน อังกฤษ และ เวลส์ ใน ยุค กลาง มี ที่มา จาก คำ ตัดสิน ของ ขุนนาง ตำแหน่ง ชาน เซล เลอ ร์ เพื่อ

เยียวยา คู่ ความ ใน กรณี ที่ กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ไม่ สามารถ ให้การ เยียวยา ได้ เท่า ที่ ควร ต่อ

มา พัฒนา เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ (Equity) และ ถูก นำ ไป ใช้ ใน ศาล พิเศษ เรียก ว่า “ศาล ชาน-

เซอ ร”ี (Court of Chancery) ปจัจบุนั ยงั คง ม ีแนว ความ คดิ และ หลกั กฎหมาย ที ่ใช ้อยู ่เชน่

วิธี การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable remedies) หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ (equitable

doctrines) ต่างๆ ซึ่ง รวม ถึง การ จัดการ ทรัพย์สิน โดย การ จัด ตั้ง ทรัสต์ (Trusts)

2. ทรัสต์ (Trusts) คือ กอง ทรัพย์สิน ซึ่ง จัด ตั้ง ขึ้น โดย ผู้ ก่อ ตั้ง (Settlor) มี ทรัส ตี

(Trustee) เป็น เจ้าของ ทรัพย์ ตาม กฎหมาย และ มีหน้า ที่ จัดการ กอง ทรัพย์สิน ให้ เป็น ไป

ตาม วัตถุประสงค์ ของ ทรัสต์ เพื่อ ให้ ผล ประโยชน์ ตก แก่ ผู้รับ ประโยชน์ (Benificiary) โดยที ่

ทรัสต์ เป็น หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ สาขา หนึ่ง ดัง นั้น การ จะ เข้าใจ หลัก กฎหมาย ทรัสต์ ได้ ดี

จึง ควร ทำความ เข้าใจ หลัก พื้น ฐาน และ พัฒนาการ ของ เอ็คค วิ ตี้ ด้วย

3. นอกจาก ประเทศ องักฤษ และ ประเทศ ใน กลุม่ ที ่ใช ้กฎหมาย คอม มอน ลอว ์แลว้ ปจัจบุนั หลาย

ประเทศ ใน ระบบ กฎหมาย อื่น รวม ถึง ประเทศไทย นำ หลัก กฎหมาย และ ระบบ การ จัด ตั้ง

ทรัสต์ ไป ใช้ ใน การ จัดการ ทรัพย์สิน โดย อาจ มี ขอบเขต ของ กฎหมาย และ วัตถุประสงค์ ใน

การ จัด ตั้ง ทรัสต์ แตก ต่าง กัน ไป

Page 4: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-4

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 4 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

1. อธิบาย และ วิเคราะห์ เกี่ยว กับ หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ เอ็คค วิ ตี้ ได้

2. อธิบาย และ วิเคราะห์ เกี่ยว กับ กฎหมาย ทรัสต์ ได้

กิจกรรม1. กิจกรรม การ เรียน

1) ศึกษา แผนผัง แนวคิด หน่วย ที่ 4

2) อ่าน แผนการ สอน ประจำ หน่วย ที่ 4

3) ทำ แบบ ประเมิน ผล ตนเอง ก่อน เรียน หน่วย ที่ 4

4) ศึกษา เนื้อหา สาระ

5) ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

6) ตรวจ สอบ กิจกรรม จาก แนว ตอบ

7) ทำ แบบ ประเมิน ผล ตนเอง หลัง เรียน หน่วย ที่ 4

2. งาน ที่ กำหนด ให้ ทำ

1) ทำ แบบ ฝึกหัด ทุก ข้อ ที่ กำหนด ให้ ทำ

2) อ่าน เอกสาร เพิ่ม เติม จาก บรรณานุกรม

แหล่งวิทยาการ1. สื่อ การ ศึกษา

1) แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 4

2) หนังสือ ประกอบ การ สอน

2.1) กติต ิศกัดิ ์ปรกต ิ(2551) ความเปน็มาและหลกัการใช้นติิวธิใีนระบบซีวลิลอว์

และคอมมอนลอว์พิมพ์ ครั้ง ที่ 3 วิญญูชน กรุงเทพมหานคร

2.2) ประชมุ โฉมฉาย ศาสตราจารย ์เกยีรตคิณุ ดร. (2552) กฎหมายเอกชนเปรยีบ

เทยีบเบือ้งตน้:จารตีโรมนัและแองโกลแซกซอน พมิพ ์ครัง้ ที ่2 โครงการ ตำรา

และเอกสาร ประกอบ การ สอน คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์

Page 5: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-5

2.3) สุ นัย มโนมัย อุดม (2552) ระบบกฎหมายอังกฤษ(EnglishLegalSystem)

พิมพ์ ครั้ง ที่ 3 แก้ไข เพิ่ม เติม โครงการ ตำรา และ เอกสาร ประกอบ การ สอน

คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์

2.4) Garry Slapper and David Kelly, (2006) EnglishLaw, 2nd ed., London,

Routledge-Cavendish.

2. เอกสาร อ้างอิง ใน แนว การ ศึกษา หน่วย ที่ 4

การประเมินผลการเรียน1. ประเมิน ผล จาก การ สัมมนา เสริม และ งาน ที่ กำหนด ให้ ทำ ใน แผน กิจกรรม

2. ประเมิน ผล จาก การ สอบไล่ ประจำ ภาค การ ศึกษา

Page 6: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-6

แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนวัตถุประสงค ์ เพื่อ ประเมิน ความ รู้ เดิม ใน การ เรียน รู้ ของ นักศึกษา เกี่ยว กับ เรื่อง “หลัก ความ เป็น ธรรม

ทางกฎหมาย และ กฎหมาย ทรัสต์”

คำแนะนำ อ่าน คำถาม แล้ว เขียน คำ ตอบ ลง ใน ช่อง ว่าง นักศึกษา มี เวลา ทำ แบบ ประเมิน ชุด นี้ 30 นาที

1. หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ เอ็คค วิ ตี้ คือ อะไร มี ที่มา อย่างไร

2. ทรัสต์ คือ อะไร และ มี หลัก กฎหมาย ที่ สำคัญ อย่างไร

Page 7: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-7

ตอนที่4.1

หลักความเป็นธรรมทางกฎหมายหรือเอ็คควิตี้

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 14.1 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่อง ที่ 4.1.1 ที่มา และ พัฒนาการ ของ เอ็คค วิ ตี้

เรื่อง ที่ 4.1.2 หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ ที่ สำคัญ

แนวคิด 1. หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ “เอ็คค วิ ตี้” (Equity) เป็น หลัก กฎหมาย ที่ พัฒนา

ใน อังกฤษ และ เวลส์ ใน ยุค กลาง มี ที่มา จาก คำ ตัดสิน ของ ขุนนาง ตำแหน่ง ชาน เซล เลอ ร์ เพื่อ

เยยีวยา คู ่ความ ใน กรณ ีที ่กฎหมาย คอม มอน ลอว ์ไม ่สามารถ ใหก้าร เยยีวยา ได ้เทา่ ที ่ควร ตอ่ มา

พัฒนา เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ (Equity) และ ถูก นำ ไป ใช้ ใน ศาล พิเศษ เรียก ว่า “ศาล ชานเซอ รี”

(Court of Chancery)

2. เอ็คค วิ ตี้ มี พัฒนาการ มา ตาม ลำดับ โดย ระยะ แรก เป็นการ เสริม เพิ่ม เติม หลัก คอม มอน ลอว ์

ต่อ มา นำ มา ใช้ ร่วม กับ คอม มอน ลอว์ ใน ศาล ต่างๆ ปัจจุบัน ยัง คง มี แนว ความ คิด และ หลัก

กฎหมาย ที ่ใช ้อยู ่เชน่ วธิ ีการ เยยีวยา ทาง เอค็ค ว ิตี ้(equitable remedies) อาท ิการ ปฏบิตั ิ

การ บาง อย่าง โดย เฉพาะ (specific performance) คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ หรือ หมาย อิน จัง ชัน

(injunction) และ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ (equitable doctrines) ที่ สำคัญ เช่น อำนาจ

ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม (undue influence) การ เก็บ

รักษา ความ ลับ (confidentiality) ตลอด จน การ จัดการ ทรัพย์สิน โดย การ จัด ตั้ง ทรัสต์

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 4.1 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

1. อธิบาย ที่มา และ พัฒนาการ ของ เอ็คค วิ ตี้ ได้

2. อธิบาย และ วิเคราะห์ เกี่ยว กับ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ ที่ สำคัญ ได้

Page 8: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-8

เรื่องที่4.1.1ที่มาและพัฒนาการของเอ็คควิตี้

สาระสังเขป

1.ที่มาของเอ็คควิตี้(Equity)หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ ที่ เรียก ว่า “เอ็คค วิ ตี้” (Equity)1 เป็น หลัก กฎหมาย ที่ พัฒนา

ใน อังกฤษ และ เวลส์ ใน ยุค กลาง เพื่อ เยียวยา คู่ ความ ใน กรณี ที่ กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ไม่ สามารถ ให้การ เยียวยา

ได้ เท่า ที่ ควร ตัวอย่าง เช่น เดิม การ ฟ้อง คดี ส่วน มาก จะ ทำได้ ก็ ต่อ เมื่อ มี การ ออก หมาย (writ) อนุญาต ให้ ฟ้อง

ซึ่ง มัก เป็นการ ใช้ ภาษา ทาง กฎหมาย ที่ ซับ ซ้อน หาก มี การ ใช้ ภาษา ผิด ไป ก็ ทำให้ การ ฟ้อง เสีย ไป ทั้งหมด จึง ต้อง

ไป ฟ้อง ใหม่ ที่ ศาล พิเศษ ของ พระเจ้า แผ่นดิน อีก ประการ หนึ่ง การ เยียวยา ใน ระบบ กฎหมาย คอม มอน ลอว์ มี แต ่

การ ได้ รับ ค่า สินไหม ทดแทน ศาล ไม่ อาจ กำหนด เกี่ยว กับ การก ระ ทำ ของ จำเลย เช่น การ โอน ทรัพย์ ให้ ตลอด จน

การ งด เว้น ของ จำเลย เช่น การ ไม่ ก่อ ความ รำคาญ ให้ ได้

ผู้ เสีย หาย ที่ ไม่ ได้ รับ ความ พึง พอใจ จึง เลือก ไป ร้องขอ ต่อ กษัตริย์ ให้ ช่วย เมื่อ เกิด ความ ไม่ ยุติธรรม ซึ่ง

กษัตริย์ ก็ มีหน้า ที่ ต้อง ช่วย เพราะ ศาล คอม มอน ลอว์ ซึ่ง เกิด จาก การ ใช้ อำนาจ ปกครอง ของ กษัตริย์ ปกติ มี ขุนนาง

ตำแหน่ง ลอร์ด ชาน เซล เลอ ร์ (Lord Chancellor) คอย ดูแล คำร้อง ที่ ยื่น ต่อ กษัตริย์ คำ ตัดสิน ของ ชาน เซล เลอ ร ์

เพื่อ สร้าง ความ เป็น ธรรม ดัง กล่าว นาน ปี เข้า ก็ พัฒนา เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ (Equity) กฎ ใหม่ ใน ทาง เอ็คค วิ ตี้ นี้ ถูก

นำ ไป ใช้ ใน ศาล พิเศษ แห่ง หนึ่ง คือ ศาล ของ ชาน เซล เลอ ร์ (The Chancellor’s Court) ซึ่ง บาง ที่ เรียก ว่า “ศาล

ชาน เซอ รี” (Court of Chancery)

2.การพัฒนาหลักเอ็คควิตี้ในศาลชานเซอรีการ ใช้ หลัก เอ็คค วิ ตี้ ใน ศาล ชาน เซอ รี ใน ช่วง ศตวรรษ ที่ 18 แม้ จะ เป็น ดุลพินิจ ของ ชาน เซล เลอ ร์ ที่ จะ

นำ มา ใช้ เพื่อ เยียวยา แก้ไข ความ ไม่ เป็น ธรรม แต่ ก็ เริ่ม เป็น ระบบ มี กฎ เกณฑ์ ที่ แน่นอน และ มี ลักษณะ ไป ใน

ทาง ที่ เสริม หรือ เพิ่ม เติม กฎหมาย คอม มอน ลอว์ มากกว่า จะ เป็นการ แก้ไข ตัว กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ตัวอย่าง

กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ที่ มี กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ เข้า มา เสริม มาก ได้แก่ กฎหมาย เกี่ยว กับ ทรัพย์สิน รอง ลง มา

คือ กฎหมาย ละเมิด

1 “Equity” เป็น หลัก กฎหมาย ที่ เดิม แยก ออก จาก คอม มอน ลอว์ มี ขึ้น เพื่อ แก้ไข ข้อ บกพร่อง ของ คอม มอน ลอว์ แต่ ปัจจุบัน

นับ ว่า รวม อยู่ ใน คอม มอน ลอว์ เพราะ มี การ รวม ศาล เอ็คค วิ ตี้ เข้า กับ ศาล คอม มอน ลอว์ หลัก เอ็คค วิ ตี้ จึง กลาย เป็น หลัก ที่ ประกอบ เป็น ส่วน

หนึ่ง ของ คอม มอน ลอว์ หลัก เอ็คค วิ ตี้ เคย มี ผู้ เรียก ชื่อ อย่าง อื่น คือ “หลัก ความ เป็น ธรรม” และ บาง ท่าน ใช้ ทับ ศัพท์ ว่า “Equity” อย่างไร

ก็ ดี เนื่องจาก ตำรา ที่ ใช้ อ้างอิง ใน แนว การ สอน นี้ ใช้ ทับ ศัพท์ คำ อ่าน ภาษา อังกฤษ ว่า “เอ็คค วิ ตี้” เพื่อ ให้ เข้าใจ ตรง กัน ใน เนื้อหา จึง ขอ ใช้

วิธี การ ทับ ศัพท์ คำ อ่าน ภาษา อังกฤษ ว่า “เอ็คค วิ ตี้” เช่น เดียว กับ ใน ตำรา ที่ ใช้ อ้างอิง

Page 9: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-9

ใน ส่วน ของ อำนาจ ศาล ชาน เซอ รี ที่ เกี่ยว กับ ทรัพย์สิน ซึ่ง ไม่มี ใน กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ที่ สำคัญ ได้แก ่

ทรัสต์ การ แยก ทรัพย์สิน ของ หญิง ที่ สมรส แล้ว การ จำนอง และ การ โอน สิทธิ เรียก ร้อง ตาม สัญญา

3.การปฏิรูปกฎหมายคอมมอนลอว์และเอ็คควิตี้ระ หว่าง ปี ค.ศ. 1830 และ 1860 ได้ มี การ ปฏิรูป วิธี พิจารณา ใน ศาล คอม มอน ลอว์ และ เอ็คค วิ ตี้ ให้ เป็น

แนว เดียวกัน และ เป็น พื้น ฐาน ใน การ ปฏิรูป ทาง ศาล ให้การ พิจารณา โดย ใช้ กฎหมาย คอม มอน ลอว์ และ เอ็คค วิ ตี ้

อยู่ ใน ศาล เดียวกัน ใน เวลา ต่อ มา ก่อน ปี ค.ศ. 1875 ศาล คอม มอน ลอว์ สามารถ รับ ฟัง ข้อ ต่อสู้ ทาง เอ็คค วิ ตี้ และ

พิพากษา ให้การ เยียวยา ตาม กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ และ ให้ ศาล เอ็คค วิ ตี้ พิจารณา คดี ตาม กฎหมาย คอม มอน ลอว์

ซึ่ง รวม ถึง การ พิพากษา ให้ ชดใช้ ค่า เสีย หาย ด้วย

ต่อ มา ได้ มี การ ตรา พระ ราช บัญญัติ The Judicature Acts, 1873–1875 ให้ จัด ตั้ง ศาลสูง (High

Court) ขึ้น ศาล เดียว มี อำนาจ พิจารณา คดี ต่างๆ ทั้ง ตาม กฎหมาย คอม มอน ลอว์ และ เอ็คค วิ ตี้ ใน ศาลสูง นี้ ได้

แบ่ง งาน ของ ศาล ออก เป็น 5 แผนก หนึ่ง ใน นั้น คือ แผนก ชาน เซอ รี (Chancery Division) ซึ่ง นอกจาก จะ

มี อำนาจ พิจารณา คดี ตาม ที่ กฎหมาย ต่างๆ กำหนด ไว้ แล้ว ยัง มี อำนาจ พิจารณา คดี เช่น เดียว กับ ศาล แผนก

อื่น ใน คดี ที่ อาจ ฟ้อง ร้อง ตาม กฎหมาย คอม มอน ลอว์ แต่ โจทก์ ประสงค์ จะ ขอ เยียวยา ตาม กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้

ได้แก่ การ ขอ หมาย อิน จัง ชัน (injunction) (หรือ คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ) และ ขอ ให้ กระทำ การ บาง อย่าง (specific

performance)

การ รวม คดี คอม มอน ลอว์ และ เอ็คค วิ ตี้ มา พิจารณา ใน คดี เดียวกัน นี้ ไม่ ก่อ ให้ เกิด ปัญหา ใน ทาง ปฏิบัต ิ

มาก นัก เพราะ การ มี กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ ก็ เพื่อ เสริม กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ให้ สมบูรณ์ มิได้ มี วัตถุประสงค์

เป็นการ ขัด กับ กฎหมาย คอม มอน ลอว์ แต่ อย่าง ใด ตัวอย่าง คดี ที่ เกี่ยว กับ ทรัสต์ ตาม คอม มอน ลอว์ นาย ก.

ถือว่า เป็น เจ้าของ กรรมสิทธิ์ แต่ นาย ก. อาจ ถือ ครอง ที่ดิน ดัง กล่าว เพื่อ ประโยชน์ ของ นาย ข. ได้ อย่างไร ก็ ดี

อาจ มี กรณี ที่ ขัด แย้ง กัน บ้าง แต่ ก็ เป็น เพียง ส่วน น้อย เช่น กรณี การ ขอ ให้ ออก หมาย อิน จัง ชัน (injunction) ซึ่ง

ไม่ เป็น ที่ ยอมรับ ใน กฎหมาย คอม มอน ลอว์

4.การใช้หลักเอ็คควิตี้ในปัจจุบันใน ประเทศ อังกฤษ ปัจจุบัน ศาล ที่ มี อำนาจ พิจารณา คดี แพ่ง ตาม ลำดับ ชั้น ศาล ได้แก่

1) ศาลสูง สุด ได้แก่ สภา ขุนนาง (House of Lords)

2) ศาลสูง ชั้น กลาง ตามพ ระ ราช บัญญัติ The Supreme Court of Judicature Act 1873, 1875

บัญญัติ ให้ จัด ตั้ง ศาลสูง ขึ้น คือ Supreme Court of Judicature ซึ่ง แบ่ง ออก เป็น 2 ส่วน คือ ศาลสูง (The

High Court of Justice) และ ศาล อุทธรณ์ (The Court of Appeal)

3) ศาล ชัน้ ลา่ง ไดแ้ก ่ศาล เคา น ์ต ีคอรท์ (County Courts) และ ศาล มา จ ิส เตรทส ์คอรท์ (Magistrates

Courts)

ใน ศาล แต่ละ ระดับ ดัง กล่าว ยัง คง มี การ พิจารณา เกี่ยว กับ คดี เอ็คค วิ ตี้ หรือ ใช้ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้

ที่ เกี่ยวข้อง อยู่ แล้ว แต่ กรณี เพื่อ สร้าง ความ เป็น ธรรม เคียง คู่ กับ หลัก กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ซึ่ง รัฐสภา ได้

Page 10: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-10

ออก กฎหมาย รับรอง หลัก กฎหมาย ทั้ง สอง แต่ หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่ จะ บังคับ ได้ นั้น ปัจจุบัน ได้ กลาย เป็น ส่วน หนึ่ง

ของ หลัก กฎหมาย ตาม คำ พิพากษา (precedent) ไป มิได้ เป็น หลัก ที่ เกิด จาก เหตุผล ทาง จริยธรรม ล้วนๆ อีก

ใน ขณะ ที่ นัก วิชาการ บาง ท่าน (Worthington) เห็น ว่า ใน ปัจจุบัน ได้ เข้า สู่ ช่วง ที่ เอ็คค วิ ตี้ และ คอม มอน ลอว์

ได้ บูรณ า การ กัน แล้ว โดย สมบูรณ์ ดัง ตัวอย่าง ที่ เกิด ขึ้น คือ โดย หลัก หาก หลัก เอ็คค วิ ตี้ และ คอม มอน ลอว์

ขัด แย้ง กัน พระ ราช บัญญัติ The Judicature Acts, 1873 (หรือ ปัจจุบัน คือ มาตรา 49 แห่ง พระ ราช บัญญัติ

The Supreme Court Act 1981) บัญญัติ ว่า ใน กรณี ดัง กล่าว ให้ ใช้ หลัก เอ็คค วิ ตี้ อย่างไร ก็ ดี ใน บาง กรณี ที่

หาก ใช้ หลัก เอ็คค วิ ตี้ อาจ ไม่ เกิด ความ เป็น ธรรม ศาล ก็ อาจ ใช้ หลัก คอม มอน ลอว์ ได้ เช่น กัน2

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในหนังสือความเป็นมาและหลักการใช้นิติวิธีในระบบซีวิลลอว์และ

คอมมอนลอว์บทที่3โดยกิตติศักดิ์ปรกติ;หนังสือระบบกฎหมายอังกฤษ(EnglishLegalSystem)

บทที่8บทที่13บทที่14และบทที่16โดยสุนัยมโนมัยอุดม;และหนังสือEnglishLaw,“Chapter10:

TheLawofEquityandTrust”byGarrySlapperandDavidKelly)

กิจกรรม4.1.1

อำนาจ ของ ศาล ชาน เซอ รี ที่ เกี่ยว กับ ทรัพย์สิน ซึ่ง ไม่มี ใน กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ที่ สำคัญ ได้แก ่

เรื่อง ใด บ้าง

2 ตัวอย่าง เช่น บ้าน ที่ ภรรยา อยู่ อาศัย เป็น ของ สามี (นาย เอ) ซึ่ง เป็น เจ้าของ ร่วม กับ บุคคล อื่น ต่อ มา ต้อง ถูก บังคับ ให้ โอน บ้าน

ให้ แก่ ผู้ ซื้อ ซึ่ง เป็นการ สั่ง ให้ ปฏิบัติ การ บาง อย่าง โดย เฉพาะ (specific performance) ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้ (เนื่องจาก การ เยียวยา ตาม หลัก

คอม มอน ลอว์ คือ การ ชดใช้ ค่า เสีย หาย (damages) จะ ไม่ ตรง ตาม วัตถุประสงค์ ของ ผู้ ซื้อ บ้าน ที่ ประสงค์ จะ ได้ บ้าน มากกว่า จะ ได้ เงิน) แต ่

ใน ขณะ นั้น ภรรยา ของ นาย เอ กำลัง ป่วย และ อยู่ ใน ความ ยาก ลำบาก เพราะ สามี ติด คุก หาก ศาล บังคับ ให้ มี การ ขาย บ้าน ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้

ก็ จะ เป็นการ สร้าง ความ ทุกข์ ยาก (hardship) ให้ แก่ ภรรยา ของ นาย เอ เป็น อย่าง มาก ซึ่ง ใน คดี ดัง กล่าว ศาล เห็น ว่า “การ สร้าง ความ ทุกข ์

ยาก ให้ แก่ บุคคล ถือ เป็น ความอ ยุติธรรม – hardship amounting to injustice” ศาล จึง ไม่ บังคับการ เยียวยา ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้ คือ

การ ให้ โอน บ้าน ให้ แก่ ผู้ ซื้อ แต่ ให้ ใช้ การ เยียวยา ตาม หลัก คอม มอน ลอว์ คือ การ ให้ ชดใช้ ค่า เสีย หาย แทน (สรุป ความ จาก คดี Patel v.

