8
1-1 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน บทที1 บทนํา-การเงินธุรกิจ (Introduction to Business Finance) 1-2 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน บทนํา-การเงินธุรกิจ โอกาสในการประกอบอาชีพทางการเงิน รูปแบบพื้นฐานของการจัดองคกรธุรกิจ หนาที่ของการเงินธุรกิจ เปาหมายของผูจัดการทางการเงิน สถาบันและตลาดการเงิน องคประกอบของอัตราดอกเบี้ย 1-3 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน การเงินคืออะไร การศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ สถาบัน ตลาด และเครื่องมือ ในการเคลื่อนยายเงินระหวาง บุคคล ธุรกิจ และรัฐบาล 1-4 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ การบริการทางการเงิน (Financial Services) ออกแบบ ใหคําแนะนํา และนําเสนอ ผลิตภัณฑทางการเงินแกบุคคล ธุรกิจ และรัฐบาล 1-5 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน ธนาคารและสถาบันการเงิน เจาหนาที่สินเชื่อ (Loan officer) ผูจัดการธนาคาร (Retail bank manager) เจาหนาที่ทรัสต (Trust officer) การวางแผนการเงินสวนบุคคล นักวางแผนทางการเงิน (Financial planner) สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) 1-6 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน การลงทุน นายหนาคาหลักทรัพย (Broker) นักวิเคราะห (Analyst) ผูจัดการกลุมหลักทรัพยลงทุน (Portfolio manager) อสังหาริมทรัพยและประกันภัย Mortgage banker Broker Insurance specialist สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) 1-7 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) การเงินธุรกิจ (Business Finance) การบริหารงานทางการเงินของธุรกิจ ทุกประเภท เปนหนาที่ของผูจัดการ ทางการเงิน 1-8 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ) การจัดทํางบประมาณ (Budgeting) การพยากรณทางการเงิน (Financial forecasting) การจัดการเงินสด (Cash management) การบริหารสินเชื่อ (Credit management) การวิเคราะหการลงทุน (Investment analysis) การจัดหาเงินทุน (Fund procurement) การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate risk hedging) 1-9 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน รูปแบบขององคกรธุรกิจ กิจการเจาของคนเดียว (Sole Proprietorships) หางหุนสวน (Partnerships : general and limited) บริษัทจํากัด (Corporations) รูปแบบทางกฎหมายขององคกรธุรกิจ มี 3 ประเภท ไดแก:

บทนํา บทที่ 1 - Pirun Web Serverfbusapp/images/ch-01-Intro2.pdfCapital Budgeting Cash Management Credit Management Dividend Disbursement Fin Analysis/Planning Pension

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

1-1 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

บทที่ 1บทนํา-การเงินธรุกิจ

(Introduction to Business Finance)

1-2 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

บทนํา-การเงินธุรกิจ

โอกาสในการประกอบอาชีพทางการเงินรูปแบบพื้นฐานของการจัดองคกรธุรกิจหนาที่ของการเงินธุรกิจเปาหมายของผูจัดการทางการเงินสถาบันและตลาดการเงินองคประกอบของอัตราดอกเบี้ย

1-3 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การเงินคอือะไร

การศึกษาเกี่ยวกบักระบวนการ สถาบัน ตลาด และเครื่องมือ ในการเคลื่อนยายเงินระหวางบุคคล ธุรกิจ และรัฐบาล

1-4 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ

การบริการทางการเงิน(Financial Services)ออกแบบ ใหคําแนะนํา และนําเสนอผลิตภัณฑทางการเงินแกบุคคล ธุรกิจ และรัฐบาล

1-5 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ธนาคารและสถาบันการเงินเจาหนาที่สินเชื่อ (Loan officer)ผูจัดการธนาคาร (Retail bank manager)เจาหนาที่ทรัสต (Trust officer)

การวางแผนการเงินสวนบุคคลนักวางแผนทางการเงิน (Financial planner)

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ)

1-6 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การลงทุนนายหนาคาหลักทรัพย (Broker)นักวิเคราะห (Analyst)ผูจัดการกลุมหลักทรัพยลงทุน (Portfolio manager)

อสังหาริมทรัพยและประกันภัยMortgage bankerBrokerInsurance specialist

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ)

1-7 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ)

การเงินธุรกิจ (Business Finance)การบริหารงานทางการเงินของธุรกิจทุกประเภท เปนหนาที่ของผูจัดการทางการเงิน

1-8 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สาขาหลักและโอกาสของอาชีพ (ตอ)

การจัดทํางบประมาณ (Budgeting)การพยากรณทางการเงิน (Financial forecasting)การจัดการเงินสด (Cash management)การบริหารสนิเชื่อ (Credit management)การวิเคราะหการลงทุน (Investment analysis)การจัดหาเงินทุน (Fund procurement)การบริหารความเสีย่งจากอัตราแลกเปลี่ยน (Exchange rate risk hedging)

1-9 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

รูปแบบขององคกรธุรกิจ

กิจการเจาของคนเดียว (Sole Proprietorships)