Ali [1984] Ch 283 อ้าง ถึง ใน John Duddington, “Chapter 1 : Nature of Equity”, EssentialsofEquityandTrustsLaw,

Harlow, Pearson Education, 2006, pp. 3-5)

Page 11: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-11

บันทึกคำตอบกิจกรรม4.1.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่4ตอนที่4.1กิจกรรม4.1.1)

Page 12: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-12

เรื่องที่4.1.2หลักกฎหมายเอ็คควิตี้ที่สำคัญ

สาระสังเขปใน ปัจจุบัน ยัง คง มี การ ใช้ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ ใน กฎหมาย ของ ประเทศ อังกฤษ และ ประเทศ ที่ ใช้

กฎหมาย คอม มอน ลอว์ โดย เฉพาะ ใน เรื่อง ทรัสต์3 และ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ (equitable doctrines) ใน

เรื่อง อื่น เช่น สัญญา ละเมิด นอกจาก นั้น ยัง มี วิธี การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable remedies) ที่ นำ มา

ใช้ เพื่อ สร้าง ความ เป็น ธรรม ให้ แก่ คู่ ความ

สำหรับ ราย ละเอียด ของ กฎหมาย ทรัสต์ ซึ่ง เป็น หัวข้อ ใหญ่ จะ ขอ นำ ไป กล่าว ใน ตอน ที่ 4.2 ใน ส่วน นี้ จะ

กล่าว เฉพาะ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ อื่น ที่ สำคัญ และ ยัง คง มี บทบาท ใน ปัจจุบัน ได้แก่ อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง

ธรรม4 หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม5 (undue influence) และ การ เก็บ รักษา ความ ลับ (confidentiality)

ตลอด จน การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable remedies) เช่น การ ปฏิบัติ การ บาง อย่าง โดย เฉพาะ (specific

performance) คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ หรือ หมาย อิน จัง ชัน (injunction) การ แก้ ให้ ถูก ต้อง (rectification) และ การ

เลิก สัญญา แล้วก ลับ คืน สู่ ฐานะ เดิม (rescission)

1.หลักกฎหมายเอ็คควิตี้(EquitableDoctrines)ใน การ นำ เอ็คค วิ ตี้ มา ใช้ มี การ พัฒนา หลัก ทฤษฎี กฎหมาย ทาง เอ็คค วิ ตี้ ขึ้น หลาย ประการ เช่น หลัก การ

ไถถ่อน จำนอง ซึง่ เปน็ สว่น หนึง่ ของ กฎหมาย ทีด่นิ และ อืน่ๆ6 ใน ที ่นี ้จะ นำ ทฤษฎ ีทาง เอค็ค ว ิตี ้ซึง่ ได ้รบั การ พฒันา

ขึ้น และ ยัง คง มี บทบาท สำคัญ มา จนถึง ปัจจุบัน มา เป็น ตัวอย่าง 2 เรื่อง ได้แก่ อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ

การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม (undue influence) และ การ เก็บ รักษา ความ ลับ (confidentiality)

3 ใน ประเทศ ที่ อยู่ ใน ระบบ ประมวล กฎหมาย (civil law) บาง ประเทศ เช่น ส วิต เซอร์ แลนด์ และ ใน ระบบ กฎหมาย อื่น เช่น

สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชน จีน มี การนำ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ เช่น ทรัสต์ ไป ใช้ โดย ออก เป็น กฎหมาย ระดับ พระ ราช บัญญัติ เช่น

กัน (http://en.wikipedia.org/wiki/Trust_law_in_Civil_law_jurisdictions)

4 ตาม คำ แปล ที่ ปรากฏ ใน “ศัพท์ นิติศาสตร์ อังกฤษ – ไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน” (2541) 5 ตาม คำ แปล ที่ นัก วิชาการ เช่น ผู้ ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.พินัย ณ นคร ใช้ ใน บทความ

6 ทฤษฎ ีทาง เอค็ค ว ิตี ้อืน่ๆ เชน่ หลกั “conversion” ไดแ้ก ่การ ถอืวา่ เงนิ ที ่จะ ใช ้ใน การ ซือ้ ทีด่นิ ถอื เปน็ ทีด่นิ หรอื ทีด่นิ ที ่ประสงค ์

จะ ขาย แต่ ยัง มิได้ ขาย ถือ เป็น เงิน จาก การ ขาย ที่ดิน นั้น หรือ หลัก “election” ได้แก่ สิทธิ ใน การ เลือก เช่น เมื่อ นาย ก. ได้ รับ แจกัน โบราณ

ติด มา กับ โต๊ะ โบราณ ที่ นาย ข. ได้ มอบ ให้ ซึ่ง เกิด จาก ความ ผิด พลาด ใน ขณะ ที่ นาย ข. ก็ ตกลง มอบ แจกัน โบราณ นั้น ให้ แก่ นาย ค. แล้ว

นาย ก. ย่อม มี สิทธิ ที่ จะ เลือก ได้ ว่า จะ มอบ แจกัน ให้ กับ นาย ค. หรือ เก็บ แจกัน นั้น ไว้ โดย มอบ โต๊ะ ไป แทน หรือ หลัก “satisfaction” ได้แก ่

การ ที่ บุคคล มี หนี้ ตาม กฎหมาย ที่ ต้อง กระทำ การ อย่าง ใด อย่าง หนึ่ง แต่ ใน การ ชำระ หนี้ ได้ กระทำ การ ต่าง ออก ไป หาก ผู้ กระทำ มี เจตนา ที่ จะ

ชำระ หนี้ ก็ ถือว่า ได้ มี การ ปฏิบัติ การ ชำระ หนี้ แล้ว เป็นต้น (ผู้ สนใจ ศึกษา ราย ละเอียด ได้ ใน John Duddington, “Chapter 1 : Nature

of Equity”, EssentialsofEquityandTrustsLaw, Harlow, Pearson Education, 2006, pp. 3-5)

Page 13: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-13

1.1อำนาจครอบงำผิดคลองธรรมหรือการใช้อิทธิพลอันไม่เป็นธรรม(UndueInfluence) อำนาจ

ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม (undue influence) เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่มา ขยาย

ขอบเขต ของ การ ข่มขู่ ตาม หลัก คอม มอน ลอว์ เนื่องจาก ใน ระยะ แรก หลัก เรื่อง การ ข่มขู่ ใช้ได้ เฉพาะ การ ข่มขู่ ว่า

จะ ก่อ ให้ เกิด อันตราย แก่ ชีวิต หรือ ร่างกาย เท่านั้น ด้วย เหตุ นี้ ศาล จึง สร้าง หลัก อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม

หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม ขึ้น มา เพื่อ อุด ช่อง ว่าง ของ กฎหมาย

อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม เป็น เรื่อง ที่ ยาก จะ นิยาม ความ

หมาย ให้ ชัดเจน ได้ แต่ โดย เนื้อหา สาระ แล้ว มี วัตถุประสงค์ เพื่อ คุ้มครอง บุคคล ที่ อ่อนแอ มิ ให้ ถูก หา ประโยชน์

จาก บุคคล อื่น ใน การ พิจารณา ว่า มี การ ครอบงำ อย่าง ผิด คลอง ธรรม หรือ ไม่ จะ ดู ที่ ลักษณะ ของ การ เข้า สร้าง

ความ ผูกพัน หรือ เจตนา ใน การ เข้า สร้าง ความ ผูกพัน มากกว่า จะ ดู ว่า ผู้ ที่ ตก เป็น เหยื่อ นั้น รู้ตัว ว่า ตน ได้ กระทำ

การ อย่าง ใด หรือ ไม่ หรือ ที่ กล่าว ว่า อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม เป็น เรื่อง ที่ เกี่ยวข้อง กับ ความ เป็น ธรรม ใน

ทาง ขั้น ตอน ของ การก ระ ทำ มากกว่า จะ เกี่ยว กับ ความ เป็น ธรรม ใน ทาง เนื้อหา สาระ

ตัวอย่างเช่น นาง เอฟ เศรษฐีนีสูง อายุ ซึ่ง คุ้น เคย และ เชื่อ ถือ คำ แนะนำ ของ นาย ที เจ้า หน้าที่ บัญชี ของ

เธอ เปน็ อยา่ง มาก ได ้พดู คยุ กบั นาย ทวีา่ เธอ ประสงค ์จะ ที ่จะ ทำ พนิยักรรม แต ่ไม ่ทราบ วา่ จะ ยก ทรพัยส์นิ ให ้กบั ผู ้

ใด ใน การ สนทนา กัน หลาย ครั้ง นาย ที ค่อยๆ เกลี้ย กล่อม ชักจูง จน เธอ ยก ทรัพย์สิน จำนวน มาก ให้ เขา ใน กรณ ี

นี้ ไม่ ปรากฏ ข้อ เท็จ จริง ว่า มี การ ข่มขู่ หรือ กระทำ การ อัน เป็น ความ ผิด แต่ อย่าง ใด อย่างไร ก็ ดี จะ มอง เห็น ว่า นาย

ที อยู่ ใน ฐานะ ที่ มี อิทธิพล บาง ประการ ต่อ นาง เอฟ ซึ่ง กรณี ดัง กล่าว เป็นการ ยาก ที่ จะ วินิจฉัย ได้ ใน ทันที เหมือน

กับ การ พิจารณา ว่า มี การ ข่มขู่ หรือ ไม่ เพราะ ส่วน หนึ่ง เป็น เหตุการณ์ ที่ ค่อยๆ เกิด ขึ้น โดย ใช้ ระยะ เวลา

ใน คด ีRoyal Bank of Scotland v. Etridge (1997)7 ศาล อทุธรณ ์วนิจิฉยั วา่ จะ วนิจิฉยั วา่ ม ีการ ใช ้อำนาจ

ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม ต่อ เมื่อ บุคคล ฝ่าย หนึ่ง ได้ กระทำ การ ที่ ไม่ เป็น ธรรม เพื่อ แสวงหา ประโยชน์ จาก อำนาจ

ที่ จะ ชี้ แนวทาง ให้ อีก บุคคล หนึ่ง กระทำ การ ซึ่ง เป็น ผล สืบ เนื่อง มา จาก ความ สัมพันธ์ ระหว่าง บุคคล เหล่า นั้น

(... undue influence ‘is brought into play whenever one party has acted unconscionably in

exploiting the power to direct of another which is derived from the relationship between

them’...)

อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม อาจ แบ่ง ได้ เป็น 2 ประ เภท ใหญ่ๆ

ได้แก่

ประเภทที่ 1 อำนาจครอบงำผิดคลองธรรมหรือการใช้อิทธิพลอันไม่เป็นธรรมตามความ

เป็นจริงหรือโดยชัดแจ้ง(actual(orexpress)undueinfluence) คือ มี การ ขู่เข็ญ กัน จริงๆ เช่น การ ที่ บิดา ถูก

ธนาคาร เรียก ร้อง ให้ จำนอง ทรัพย์สิน มิ เช่น นั้น ธนาคาร นั้น จะ ฟ้อง คดี บุตร ชาย ใน ฐาน ปลอม ลายมือ ชื่อ บิดา ซึ่ง

บิดา ก็ จำ ต้อง ยินยอม เพื่อ ป้องกัน มิ ให้ บุตร ชาย ของ ตน ต้อง ถูก ธนาคาร ฟ้อง คดี และ

ประเภทที่ 2 อำนาจครอบงำผิดคลองธรรมหรือการใช้อิทธิพลอันไม่เป็นธรรมโดย

ขอ้สนันษิฐาน(presumedundueinfluence) ซึง่ ประเภท ที ่2 ยงั แยก ยอ่ย เปน็ อกี 2 ประเภท คอื อำนาจ ครอบงำ

7 Royal Bank of Scotland v. Etridge [1997] All ER 628.

Page 14: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-14

ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล ซึ่ง เกิด จาก หน้าที่ ใน การ ดูแล หรือ รักษา ผล ประโยชน์ เช่น กรณี ผู้ ปกครอง กับ

เด็ก แพทย์ กับ คนไข้ ทนายความ กับ ลูก ความ ทรัส ตี กับ ผู้รับ ประโยชน์ และ อีก ประเภท หนึ่ง คือ อำนาจ ครอบงำ

ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม ที่ เกิด จาก ความ ไว้ เนื้อ เชื่อ ใจ หรือ การ เก็บ รักษา ความ ลับ ของ

อีก ฝ่าย หนึ่ง ซึ่ง มี ลักษณะ เป็น ความ สัมพันธ์ พิเศษ เช่น ภรรยา กับ สามี

คู่ สัญญา ที่ ทำ ขึ้น โดย เหตุ ที่ มี การ ใช้ อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม

มี ผล ตก เป็น โมฆียะ คู่ กรณี ฝ่าย ที่ เสีย หาย จึง อาจ บอก ล้าง สัญญา หรือ ให้ สัตยาบัน ได8้

1.2การเก็บรักษาความลับ(Confidentiality)

การ เก็บ รักษา ความ ลับ (confidentiality) เป็น หลัก การ ที่ เกิด จาก เอ็คค วิ ตี้ เพื่อ คุ้มครอง ความ ลับ

มิ ให้ ถูก เปิด เผย ซึ่ง ใน ปัจจุบัน สามารถ พบ ได้ ใน กฎ หมา ยอื่นๆ โดย เฉพาะ หน้าที่ ใน การ เก็บ รักษา ความ ลับ ทั้ง ที ่

เป็นการ กำหนด โดย ชัด แจ้ง และ ปริยาย ตาม ข้อ ตกลง ของ สัญญา นอกจาก นั้น ยัง มี ได้ ใน กรณี ที่ ไม่มี ข้อ สัญญา

ด้วย ดัง ที่ กล่าว ใน คดี Stephen v.Avery (1988) ว่า หลัก การ พื้น ฐาน ของ การ แทรกแซง ทาง เอ็คค วิ ตี้ เพื่อ

คุ้มครอง การ เก็บ รักษา ความ ลับ ได้แก่ การ ที่ ถือว่า “เป็นสิ่งที่ไม่เป็นธรรมในการที่บุคคลซึ่งได้ล่วงรู้ข้อมูล

(อันเป็นความลับ)ของบุคคลอื่น...แล้วต่อมาจะเปิดเผยข้อมูลนั้น”

ดัง นั้น การ ไม่ ปฏิบัติ ตาม หน้าที่ ใน การ เก็บ รักษา ความ ลับ อาจ ถือ เป็นการ ละเมิด และ นอกจาก นี้ ยัง

เป็นการ ละเมิด ต่อ สิทธิ ความ เป็น ส่วน ตัว ของ บุคคล (right of personal privacy) ด้วย โดย ใน เรื่อง นี้ ถือว่า

เป็นการ แตก หน่อ ของ หน้าที่ ใน การ เก็บ รักษา ความ ลับ ซึ่ง ปัจจุบัน ได้ รับ การ รับรอง อยู่ ใน อนุสัญญา ยุโรป ว่า ด้วย

สิทธิ มนุษย ชน (European Convention on Human Rights) และ นำ มา บัญญัติ เป็น ส่วน หนึ่ง ของ กฎหมาย

ของ สห ราช อาณาจักร โดย พระ ราช บัญญัติ The Human Rights Act, 1998

ผู้ ถูก ละเมิด จาก การ เปิด เผย ความ ลับ สามารถ ได้ รับ ชดใช้ ค่า สินไหม ทดแทน ได้ (แม้ว่า ใน ระยะ แรก

ศาล ใน ประเทศ คอม มอน ลอว์ บาง ประเทศ เช่น นิวซีแลนด์ จะ ไม่ พิพากษา ให้ โดย อ้าง ว่า การ เรียก ค่า สินไหม

ทดแทน เป็น หลัก ตาม กฎหมาย คอม มอน ลอว์ จึง ไม่ สามารถ นำ มา ใช้ ใน กรณี การ ละเมิด สิทธิ ใน ทาง เอ็คค วิ ตี้

ได้ แต่ ต่อ มา คำ พิพากษา ดัง กล่าว ถูก พิพากษา กลับ จึง ถือว่า ใน ปัจจุบัน สามารถ เรียก ค่า สินไหม ทดแทน จาก

การ เปิด เผย ความ ลับ ได้ โดย มี มาตรการ เช่น เดียว กับ ที่ มี อยู่ ใน คอม มอน ลอว์)9

2.การเยียวยาทางเอ็คควิตี้(EquitableRemedies)การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ ไม่ ถือ เป็น สิทธิ ของ คู่ ความ แต่ มี ลักษณะ เป็น ดุลพินิจ ของ ศาล เพื่อ ความ

เป็น ธรรม ดัง นั้น จึง มี หลัก ว่าศาล จะ ไม่ สั่ง เยียวยา ให้ หาก ผู้ ร้องขอ มิได้ ปฏิบัติ ตน อย่าง เหมาะ สม ซึ่ง ใน เรื่อง นี้

8 ผู้ สนใจ ศึกษา ราย ละเอียด ได้ ใน บทความ ของ ดร.พินัย ณ นคร (ผู้ ช่วย ศาสตราจารย์ ดร.พินัย ณ นคร “หลัก กฎหมาย

สัญญา ของ ประเทศ อังกฤษ” หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพอาจารย์นุกูลณนคร กรกฎาคม 2541 หน้า 229 – 234)

9 ผู้ สนใจ ศึกษา ใน ราย ละเอียด สามารถ อ่าน เพิ่ม เติม ได้ ใน หนังสือ ที่ เกี่ยว กับ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ เช่น John Duddington,

“Chapter 2 : Equitable Remedies, Chapter 3 : Equitable Doctrines”, EssentialsofEquityandTrustsLaw, Harlow,

Pearson Education, 2006, pp. 21–59.

Page 15: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-15

มี สุภาษิต ที่ นำ มา ใช้ หลาย สำนวน อาทิ “ผู้ที่มาขอให้ใช้เอ็คควิตี้ ต้องมาโดยมีมือที่สะอาด” (Hewho comes

toequitymustcomewithcleanhand) เป็นต้น การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ ที่ ส่วน ใหญ่ ใช้ กัน ได้แก่

2.1การปฏิบัติการบางอย่างโดยเฉพาะ(Specificperformance)

ตาม ปกติ คู่ สัญญา อาจ เลือก ไม่ ปฏิบัติ การ ชำระ หนี้ ตาม สัญญา และ ชดใช้ ค่า เสีย หาย ให้ แก่ คู่ สัญญา

อีก ฝ่าย หนึ่ง ได้ แต่ ใน กรณี ที่ ศาล มี คำ สั่ง ให้ บุคคล นั้น ปฏิบัติ การ บาง อย่าง โดย เฉพาะ (an order for specific

performance) เช่น การ โอน กรรมสิทธิ์ ใน ทรัพย์สิน ให้ คู่ สัญญา ฝ่าย นั้น จะ ต้อง ปฏิบัติ การ ชำระ หนี้ ของ ตน

ให้ เสร็จ สมบูรณ์ ซึ่ง ตาม หลัก แล้ว การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ จะ กระทำ ได้ ต่อ เมื่อ การ เยียวยา ทาง คอม มอน ลอว์

ไม่ เพียง พอ เท่านั้น และ เป็น กรณี ที่ ไม่มี ข้อ ยกเว้น มิ ให้ ออก คำ สั่ง ประเภท นี้ ได้ โดย ทั่วไป มัก จะ ไม่ ใช้ วิธี การ

เยียวยา นี้ กับ สัญญา ที่ เกี่ยว กับ การ ซื้อ ขาย สินค้า ที่ สามารถ ใช้ วิธี เปลี่ยน ให้ ใหม่ ได้ ส่วน ใหญ่ จะ เป็นการ ใช้ ใน

คดี ที่ เกี่ยว กับ การ ซื้อ ขาย ที่ดิน ซึ่ง วัตถุ แห่ง สัญญา เป็น สิ่ง ที่ มี เพียง หนึ่ง เดียว หรือ หา ได้ ยาก นอกจาก นี้ จะ ไม่

ใช้ การ เยียวยา วิธี นี้ กับ สัญญา จ้าง แรงงาน หรือ จ้าง บริการ (แต่ ก็ มี ข้อ ยกเว้น ใน บาง กรณี)

2.2คำสั่งให้ร่วมมือหรือหมายอินจังชัน(Injunction)

คำ สัง่ ให ้รว่ม มอื หรอื หมาย อนิ จงั ชนั ไดแ้ก ่การ ที ่ศาล ใช ้อำนาจ ออก คำ สัง่ ให ้บคุคล ใด บคุคล หนึง่ กระทำ

การ หรือ งด เว้น กระทำ การ อย่าง หนึ่ง อย่าง ใด ทั้งนี้ ตาม มาตรา 37 แห่ง พระ ราช บัญญัติ สุ พรีม คอร์ท ค.ศ. 1981

(The Supreme Court Act, 1981) โดย เป็น กรณี ที่ ศาล จะ ออก ให้ เป็นการ ชั่วคราว หรือ ถาวร ก็ได้ (an interim

or a permanent basis) การ ไม่ ปฏิบัติ คาม คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ หรือ หมาย อิน จัง ชัน นี้ ถือ เป็นการ ละเมิด อำนาจ

ศาล ตัวอย่าง ของ คำ สั่ง ประเภท นี้ ได้แก่ “freezing order” หรือ ที่ รู้จัก กัน ใน ชื่อ “Mareva injunctions”

ซึ่ง เป็น คำ สั่ง ชั่วคราว ที่ ห้าม จำเลย เคลื่อน ย้าย ทรัพย์สิน ออก นอก เขต อำนาจ ศาล อังกฤษ ก่อน จะ มี การ พิจารณา

คดี คำ สั่ง อื่น ที่ เป็น ที่ รู้จัก กัน คือ หมาย ค้น (เดิม รู้จัก กัน ใน ชื่อ “Anton Piller order”) ซึ่ง ห้าม ซ่อน เร้น หรือ

จำหน่าย เอกสาร ที่ อาจ นำ มา เป็น พยาน หลัก ฐาน ใน คดี ตลอด จน เป็นการ ให้ อำนาจ ใน การ เข้า ค้น อาคาร สถาน ที่

ที่ อาจ เก็บ เอกสาร ดัง กล่าว ด้วย

2.3ค่าเสียหายทางเอ็คควิตี้(EquitableDamages)

เดิม การ เยียวยา โดย การ ชดใช้ ค่า เสีย หาย หรือ การ จ่าย ค่า สินไหม ทดแทน มี เฉพาะ ตาม หลัก

คอม มอน ลอว์ ต่อ มา ตามพ ระ ราช บัญญัติ Lord Cairns’ Act (Chancery Amendment Act) 1858 ใน

มาตรา 2 บัญญัติ ให้ อำนาจ ศาล ชาน เซอ รี ใน การ กำหนด ค่า เสีย หาย ได้ ทั้ง ที่ เป็นการ เพิ่ม เติม จาก การ ออก

คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ หรือ หมาย อิน จัง ชัน และ คำ สั่ง ให้ บุคคล ปฏิบัติ การ บาง อย่าง โดย เฉพาะ หรือ เป็นการ ให้ จ่าย

ค่าเสีย หาย แทน การ เยียวยา ทั้ง สอง ประการ ดัง กล่าว ก็ได้ (ปัจจุบัน ปรากฏ หลัก กฎหมาย นี้ ใน มาตรา 50 แห่ง

พระ ราช บัญญัติ สุ พรีม คอร์ท ค.ศ. 1981 (The Supreme Court Act, 1981)) โดย เจตนารมณ์ ของ กฎหมาย

มาตรา นี้ คือ เพื่อ ให้ อำนาจ แก่ ศาล ใน กรณี ที่ ศาล เห็น ว่า ไม่ สามารถ เรียก ค่า เสีย หาย ตาม หลัก คอม มอน ลอว์ ได้

วิธี การ เยียวยา นี้ ได้ นำ มา ใช้ กับ กรณี ความ รับ ผิด ของ ทรัส ตี ใน ความ รับ ผิด ที่ ต้อง รับ เป็น ส่วน ตัว ด้วย

2.4การแก้ให้ถูกต้อง(Rectification)

วิธี การ เยียวยา นี้ เป็นการ ออก ให้ เพื่อ แก้ไข เอกสาร สัญญา ซึ่ง ตาม ปกติ แล้ว ถือ เป็น ข้อ สันนิษฐาน ว่า

เอกสาร สัญญา ที่ เป็น ลาย ลักษณ์ อักษร จะ แสดง ถึง ข้อ ตกลง ที่ ถูก ต้อง ของ คู่ สัญญา โดย เฉพาะ อย่าง ยิ่ง เมื่อ ได้

Page 16: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-16

มี การ ลง นาม ใน เอกสาร นั้น แล้ว อย่างไร ก็ ดี ใน บาง กรณี หาก ศาล เห็น ว่า ข้อความ ใน เอกสาร นั้น ไม่ แสดง ถึง

ข้อ ตกลง ที่แท้ จริง ศาล ก็ อาจ สั่ง ให้ มี การ แก้ไข ข้อความ นั้น ได้ หลัก นี้ เป็น ข้อ ยกเว้น ของ หลัก paroleevidence

rule คือ หลัก ที่ ว่า เมื่อ ได้ ทำ สัญญา เป็น ลาย ลักษณ์ อักษร แล้ว ห้าม มิ ให้ คู่ สัญญา นำ พยาน บุคคล มา สืบ เพื่อ

เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือ ให้ มี ผล แตก ต่าง ไป จาก ข้อ สัญญา ใน เอกสาร ที่ ทำ ขึ้น (ซึ่ง เป็น หลัก ทำนอง เดียว กับ มาตรา

94 แห่ง ประมวล กฎหมาย วิธี พิจารณา ความ แพ่ง ของ ไทย)

2.5การเลิกสัญญาแล้วกลับคืนสู่ฐานะเดิม(Rescission)

วิธี การ เยียวยา นี้ เป็นการ เพิก ถอน ข้อ ตกลง ตาม สัญญา แล้ว ให้ คู่ สัญญา กลับ สู่ ฐานะ เดิม ก่อน มี การ เข้า

ทำ สัญญา สิทธิ ใน การ เลิก สัญญา จะ มี ได้ ด้วย เหตุ เช่น การ ฉ้อฉล การ สำคัญ ผิด ใน ลักษณะ ต่างๆ หรือ การ ถูก

ครอบงำ โดย ผิด คลอง ธรรม อย่างไร ก็ ดี สิทธิ นี้ เป็น อัน สิ้น ไป ด้วย หลาย สาเหตุ เช่น หาก คู่ สัญญา ไม่ อยู่ ใน ฐานะ

ที่ อาจ คืน สู่ ฐานะ เดิม ได้ การ ให้ สัตยาบัน หรือ การ หน่วง เวลา หรือ การ แทรกแซง โดย บุคคล ภายนอก

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในEnglishLaw,“Chapter10:TheLawofEquityandTrusts”,

byGarrySlapperandDavidKelly)

กิจกรรม4.1.2

การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable remedies) ที่ ยัง คง นำ มา ใช้ ใน ปัจจุบัน ได้แก่ วิธี การ

ใด บ้าง

บันทึกคำตอบกิจกรรม4.1.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่4ตอนที่4.1กิจกรรม4.1.2)

Page 17: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-17

ตอนที่4.2

กฎหมายทรัสต์

โปรด อ่าน แผนการ สอน ประจำ ตอน ที่ 4.2 แล้ว จึง ศึกษา สาระ สังเขป พร้อม ปฏิบัติ กิจกรรม ใน แต่ละ เรื่อง

หัวเรื่องเรื่อง ที่ 4.2.1 ที่มา และ ความ หมาย ของ ทรัสต์

เรื่อง ที่ 4.2.2 หลัก กฎหมาย ทรัสต์

เรื่อง ที่ 4.2.3 ทรัสต์ ใน ระบบ กฎหมาย ไทย

แนวคิด1. ทรัสต์ (Trusts) เป็น หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ สาขา หนึ่ง ซึ่ง พัฒนา จาก แนว ความ คิด ใน สมัย

กลาง ใน ส่วน ของ ความ หมาย ทรัสต์ คือ กอง ทรัพย์สิน ซึ่ง มี ผู้ ก่อ ตั้ง (Settlor) ตั้ง ขึ้น โดย

เอกสาร เป็น หนังสือ ซึ่ง อาจ จะ เป็น พินัยกรรม ก็ได้ มี ทรัส ตี (Trustee) เป็น เจ้าของ ทรัพย์

ตาม กฎหมาย และ มีหน้า ที่ จัดการ กอง ทรัพย์สิน ให้ เป็น ไป ตาม วัตถุประสงค์ ของ ทรัสต์

เพื่อ ให้ ผล ประโยชน์ ซึ่ง อาจ จะ รวม ถึง ตัว ทรัพย์สิน ที่ ใช้ จัด ตั้ง ตก แก่ ผู้รับ ประโยชน์

(Benificiary)

2. ทรสัต ์ม ีหลาย ประเภท ที ่สำคญั คอื ทรสัต ์โดย ชดั แจง้ (Express Trusts) ทรสัต ์โดย เปน็ ผล

ตาม มา (Resulting Trusts) ทรัสต์ ที่ เกิด จาก การ ตีความ แบบ ขยาย ความ (Constructive

Trusts) และ ทรัสต์ เพื่อ การ กุศล (Charitable Trusts) หลัก กฎหมาย ทรัสต์ ของ อังกฤษ

วาง หลัก เกณฑ์ ต่างๆ เกี่ยว กับ ทรัสต์ เช่น การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ การ แต่ง ตั้ง การพ้นจาก การ ทำ

หน้าที่ และ การ ถอด ถอน ทรัส ต ีหนา้ที ่และ อำนาจ ของ ทรัส ตี การ เปลี่ยนแปลง ทรัสต ์ตลอด

จน หลัก เกณฑ์ ใน กรณี ที่ มี การ ละเมิด ทรัสต์

3. ก่อน ใช้ ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ ใน ประเทศไทย มี การ จัด ตั้ง ทรัสต์ อยู่ บ้าง ตาม

หลัก กฎหมาย ของ ประเทศ อังกฤษ แต่ เมื่อ มี การ ใช้ ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์

มาตรา 1686 ได้ บัญญัติ ห้าม การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ตาม กฎหมาย ไทย อย่างไร ก็ ดี ใน ปัจจุบัน

ได้ เล็ง เห็น ความ จำเป็น และ ประโยชน์ ของ การ จัด ตั้ง ทรัสต์ เพื่อ วัตถุประสงค์ บาง ประการ

เช่น การ ดำเนิน ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน จึง ได้ มี การ ตรา กฎหมาย ว่า ด้วย ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม

ใน ตลาด ทุน ขึ้น ใน ปี พ.ศ. 2550 แต่ โดย หลัก ตาม ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ แล้ว

ยัง คง ห้าม การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ของ บุคคล โดย ทั่วไป อยู่

Page 18: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-18

วัตถุประสงค์เมื่อ ศึกษา ตอน ที่ 4.2 จบ แล้ว นักศึกษา สามารถ

1. อธิบาย ที่มา และ ความ หมาย ของ ทรัสต์ ได้

2. อธิบาย และ วิเคราะห์ หลัก กฎหมาย ทรัสต์ ได้

3. อธิบาย และ วิเคราะห์ หลัก กฎหมาย ทรัสต์ ใน ระบบ กฎหมาย ไทย ได้

Page 19: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-19

เรื่องที่4.2.1ที่มาและความหมายของทรัสต์

สาระสังเขป

1.ที่มาและความหมายของทรัสต์ทรัสต์ (Trusts) คือ กอง ทรัพย์สิน ซึ่ง มี ผู้ ก่อ ตั้ง (Settlor) ตั้ง ขึ้น โดย เอกสาร เป็น หนังสือ ซึ่ง อาจ จะ เป็น

พินัยกรรม ก็ได้ มี ทรัส ตี (Trustee) เป็น เจ้าของ ทรัพย์ ตาม กฎหมาย และ มีหน้า ที ่จัดการ กอง ทรัพย์สิน ให้ เป็น ไป

ตาม วัตถุประสงค์ ของ ทรัสต์ เพื่อ ให้ ผล ประโยชน์ ซึ่ง อาจ จะ รวม ถึง ตัว ทรัพย์สิน ที่ ใช้ จัด ตั้ง ตก แก่ ผู้รับ ประโยชน ์

(Benificiary) ซึง่ เปน็ เจา้ของ ทรพัย ์นัน้ ตาม จรงิ ซึง่ เปน็ หลกั กฎ หมาย เอค็ค ว ิตี ้(Equity) ใน ประเทศ องักฤษ และ

ประเทศ คอม มอน ลอว ์อืน่ โดย แต ่เดมิ หลกั เอค็ค ว ิตี ้ซึง่ คำนงึ ถงึ ความ เปน็ ธรรม นี ้แยก ตา่ง หาก จาก คอม มอน ลอว ์

โดย เกิด ภาย หลังค อม มอน ลอว์ เป็น หลัก ที่ มี ขึ้น จาก คำ พิพากษา ศาล ชาน เซอ รี เพื่อ แก้ไข ข้อ บกพร่อง ของ

คอม มอน ลอว์ ต่อ มา ได้ รวม กับ กฎหมาย คอม มอน ลอว์ จึง เหลือ เป็น หลัก กฎหมาย ชนิด หนึ่ง ใน ระบบ กฎหมาย

คอม มอน ลอว์ ดัง นั้น การ จะ เข้าใจ เรื่อง กฎหมาย ทรัสต์ ต้อง เข้าใจ หลัก พื้น ฐาน ของ เรื่อง เอ็คค วิ ตี้ และ พัฒนาการ

ของ หลัก กฎหมาย ดัง กล่าว ซึ่ง ได้ กล่าว มา แล้ว ใน ตอน ที่ 4.1

ตัวอย่าง ความ สัมพันธ์ ตาม หลัก กฎหมาย ทรัสต์ (Trusts) คือ ความ สัมพันธ์ ระหว่าง บุคคล ผู้ ถือ

กรรมสิทธิ์ ใน ทรัพย์ คือ ทรัส ตี (Trustee) เพื่อ ประโยชน์ ของ อีก บุคคล หนึ่ง คือ ผู้รับ ประโยชน์ (Benificiary)

ปกติ เกิด จาก การ ที่ ก. เจ้าของ เดิม ผู้ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ (Settlor) โอน ทรัพย์ ให้ แก่ ข. (Trustee) เพื่อ ถือ ไว้ แทน ทรัสต ์

ซึ่ง เป็น นิติบุคคล โดย ให้ ข. จัดการ ทรัพย์ นั้น และ ข. ก็ มี อำนาจ จัดการ ได้ เพราะ ข. เป็น ผู้ ถือ กรรมสิทธิ์ แต่

ทั้งนี้ ผล ประโยชน์ จาก การ จัดการ ทรัพย์ ไป ตก ได้แก่ ค. ผู้รับ ประโยชน์ (Benificiary)

ตาม ประวัติ แล้ว ทรัสต์ พัฒนา จาก ความ คิด เรื่อง “ยูส” (use) (หรือ นัก วิชาการ บาง ท่าน ใช้ คำ ว่า

“ยูส เซส” (uses)10 เกิด ใน สมัย กลาง เมื่อ บุคคล โอน ทรัพย์สิน ชนิด ใด แก่ บุคคล อีก คน หนึ่ง โดย มี ความ เข้าใจ กัน

ว่า บุคคล ผู้รับ โอน นั้น จะ ต้อง ถือ ทรัพย์ นั้น ไว้ เพื่อ ประโยชน์ ของ ผู้ โอน หรือ เพื่อ บุคคล ที่ สาม (cestuiqueuse

หรือ “ผู้รับ ประโยชน์”) บุคคล ที่ ได้ รับ ความ ไว้ วางใจ ให้ ดูแล ทรัพย์ (afeoffeetouse หรือ “ทรัส ตี”) อยู่ ใน

สถานะ ที่ ได้ รับ ความ ไว้ วางใจ ซึ่ง อาจ นำ ไป ใช้ โดย ไม่ ชอบ ได้ ง่าย ผล ตาม มา ก็ คือ สิทธิ ต่างๆ ของ ผู้รับ ประโยชน์

ต้อง ได้ รับ การ คุ้มครอง ศาล คอม มอน ลอว์ ธรรมดา ทั้ง หลาย ไม่ รับ รู้ เรื่อง ผู้รับ ประโยชน์ เช่น นั้น จึง ไม่ ได้ ทำ

ประการ ใด เพื่อ จัด ให้ มี การ คุ้มครอง ใน ระยะ แรก ศาล ชาน เซอ รี ได้ กระทำ ตน เป็น ศาล แห่ง มโนธรรม ได้ สอด เข้า

มา เพื่อ บังคับ ให้ ทรัส ตี ต้อง บริหาร ทรัพย์สิน ชิ้น นั้น เพื่อ ประโยชน์ ของ ผู้รับ ประโยชน์ ตาม ข้อ กำหนด ของ การ ให ้

10 เช่น ที่ ใช้ ใน ตำรา ของ ท่าน อาจารย์ สุ นัย มโนมัย อุดม (สุ นัย มโนมัย อุดม ระบบ กฎหมาย อังกฤษ (English Legal System)

พิมพ์ ครั้ง ที่ 3 แก้ไข เพิ่ม เติม โครงการ ตำรา และ เอกสาร ประกอบ การ สอน คณะ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ 2552 หน้า 87)

Page 20: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-20

เมื่อ เวลา ผ่าน ไป นาน เข้า มี คำ พิพากษา ของ ศาล ชาน เซอ รี สะสม มากมาย หลาย ฉบับ ผู้รับ ประโยชน์ ก็ เริ่ม มี ผล

ประโยชน์ พิเศษ ใน ตัว ทรัพย์ ที่ อาจ ถูก บังคับ ให้ เป็น ไป ตาม นั้น โดย ศาล ชาน เซอ รี ผล ประโยชน์ ที่ เป็น ที่ รู้จัก กัน

ใน นาม ของ ผล ประโยชน์ ตาม เอ็คค วิ ตี้ ใน ที่สุด “ผู้รับ ประโยชน์” ที่ เคย เรียก กัน ว่า “cestui queuse” ก็ได้

รับ การ เรียก เสีย ใหม่ ว่า “cestuiquetrust” และ คำ ว่า “ผู้ ครอบ ครอง เพื่อ การ ใช้” หรือ “feoffeetouse” ก็

กลาย เป็น “ทรัส ตี”

นิยาม สมัย ใหม่ ของ ทรัสต์ เกิด ขึ้น และ รวม อยู่ ใน ข้อ 2 (Article 2) ของ อนุสัญญา ว่า ด้วย การ ยอมรับ

ทรัสต์ (Hague Convention on the Recognition of Trusts)11 ซึ่ง ได้ รับ การ ตรา ไว้ ใน พระ ราช บัญญัติ การ

ยอมรับ ทรัสต์ 1987 (Recognition of Trusts Act 1987) ซึ่ง มี ความ บัญญัติ ว่า

“คำว่าทรัสต์หมายถึงความสัมพันธ์ทางกฎหมายที่เกิดขึ้นในระหว่างมีชีวิตหรือเมื่อถึงแก่กรรม

โดยบุคคลผู้ก่อตั้ง เมื่อกองทรัพย์สินได้รับการมอบให้อยู่ใต้การควบคุมของทรัสตีเพื่อประโยชน์ของผู้รับ

ประโยชน์หรือเพื่อวัตถุประสงค์ที่ระบุให้เป็นการเฉพาะอย่างหนึ่งอย่างใด

ทรัสต์มีลักษณะดังต่อไปนี้

(เอ)กองทรัพย์สินประกอบเป็นกองทุนต่างหาก และไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินของตัว

ทรัสตีเอง

(บี)กรรมสทิธิ์ในกองทรัพย์สนิแหง่ทรสัต์อยู่ในนามของทรัสตีหรือในนามบุคคลอืน่ทีท่ำการแทน

ทรัสตี

(ซี)ทรัสตีมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดการใช้หรือจำหน่ายกองทรัพย์สินให้เป็นไปตามข้อกำหนด

แห่งทรัสต์และหน้าที่พิเศษที่เขามีตามกฎหมายและทรัสตีต้องรับผิดชอบตามอำนาจและหน้าที่ข้างต้นทั้ง

หลายเหล่านั้น

ข้อสงวนที่ผู้ก่อตั้งกำหนดเกี่ยวกับสิทธิและอำนาจบางประการและความจริงที่ว่าตัวทรัสตีเองมี

สิทธิต่างๆในฐานะผู้รับประโยชน์ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งกับการมีอยู่ของทรัสต์”

กลา่วโดยทัว่ไป ทรสัต ์ทำให ้บคุคล ได ้ประโยชน ์จาก ตวั ทรพัย ์เมือ่ บคุคล นัน้ ไม ่สามารถ หรอื ไม ่ประสงค ์

ที่ จะ ถือ กรรมสิทธิ์ ตาม กฎหมาย ด้วย ตนเอง ไม่ ว่า ด้วย เหตุผล ใด ก็ตาม กลุ่ม หรือ การ รวม ตัว กัน ของ บุคคล เช่น

สมาคม ที่ ไม่ ได้ จด ทะเบียน นิติบุคคล อาจ ได้ ประโยชน์ ใน ตัว ทรัพย์ ที่ ถือ ไว้ ใน ทรัสต์ (โดย ทรัส ตี) แม้ กฎหมาย

จะ ไม่ ยอมรับ สถานภาพ บุคคล ตาม กฎหมาย (ใน สถานะ ปัจเจก ชน) ของ กลุ่ม บุคคล นั้น หนึ่ง ใน ประเด็น หลักๆ

ใน การ เข้าใจ เรื่อง กฎหมาย ทรัสต์ ก็ คือ การ รับ รู้ ถึง ความ สำคัญ ที่ ว่า กรรมสิทธิ์ สอง ลักษณะ (ตาม กฎหมาย และ

ตาม เอ็คค วิ ตี้) อาจ แยก กัน ได้ เมื่อ เกิด กรณี เช่น นี้ ทรัสต์ ก็ได้ รับ การ สร้าง ขึ้น กรรมสิทธิ์ ตาม กฎหมาย ได้ ไป โดย

ทรัส ตี แต่ ผล ประโยชน์ หรือ กรรมสิทธิ์ ทาง เอ็คค วิ ตี้ ได้ ไป โดย เจ้าของ ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้

11 ชื่อ เต็ม คือ “Convention on the law applicable to Trusts and on their Recognition” ตกลง กัน ใน ปี ค.ศ. 1985

และ มี ผล บังคับ ใช้ ใน ปี ค.ศ. 1992

Page 21: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-21

2.ประเภทของทรัสต์12

ทรัสต์ อาจ แบ่ง ออก ตาม ลักษณะ ของ การ ก่อ ตั้ง หรือ การ จัดการ ได้ เป็น ประ เภท ใหญ่ๆ คือ

1. ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง (Express Trusts)

2. ทรัสต์ โดย ลับ (Secret Trusts)

3. ทรัสต์ โดย เป็น ผล ตาม มา (Resulting Trusts)

4. ทรัสต์ ที่ เกิด จาก การ ตีความ แบบ ขยาย ความ (Constructive Trusts)

5. ทรัสต์ ตาม ความ มุ่ง หมาย (Purpose Trusts)

6. ทรัสต์ เพื่อ การ กุศล (Charitable Trusts)

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในEnglishLaw,“Chapter10:TheLawofEquityandTrusts”,

byGarrySlapperandDavidKelly)

กิจกรรม4.2.1

แนว ความ คิด เรื่อง “ทรัสต์” พัฒนา มา จาก ความ คิด เรื่อง ใด

บันทึกคำตอบกิจกรรม4.2.1

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่4ตอนที่4.2กิจกรรม4.2.1)

12 การ แบ่ง ประเภท ของ ทรัสต์ ใน ลักษณะ อื่นๆ ศึกษา ได้ ใน บัญญัติ สุ ชีวะ “ทรัสต์” บทความ ออนไลน์ จาก http://www.

panyathai.or.th

Page 22: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-22

เรื่องที่4.2.2หลักกฎหมายทรัสต์

สาระสังเขปทรัสต์ เป็น สาขา ของ เอ็คค วิ ตี้ ที่ สำคัญ ซึ่ง นำ มา ใช้ ใน การ จัดการ ทรัพย์สิน ใน หัว เรื่อง นี้ จะ กล่าว ถึง หลัก

กฎหมาย เกี่ยว กับ ทรัสต์ ของ ประเทศ อังกฤษ ที่ พัฒนา มา จนถึง ปัจจุบัน หลัก กฎหมาย ดัง กล่าว วาง กฎ เกณฑ์ ใน

เรื่อง ต่างๆ ที่ สำคัญ ได้แก่ หลัก เกณฑ์ ใน การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ ประเภท ต่างๆ การ แต่ง ตั้ง การพ้น จาก การ ทำ หน้าที่

การ ถอด ถอน ทรัส ตี หน้าที่ และ อำนาจ ของ ทรัส ตี การ เปลี่ยนแปลง ทรัสต์ ตลอด จน การ ละเมิด ทรัสต์

1.การก่อตั้งทรัสต์1.1ทรัสต์โดยชัดแจ้ง(ExpressTrusts)

ทรัสต์ ที่ ตั้ง โดย เปิด เผย อาจ แยก เป็น ทรัสต์ ที่ กำหนด แน่นอน (fixed) กับ ทรัสต์ ตาม ดุลพินิจ

(discretionany) ทรัสต์ที่กำหนดแน่นอน มุ่ง จะ ให้ ประโยชน์ แก่ ปัจเจก ชน ตาม รายการ ที่ ระบุ ไว้ ตาม ที่ ผู้ ก่อ

ตั้ง ได้ กำหนด ไว้ ส่วนทรัสต์ตามดุลพินิจ กำหนด หน้าที่ ให้ ทรัส ตี ต้อง แจก จ่าย ทรัพย์สิน ของ ทรัสต์ โดย ให้ เป็น

ประโยชน์ แก่ คน ใด คน หนึ่ง หรือ ทุก คนใน จำนวน สมาชิก ของ คน จำพวก หนึ่ง ที่ ระบุ ไว้ ใน วัตถุประสงค์ ให้ เป็น

ผู้รับ ประโยชน์ หลัก พิสูจน์ ใน เรื่อง ความ แน่นอน ใน วัตถุประสงค์ ของ ทรัสต์ ตาม ดุลพินิจ จึง กว้าง กว่า กรณี ของ

ทรัสต์ ที่ แน่นอน มาก

1.1.1 วิธีการจัดตั้ง

ผู้ ก่อ ตั้ง ได้แก่ บุคคล ผู้ ทำการ ก่อ ตั้ง โดย ใช้ ที่ดิน หรือ สังหาริมทรัพย์ ของ ตน การ ก่อ ตั้ง ทำ เป็น

หนังสือ ก่อ ตั้ง (เอกสาร ตาม กฎ มาย ที่ ลง นาม ตี ตรา และ ส่ง มอบ) ซึ่ง โดย ผล ของ การ นั้น ทรัพย์สิน จะ ตก อยู่ ใต้

ข้อ จำกัด ต่างๆ จำนวน หนึ่ง ผู้ ก่อ ตั้ง ผู้ ประสงค์ จะ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง ต้อง ทำ อย่าง ใด อย่าง หนึ่ง ดังนี้

1) การ แถลง ด้วย ตนเอง ใน เรื่อง ทรัสต์ หรือ

2) โอน ทรัพย์สิน ไป ยัง ทรัส ตี โดย มี คำ สั่ง ให้ ถือ ไว้ ตาม ทรัสต์ เพื่อ ผู้รับ ประโยชน์

ทั้งนี้ เป็น ไป ตาม หลัก ใน คดี Milroy v. Lord (1862)13 ซึ่ง อาจ สรุป ได้ ดังนี้

1) การ แถลง ด้วย ตนเอง ผู้ ก่อ ตั้ง อาจ แถลง ว่า เขา ถือ ทรัพย์สิน ไว้ ตาม ทรัสต์ เพื่อ ผู้รับ

ประโยชน์ โดย แถลง ถึง เจตนา ของ เขา และ ระบุ ข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ กล่าว โดย ทั่วไป ไม่ ต้อง ใช้ แบบ พิเศษ

แต่ อย่าง ใด ตราบ เท่า ที่ มี เจตนา ของ ผู้ ก่อ ตั้ง ชัดเจนพอที่ จะ ตั้ง ตนเอง เป็น ทรัส ตี เพราะ “เอ็คควิตี้มองที่เจตนา

ยิ่งกว่าแบบ” ดัง นั้น การ แสดง เจตนา อาจ ทำ เป็น หนังสือ หรือ อาจ มี พยาน หลัก ฐาน จาก การก ระ ทำ หรือ อาจ

13 Milroy v Lord (1862) 4 De GF & J 264

Page 23: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-23

ทำ ใน รูป ของ คำ กล่าว ด้วย วาจา14 ผล ของ การ ก่อ ตั้ง ด้วย วิธี นี้ ก็ จะ เปลี่ยนแปลง สถานะ ของ ผู้ ก่อ ตั้ง จาก เจ้าของ

ผู้รับ ประโยชน์ เป็น สถานะ ของ ทรัส ตี ตัวอย่าง เช่น เอส เจ้าของ หุ้น 50,000 หุ้น ใน บมจ. ปิโตรเลียม แถลง ว่า

จาก นั้น เป็นต้น ไป เอส ถือ หุ้น เหล่า นั้น ตาม ทรัสต์ เพื่อ ประโยชน์ ของ บี บุตร ของ เอส ทั้งนี้ โดย เด็ด ขาด ใน

พฤติการณ์ เช่น นี้ ได้ มี การ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง ขึ้น เอส คง มี การ กรรมสิทธิ์ ตาม กฎหมาย ใน หุ้น เหล่า นั้น แต่ บี

ได้ ไป ซึ่ง ผล ประโยชน์ ทั้งหมด ใน หุ้น ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้

2) การ โอน ทรพัยส์นิ ไป ยงั ทรสั ต ีผู ้กอ่ ตัง้ อาจ ตัง้ ทรสัต ์โดย โอน ทรพัยส์นิ ไป ยงั บคุคล อกี

คน หนึ่ง (หรือ หลาย คน) โดย ทำ ภาย ใต้ การ แถลง ตั้ง ทรัสต์ อย่าง มี ผล ใน แบบ นี้ ผู้ ก่อ ตั้ง ต้อง ทำ ตาม ข้อ กำหนด

สอง ประการ กลา่ว คอื โอน ทรพัยส์นิ หรอื ผล ประโยชน ์ที ่เกีย่วขอ้ง ให ้แก ่ทรสั ต ีเสรมิ ดว้ย การ แถลง ถงึ ขอ้ กำหนด

แห่ง ทรัสต์ ถ้า ผู้ ก่อ ตั้ง ตั้งใจ จะ ตั้ง ทรัสต์ โดย วิธี นี้ และ ได้ แถลง ข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ แต่ ไม่ ได้ โอน ทรัพย์สิน ไป

ยัง ทรัส ตี ก็ เป็น ที่ ชัด แจ้ง ว่า ไม่มี การ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง ธุรกรรม ที่ ไม่ เกิด ผล นี้ จะ เท่ากับ เป็นการ แถลง โดย

มี เงื่อนไข เกี่ยว กับ ทรัสต์ แต่ ทำ โดยที่ ปราศจาก การ ทำ ตาม เงื่อนไข (การ โอน) ตัวอย่าง เอส ผู้ ก่อ ตั้ง ได้ เสนอ

ชื่อ ที 1 และ ที 2 ให้ ถือ หุ้น จำนวน 50,000 หุ้น ของ บมจ. โท แบค โค่ โดย เป็นการ ถือ ตาม ทรัสต์ เพื่อ

ประโยชน์ ของ เอ ชั่ว ชีวิต ของ เอ หลัง จาก นั้น เพื่อ ประโยชน์ ของ บี (การ แถลง เกี่ยว กับ ทรัสต์) นอกจาก นี้ เอ ส

ยัง ต้อง โอน กรรมสิทธิ์ หุ้น แก่ ที 1 และ ที 2 การ แถลง เรื่อง ทรัสต์ โดย ตัว ของ มัน เอง โดย ไม่มี การ โอน ไม่มี ผล

แต่ อย่าง ใด15

สำหรับ ลักษณะ ของ ทรัพย์ ที่ เกี่ยวข้อง ใน การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ที่ สำคัญ คือ

(1)ไม่มีทรัสต์สำหรับทรัพย์ในอนาคต ทรัสต์ ต้อง ตั้ง ขึ้น สำหรับ ทรัพย์ ที่ มี อยู่ แล้ว

ดัง นั้น ไม่ อาจ ตั้ง ทรัสต์ สำหรับ “สิ่ง ที่ คาด หวัง” หรือ ทรัพย์ ใน อนาคต เป็นต้น ว่า ผล ประโยชน์ ที่ คาด ว่า จะ ได้

ตาม พินัยกรรม ที่ ทำ ใน ระหว่าง เจ้า มรดก ยัง มี ชีวิต เหตุผล ที่ เป็น เช่น นั้น ก็ คือ ไม่มี ทรัพย์ ที่ อาจ อยู่ ใต้ การ ปกป้อง

ตาม หลกั เอค็ค ว ิตี ้ได ้จรงิ ทรพัย ์ที ่คาด วา่ จะ ได ้อาจ ได ้มา หรอื อาจ ไม ่ได ้มา ใน อนาคต โดย ผู ้กอ่ ตัง้ ใน ขณะ เดยีวกนั

มี แต่ มี ความ หวัง ว่า จะ ได้ ตัว ทรัพย์ ที่ คาด ว่า จะ ได้ นั้น (ดู คดี ReEllenborough (1903) และ คดี ReCook’ s

SettlementTrust(1965)

(2)ทรัสต์ในสิทธิเรียกร้องที่เรียกว่า“Choseinaction” ได้แก่ สิทธิ ที่ มี อยู่ ใน ตัว

ทรพัยส์นิ สว่น บคุคล ที ่จบั ตอ้ง ไม่ ได ้เปน็ตน้ วา่ สทิธ ิที ่จะ ได้ รบั ชำระ คา่ ใช้ สทิธ ิ(ใน ลขิสทิธิ)์ ตวั Chose นี้ อาจ โอน

ให้ แก่ ตัว ทรัส ตี โดย สอดคล้อง กับ เจตนา ของ ผู้ ก่อ ตั้ง ดัง นั้น Chose จึง สามารถ ที่ จะ เป็น วัตถุ แห่ง ทรัสต์ ได้

14 ดู คดี Paul v. Constance (1977) เทียบ คดี Jones v. Lock (1865) หรือ คดี ที่ น่า สนใจ ดู คดี Re Kayford (1975)

15 แบบ แห่ง ข้อ กำหนดการ โอน กรรมสิทธิ์ ตาม กฎหมาย ใน ตัว ทรัพย์ ย่อม แตก ต่าง กัน ไป ตาม สภาพ ของ ทรัพย์ ที่ เกี่ยวข้อง

ดัง นั้น ใน การ โอน กรรมสิทธิ์ ตาม กฎหมาย ใน ที่ดิน ที่ มี ทะเบียน ผู้ ก่อ ตั้ง ต้อง ทำการ โอน ตาม แบบ ที่ มี การ กำหนด ไว้ และ จด ทะเบียน การ

โอน ใน นาม ของ ทรัส ตี ณ หอ ทะเบียน ที่ดิน ที่ ถูก ต้อง การ โอน ทรัพย์ ที่ เป็น สังหาริมทรัพย์ ที่ จับ ต้อง ได้ ผู้ ก่อ ตั้ง ต้อง ส่ง มอบ ทรัพย์ แก่ ทรัส

ตี พร้อม ทั้ง แสดง เจตนา ที่ จะ ให้ โดย ถูก ต้อง การ โอน กรรมสิทธิ์ ตาม กฎหมาย ใน หุ้น ของ บริษัท เอกชน ต้อง มี การ ทำ ตาม แบบ การ โอน ที่

ถูก ต้อง และ การ จด ทะเบียน การ โอน ไว้ กับ นาย ทะเบียน หุ้น ของ บริษัท นั้น

Page 24: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-24

1.1.2 ผลของการเป็นทรัสต์ที่สมบูรณ์

เมื่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง แล้ว ผู้รับ ประโยชน์ ได้ รับ ผล ประโยชน์ ใน ตัว ทรัพย์ อัน เป็น ผล

ประโยชน์ ที่ รับ รู้ ได้ ผู้รับ ประโยชน์ มี สิทธิ ได้ รับ การ คุ้มครอง ใน ผล ประโยชน์ ของ ตน ไม่ ว่า ต่อ การก ระ ทำ ของ

บุคคล ใด เว้น แต่ ผู้ ซื้อ โดย สุจริต ใน ตัว ทรัพย์ ตาม กฎหมาย โดย จ่าย ค่า ตอบแทน โดย ไม่รู้ ใน เรื่อง การ ก่อ ตั้ง

ทรัสต์ นั้น ซึ่ง ผู้รับ ผล ประโยชน์ มี สิทธิ ฟ้อง โดยตรง โดย ขอ การ เยียวยา เป็น ค่า สินไหม ทดแทน ตาม หลัก

คอม มอน ลอว์ หรือ ใน บาง กรณี อาจ ฟ้อง ขอ การ เยียวยา ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้ โดย ไม่ ต้อง คำนึง ว่า ฝ่าย ตน ได้ ให้

สิ่ง ตอบแทน (consideration) หรือ ไม่

แต่ ถ้า ทรัสต์ นั้น ไม่ สมบูรณ์ บุคคล ที่ ตั้งใจ จะ ให้ เป็น ผู้รับ ประโยชน์ (intended beneficiary)

จะ ฟ้อง คดี ได้ ต่อ เมื่อ ได้ ให้ สิ่ง ตอบแทน (consideration) นั่น ก็ คือ ทำให้ เขา ไม่ใช่ บุคคล ประเภท ที่ เรียก ว่า

“volunteer” (บุคคล ที่ ไม่ ได้ ให้ สิ่ง ตอบแทน อัน มี ค่า)16 หรือ ที่ ตาม กฎหมาย ทรัสต์ เรียก เขา โดย ใช้ ศัพท์ ว่า

“non-volunteers” ซึง่ บคุคล ที ่ตัง้ใจ จะ ให ้เปน็ ผูร้บั ประโยชน ์(intended beneficiary) นี ้ก ็อยู ่ใน ฐานะ ที ่เกอืบ

จะ เท่ากับ ผู้รับ ประโยชน์ ใน ทรัสต์ ที่ ตั้งใจ จะ ตั้ง ขึ้น ใน การ ฟ้อง ร้อง หรือ การ ต่อสู้ คดี ใน เรื่อง ทรัพย์ ที่ เกี่ยวข้อง

โดยที่ คล้าย กัน ก็ คือ “non-volunteers” ใน ทรัสต์ ที่ ไม่ สมบูรณ์ อาจ ฟ้อง เพื่อ บังคับ ตาม สิทธิ ใน เรื่อง ของ ทรัพย ์

นั้น ได้ (ดู คดี Pullmanv.Koe(1913))17

1.1.3ผลของทรัสต์ที่ไม่สมบูรณ์

ทรัสต์ ที่ ไม่ สมบูรณ์ มี ลักษณะ เหมือน เป็น ข้อ ตกลง ให้ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ และ อยู่ ใต้ พระ ราช บัญญัติ ว่า

ด้วย สัญญา (เพื่อ สิทธิ ของ บุคคล ภายนอก) ค.ศ. 1999 (Contracts (Rights of Third Parties) Act, 1999)

มี แต่ คู่ สัญญา มี สิทธิ ฟ้อง ใน เรื่อง การ ผิด สัญญา หลัก นี้ อยู่ ใต้ ข้อ จำกัด ที่ ว่า ผู้ ฟ้อง ต้อง ได้ เคย ให้ สิ่ง ตอบแทน

ที่ มี มูลค่า (valuable consideration) สำหรับ การ ให้ คำ สัญญา (Promise) เพ ราะ เอ็คค วิ ตี้ วาง หลัก ไว้ ว่า

“เอ็คควิตี้จะไม่ช่วยvolunteer” และ “หลักเอ็คควิตี้จะไม่ทำให้การให้ที่ไม่สมบูรณ์กลับสมบูรณ์” ตัวอย่าง เช่น

การ ให้ คำ สัญญา ที่ ทำ ลง โดย สมัคร ใจ ที่ จะ โอน หุ้น ของ บมจ. ปิโตรเลียม จำนวน 10,000 หุ้น ให้ แก่ บี เพื่อ ถือ

ไว้ ใน นาม ของ ทรัสต์ เพื่อ ประโยชน์ ของ ซี ซึ่ง เป็น บุคคล ประเภท ที่ เรียก ว่า volunteer และ ไม่ใช่ คู่ สัญญา เอ ไม ่

ได้ โอน หุ้น แก่ บี การ ตั้ง ทรัสต์ จึง ไม่ สมบูรณ์ ใน การ นี้ โดย ที่ ทั้ง บี และ ซี เป็น บุคคล ประเภท volunteer จึง ไม่มี

คน ใด สามารถ ฟ้อง เอ เพื่อ บังคับ ตาม คำมั่น สัญญา ได้

16 “volunteer” ตาม ความ หมาย ใน เรื่อง ทรัสต์ คือ บุคคลที่ไม่ได้ให้สิ่งตอบแทนอันมีค่า (valuable consideration) ซึ่ง

หมาย ถึง สิ่ง ตอบแทน ตาม คอม มอน ลอว์ ใน รูป ของ เงิน หรือ มูลค่า ของ เงิน หรือ สิ่ง ตอบแทน ใน การ สมรส สิ่ง ตอบแทน ตาม คอม มอน ลอว ์

คือ ราคา ที่ มุ่ง หวัง โดย แต่ละ ฝ่ายใน ข้อ ตกลง เช่น สิ่ง ตอบแทน ใน การ สมรส มา ใน รูป ของ การ ตกลง ก่อน สมรส ที่ ทำ ขึ้น เป็น สิ่ง ตอบแทน

ใน การ สมรส หรือ เป็นการ ตกลง หลัง การ สมรส ที่ ทำ ตาม สัญญา ก่อน สมรส (บุคคลที่ได้รับการปฏิบัติอย่างผู้ให้สิ่งตอบแทนในการสมรส

ได้แก่คู่กรณีในการสมรสและผู้ที่เกิดจากการสมรสรวมทั้งในชั้นลูกหลานที่อยู่ห่างออกไป) ส่วน ลูก หลา นอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับ คู่ สมรส ก ็

เป็น เพียง “volunteer” ดัง นั้น บุตร นอก สมรส ก็ ดี บุตร ที่ ได้ รับ การ รับรอง ให้ เป็น บุตร ก็ ดี หรือ บุตร บุญธรรม ตลอด จน บุตร ที่ เกิด จาก การ

สมรส ที่ เกิด ภาย หลัง ล้วน เป็น “volunteer” ใน บาง ตำรา อธิบาย ความ หมาย ของ “volunteer” ว่า หมาย ถึง “Person who is promised

property without having provided consideration” (John Duddington, EssentialsofEquityandTrustsLaw, Harlow,

Pearson Education, 2006, Glossary of terms, p. xli)

17 Pullman v. Koe [1913] 1 Ch 9.

Page 25: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-25

1.1.4 ข้อยกเว้นของหลัก“เอ็คควิตี้จะไม่ช่วยvolunteer”

มี อยู่ หลาย เรื่อง ที่ แม้ว่า การ ให้ หรือ ทรัสต์ จะ ไม่ สมบูรณ์ แต่ หลัก เอ็คค วิ ตี้ ยัง ให้ ความ ช่วย เหลือ

แก่ บุคคล ประเภท volunteer และ บังคับ ให้ จำเลย ทำ ตาม การ ให้ หรือ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ ให้ สมบูรณ์ เช่น

1) กฎ ตาม คดี Strong v Bird (1874)18 ถ้า การ ให้ ใน ระหว่าง มี ชีวิต ไม่ สมบูรณ์ โดย เหตุ

เพียง ว่า มี ข้อ เท็จ จริง ว่าการ โอน ไป ยัง ผู้รับ ตาม ที่ ตั้งใจ ไม่ ได้ ทำ จน เสร็จ การ ให้ ก็ จะ กลับ สมบูรณ์ เมื่อ ผู้รับ ได้

ทรัพย์ ใน ฐานะ ผู้ จัดการ กอง มรดก ตาม พินัยกรรม ของ ผู้ ให้ ผู้ จัดการ กอง มรดก ตาม พินัยกรรม นั้น กฎหมาย

ถือว่า เป็น “อีก ตัว ตน หนึ่ง” (alter ego) ของ ผู้ ตาย ผู้รับ ซึ่ง เป็น ผู้ จัดการ กอง มร ดกฯ ด้วย ก็ จะ ได้ ทรัพย์ นั้น ใน

ฐานะ ผู้รับ ประโยชน์ โดย สอดคล้อง กับ เจตนา ของ ผู้ ให้ แม้ว่า เขา ได้ รับ ทรัพย์ นั้น ใน สถานะ ที่ แตก ต่าง ออก ไป

2) การ ให้ เพราะ ตาย (donatio mortis causa (DMC)) เป็นการ ส่ง มอบ ทรัพย์ ระหว่าง มี

ชีวิต โดย บุคคล ที่ คาด ว่า จะ ถึงแก่ ความ ตาย โดย มี เงื่อนไข ว่าการ ให้ จะ มี ผล ก็ คือ เมื่อ ผู้ ให้ ถึงแก่ กรรม ผล ก็ คือ

เมื่อ ผู้ ให้ ถึงแก่ กรรม การ โอน โดย มี เงื่อนไข ก็ สมบูรณ์ และ ผู้รับ (volunteer) มี สิทธิ ที่ จะ คงตัว ทรัพย์ ไว้ หรือ

บังคับ ให้ ผู้ แทน ส่วน ตัว ของ ผู้ ตาย โอน ทรัพย์ แก่ ผู้รับ

3) การ ปิดปาก เจ้าของ ทรัพย์ สิทธิ ที่ ให้ แก่ บุคคล ประเภท volunteer เมื่อ เจ้าของ ที่ดิน

ยืนยัน และ ยินยอม ให้ volunteer ก่อ ค่า ใช้ จ่าย เพื่อ ปรับปรุง ทรัพย์สิน (ของ เจ้าของ ที่ดิน) โดย การ ให้ คำ สัญญา

หรือ โดย อนุมาน ว่า จะ มี การ โอน ผล ประโยชน์ อย่าง หนึ่ง แก่ ผู้ สมัคร ใจ

1.1.5 หลักความแน่นอนสามประการ

หลัก พิสูจน์ ที่ แน่นอน แล้ว ใน การ กำหนด ว่า ได้ มี การ ทำการ แสดง เจตนา ว่า ด้วย ทรัสต์ โดย

สมบูรณ์ หรือ ไม่ ก็ คือ “หลัก พิสูจน์ ที่ อาศัย ความ แน่นอน สาม ประการ” (The Three Certainties) ได้แก่

1) ความ แน่นอน ใน เรื่อง เจตนา คือ การ หา ให้ ได้ ว่า ผู้ ก่อ ตั้ง ได้ แสดงออก ซึ่ง ความ ตั้งใจ

ใน ปัจจุบัน ที่ บอก เลิก ไม่ ได้ที่ จะ ก่อ ตั้ง ทรัสต์

2) ความ แน่นอน ใน เรื่อง สิ่งของ การ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง ไม่ อาจ ทำได้ ถ้า เรื่อง สิ่งของ ไม ่

แน่นอน ทรัพย์ (รวม ทั้ง ผล ประโยชน์ ตาม ที่ สมควร) ที่ จะ ตั้งใจ ให้ เป็น สิ่งของ ตาม ทรัสต์ นั้น ต้อง กำหนด ตัว ได้

ถึง ขนาด ที่ ว่า ศาล อาจ กำหนด คำ สั่ง ใน เรื่อง ตัว ทรัพย์ นั้น

3) ความ แน่นอน ใน วัตถุประสงค์ การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง ไม่ อาจ ทำได้ ถ้า ไม่

ปรากฏ ชัด ว่า ทรัสต์ นั้น ตั้ง เพื่อ ประโยชน์ ของ ผู้ ใด ผู้ ก่อ ตั้ง มีหน้า ที่ จะ ระบุ ผู้รับ ประโยชน์ โดย มี ความ ชัดเจน พอ

สมควร19

1.1.6แบบพิธี

ใน การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง นอกจาก หลัก พิสูจน์ ที่ กล่าว ข้าง ต้น แล้ว ผู้ ก่อ ตั้ง ยัง ต้อง ทำ ตาม

ข้อ กำหนด ต่างๆ ใน เรื่อง แบบ พิธี ตาม กฎหมาย บัญญัติ แบบ พิธี เหล่า นี้ เปลี่ยน ไป ตาม สิ่งของ ที่ ใช้ ตั้ง ทรัสต์

18 Strong v Bird (1874) LR 18 Eq 315.

19 ผล ของ ความ ไม่ แน่นอน ใน วัตถุประสงค์ (อนุมาน ว่า มี ความ แน่นอน ใน ความ ตั้งใจ และ ความ แน่นอน ใน เรื่อง สิ่งของ) ก็

คือ ทรัสต์ ที่ ชัด แจ้ง ตาม ที่ ตั้งใจ ไว้ นั้น ล้ม เหลว และ มี ทรัสต์ ที่ เป็น ผล ตาม มา (resulting trusts) ได้ รับ การ ก่อ ตั้ง ขึ้น เพื่อ ประโยชน์ ของ

ผู้ ก่อ ตั้ง หรือ กอง มรดก ของ ผู้ ก่อ ตั้ง

Page 26: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-26

(ตวัอยา่ง เชน่ ทีด่นิ หรอื สงัหารมิทรพัย)์ สภาพ ของ ผล ประโยชน์ ที ่เกีย่วขอ้ง (เชน่ ผล ประโยชน์ ทาง กฎหมาย หรอื

ผล ประโยชน์ ทาง เอ็คค วิ ตี้ และ วิธี การ ใน การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ (ระหว่าง มี ชีวิต หรือ โดย พินัยกรรม)

1.2ทรัสต์โดยลับ(SecretTrusts)

“ทรัสต์ ลับ” เป็น หนี้ ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่ ตก ไป ถึง ทรัส ตี ตาม ที่ ได้ ตั้งใจ ไว้ ใน ระหว่าง ชั่ว ชีวิต ของ ผู้ ทำ

พินัยกรรม แต่ ทำ โดย พ่วง กับ การ ให้ ที่ เกิด ขึ้น ตาม พินัยกรรม ของ ผู้ ทำ พินัยกรรม

เมื่อ ผู้ ทำ พินัยกรรม ตาย พินัยกรรม ของ บุคคล นั้น กลาย เป็น เอกสาร มหาชน แต่ เจ้า มรดก อาจ ประสงค ์

จะ ให้ มี ข้อความ ที่ เขา ถือว่า เป็น วัตถุประสงค์ ที่ น่า จะ ทำให้ รู้สึก อึดอัด ใจ เป็นต้น ว่า ภรรยา น้อย หรือ บุตร ไม่ ชอบ

ด้วย กฎหมาย เพื่อ เลี่ยง การ เปิด เผย ต่อ สาธารณะ ชน ใน เรื่อง ที่ มี ผล ทาง ลบ เจ้า มรดก ผู้ ทำ พินัยกรรม อาจ ทำ

พินัยกรรม เพื่อ ให้ ทรัส ตี ได้ ตัว ทรัพย์ ไป ทำนอง ยก ให้ แต่ มี ข้อ กำหนด นอก พินัยกรรม ว่า ทรัส ตี ต้อง ถือ ทรัพย์

เพื่อ ประโยชน์ ของ ผู้รับ ประโยชน์ โดย ลับ

ทรัสต์ โดย ลับ มี สอง ชนิด คือ ทรัสต์ โดย ลับ เต็ม ที่ และ ทรัสต์ กึ่ง ลับ

1.2.1 ทรัสต์โดยลับเต็มที่ (FullySecretTrusts) ได้แก่ ทรัสต์ ที่ ปกปิด โดย เต็ม ที่ ถ้า ดู จาก ที่

ปรากฏ ใน พินัยกรรม ผู้ ทำ พินัยกรรม โอน ทรัพย์ โดย พินัยกรรม โดย ดู ว่า เป็น ประโยชน์ แก่ ผู้ ที่ จะ ให้ เป็น ทรัส ตี

แต่ อยู่ ใต้ ความ เข้าใจ กัน ที่ ได้ ทำ ขึ้น นอก พินัยกรรม ว่า ทรัส ตี เหล่า นี้ จะ ถือ ทรัพย์ ตาม ทรัสต์ เพื่อ ผู้รับ ประโยชน์

ใน ขณะ ที่ ทรัส ตี ได้ ตัว ทรัพย์ ไป ตัวอย่าง เช่น “ที” เป็น ผู้ ทำ พินัยกรรม โอน หุ้น บมจ.บริติช โท แบค โค่ 50,000

หุ้น ให้ แก่ ผู้รับ มรดก “แอล” ก่อน “ที” ถึงแก่ กรรม ได้ สั่ง “แอล” ด้วย วาจา ว่า เขา ประสงค์ ให้ “แอล” ถือ หุ้น

นั้น ตาม ทรัสต์ เพื่อ ประโยชน์ ของ “บี” ผู้รับ ประโยชน์ โดย ลับ เท่านั้น ใน กรณี นี้ “แอล” กลาย เป็น ทรัส ตี สำหรับ

“บี” เมื่อ “ที” ถึงแก่ กรรม และ ไม่ อาจ จะ อ้าง เอา ประโยชน์ ใน ทรัพย์ นั้น ได้

1.2.2 ทรัสต์กึ่งลับ (Half Secret Trusts) เกิด ใน กรณี ที่ ผู้รับ พินัยกรรม หรือ ผู้ ถูก ใช้ได้ รับ

ทรัพย์ ไว้ ใน ฐานะ ทรัส ตี โดย ดู เพียง ที่ ปรากฏ ใน พินัยกรรม แต่ ข้อ กำหนด ของ ทรัสต์ ไม่ ได้ ระบุ ไว้ ใน พินัยกรรม

ตัวอย่าง เช่น “ที” ใน ฐานะ ผู้ ทำ พินัยกรรม ได้ โอน ทรัพย์ ให้ แก่ “แอล” ผู้รับ พินัยกรรม ให้ ถือ ทรัพย์ ไว้ ตาม

ทรัสต์ เพื่อ ความ มุ่ง หมาย ที่ ได้ แจ้ง แก่ ผู้รับ พินัยกรรม นั้น พินัยกรรม ย่อม รับ รู้ การ ปรากฏ อยู่ ของ ทรัสต์ แต่

ข้อ กำหนด ตาม ทรัสต์ ได้ ถูก ปกปิด ไว้

1.3ทรัสต์อันเป็นผลตามมา(ResultingTrusts)

“ทรัสต์ อัน เป็น ผล ตาม มา”20 เป็น เครื่อง มือ ที่ ศาล สร้าง ขึ้น โดย เป็น ผล ให้ ผล ประโยชน์ ตาม หลัก

เอ็คค วิ ตี้ กลับ คืน ไป ยัง ผู้ ก่อ ตั้ง หรือ ผู้ โอน ทรัสต์ อัน เป็น ผล ตาม มา นี้ ศาล สร้าง ขึ้น เพื่อ อุด ช่อง ว่าง ใน เรื่อง

กรรมสิทธิ์ ทรัสต์ อัน เป็น ผล ตาม มา นี้ ยัง อาจ จำแนก ได้ เป็น สอง จำพวก กล่าว คือ โดย อัตโนมัติ หรือ โดย อนุมาน

เอา ทรัสต์อันเป็นผลตามมาที่เกิดโดยอัตโนมัติ เกิด ได้ ใน หลาย สถาน การณ์ ตัวอย่าง เช่น มี ความ ล้ม เหลว ใน

การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง หรือ การ โอน ทรัพย์มี เงื่อนไข บังคับ ก่อน ซึ่ง ไม่ เกิด ขึ้น หรือ เมื่อ มี ส่วน เกิน ของ เงิน

กองทุน เหลือ อยู ่หลงั จาก นี ้ได ้ทำ ตาม วตัถปุระสงค ์แหง่ ทรสัต ์จน เสรจ็ สิน้ แลว้ ทรสัต์อนัเปน็ผลตามมาที่เกดิโดย

20 นัก กฎหมาย บาง ท่าน เรียก ว่า “ทรัสต์ ที่ กลับ มา เป็น ประโยชน์ ของ ผู้ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ เอง” (ดู บัญญัติ สุ ชีวะ “ทรัสต์” บทความ

ออนไลน์ จาก http://www.panyathai.or.th)

Page 27: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-27

อนมุานเอา นัน้ สรา้ง ขึน้ มา เมือ่ ม ีการ ซือ้ หรอื การ โอน ทรพัย ์ใน ชือ่ ของ อกี คน หนึง่ การ อนมุาน นี ้อาจ ถกู โต ้แยง้ โดย

พยาน หลัก ฐาน ที่ แสดง ว่า ผู้ ก่อ ตั้ง หรือ ผู้ โอน ไม่ ได้ ตั้งใจ ที่ จะ คง ผล ประโยชน์ ใน ฐานะ ผู้รับ ประโยชน์

1.4ทรัสต์อันเกิดจากการขยายความ(ConstructiveTrusts)

“ทรัสต์ อัน เกิด จาก การ ขยาย ความ” มี ความ แตก ต่าง ใน ทาง พื้น ฐาน จาก ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง หรือ ทรัสต ์

อัน เป็น ผล ตาม มา ทรัสต์ ที่ เกิด จาก การ ขยาย ความ ไม่ ได้ ตั้ง ขึ้น โดย สอดคล้อง กับ เจตนา ชัด แจ้ง หรือ โดย อนุมาน

ของ ผู้ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย การ ขยาย ความ เป็น ทรัสต์ จำพวก ที่ เหลือ อยู่ ซึ่ง เข้า มา มี บทบาท เมื่อ ศาล ประกาศ จะ บังคับ

ให้ มี ทรัสต์ และ ไม่มี ทรัสต์ แบ บอื่นๆ ที่ จะ เหมาะ สม ได้ ศาล สงวน อำนาจ ใน การ ตีความ ว่า ธุรกรรม ได้ ก่อ ให้ เกิด

ทรัสต์ โดย การ ขยาย ความ

ตัวอย่าง เช่น ที 1 และ ที 2 ถือ ทรัพย์ ตาม ทรัสต์ แต่ มุ่ง จะ ขาย ทรัพย์ โดย ผิด หน้าที่ ตาม ทรัสต์ ให้ แก่

เอ็กซ์ ซึ่ง เป็น บุคคล ภายนอก ที่ รู้ ถึง การ ผิด หน้าที่ ตาม ทรัสต์ แม้ว่า ที 1 และ ที 2 เป็น ทรัส ตี โดย เปิด เผย แล้ว

ก็ตาม และ ต้อง รับ ผิด ต่อ ผู้รับ ประโยชน์ เพราะ การ ทำ ผิด หน้าที่ ตาม ทรัสต์ พวก เขา ก็ ยัง เป็น ทรัส ตี โดย การ

ขยาย ความ ใน กำไร ที่ ได้ จาก หน้าที่ ใน ฐานะ ทรัส ตี เมื่อ ได้ กำไร เพิ่ม มา โดย ไม่ ได้ รับ มอบ อำนาจ ให้ ทำ เป็นต้น ว่า

เงิน ที่ ได้ มา จาก การ ขาย ที่ รับ จาก เอ็กซ์ โดย ผล ที่เอ็กซ์ ร่วม ใน การ ทำ ผิด หน้าที่ ตาม ทรัสต์ โดย รู้ ถึง ข้อ เท็จ จริง

เหล่า นี้ เอ็กซ์ จะ ได้ รับ การ ปฏิบัติ ต่อ เสมือน ว่า เป็น ทรัสต์ โดย การ ขยาย ความ

ผล ของ การ เป็น ทรัสต์ โดย การ ขยาย ความ นั้น คล้าย กับ ทรัสต์ ชนิด อื่น ใด ใน หลาย เรื่อง คือ ผู้รับ

ประโยชน์ คง ผล ประโยชน์ ใน ทาง เป็น เจ้าของ ทรัพย์สิน ใน สิ่ง ที่ เป็น ทรัพย์ ตาม ทรัสต์

1.5ทรัสต์ตามความมุ่งหมาย(PurposeTrusts)

“ทรัสต์ ตาม ความ มุ่ง หมาย” มุ่ง จะ ใช้ ส่ง เสริม ความ มุ่ง หมาย ประการ หนึ่ง ใน ฐานะ เป็น เป้า หมาย ใน ตัว

เช่น การ ค้นหา อักษร สัก 40 ตัว จัดหา ถ้วย สำหรับ การ แข่ง เรือ yacht21 หรือ การ เติม ห้อง บาง ห้อง ใน เรือน หลัง

หนึง่ ไว ้เปน็ หอ้ง พกั ทรสัต ์ตาม ที ่ได ้ตัง้ใจ ไว ้ตก เปน็ โมฆะ เพราะ ศาล ไม ่อาจ ให ้ผล แก ่ทรสัต ์ที ่ศาล ไม ่อาจ ตรวจ ตรา

ดูแล ได้ นอกจาก นี้ ยัง ไม่มี ผู้รับ ประโยชน์ ที่ มี ส่วน ได้ เสีย หรือ มี สิทธิ จะ ฟ้อง เพื่อ บังคับ ให้ เป็น ไป ตาม ทรัสต์

นั้น ใน คดี ReAstor’s Setlemant Trust (1952) การ ให้ ของ ขวัญ ตาม ทรัสต์ เพื่อ รักษา ไว้ ซึ่ง ความ เข้าใจ

อัน ดี ระหว่าง ชาติ และ สงวน รักษา ซึ่ง อิสรภาพ และ บูรณ า การ ของ หนังสือพิมพ์ ตก เป็น โมฆะ หลัก เกณฑ์ ทั่วไป

นี้ มี ข้อ ยกเว้น อยู่ หลาย ข้อ เช่น ทรัสต์ เพื่อ การ กุศล การ ให้ เพื่อ การ ดูแล สัตว์ ทรัสต์ เพื่อ การ สร้าง อนุสรณ์ สถาน

หรือ อนุสาวรีย์

1.6ทรัสต์การกุศล(CharitableTrusts)

“ทรัสต์ การ กุศล” คือ ทรัสต์ ที่ ตั้ง ขึ้น เพื่อ ให้ ประโยชน์ แก่ สังคม โดย รวม หรือ ส่วน ที่ ใหญ่ พอ ของ

สังคม การ ให้ เพื่อ ความ มุ่ง หมาย ทางการ กุศล มักได้ รับ การ ยอมรับ ว่า ความ รู้สึก ที่ ควร ได้ รับ การ ส่ง เสริม โดย

ทำ เป็น นโยบาย สาธารณะ กล่าว โดย ทั่วไป ทรัสต์ เพื่อ การ กุศล ก็ อยู่ ใต้ กฎ เกณฑ์ ชนิด เดียว กับ ทรัสต์ เพื่อ เอกชน

21 ภาษา อังกฤษ ออก เสียง ว่า “ย๊าท”

Page 28: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-28

แต่ โดย ผล ของ การ มี สภาพ สาธารณะ ของ ทรัสต์ เพื่อ การ กุศล พวก ทรัสต์ เพื่อ การ กุศล จึง มี ข้อ ได้ เปรียบ เหนือ

ทรัสต์ เอกชน (private trusts) หลาย ประการ ใน รูป ของ ความ แน่นอน ของ วัตถุประสงค์ กฎ การ มี อยู่ ตลอด ไป

ที่ สำคัญ ที่สุด มี เอกสิทธิ์ ทางการ เงิน

2. การแต่งตั้งการพ้นจากการทำหน้าที่ และการถอดถอนทรัสตี (Appointment,Retirement

andRemovalofTrustees)“ทรสั ต”ี เปน็ เจา้ของ ทรพัย ์ตาม กฎหมาย และ มหีนา้ ที ่จดัการ กอง ทรพัยส์นิ ให ้เปน็ ไป ตาม วตัถปุระสงค ์

ของ ทรัสต์ ทั้งนี้ บุคคล ใด ที่ สามารถ ถือ กรรมสิทธิ ์ตาม กฎหมาย ใน ทรัพย์สิน ใด สามารถ เป็น ทรัส ตี ของ ทรัพย์สิน

นั้น ได้ ยกเว้น ผู้ เยาว์ ใน กรณี ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง (แต่ ผู้ เยาว์ สามารถ เป็น ทรัส ตี ของ ทรัสต์ โดย ปริยาย ทรัสต์ อัน

เป็น ผล ตาม มา ทรัสต์ อัน เกิด จาก การ ขยาย ความ ได้)

ทรัส ตี มี หลาย ประเภท เช่น ทรัส ตี ทาง มหาชน (Public Trustee) ทรัส ตี ที่ ศาล แต่ง ตั้ง (Judicial

Trustee) ทรัส ตี ผู้ ถือ กรรมสิทธิ์ ใน ทรัพย์สิน (Custodian Trustee)22 และ ทรัส ตี ที่ เป็น บริษัท (Trust

Corporations)

ใน ส่วน ของ ค่า ตอบแทน การ เป็น ทรัส ตี โดย หลัก การ พื้น ฐาน แล้ว ทรัส ตี ไม่มี สิทธิ ได้ รับ ค่า ตอบแทน

แม้ว่า ใน ทาง ปฏิบัติ มัก มี การ กำหนด ให้ มี การ จ่าย ค่า ตอบแทน แก่ ทรัส ตี ไว้ ใน เอกสาร ก่อ ตั้ง ทรัสต์ และ ใน กรณี

ของ ทรัส ตี ทาง มหาชน (Public Trustee) ทรัส ตี ที่ ศาล แต่ง ตั้ง (Judicial Trustee) และ ทรัส ตี ผู้ ถือ กรรมสิทธิ์

ใน ทรัพย์สิน (Custodian Trustee) จะ มี กฎหมาย กำหนด ค่า ตอบแทน การ เป็น ทรัส ตี ไว้

2.1การแต่งตั้งทรัสตี

การ แต่ง ตั้ง ทรัส ตี มี ความ จำเป็น ใน 2 กรณี คือ 1) การ สร้าง ทรัสต์ ใหม่ ไม่ ว่า ใน ระหว่าง มี ชีวิต หรือ โดย

พินัยกรรม และ 2) การ แต่ง ตั้ง แทน ทรัส ตี เดิม หรือ แต่ง ตั้ง ทรัส ตี เพิ่ม ใน ระหว่าง อายุ ของ ทรัสต์ ที่ มี อยู่ แล้ว

2.1.1 กรณีการตั้งทรัสต์ใหม่

ใน กรณี ที่ มี การ ตั้ง ทรัสต์ โดย ผู้ ตั้ง ไม่ ได้ ระบุ ชื่อ ทรัส ตี ทรัสต์ ที่ ตั้งใจ ไว้ ก็ จะ ไม่ สมบูรณ์ ใน กรณี

ที่ ทรัสต์ นั้น ตั้ง โดย พินัยกรรม แต่ เจ้า มรดก ไม่ ได้ ระบุ ชื่อ ทรัส ตี ไว้ ใน พินัยกรรม ของ เขา หรือ ทรัส ตี ผู้ ถูก ระบุ ชื่อ

ไว้ ไม่ ประสงค์ หรือ ไม่ สามารถ จะ กระทำ การ ก็ ต้อง ตั้ง ทรัส ตี เข้า แทน เหมือน กรณี การ คง ดำเนิน ต่อ ไป ของ ทรัสต ์

หลัก เกณฑ์ ที่ ใช้ ใน ที่ นี้ คือ “หลักเอ็คควิตี้จะไม่ปล่อยให้ทรัสต์ตกไปเพราะขาดทรัสตี”

2.1.2การแต่งตั้งทรัสตีแทนทรัสตีเดิมหรือแต่งตั้งทรัสตีเพิ่ม

เมื่อ ได้ ตั้ง ทรัสต์ แล้ว (ไม่ ว่า โดย พินัยกรรม หรือ ใน ระหว่าง มี ชีวิต) ทรัพย์สิน ตาม ทรัสต์ (ไม่ ว่า

อสังหาริมทรัพย์ หรือ สังหาริมทรัพย์) ตก อยู่ กับ ทรัส ตี ทั้ง หลาย ใน ฐานะ ผู้ ครอบ ครอง ร่วม ผล ก็ คือ เมื่อ ทรัส ตี

คน หนึ่ง ตาย ทรัพย์ จะ ตก ไป อยู่ ที่ ผู้ มี ชีวิต อยู่ (ดู มาตรา 18 (1) ของ Trustee Act (1925))

22 ทรัส ตี ประเภท นี้ ทำ หน้าที่ เฉพาะ ถือ กรรมสิทธิ์ ใน ทรัพย์สิน เท่านั้น แต่ การ จัดการ ทรัพย์สิน เป็น หน้าที่ ของ ทรัส ตี อีก ประเภท

หนึ่ง เรียก ว่า “managing trustees”

Page 29: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-29

เมื่อ ทรัส ตี ซึ่ง มี อยู่ เพียง คน เดียว ตาย ลง หรือ ทรัส ตี ที่ มี ชีวิต อยู่ ตาย ลง ทรัพย์ จะ อยู่ กับ ผู้ แทน

ของ ทรัส ตี โดย อยู่ ภาย ใต้ ทรัสต์ จนกว่า จะ ทรัส ตี ที่ ตั้ง ขึ้น แทน จะ ได้ รับ การ แต่ง ตั้ง (ดู มาตรา 18 (2) Trustee

Act (1925))

สำหรับ การ แต่ง ตั้ง ทรัส ตี เพิ่ม เติม สามารถ กระทำ ได้ แม้ว่า ไม่ มี ทรัส ตี คน ใด ที่ ต้อง ถูก ตั้ง แทน

ทัง้นี ้เมือ่ บคุคล หนึง่หรอื บคุคล หลาย คน ที ่ถกู ระบ ุชือ่ เพือ่ ตัง้ ทรสั ต ีใหม ่ใน เอกสาร ตัง้ ทรสัต ์ถา้ ม ีเอกสารดงั กลา่ว

หรือ ถ้า ไม่มี บุคคล เช่น ว่า หรือ ไม่มี บุคคล เช่น ว่าที่ สามารถ และ ประสงค์ จะ ทำ ตน เป็น ทรัส ตี เช่น นั้น ทรัส ตี คน

หนึ่ง หรือ หลาย คน ที่ มี อยู่ ใน ขณะ นั้น อาจ ตั้ง บุคคล หนึ่ง หรือ หลาย คน เป็น ทรัส ตี เพิ่ม เติม โดย ทำ เป็น หนังสือ

2.2การพ้นจากการทำหน้าที่ของทรัสตี

ทรัส ตี อาจพ้น จาก การ ทำ หน้าที่ ใน ทรัส ตี ด้วย ช่อง ทาง หนึ่ง ใน ห้า ประการ ดังนี้

(1) โดย ใช้ ประโยชน์ จาก อำนาจ ใน เอกสาร ก่อ ตั้ง ทรัสต์

(2) โดย ใช้ ประโยชน์ จาก อำนาจ ตาม กฎหมาย บัญญัติ ภาย ใต้

(2.1) มาตรา 36 (1) ของ Trustee Act, 1925 เมื่อ ได้ มี การ แต่ง ตั้ง ทรัส ตี คน ใหม่

หรือ

(2.2) มาตรา 39 ของ Trustee Act เมื่อ ไม่มี การ แต่ง ตั้ง ทรัส ตี ใหม่

(3) โดย ได้ รับ ความ ยินยอม ของ ผู้รับ ประโยชน์ ทุก คน ที่ เป็น ผู้ บรรลุ นิติภาวะ และ มี สิทธิ เหนือ

ทรัพย์ ตาม ทรัสต์ ตาม หลัก เกณฑ์ ใน คดี Saundersv.Vautier(1841)23

(4) โดย การ สั่ง การ ของ ผู้รับ ประโยชน์ ที่ เกี่ยวข้อง ตาม มาตรา 19 ของ Trusts of Land and

Appointment of Trustees Act, 1996 (TLATA 1996) หรือ

(5) โดย ได้ รับ อำนาจ จาก ศาล

การพ้น จาก หน้าที่ ของ ทรัส ตี ตาม มาตรา 39 ของ Trustee Act, 1925 ต่าง จาก การพ้น จาก

หน้าที่ ตาม มาตรา 36 (1) ของ Trustee Act, 1925 ตรง ที่ ทรัส ตี ไม่ อาจ ได้ รับ อนุญาต ให้ พ้นจาก หน้าที่ ของ

ทรัส ตี วิธี เพื่อ การ พ้นจาก หน้าที่ ตาม มาตรา 39 ของ Trustee Act, 1925 เป็น ไป ดังนี้

(1) อย่าง น้อย ต้อง มี ปัจเจก ชน สอง คน ทำ หน้าที่ เป็น ทรัส ตี หรือ มี บริษัท เป็น ทรัส ตี

(2) ทรัส ตี ที่ เหลือ อยู่ และ บุคคล อื่น ที่ ได้ รับ อำนาจ ให้ แต่ง ตั้ง ทรัส ตี ได้ยิน ยอม โดย ทำ เป็น

หนังสือ ใน เรื่อง การพ้นจาก หน้าที่ และ

(3) ทรัส ตี ผู้ พ้น จาก หน้าที่ แสดง เจตนา ขอพ้นจากหน้าที่ โดย ทำ เป็น หนังสือ

มีข้อสังเกตว่า ทรัส ตี ที่ พ้น จาก หน้าที่ ยัง คง ต้อง รับ ผิด ใน เรื่อง การ ผิด หน้าที่ ใน ทรัสต์ ที่ ทำ ลง ใน ขณะ

ที่ ยัง เป็น ทรัส ตี แต่ บุคคล นั้น จะ พ้น จาก ความ รับ ผิด ใน เรื่อง การ ผิด หน้าที่ ที่ เกิด ภาย หลัง ที่ เขา ออก จาก การ

เป็น ทรัส ตี เว้น แต่ จะ เป็น กรณี ที่ เขา ออก เพื่อ สร้าง ความ สะดวก ใน การ ทำ ผิด หน้าที่ ของ ทรัส ตี (ดู คดี Headv

Gould(1898))24

23 Saunders v. Vautier (1841) 41 ER 482.

24 Head v Gould [1898] 2 Ch 250.

Page 30: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-30

2.3การถอดถอนทรัสตี

ทรัส ตี อาจ ถูก ถอดถอน จาก ตำแหน่ง ด้วย เหตุ หนึ่ง ใน 4 ประการ ต่อ ไป นี้

(1) โดย ผล ของ อำนาจ ที่ อยู่ ใน เอกสาร ก่อ ตั้ง ทรัสต์ กรณี นี้ เป็น กรณี ที่ ผิด จาก ปกติ เป็น อย่าง ยิ่ง

และ ต้อง มี การ ตีความ เอกสาร ก่อ ตั้ง ทรัสต์

(2) ตาม มาตรา 36 ของ Trustee Act, 1925 กรณี นี้ จะ เกี่ยวข้อง การ ถอดถอน และ การ แต่ง

ตั้ง ทรัส ตี แทนที่ ใน พฤติการณ์ ที่ กำหนด ใน มาตรา 36(1)

(3) ใน พฤติการณ์ ที่ ระบุ ใน มาตรา 19 และ 20 แห่ง TLATA 1996

(4) ภาย ใต้ คำ สั่ง ศาล ตาม มาตรา 41 ของ Trustee Act, 1925 ตาม อำนาจ ใน ตัว ของ ศาล

3.หน้าที่และอำนาจของทรัสตี(DutiesandPowersofTrustees)หน้าที่ ของ ทรัส ตี นั้น หลาก หลาย และ เป็น ภาระ ที่ หนัก ทรัส ตี ต้อง ทำ หน้าที่ ของ ทรัส ตี อย่าง หมั่น เพียร

ที่สุด (utmost diligence) และ โดย สุจริต ที่สุด (good faith) มิ ฉะ นั้น ทรัส ตี จะ ต้อง รับ ผิด เพราะ ทำ ผิด หน้า ที่

ทรัส ตี หน้าที่ ประการ ต้น ของ ทรัส ตี ก็ คือ กระทำ ตาม ข้อ กำหนด ใน ทรัสต์ และ ตาม ข้อ กำหนด ดัง กล่าว ทรัส ตี

ต้อง ทำให้ สม ผล ประโยชน์ ที่ ดี ที่สุด ของ ผู้รับ ประโยชน์ ใน การ ดำเนิน หน้าที่ เหล่า นี้ ทรัส ตี มี อำนาจ และ ดุลพินิจ

หลาย ประการ ต่างๆ กัน ซึ่ง จำเป็น ต้อง ได้ รับ การ ปฏิบัติ เพื่อ ประโยชน์ ของ ผู้รับ ประโยชน์ หน้าที่ ที่ สำคัญ ของ

ทรัส ตี ได้แก่

3.1หน้าที่และมาตรฐานความระมัดระวัง(Thedutyandstandardofcare)

ตลอด ระยะ เวลา ของ การ บริหาร จัดการ ทรัสต์ ทรัส ตี ต้อง แสดง ว่า ได้ ใช้ ความ ชำนาญ ตาม มาตรฐาน ที่

เป็น ไป ตาม อัต วิสัย ตาม ที่ อาจ คาด ได้ จาก นัก ธุรกิจ ธรรมดา ที่ ระมัดระวัง (ดู คดี Learoydv.Whiteley(1887))25

ซึ่ง เป็น มาตรฐาน ความ ระมัดระวัง ตาม คอม มอน ลอว์ แต่ มาตรา 1 ของ Trustee Act, 2000 ได้ ปรับ หน้าที่ ใน

การ ใช้ ความ ระมัดระวัง ที่ ใช้ กับ กรณี ของ อำนาจ ที่ ใช้ โดย ทรัส ตี ตามพ ระ ราช บัญญัติ เสีย ใหม่ บทบัญญัติ มาตรา

1 นี้ ใช้ แบบ มาตรฐาน ความ ระมัดระวัง ตาม คอม มอน ลอว์ ดัง ที่ ได้ กล่าว ข้าง ต้น มาตรา 1 บัญญัติ ว่า “ทรัสตีควร

ใช้ความระมัดระวังและความชำนาญตามที่สมเหตุผลตามพฤติการณ์นั้นกล่าวคือ

(เอ)โดยได้คำนึงถึงความรู้หรือประสบการณ์พิเศษใดที่ทรัสตีมีหรือแสดงว่าตนมีและ

(บี) ถ้าทรัสตีทำการเป็นทรัสตีในระหว่างดำเนินธุรกิจหรือวิชาชีพของตน โดยคำนึงถึงความรู้

และประสบการณ์ที่อาจคาดได้อย่างมีเหตุผลว่าบุคคลที่ทำการในระหว่างการดำเนินธุรกิจหรือวิชาชีพนั้น

จะใช้”

3.2หน้าที่ในการกระทำการอย่างเอกฉันท์(Dutytoactunanimously)

ทรัส ตี ต้อง กระทำ การ อย่าง เอกฉันท์ ผู้ ก่อ ตั้ง ได้ มอบ ความ รับ ผิด ชอบ ให้ ทรัส ตี ทุก คน ต้อง กระทำ ใน

นาม ของ ทรัสต์ การก ระ ทำ หรือ การ ตัน สิน ใจ ของ ทรัส ตี บาง คน (แม้ ด้วย เสีย ข้าง มาก ของ ทรัส ตี) ไม่ ผูก พัน ทรัส ต ี

25 Learoyd v. Whiteley (1887) 12 App Cas 727.

Page 31: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-31

คน อืน่ๆ ทัง้นี้ เวน้ แต ่ม ีบท กำหนด ใน ทาง ตรง กนั ขา้ม ใน เอกสาร กอ่ ตัง้ ทรสัต ์ดงั นัน้ เมือ่ ม ีการ ตดัสนิ ใจ ของ ทรสั ต ี

ทรัส ตีต่าง ต้อง รับ ผิด ชอบ ร่วม กัน หรือ แยก กัน แล้ว แต่ กรณี ต่อ ผู้รับ ประโยชน์ ใน กรณี ที่ มี การ ละเมิด ทรัสต์ ใน

คดี Bahinv.Hughes(1886)26 ทรัส ตี ที่ นิ่ง เฉย ต้อง รับ ผิด ชอบ ต่อ ผู้รับ ประโยชน์ สำหรับ การ ละเมิด ทรัสต์ โดย

ต้อง รับ ผิด ร่วม กัน กับ ทรัส ตี ที่ ทำ หน้าที่

3.3หน้าที่ในการทำด้วยตนเอง(Dutytoactpersonally)

กล่าว โดย ทั่วไป ผู้ ก่อ ตั้ง แต่ง ตั้ง ทรัส ตี เพราะ คุณสมบัติ ส่วน ตัว ของ ทรัส ตี จึง เป็น ที่ คาด ว่า ทรัส ตี ต้อง

ทำ ด้วย ตนเอง ใน เรื่อง การก ระ ทำ หน้าที่ ของ เขา ใน ทรัสต์ กฎ ทั่วไป มี ว่า “ผู้รับมอบอำนาจไม่สามารถมอบ -

delegatusnonpotesdelegare”

อย่างไร ก็ตาม ใน บรรยากาศ ทางการ ค้า ปัจจุบัน เป็นการ ไม่ สมจริง ที่ จะ คาด หวัง ให้ ทรัส ตี ต้อง ทำ ด้วย

ตนเอง ใน ทุก เรื่อง ที่ เกี่ยว กับ ทรัสต์ ดัง นั้น ทรัส ตี จึง มี สิทธิ ที่ จะ ตั้ง ตัวแทน เพื่อ กระทำ การ ใน เรื่อง ของ ทรัสต์

ทรัส ตี อาจ ตั้ง ตัวแทน ใน การ ทำ ธุรกรรม ของ ธุรกิจ ของ ทรัสต์ แม้ ว่า ทรัส ตี อาจ จะ ทำ ธุรกรรม นั้น ได้ ด้วย ตนเอง

ก็ตาม ทั้งนี้ ทรัส ตี ต้อง ใช้ ความ ระมัดระวัง ใน การ ทำการ แต่ง ตั้ง ตัวแทน และ มี สิทธิ จ่าย เงิน ให้ ตัวแทน สำหรับ

บริการ ของ ตัวแทน นั้น

3.4หน้าที่ที่จะต้องจัดให้มีบัญชีและข้อมูล(Dutytoprovideaccountsandinformation)

เนื่องจาก หน้าที่ ของ ลักษณะ ผู้ ได้ รับ ความ ไว้ วางใจ ทรัส ตี จึง มีหน้า ที่ ประการ หนึ่ง คือ รักษา บัญชี ที่

ถูก ต้อง ของ ทรัสต์ ใน การ ทำ ตาม วัตถุประสงค์ ข้อ นี้ ทรัส ตี อาจ ใช้ ตัวแทน (นัก บัญชี) ใน การ ทำ บัญชี ของ ทรัสต์

ผู้รับ ประโยชน์ มี สิทธิ ที่ จะ ตรวจ ดู บัญชี ต่างๆ แต่ ถ้า ผู้รับ ประโยชน์ ประสงค์ จะ ได้ สำเนา เอกสาร ผู้รับ ประโยชน์

ต้อง เสีย ค่า ใช้ จ่าย โดย ใช้ เงิน ของ ผู้รับ ประโยชน์ เอง นอกจาก นี้ ผู้รับ ประโยชน์ ยัง มี สิทธิ ที่ จะ ตรวจ ดู เอกสาร ที่

ทำ ขึ้น ใน ระหว่าง การ บริหาร ทรัสต์ ด้วย

3.5อำนาจในการลงทุน(Powersofinvestment)

ทรัส ตี มีหน้า ที่ จะ ดำรง มูลค่า ที่แท้ จริง ของกอง เงิน ทุน ทรัสต์ และ อาจ ต้อง พิจารณา การนำ ทรัพย์สิน

ของ ทรัสต์ ไป ลงทุน การ ลงทุน ตาม ความ มุ่ง หมาย เหล่า นี้ หมาย ถึง ทรัพย์สิน ที่ อาจ ให้ ผล เป็น ราย ได้ ทรัส ตี ต้อง

พิจารณา ถึง นโยบาย การ ลงทุน ของ ทรัสต์ โดย ใช้ มาตรฐาน ความ ระมัดระวัง และ ความ ชำนาญ ตาม ที่ จำเป็น ตาม

ควร แก ่พฤตกิารณ ์มาตรฐาน นี ้ตรา ไว ้ใน มาตรา 1 ของ Trustee Act, 2000 อำนาจ ตา่งๆ ใน การ ลงทนุ อาจ ปราก ฏ

ใน เอกสาร ก่อ ตั้ง ทรัสต์ หรือ อาจ กล่าว ไว้ โดย ปริยาย ใน กฎหมาย หรือ ตาม ที่ ศาล อาจ ขยาย อำนาจ ของ ทรัส ตี

3.6อำนาจตามกฎหมายบัญญัติภายใต้TrusteeAct,2000

Trustee Act, 2000 (ซึ่ง มี ผล ใช้ บังคับ เมื่อ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2001) ยกเลิก และ ใช้ แทน Trustee

Investment Act, 1961 อำนาจ ใน การ ลงทุน ตาม กฎหมาย บัญญัติ ใหม่ มี อยู่ ใน มาตรา 3 (1) ของ Trustee Act

2000 ตาม มาตรา 3 “ทรัสตีคนหนึ่งอาจทำการลงทุนอย่างใดที่เขาทำได้ถ้าเขาจะมีสิทธิเต็มที่ในทรัพย์สินของ

ทรัสต์” ทรัส ตี แต่ละ คน ต้อง ทำ ตาม หน้าที่ ทั่วไป ใน การ ใช้ ความ ระมัดระวัง ดัง ที่ ได้ บัญญัติ ไว้ ใน มาตรา 1 ของ

พระ ราช บัญญัติ ฉบับ ปี ค.ศ. 2000 อำนาจ ใหม่ ดัง กล่าว ต้อง พิจารณา โดย คำนึง ถึง ลักษณะ ของ อำนาจ ใหม่ ใน

การ มอบ อำนาจ อย่าง ที่ จะ ได้ เห็น กัน ต่อ ไป ทรัส ตี สามารถ จะ มอบ ดุลพินิจ ของ ตน รวม ทั้ง หน้าที่ ใน การ ลงทุน ได ้

26 Bahin v Hughes (1886) 31 Ch D 390.

Page 32: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-32

นอกจาก นี้ มาตรา 4 ของ พระ ราช บัญญัติ ฉบับ ปี ค.ศ. 2000 กำหนด ให้ ทรัส ตี ต้อง คำนึง ถึง “หลักเกณฑ์การ

ลงทุนมาตรฐาน” ใน ขณะ ที่ ลงทุน

3.7อำนาจในการเลี้ยงดูและการจ่ายเงินล่วงหน้า(Powersofmaintenanceandadvancement)

อำนาจ ใน การ เลี้ยง ดู เป็น เรื่อง ของ ดุลพินิจ ที่ ให้ แก่ ทรัส ตี ที่ จะ จ่าย หรือ ใช้ ราย ได้ เพื่อ ประโยชน์ แก่

ผู้รับ ประโยชน์ ที่ เป็น ผู้ เยาว์ ใน เวลา ก่อน ที่ ผู้รับ ประโยชน์ จะ ได้ ไป ซึ่ง สิทธิ ใน ราย ได้ หรือ เงิน ทุน ของ ทรัสต์ การ

จ่าย เงิน เพื่อ การ เลี้ยง ดู เป็น เรื่อง ราย จ่าย อัน คิด เอา จาก ราย ได้ ของกอง ทุน เพื่อ ใช้ ใน เรื่อง ที่ เกิด เป็น ประจำ เช่น

ค่า อาหาร ค่า เสื้อผ้า ค่า เช่า และ ค่า การ ศึกษา

การ จ่าย ล่วง หน้า คือ การ จ่าย เงิน จาก เงิน กองทุน ของ ทรัสต์ ให้ แก่ หรือ ใน นาม ผู้รับ ประโยชน์ ใน เรื่อง

ข้อ ผูกพัน ระยะ ยาว บาง เรื่อง เช่น การ ซื้อ บ้าน หลัง หนึ่ง หรือ การ ก่อ ตั้ง ธุรกิจ ผู้ กำลัง เป็น ผู้รับ ประโยชน์ อาจ

จำเป็น ต้อง ได้ เงิน ทุน จาก เงิน กองทุน ของ ทรัสต์ ก่อน ที่ เขา จะ เริ่ม มี สิทธิ ได้ รับ เงิน ทุน จาก กองทุน ใน ฐานะ เป็น

สิทธิ ของ เขา เอง ใน กรณี เช่น นี้ ทรัส ตี อาจ มี สิทธิ จะ เร่งรัด การ ได้ ใช้ ผล ประโยชน์ โดย ผู้รับ ประโยชน์ ด้วย การ

จ่าย เงิน ทุน เป็นการ ล่วง หน้า

4.การเปลี่ยนแปลงทรัสต์(VariationofTrusts)ทรัส ตี ต้อง บริหาร ทรัสต์ โดย สอดคล้อง กับ ข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ ทรัส ตี มีหน้า ที่ เบื้อง ต้น ใน การ

เชื่อ ฟัง คำ สั่ง ตาม ที่ กำหนด ราย ละเอียด โดย ผู้ ก่อ ตั้ง หรือ ตาม ที่ กำหนด ไว้ โดย ปริยาย ใน กฎหมาย การ ทำให้

ต่าง ไป จาก ข้อ กำหนด ทรัสต์ เป็นการ ละเมิด ทรัสต์ ทำ ให้ ทรัส ตี ต้อง รับ ผิด เป็นการ ส่วน ตัว โดย ไม่ ต้อง คำนึง

ถึง ว่า ทรัส ตี จะ ได้ มี เจตนา ดี เพียง ใด อย่างไร ก็ ดี อาจ มี พฤติการณ์ อาจ เกิด ขึ้น หลัง จาก การ ตั้ง ทรัสต์ ซึ่ง แสดง ว่า

ทรัสต์ อาจ ได้ รับ การ จัดการ อย่าง มี ประโยชน์ กว่า ถ้า จะ มี การ เปลี่ยนแปลง ข้อ กำหนด ซึ่ง ใน พฤติการณ์ ดัง กล่าว

ทรัส ตี อาจ ต้องการ กลไก บาง อย่าง เพื่อ จะ ได้ มี การ มอบ อำนาจ ให้ แก่ ทรัส ตี เพื่อ ทำ ต่าง ออก ไป หรือ เปลี่ยนแปลง

ข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ ได้

5.การละเมิดทรัสต์(BreachofTrust)หน้าที่ ของ ทรัส ตี ของ ทรัสต์ โดย หลัก ก็ คือ ทำ ตาม ข้อ กำหนด ของ ทรัสต์ และ กฎหมาย ทั่วไป เพื่อ ทำ

หน้าที่ เหล่า นั้น ทรัส ตี ต้อง กระทำ เพื่อ ผล ประโยชน์ สูงสุด ของ ผู้รับ ประโยชน์ การ ไม่ ทำ ตาม หน้าที่ ของ ทรัส ตี

ทำ ให้ ทรัส ตี มี ความ รับ ผิด ใน ฐานะ ละเมิด ทรัสต์ (คือ ผิด สัญญา ก่อ ตั้ง ทรัสต์) ผู้รับ ประโยชน์ ที่ ไม่ พอใจ มี สิทธิ

ที่ จะ นำ คดี ไป ฟ้อง ร้อง โดย ใช้ บุคคล สิทธิ โดย เรียก ร้อง จาก ทรัส ตี หรือ ฟ้อง คดี โดย ใช้ ทรัพย์ สิทธิ เพื่อ เรียก เอา

ตัว ทรัพย์ ตาม ทรัสต์ คืน (tracing)

ใน การ รับ ผิด ใน กรณี ละเมิด หรือ ผิด สัญญา ทรัสต์ ผู้รับ ประโยชน์ ต้อง พิสูจน์ ให้ ได้ ว่า มี ความ สัมพันธ์

เชิง เหตุ และ ผล ระหว่าง การ ละเมิด ทรัสต์ กับ ความ สูญ เสีย ที่ เกิด แก่ ทรัสต์ ไม่ ว่า โดยตรง หรือ โดย อ้อม ที่ จริง แล้ว

ทรัสต์ จะ ไม่ ได้ รับ ความ สูญ เสีย ผู้รับ ประโยชน์ ยัง มี สิทธิ ที่ จะ ฟ้อง เอา กำ ไร ใดๆ ที่ ทรัส ตี ได้ ไว้ เพราะ ผล ของ การ

ละเมิด ทรัสต์

Page 33: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-33

อย่างไร ก็ ดี ใน การ ดำเนิน การ ฟ้อง ร้อง ทรัส ตี เพราะ ละเมิด ทรัสต์ มี ข้อ ต่อสู้ บาง ประการ ที่ ทรัส ตี มี สิทธ ิ

ยก ขึ้น อ้าง ได้ ได้แก่ ความ รู้ และ ความ ยินยอม ของ ผู้รับ ประโยชน์ การ ตัด ผล ประโยชน์ ของ ผู้รับ ประโยชน์ (เช่น

ผู้รับ ประโยชน์ ที่ ยุยง ให้ เกิด การ ละเมิด ทรัสต์ อาจ ต้อง ชดใช้ ให้ ทรัส ตี) หรือ การ ปลด ปล่อย จาก ความ รับ ผิด

ตาม มาตรา 61 ของ Trustee Act, 1925 กล่าว คือ ใน กรณี ที่ ทรัส ตี 1) ได้ กระทำ การ อย่าง ซื่อสัตย์ 2) ต้อง

ได้ ทำการ อย่าง มี เหตุผล และ 3) ควร จะ ได้ รับ การ ยก โทษ ใน เรื่อง การ ละเมิด ทั้งนี้ ทรัส ตี มี ภาระ การ พิสูจน์ ใน

เรื่อง เหล่า นี้

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในEnglishLaw,“Chapter10:TheLawofEquityandTrusts”,

byGarrySlapperandDavidKelly)

กิจกรรม4.2.2

การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง มี หลัก เกณฑ์ และ ขั้น ตอน อย่างไร

บันทึกคำตอบกิจกรรม4.2.2

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่4ตอนที่4.2กิจกรรม4.2.2)

Page 34: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-34

เรื่องที่4.2.3ทรัสต์ในระบบกฎหมายไทย

สาระสังเขป

1.ทรัสต์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ก่อน ที่ จะ มี ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ บรรพ 6 เมื่อ ปี พ.ศ. 2478 นั้น ประเทศไทย มี การ

ก่อ ตั้ง ทรัสต์ อยู่ บ้าง โดย พระบรม ราชโองการ ตาม พินัยกรรม หรือ นิติกรรม เช่น ตามพ ระ ราช บัญญัติ ออก โฉนด

ที่ดิน ฉบับ ที่ 2 หรือ ก่อ ตั้ง ขึ้น ตาม กฎหมาย อังกฤษ ซึ่ง ใน ขณะ นั้น ศาล ไทย ได้ นำ เอา กฎหมาย ลักษณะ ทรัสต์

ของ อังกฤษ ที่ เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่ เกิด ขึ้น มา ใช้ บังคับ โดยตรง ต่อ มา เมื่อ มี การ ประกาศ ใช้ ประมวล กฎหมาย

แพ่ง และ พาณิชย์ ใน ขณะ นั้น รัฐ มีน โย บาย ที่ จะ ไม่ นำ หลัก กฎหมาย ทรัสต์ มา ใช้27 ประกอบ กับ มี กฎหมาย ใน

เรื่อง นั้นๆ อยู่ แล้ว เช่น การ จัดการ มรดก ทั้งนี้ ได้ บัญญัติ ห้าม ไว้ ใน มาตรา 1686 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง

และ พาณิชย์ ดังนี้

“มาตรา1686อนัวา่ทรสัต์นัน้จะกอ่ตัง้ขึน้โดยตรงหรอืโดยทางออ้มดว้ยพนิยักรรมหรอืดว้ยนติกิรรม

ใดๆที่มีผลในระหว่างชีวิตก็ดีหรือเมื่อตายแล้วก็ดีหามีผลไม่”

อย่างไร ก็ ดี ยัง คง มี การ รับรอง ฐานะ และ มี การ บังคับ ใช้ กฎหมาย แก่ ทรัสต์ ที่ ได้ จัด ตั้ง ขึ้น ก่อน มี การ

ประกาศ ใช้ ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ บรรพ 6 ตัวอย่าง เช่น

คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 862/2495 “กรณีจะเป็นทรัสต์นั้นต้องมีข้อความให้เห็นได้ว่ายกกรรมสิทธิ์

ในทรัพย์ให้แต่ผูกมัดไว้ว่าผู้รับกรรมสิทธิ์นั้นจะต้องใช้ทรัพย์นั้นให้เป็นประโยชน์แก่บุคคลใดๆอันกำหนด

ตัวได้แน่นอนหรือเพื่อสาธารณะกุศลอันแน่นอน”

27 ตาม บันทึก คณะ กรรมการ กฤษฎีกา เรื่อง “การ ขอ ลง นาม ใน หน้า ที่ ทรัส ตี ใน หน้า โฉนด ซึ่ง เป็น ปัญหา เกี่ยว กับ มาตรา 1686

แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์” (เลข เสร็จ ที่ 56/2479 ส่ง พร้อม กับ บันทึก ที่ 642/2479 ลง วัน ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2479) กล่าว

ถึง มูล เหตุ ใน การ ที่ ประเทศไทย ยัง ไม่ พร้อม ใน การนำ หลัก กฎหมาย ทรัสต์ มา ใช้ ใน ระยะ แรก ดังนี้

“ข้อ 3 เมื่อ พิจารณา ถึง คำร้อง ของ กงสุล อังกฤษ ใน การ ที่ ขอ ตั้ง ทรัส ตี แล้ว ก็ จะ ต้อง สังเกต ดู ให้ ละเอียด ว่า ใน พระบรม-

ราชโองการ นั้น มิได้ มี ข้อความ ที่ แสดง ให้ เห็น โดยตรง หรือ โดย ทาง อ้อม เลย ว่า พระบาท สมเด็จ พระ จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ หัว ได้ ทรง ตั้ง

พระ ราช หฤทัย ที่ จะ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ และ ทรัส ตี ขึ้น ยิ่ง กว่า นั้น ทรัสต์ เป็น หลัก กฎหมาย อังกฤษ ซึ่ง ใน ขณะ นั้น หา ได้ มี บัญญัติ ไว้ ใน กฎหมาย ไทย

ไม่ ภาย หลัง คนใน สังกัด ชาติ อังกฤษ ได้ ตั้ง ทรัสต์ กัน ขึ้น บ้าง และ เป็นการ จำเป็น ที่ ศาล จำ ต้อง รับ พิจารณา เนื่องจาก เหตุ นี้ อย่าง หนึ่ง และ

อีก อย่าง หนึ่ง เนื่องจาก ใน เมือง ไทย ยัง มิได้ จัดการ รวบรวม ประมวล กฎหมาย แพ่ง ขึ้น จึง เป็น ทาง ชักนำ ให้ เอา ถ้อยคำ ตลอด จน ความ คิด

เห็น ใน เรื่อง ทรัสต์ มา บัญญัติ ไว้ ชั่วคราว ใน พระ ราช บัญญัติ ออก โฉนด ที่ดิน ฉบับ ที่ 2 (ออก ใช้ เมื่อ ปี พ.ศ. 2457 มาตรา 8) แต่ พึง เห็น ได้

ชัด ว่า เมื่อ ได้ มี บทบัญญัติ ไว้ ใน ประมวล กฎหมาย แล้ว ทรัสต์ ก็ได้ ถูก บัญญัติ ห้าม อย่าง เด็ด ขาด (มาตรา 1686 แห่ง ประมวล กฎหมาย

แพ่ง และ พาณิชย์) และ เรื่อง นี้ ได้ มี คำ สั่ง ของ รัฐบาล ไว้ ว่า “ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ เรื่อง ทรัสต์ นั้น เป็น อัน ไม่ ให้ มี ใน กฎหมาย”

(คำ สั่ง วัน ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2475) ฉะนั้น ทรัสต์ จะก่อตั้งขึ้นในเมืองไทยไม่ได้อีกต่อไป

Page 35: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-35

คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 728/2506 “ทรัสต์ที่ก่อตั้งขึ้นก่อนประกาศใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและ

พาณิชย์ อาจก่อตั้งขึ้นโดยนิติกรรมหรือพินัยกรรม อำนาจหน้าที่ของทรัสต์จึงต้องเป็นไปตามข้อกำหนด

แห่งนิติกรรมหรือพินัยกรรมนั้น กับต้องปฎิบัติภายในขอบเขตแห่งข้อกำหนดและวัตถุประสงค์ของการ

ก่อตั้งทรัสต์นั้นด้วยแม้ทรัสต์จะเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เป็นทรัสต์ก็จะนำอำนาจกรรมสิทธิ์ตาม

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้โดยตลอดไปมิได้”

คำ พพิากษา ศาล ฎกีา ที ่1404 - 1405/2508 “พนิยักรรมกอ่ตัง้ทรสัต์กอ่นประกาศใช้ประมวลกฎหมาย

แพ่งและพาณิชย์บรรพ6นั้นไม่ขัดต่อกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลานั้นและพินัยกรรมที่กำหนดให้โจทก์มีอำนาจ

จัดการและเก็บค่าเช่านั้นคำว่า จัดการ ในที่นี้ย่อมหมายถึงการดำเนินการต่างๆตลอดจนการฟ้องร้องคดี

ด้วย”

คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 1518/2521 “กุฎีเจริญพาสน์หรือกุฎีเจ้าเซ็นเป็นทรัสต์การกุศลทรัสตีจัดการ

ตามความคิดเห็นไม่ผิดข้อบัญญัติศาสนาอิสลามไม่ทุจริตไม่เป็นเหตุที่จะถอดจากทรัสตี”

คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 2676/2528 “โจทก์เป็นทรัสตีผู้หนึ่งย่อมมีอำนาจจัดการรวมทั้งการฟ้องคดี

เกี่ยวกับทรัพย์สินอันเป็นทรัสต์ได้ตามหนังสือก่อตั้งทรัสต์ ซึ่งทรัสต์ดังกล่าวได้ก่อตั้งและจดทะเบียนต่อ

สถานทูตอังกฤษเมื่อ80ปีมาแล้ว”

คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 1346/2535 “พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5ทรง

มีพระบรมราชโองการพระราชทานที่ดินให้ ร. เพื่อใช้เป็นฮวงซุ้ยฝังศพบุคคลในตระกูลของร. ตลอดไป

พินัยกรรมของร.ที่ทำขึ้นทูลเกล้าฯถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่6ในเวลาต่อมา

มีข้อความว่าให้ที่ดินพิพาทเป็นที่กลางสำหรับตระกูลมิให้เป็นทรัพย์สมบัติส่วนตัวของผู้หนึ่งผู้ใดในตระกูล

เป็นอันขาดแสดงเจตนารมณ์ว่าให้ผู้สืบตระกูลต่างมีส่วนร่วมในที่ดินไม่ให้โอนขายจำหน่ายซึ่งพระบาท

สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชโองการข้อความว่าพินัยกรรมเป็นการทำถูกต้องตาม

พระราชกำหนดกฎหมายถ้าจะมีผู้ใดไปฟ้องร้องว่ากล่าวขอให้เปลี่ยนแปลงไปจากความประสงค์ของ ร.

ห้ามอย่าให้ผู้พิพากษารับไว้พิจารณาให้ผิดไปจากความประสงค์นี้ แสดงถึงการที่ทรงรับรองความ

ถูกต้องของพินัยกรรม”

คำ พิพากษา ศาล ฎีกา ที่ 3148/2540 “ป่าช้าจีนบ้าบ๋าเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในโฉนดที่ดินพิพาทที่ชาว

จีนฮกเกี้ยนได้ช่วยกันออกเงินซื้อที่ดินโดยให้ล.เป็นผู้จัดการขณะร่วมกันออกเงินซื้อที่พิพาทซึ่งยังไม่มีใบ

สำคัญสำหรับที่ดินเพื่อทำเป็นป่าช้าฝังศพโดยตั้งเป็นทรัสต์ป่าช้าจีนบ้าบ๋าและให้ล.เป็นทรัสตีต่อมาล.ได้

ไปดำเนินการออกโฉนดที่พิพาทและเป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์ในฐานะเป็นทรัสตีป่าช้าจีนบ้าบ๋าอันเป็นการกระทำ

ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการออกโฉนดที่ดินฉบับที่2พ.ศ.2459มาตรา8การตั้งทรัสต์และทรัสตี

ดงักลา่วเกดิขึน้กอ่นวนัใช้ประมวลกฎหมายแพง่และพาณชิย์มาตรา1686แม้จะไม่ปรากฏหลกัฐานวา่ได้มีการ

จดทะเบียนกันไว้หรือไม่ก็มีผลบังคับได้ลักษณะของป่าช้าจีนบ้าบ๋าไม่ใช่สถานีที่ฝังศพสำหรับเฉพาะคนใน

ตระกูลหรือกลุ่มพวกพ้องของล.เท่านั้นแต่ใช้เป็นที่ฝังศพของชาวจีนฮกเกี้ยนที่มาจากประเทศสิงคโปร์ซึ่ง

เป็นกลุ่มคนจำนวนมาก โดยไม่มีข้อจำกัดว่าเป็นใครถือได้ว่าทรัสตีป่าช้าจีนบ้าบ๋าตั้งขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ฝังศพ

และบำเพ็ญกุศลให้ผู้ตายอันเป็นประโยชน์ต่อชาวจีนฮกเกี้ยนทั่วไปลักษณะของทรัสต์ดังกล่าวถือได้ว่าเป็น

Page 36: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-36

ทรัสต์เพื่อการกุศลหรือทรัสต์มหาชน จึงเป็นทรัสต์ถาวรไม่มีกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดไปเองดังเช่นทรัสต์

เอกชนทั่วไป”

อนึ่ง แม้ มาตรา 1686 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ จะ บัญญัติ ห้าม การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ก็ตาม

แต่ ใน ทาง ข้อ เท็จ จริง ท่าน ศาสตราจารย์ จิต ติ ติง ศภัทิย์ มี ความ เห็น ว่า มาตรา 1686 นี้ เป็นการ ห้าม ใน กรณี

ทรัสต์เอกชน (private trusts) แต่ ใน ประเทศไทย ยัง อาจ มี กรณี ที่ ถือ ได้ ว่า มี การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ประเภท ที่ เป็น

ทรัสต์มหาชน(publictrusts) ตัวอย่าง เช่น การ มี พินัยกรรม ให้ จัด ตั้ง มูลนิธิ ใน ระหว่าง ที่ ยัง ไม่ ได้ จด ทะเบียน

เป็น นิติบุคคล ถือว่า กอง ทรัพย์ นั้น เป็น “public trusts” โดย ผู้ ที่ ถือ กรรมสิทธิ์ ใน ขณะ นั้น คือ ผู้ ที่ ระบุ ให้ เป็น

ผู้ จัดการ มูลนิธิ มี ฐานะ เป็น ทรัส ตี28

ใน ปัจจุบัน ประเทศไทย ได้ เล็ง เห็น ประโยชน์ ของ การ จัด ตั้ง ทรัสต์ บาง ประการ กล่าว คือ เพื่อ ประโยชน ์

ใน การ ทำ ธรุกรรม ใน ตลาด ทนุ ดงั นัน้ จงึ ได ้ม ีการ ตรา พระ ราช บญัญตั ิทรสัต ์เพือ่ ธรุกรรม ใน ตลาด ทนุ พ.ศ. 2550

ขึ้น พร้อม ทั้ง ได้ แก้ไข มาตรา 1686 แห่ง ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ ให้ สอดคล้อง กัน ดังนี้

มาตรา 1686 “อันว่าทรัสต์นั้น จะก่อตั้งขึ้นโดยตรงหรือโดยทางอ้อมด้วยพินัยกรรมหรือด้วย

นิติกรรมใดๆที่มีผลในระหว่างชีวิตก็ดีหรือเมื่อตายแล้วก็ดีหามีผลไม่เว้นแต่โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติ

แห่งกฎหมายเพื่อการก่อตั้งทรัสต์เท่านั้น”

ดัง นั้น ปัจจุบัน จึง ถือว่า ประเทศไทย ยอมรับ ให้ มี การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ได้ แต่ มี ข้อ จำกัด เฉพาะ เพื่อ

วตัถปุระสงค ์ใน การ ดำเนนิ ธรุกรรม ใน ตลาด ทนุ ตามพ ระ ราช บญัญตั ิทรสัต ์เพือ่ ธรุกรรม ใน ตลาด ทนุ พ.ศ. 2550

เช่น การ ออก หลัก ทรัพย์ ตาม กฎหมาย ว่า ด้วย หลัก ทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ การ แปลง สินทรัพย์ เป็น

หลกั ทรพัย ์ตาม กฎหมาย วา่ ดว้ย นติบิคุคล เฉพาะ กจิ เพือ่ การ แปลง สนิทรพัย ์เปน็ หลกั ทรพัย ์หรอื ธรุกรรม อืน่ ใด

ที่ เป็นการ ส่ง เสริม หรือ เอื้อ อำนวย ต่อ ตลาด ทุนเท่านั้น

สำหรับ หลัก กฎหมาย ทรัสต์ ที่ นำ มา ใช้ ใน พระ ราช บัญญัติ ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน พ.ศ. 2550

อาจ สรุป ได้ ตาม หัวข้อ ถัด ไป

2.ทรัสต์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนพ.ศ.2550พระ ราช บัญญัติ ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน พ.ศ. 2550 ตรา ขึ้น โดย มี เจตนารมณ์ ที่ จะ นำ หลัก

กฎหมาย เรื่อง ทรัสต์ มา ประยุกต์ ใช้ กับ การ ระดม ทุน ใน ตลาด ทุน เพื่อ เป็น เครื่อง มือ อีก ประการ หนึ่ง ที่ จะ ทำให้

ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน เป็น ไป อย่าง มี ประสิทธิภาพ และ สามารถ แก้ไข ข้อ ติดขัด บาง ประการ ใน การ ระดม ทุน ได้

เนื่องจาก รัฐบาล เห็น ว่า ระบบ ทรัสต์ จะ มี ส่วน ช่วย เสริม สร้าง ให้การ ทำ ธุรกรรม ที่ ดำเนิน การ อยู่ ใน ปัจจุบัน มี

ประสิทธิภาพ มาก ยิ่ง ขึ้น ได้ ตัวอย่าง เช่น ถ้า มี การ จัด ตั้ง ทรัสต์ เพื่อ รองรับ การ ออก หลัก ทรัพย์ ประเภท ตราสาร

แห่ง หนี้ โดย กำหนด ให้ เงิน ที่ ควร จะ ต้อง นำ มา ชำระ หนี้ แก่ ผู้ ลงทุน ที่ ถือ ตราสาร ได้ รับ การ ดูแล รักษา หรือ จัดการ

โดย ทรัส ตี อัน จะ ทำให้ ผู้ ถือ ตราสาร มี ความ มั่นใจ ได้ ว่า แม้ ผู้ ออก หลัก ทรัพย์ จะ ตก เป็น ผู้ ถูก บังคับ คดี จาก

เจ้า หนี้ อื่น หรือ ตก เป็น บุคคล ล้ม ละลาย แล้ว ทรัพย์สิน ที่ ได้ มี การ กัน ไว้ ใน กอง ทรัสต์ นั้น จะ ถูก นำ มา ชำระ หนี้

ให้ แก่ ผู้ ถือ หลัก ทรัพย์ นั้น อย่าง แน่นอน

28 รายละเอียดโปรดดู จิตติ ติงศภัทิย์ “ทรัสต์ (TRUST)” วารสารทนายความพ.ศ.2516 ฉบับที่ 2 หน้า 9 – 13.

Page 37: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-37

สำหรับ หลกั การ ที่ สำคัญ ของ พระ ราช บัญญัติ ฉบบั นี้ แสดง ให ้เห็น ถึง หลกั กฎหมาย ทรสัต์ ใน เรือ่ง ต่างๆ

เริ่ม ตั้งแต่ นิยาม ศัพท์ ที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ นิยาม ที่ บัญญัติ ไว้ ใน มาตรา 3 ดังนี้

“ทรัสต์”หมายความว่านิติสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์

“สัญญาก่อตั้งทรัสต์”หมายความว่าสัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่า ผู้ก่อตั้งทรัสต์ โอนหรือก่อ

ทรัพยสิทธิหรือสิทธิใดๆ ในทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่าทรัสตี ด้วยความไว้วางใจให้ทรัสตี

จดัการทรพัยส์นิเพือ่ประโยชน์ของบคุคลอกีฝา่ยหนึง่เรยีกวา่ผูร้บัประโยชน์และให้หมายความรวมถงึหนงัสอื

แสดงเจตนาก่อตั้งทรัสต์ในกรณีผู้ก่อตั้งทรัสต์และทรัสตีเป็นบุคคลเดียวกันด้วย

“กองทรัสต์”หมายความว่าบรรดาทรัพย์สินที่กำหนดตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และให้หมายความ

รวมถึงบรรดาทรัพย์สินดอกผลหนี้สินและความรับผิดที่เกิดขึ้นจากการจัดการตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือ

ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้

สาระ สำคัญ อื่น ที่ สะท้อน ถึง ระบบ ทรัสต์ ตามพ ระ ราช บัญญัติ ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน พ.ศ.

2550 ได้แก่

หมวด2การก่อตั้งทรัสต์

ส่วนที่1สัญญาก่อตั้งทรัสต์

มาตรา ที่ สำคัญ ที่ แสดง ถึง หลัก ความ แน่นอน สาม ประการ เช่น

มาตรา 11 วรรค หนึ่ง “ทรัสต์ย่อมก่อตั้งขึ้นเมื่อมีการทำสัญญาเป็นหนังสือและผู้ก่อตั้งทรัสต์

ได้โอนทรัพย์สินหรือก่อทรัพยสิทธิหรือสิทธิใดๆที่จะให้เป็นกองทรัสต์แก่ทรัสตีแล้ว”

มาตรา 14 “สัญญาก่อตั้งทรัสต์หากมิได้มีรายการและข้อความอย่างน้อยดังต่อไปนี้ ย่อมตก

เป็นโมฆะ

(1)ชื่อผู้ก่อตั้งทรัสต์และทรัสตี

(2)ผู้รับประโยชน์โดยการระบุชื่อหรือคุณสมบัติหรือลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าบุคคลหนึ่ง

บุคคลใดเป็นผู้รับประโยชน์ก็ได้

(3)วัตถุประสงค์ของทรัสต์

(4)ทรัพย์สินที่จะให้เป็นกองทรัสต์”

ส่วนที่ 2ผลของการก่อตั้งทรัสต์ มาตรา ที่ สำคัญ ที่ แสดง ถึง ลักษณะ ของ สิทธิ ตาม กฎหมาย

และ สิทธิ ใน ทาง เอ็คค วิ ตี้ เช่น

มาตรา 18 “เมื่อก่อตั้งทรัสต์ขึ้นแล้วให้ผู้ก่อตั้งทรัสต์”ทรัสตีและผู้รับประโยชน์มีสิทธิและ

หน้าที่ดังต่อไปนี้

(1)ผู้ก่อตั้งทรัสต์ย่อมมีสิทธิหรือหน้าที่เฉพาะเท่าที่กำหนดในสัญญาก่อตั้งทรัสต์

(2)ทรัสตีมีสิทธิตามกฎหมายเหนือกองทรัสต์ในฐานะผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือผู้มีสิทธิ

เหนือทรัพย์สินและมีหน้าที่จัดการกองทรัสต์ตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และพระราชบัญญัตินี้

(3)ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิได้รับประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการจัดการกองทรัสต์ตามสัญญา

ก่อตั้งทรัสต์และมีสิทธิอื่นๆตามสัญญาก่อตั้งทรัสต์และพระราชบัญญัตินี้”

Page 38: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-38

ส่วนที่3การเปลี่ยนแปลงสัญญาก่อตั้งทรัสต์และทรัสตีมาตรา ที่ สำคัญ เช่น

มาตรา 20 “การเปลี่ยนแปลงสัญญาก่อตั้งทรัสต์จะกระทำได้เพียงใดให้เป็นไปตามที่กำหนด

ไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์ ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์มิได้กำหนดไว้ ผู้รับประโยชน์และทรัสตีอาจตกลง

เปลี่ยนแปลงสัญญาก่อตั้งทรัสต์ได้แต่ต้องไม่ขัดต่อเจตนารมณ์ในการก่อตั้งทรัสต์”

มาตรา 23 “ทรัสตีอาจลาออกหรือถูกถอดถอนจากการทำหน้าที่ได้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญา

ก่อตั้งทรัสต์ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์มิได้กำหนดไว้การลาออกหรือการถอดถอนให้เป็นไปตามเงื่อนไข

ดังต่อไปนี้

(1)ทรัสตีต้องแจ้งการลาออกเป็นหนังสือให้ผู้รับประโยชน์ทราบตามหลักเกณฑ์และระยะ

เวลาที่สำนักงานก.ล.ต.ประกาศกำหนดทั้งนี้ต้องไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้รับประโยชน์

(2) ผู้รับประโยชน์อาจถอดถอนทรัสตีได้ เมื่อปรากฏว่าทรัสตีมิได้จัดการทรัสต์ตามหน้าที่

ที่กำหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือพระราชบัญญัตินี้ทั้งนี้ ตามวิธีการและเงื่อนไขที่สำนักงานก.ล.ต.

ประกาศกำหนด”

มาตรา 24 “การแต่งตั้งทรัสตีรายใหม่ให้กระทำได้ตามที่กำหนดไว้ในสัญญาก่อตั้ง

ทรัสต์ในกรณีที่สัญญาก่อตั้งทรัสต์มิได้กำหนดไว้ การแต่งตั้งทรัสตีรายใหม่ ให้เป็นไปตาม

หลักเกณฑ์ที่สำนักงานก.ล.ต.ประกาศกำหนด”

หมวด3สิทธิหน้าที่และความรับผิดของทรัสตี

มาตรา ที่ สำคัญ ที่ แสดง ถึง หลัก ใน การ ทำ หน้าที่ ของ ทรัส ตี เช่น หลัก “good faith” หลัก “duty of

care” และ ความ รับ ผิด ชอบ ของ ทรัส ตี เช่น

มาตรา 30 “ทรัสตีมีหน้าที่จัดการกองทรัสต์ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังเยี่ยงผู้มี

วิชาชีพรวมทั้งด้วยความชำนาญโดยปฏิบัติต่อผู้รับประโยชน์อย่างเป็นธรรมเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้รับ

ประโยชน์

เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ของทรัสตีตามวรรคหนึ่ง คณะกรรมการก.ล.ต. อาจประกาศ

กำหนดรายละเอียดของการทำหน้าที่ดังกล่าวได้

สัญญาก่อตั้งทรัสต์จะมีข้อความยกเว้นความรับผิดในกรณีที่ทรัสตีไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง

โดยเจตนาโดยไม่สุจริตหรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงมิได้”

มาตรา 43 “ในกรณีที่ทรัสตีจัดการกองทรัสต์ไม่เป็นไปตามที่กำหนดในสัญญาก่อตั้ง

ทรัสต์หรือพระราชบัญญัตินี้ทรัสตีต้องรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่กองทรัสต์”

หมวด4สิทธิของผู้รับประโยชน์และความคุ้มครอง

มาตรา ที่ สำคัญ เช่น

มาตรา 44 “ภายใต้บังคับมาตรา 40 และมาตรา 43 วรรคสอง ผู้รับประโยชน์ย่อมมีสิทธิเรียก

ร้องให้ทรัสตีปฏิบัติให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งมีสิทธิ

เรียกร้องค่าเสียหายเพื่อประโยชน์ของกองทรัสต์ ในกรณีที่ทรัสตีจัดการกองทรัสต์ไม่เป็นไปตามที่กำหนด

ไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือพระราชบัญญัตินี้

Page 39: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-39

ในกรณีที่ทรัสตีจัดการกองทรัสต์ไม่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในสัญญาก่อตั้งทรัสต์หรือพระราช-

บัญญัตินี้ อันเป็นผลให้ทรัพย์สินในกองทรัสต์ถูกจำหน่ายจ่ายโอนไปยังบุคคลภายนอก ผู้รับประโยชน์มี

สิทธิติดตามเอาทรัพย์สินคืนจากบุคคลนั้นเพื่อประโยชน์ของกองทรัสต์ได้ไม่ว่าบุคคลนั้นจะได้ทรัพย์สินมา

โดยตรงจากทรสัตีหรอืไม่และไม่วา่ทรพัยส์นิในกองทรสัต์จะถกูเปลีย่นรปูหรอืเปลีย่นสภาพไปเปน็ทรพัยส์นิ

อย่างอื่นก็ตามเว้นแต่เป็นการได้มาโดยสุจริตเสียค่าตอบแทนและไม่รู้หรือไม่มีเหตุอันควรรู้ว่าทรัพย์สินนั้น

ได้มาจากการจัดการกองทรัสต์โดยมิชอบ”

มาตรา 50 “กองทรัสต์เป็นทรัพย์สินที่มิอาจนำมาชำระหนี้ส่วนตัวของทรัสตีได้

ในกรณีที่ทรัสตีล้มละลายเนื่องจากหนี้ส่วนตัวหรือเมื่อความเป็นนิติบุคคลของทรัสตีสิ้นสุดลง

มิให้นำกองทรัสต์มารวมเป็นทรัพย์สินในคดีล้มละลายหรือในการชำระบัญชีแล้วแต่กรณี”

นอกจาก นี้ ยัง มี บทบัญญัติ ใน เรื่อง ความ ระงับ สิ้น ไป ของ ทรัสต์ (หมวด 5) การ กำกับ ดู แล ทรัส ตี

(หมวด 6) พนักงาน เจ้า หน้าที่ (หมวด 7) ตลอด จน บท กำหนด โทษ อายุ ความ และ คณะ กรรมการ เปรียบ เทียบ

ความ ผิด (หมวด 8) อัน เป็น มาตรการ เพื่อ ให้ กฎ หมาย สัมฤ ทธิ ์ผล

ตามพ ระ ราช บัญญัติ นี้ กำหนด ให้ “คณะ กรรมการ ก.ล.ต.” (คณะ กรรมการ กำกับ หลัก ทรัพย์ และ

ตลาดหลักทรัพย์ ตาม กฎหมาย ว่า ด้วย หลัก ทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ เป็น ผู้ กำกับ ดูแล ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม

ใน ตลาด ทุน และ รัฐมนตรี ว่าการ กระทรวง การ คลัง เป็น ผู้ รักษา การ ตาม กฎหมาย

(โปรดอ่านเนื้อหาสาระโดยละเอียดในบทความเรื่อง“ทรัสต์(TRUST)”วารสารทนายความพ.ศ.2516

ฉบับที่2หน้า9–13โดยจิตติติงศภัทย์บทความเรื่อง“ทรัสต์”ออนไลน์จากhttp://www.panyathai.or.th

โดยบัญญัติสุชีวะ;และพระราชบัญญัติทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุนพ.ศ.2550สามารถสืบค้นได้

จากแหล่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตหลายแหล่งเช่นเว็บไซต์ของสำนักงานก.ล.ต.หรือเว็บไซต์ของ

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา)

กิจกรรม4.2.3

บทบัญญัติ ใด ของ พระ ราช บัญญัติ ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน พ.ศ. 2550 ที่ แสดง ให้ เห็น

ถึง หลัก ความ แน่นอน สาม ประการ ใน การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์

Page 40: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-40

บันทึกคำตอบกิจกรรม4.2.3

(โปรดตรวจคำตอบจากแนวตอบในแนวการศึกษาหน่วยที่4ตอนที่4.2กิจกรรม4.2.3)

Page 41: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-41

แนวตอบกิจกรรมหน่วยที่4

หลักความเป็นธรรมทางกฎหมายและกฎหมายทรัสต์

ตอนที่4.1หลักความเป็นธรรมทางกฎหมายหรือเอ็คควิตี้

แนวตอบกิจกรรม4.1.1

อำนาจ ของ ศาล ชาน เซอ รี ที่ เกี่ยว กับ ทรัพย์สิน ซึ่ง ไม่มี ใน กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ที่ สำคัญ เช่น ทรัสต์

การ แยก ทรัพย์สิน ของ หญิง ที่ สมรส แล้ว การ จำนอง และ การ โอน สิทธิ เรียก ร้อง ตาม สัญญา

แนวตอบกิจกรรม4.1.2

การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable remedies) ที่ ยัง คง นำ มา ใช้ ใน ปัจจุบัน เช่น การ ปฏิบัติ การ บาง

อย่าง โดย เฉพาะ (specific performance) คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ หรือ หมาย อิน จัง ชัน (injunction) ค่า เสีย หาย ทาง

เอ็คค วิ ตี้ (equitable damages) การ แก้ ให้ ถูก ต้อง (rectification) และ การ เลิก สัญญา แล้วก ลับ คืน สู่ ฐานะ

เดิม (rescission)

ตอนที่4.2กฎหมายทรัสต์

แนวตอบกิจกรรม4.2.1

ทรัสต์ พัฒนา จาก ความ คิด เรื่อง “use” ใน สมัย กลาง เมื่อ บุคคล โอน ทรัพย์สิน ชนิด ใด แก่ บุคคล อีก

คน หนึ่ง โดย มี ความ เข้าใจ กัน ว่า บุคคล ผู้รับ โอน นั้น จะ ต้อง ถือ ทรัพย์ นั้น ไว้ เพื่อ ประโยชน์ ของ ผู้ โอน หรือ เพื่อ

บุคคล ที่ สาม (cestuiqueuse หรือ “ผู้รับ ประโยชน์”) บุคคล ที่ ได้ รับ ความ ไว้ วางใจ ให้ ดูแล ทรัพย์ (afeoffee

touse หรือ “ทรัส ตี”) อยู่ ใน สถานะ ที่ ได้ รับ ความ ไว้ วางใจ ซึ่ง อาจ นำ ไป ใช้ โดย ไม่ ชอบ ได้ ง่าย ผล ตาม มา ก็ คือ

สิทธิ ต่างๆ ของ ผู้รับ ประโยชน์ ต้อง ได้ รับ การ คุ้มครอง

แนวตอบกิจกรรม4.2.2

ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง ตั้ง ขึ้น เมื่อ ผู้ ก่อ ตั้ง ทำ อย่าง ใด อย่าง หนึ่ง ดัง ต่อ ไป นี้

1. มอบ กรรม สิทธิ ์ใน ทรัพย์ ที่ ใช้ ตั้ง ทรัสต์ ซึ่ง บาง กรณี เรียก ว่า ทรัพย์ ตาม ทรัสต์ ให้ แก่ ทรัส ตี หรือ

2. ประกาศ ตั้ง ตนเอง เป็น ทรัส ตี และ วางข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ เพื่อ จัดการ ทรัพย์สิน ที่ ตั้งใจ ให้ เป็น

ของ ทรัสต์

Page 42: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-42

หลัก เกณฑ์ ใน การ ตัดสิน ว่า ข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ ได้ ประกาศ อย่าง มี ผล สมบูรณ์ หรือ ไม่ ดู จาก ความ

แน่นอน สาม อย่าง เป็น หลัก พิสูจน์ กล่าว คือ ความ แน่นอน ทาง ความ ตั้งใจ ความ แน่นอน ใน ทรัพย์สิน และ ความ

แน่นอน ใน วัตถุประสงค์ (ซึ่ง รวม ถึง ผู้รับ ประโยชน์)

การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ โดย ชัด แจ้ง มี ลำดับ ดังนี้

1. ผู้ ก่อ ตั้ง ใน ฐานะ ผู้ ก่อ ตั้ง ไม่ อาจ เปลี่ยน ใจ และ เอา ทรัพย์ คืน

2. ทรัส ตี ต้อง ทำ กับ ตัว ทรัพย์ โดย เป็น ไป ตาม ข้อ กำหนด แห่ง ทรัสต์ และ หลัก กฎหมาย ทั่วไป (ซึ่ง มี ทั้ง

หลัก เอ็คค วิ ตี้ หลัก คอม มอน ลอว์ และ หลัก ที่ ปรากฏ ใน กฎหมาย ลาย ลักษณ์ อักษร ซึ่ง มี อยู่ หลาย ฉบับ ซึ่ง มี การ

แก้ไข และ เสริม เพิ่ม เติม กันเอง มา โดย ตลอด)

3. ผู้รับ ประโยชน์ (Beneficiary) ได้ ไป ซึ่ง ผล ประโยชน์ ตาม หลัก เอ็คค วิ ตี้ ซึ่ง เรียก ว่า “Equitable

Interests” และ ยัง มี สิทธิ ปกป้อง ผล ประโยชน์ เหล่า นี้ จาก การก ระ ทำ ของ คน อื่น เว้น แต่ ผู้รับ โอน ทรัพย์ ตาม

กฎหมาย ที่ ทำ โดย สุจริต (bonafide) และ เสีย ค่า ตอบแทน (for value) โดย ไม่รู้ เรื่อง นั้น มา ก่อน (without

notice)

แนวตอบกิจกรรม4.2.3

บทบัญญัติ ของ พระ ราช บัญญัติ ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน พ.ศ. 2550 ที่ แสดง ให้ เห็น ถึง หลัก

ความ แน่นอน สาม ประการ ใน การ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ เช่น

มาตรา 11 วรรค หนึ่ง ทรัสต์ ย่อม ก่อ ตั้ง ขึ้น เมื่อ มี การ ทำ สัญญา เป็น หนังสือ และ ผู้ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ ได้ โอน

ทรัพย์สิน หรือ ก่อ ทรัพย สิทธิ หรือ สิ ทธิ ใดๆ ที่ จะ ให้ เป็นก อง ทรัสต์ แก่ ทรัส ตี แล้ว

มาตรา 14 สัญญา ก่อ ตั้ง ทรัสต์ หาก มิได้ มี รายการ และ ข้อความ อย่าง น้อย ดัง ต่อ ไป นี้ ย่อม ตก เป็น

โมฆะ

(1) ชื่อ ผู้ ก่อ ตั้ง ทรัสต์ และ ทรัส ตี

(2) ผู้รับ ประโยชน์ โดย การ ระบุ ชื่อ หรือ คุณสมบัติ หรือ ลักษณะ ที่ แสดง ให้ เห็น ว่า บุคคล หนึ่ง บุคคล

ใด เป็น ผู้รับ ประโยชน์ ก็ได้

(3) วัตถุประสงค์ ของ ทรัสต์

(4) ทรัพย์สิน ที่ จะ ให้ เป็นก อง ทรัสต์

Page 43: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-43

แบบประเมินผลตนเองหลังเรียนวัตถุประสงค ์ เพื่อ ประเมิน ความ ก้าวหน้า ใน การ เรียน รู้ ของ นักศึกษา เกี่ยว กับ เรื่อง “หลัก ความเป็น ธรรม

ทาง กฎหมาย และ กฎหมาย ทรัสต์”

คำแนะนำ อ่าน คำถามแล้ว เขียน คำ ตอบ ลง ใน ช่อง ว่าง นักศึกษา มี เวลา ทำ แบบประเมิน ชุด นี้ 30 นาที

1. หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่ สำคัญ คือ อะไร บ้าง โปรด ยก ตัวอย่าง

2. จง อธิบาย เกี่ยว กับ การนำ หลัก กฎหมาย ว่า ด้วย ทรัสต์ มา ใช้ ใน ประเทศไทย

Page 44: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-44

เฉลยแบบประเมินผลตนเองหน่วยที่4

ก่อนเรียน1. หลัก ความ เป็น ธรรม ทาง กฎหมาย หรือ “เอ็คค วิ ตี้” (Equity) เป็น หลัก กฎหมาย ที่ พัฒนา ใน อังกฤษ

และ เวลส์ ใน ยุค กลาง มี ที่มา จาก คำ ตัดสิน ของ ขุนนาง ตำแหน่ง ชาน เซล เลอ ร์ เพื่อ เยียวยา คู่ ความ ใน กรณี ที่

กฎหมาย คอม มอน ลอว์ ไม่ สามารถ ให้การ เยียวยา ได้ เท่า ที่ ควร ต่อ มา พัฒนา เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ และ ถูก นำ ไป

ใช้ ใน ศาล พิเศษ เรียก ว่า “ศาล ชาน เซอ รี” (Court of Chancery)

เอ็คค วิ ตี้ มี พัฒนาการ มา ตาม ลำดับ โดย ระยะ แรก เป็นการ เสริม เพิ่ม เติม หลัก คอม มอน ลอว์ ต่อ มา นำ

มา ใช้ ร่วม กับ คอม มอน ลอว์ ใน ศาล ต่างๆ ปัจจุบัน ยัง คง มี แนว ความ คิด และ หลัก กฎหมาย ที่ ใช้ อยู่ โดย ศาล ของ

ประเทศ อังกฤษ และ ประ เท ศอื่นๆ ที่ ใช้ ระบบ กฎหมาย คอม มอน ลอว์

2. ทรัสต์ (Trusts) เป็น หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ สาขา หนึ่ง ซึ่ง พัฒนา จาก แนว ความ คิด ใน สมัย กลาง

ใน ส่วน ของ ความ หมาย ทรัสต์ คือ กอง ทรัพย์สิน ซึ่ง มี ผู้ ก่อ ตั้ง (Settlor) ตั้ง ขึ้น โดย เอกสาร เป็น หนังสือ ซึ่ง อาจ

จะ เป็น พินัยกรรม ก็ได้ มี ทรัส ตี (Trustee) เป็น เจ้าของ ทรัพย์ ตาม กฎหมาย และ มีหน้า ที่ จัดการ กอง ทรัพย์สิน

ให้ เป็น ไป ตาม วัตถุประสงค์ ของ ทรัสต์ เพื่อ ให้ ผล ประโยชน์ ซึ่ง อาจ จะ รวม ถึง ตัว ทรัพย์สิน ที่ ใช้ จัด ตั้ง ตก แก่ ผู้รับ

ประโยชน์ (Benificiary)

หลกั กฎหมาย ทรสัต ์ของ องักฤษ วาง หลกั เกณฑ ์ตา่งๆ เกีย่ว กบั ทรสัต ์เชน่ การ กอ่ ตัง้ ทรสัต ์การ แตง่ ตัง้

การ พน้ จาก การ ทำ หนา้ที ่และ การ ถอด ถอน ทรสั ต ีหนา้ที ่และ อำนาจ ของ ทรสั ต ีการ เปลีย่นแปลง ทรสัต ์ตลอด จน

หลัก เกณฑ์ ใน กรณี ที่ มี การ ละเมิด ทรัสต์

ตัวอย่าง หลัก กฎหมาย ที่ สำคัญ เช่น การ ก่อ ตั้ง ต้อง มี ความ แน่นอน สาม ประการ ได้แก่ ความ แน่นอน

ทาง ความ ตั้งใจ ความ แน่นอน ใน ทรัพย์สิน และ ความ แน่นอน ใน วัตถุประสงค์ หรือ หลัก เกี่ยว กับ หน้าที่ ของ

ทรัส ตี ใน การ จัดการ ทรัพย์สิน ใน กอง ทรัสต์ ด้วย ความ ซื่อสัตย์ สุจริต และ ระมัดระวัง เยี่ยง ผู้ มี วิชาชีพ (duty of

care)

Page 45: หน่วย ที่ หลัก ความ เป็น ธรรม ...4.2.1 ท มาและความ หมายของทร สต 4.2.2 หล กกฎหมาย

4-45

หลังเรียน1. หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่ สำคัญ ได้แก่ ทรัสต์ หลัก กฎ หมาย เอ็คค วิ ตี้ (equitable doctrines) อื่นๆ เช่น

อำนาจ ครอบงำ ผิด คลอง ธรรม หรือ การ ใช้ อิทธิพล อัน ไม่ เป็น ธรรม (undue influence) และ การ เก็บ รักษา

ความ ลับ (confidentiality) ตลอด จน การ เยียวยา ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable remedies) เช่น การ ปฏิบัติ การ

บาง อย่าง โดย เฉพาะ (specific performance) คำ สั่ง ให้ ร่วม มือ หรือ หมาย อิน จัง ชัน (injunction) ค่า เสีย หาย

ทาง เอ็คค วิ ตี้ (equitable damages) การ แก้ ให้ ถูก ต้อง (rectification) และ การ เลิก สัญญา แล้วก ลับ คืน สู่

ฐานะ เดิม (rescission)

2. ก่อน ที่ จะ มี ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ บรรพ 6 เมื่อ ปี พ.ศ. 2478 ประเทศไทย มี การ

ก่อ ตั้ง ทรัสต์ อยู่ บ้าง โดย พระบรม ราชโองการ ตาม พินัยกรรม หรือ นิติกรรม หรือ ก่อ ตั้ง ขึ้น ตาม กฎหมาย อังกฤษ

ซึ่ง ศาล ไทย ได้ นำ เอา กฎหมาย ลักษณะ ทรัสต์ ของ อังกฤษ ที่ เป็น หลัก เอ็คค วิ ตี้ ที่ เกิด ขึ้น มา ใช้ บังคับ โดยตรง

ต่อ มา เมื่อ มี การ ประกาศ ใช้ ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ ระยะ แรก รัฐ มีน โย บาย ที่ จะ ไม่ นำ หลัก กฎหมาย

ทรัสต์ มา ใช้ โดย บัญญัติ ห้าม ไว้ ใน มาตรา 1686 อย่างไร ก็ ดี ยัง คง มี รับรอง ฐานะ และ มี การ บังคับ ใช้ กฎหมาย แก ่

ทรัสต์ ที่ ได้ จัด ตั้ง ขึ้น ก่อน ใช้ ประมวล กฎหมาย แพ่ง และ พาณิชย์ บรรพ 6

ปัจจุบัน ประเทศไทย เล็ง เห็น ประโยชน์ ของ การ จัด ตั้ง ทรัสต์ เพื่อ ประโยชน์ ใน การ ทำ ธุรกรรม ใน

ตลาด ทุน ดัง นั้น จึง ได้ มี การ ตรา พระ ราช บัญญัติ ทรัสต์ เพื่อ ธุรกรรม ใน ตลาด ทุน พ.ศ. 2550 ขึ้น จึง ถือว่า

ประเทศไทย ยอมรับ ให้ มี การ จัด ตั้ง ทรัสต์ ได้ แต่ มี ข้อ จำกัด เฉพาะ เพื่อ วัตถุประสงค์ ใน การ ดำเนิน ธุรกรรม ใน

ตลาด ทุน เช่น การ ออก หลัก ทรัพย์ ตาม กฎหมาย ว่า ด้วย หลัก ทรัพย์ และ ตลาดหลักทรัพย์ การ แปลง สินทรัพย ์

เป็น หลัก ทรัพย์ ตาม กฎหมาย ว่า ด้วย นิติบุคคล เฉพาะ กิจ เพื่อ การ แปลง สินทรัพย์ เป็น หลัก ทรัพย์ หรือ ธุรกรรม

อื่น ใด ที่ เป็นการ ส่ง เสริม หรือ เอื้อ อำนวย ต่อ ตลาด ทุน เท่านั้น