หางหุนสวน (Partnerships : general and limited)บริษัทจํากัด (Corporations)

รูปแบบทางกฎหมายขององคกรธุรกิจมี 3 ประเภท ไดแก:

1-10 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

เปนรูปแบบองคกรธุรกิจที่เกาแกที่สุดรายไดของธุรกิจ จะนํามาคํานวณ เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

กิจการเจาของคนเดียว -- ธุรกจิที่มีเจาของเพียงคนเดียวดําเนินงานเพื่อหวังผลกําไรของตนเอง และมีภาระความรับผิดชอบไมจํากัดจํานวน (Unlimited liability)

รูปแบบขององคกรธุรกิจ (ตอ)

1-11 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สรุปจุดแข็งและจุดออนของกิจการเจาของคนเดียว

จุดแข็งเจาของไดกําไรทั้งหมดตนทุนขององคกรต่ําจายภาษีเงินไดบุคคลธรรมดามีความเปนอสิระเลิกกิจการทําไดงาย

จุดออนรับผิดชอบหนี้ไมจํากัดมีขอจํากัดในการเพิ่มทุนและขยายกิจการเจาของตองรูทุกอยางขาดความตอเนื่องเมื่อเจาของตาย

1-12 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

รายไดของธรุกิจ จะนํามาคํานวณ เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ของหุนสวนแตละคน

หางหุนสวน -- ธุรกิจที่มีเจาของตั้งแต 2 คนขึ้นไป รวมลงทุนประกอบธุรกิจ เพื่อแสวงหากําไรดวยกัน

รูปแบบขององคกรธุรกิจ (ตอ)

1-13 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของหางหุนสวน

หางหุนสวนจํากัด (Limited Partnership) -- ผูเปนหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิดชอบ จะรับผิดชอบในหนี้สินของหางไมเกินกวาจํานวนที่ตนไดลงทุน ในหาง และตองมีหุนสวนที่ไมจํากัดความรับผิดชอบอยางนอย 1 คน

หางหุนสวนสามัญ (General Partnership) -- ผูเปนหุนสวนทุกคน ตองรับผิดชอบรวมกันเพื่อหนี้ทั้งปวง โดยไมจํากัดจํานวน

1-14 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

จุดแข็งเพิ่มทุนไดมากกวาเจาของคนเดียวมีอํานาจในการกูยืมมากกวามีอํานาจในการการคิดและทักษะในการจัดการมากกวาจายภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา

จุดออนหุนสวนสามัญรับผิดชอบหนี้สินไมจํากัดจํานวน และอาจตองรับผิดชอบหนี้ของหุนสวนดวยเมื่อหุนสวนตาย หางหุนสวนอาจตองเลิกไปการชําระกิจการหรือการโอนความเปนหุนสวนทําไดลําบากดําเนินการในธุรกิจขนาดใหญไดยาก

สรุปจุดแข็งและจุดออนของกิจการ หางหุนสวน

1-15 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

รายไดของธรุกิจ จะนํามาคํานวณ เสียภาษีเงินไดนิติบุคคล

บริษัทจํากัด (Corporation) -- ธุรกิจที่กําหนดโดยกฎหมายใหมอีํานาจเสมือนบุคคล ผูถือหุนเปนเจาของที่แทจริงของบริษัท รับผิดชอบจํากัดตามมลูคาหุนที่ลงทนุไป

รูปแบบขององคกรธุรกิจ (ตอ)

1-16 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

จุดแข็งรับผิดชอบหนี้สินจํากัดจํานวนความเปนเจาของสามารถโอนกันไดอายุของกิจการยาวไมตองเลิกเมื่อเจาของตายสามารถจางผูจัดการมืออาชีพขยายกิจการไดงาย เนื่องจากสามารถเขาถึงตลาดทุน

จุดออนจายภาษีสูงกวา เพราะเงินไดของบริษัทถูกคิดภาษ ี และเงินปนผลก็ถูกคิดภาษีอีกคาใชจายในการจัดการ องคกรสูงกวาแบบอื่น ไมเปนความลับ เพราะผูถือหุนตองไดรับรายงานทางการเงิน

สรุปจุดแข็งและจุดออนของกิจการ บริษัทจํากัด

1-17 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

โครงสรางของการเงินในองคกรความสัมพันธกบัเศรษฐศาสตรความสัมพันธกบัการบัญชีกิจกรรมที่สาํคญัของผูจัดการทางการเงิน

หนาที่ของการเงินธุรกิจ

1-18 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

โครงสรางของการเงินในองคกรStockholders

เลือก

President(CEO)

Vice PresidentManufacturing

Vice PresidentFinance :CFO

Vice PresidentMarketing

Treasurer Controller

Capital ExpenditureManager Credit

ManagerForeign

ExchangeManager

Financial Planning and Fund-Raising

ManagerCash

ManagerPension Fund

Manager

TaxManager

Cost AccountingManager

CorporateAccountingManager

FinancialAccountingManager

Board of Directors

จาง

1-19 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

Board of Directors

President(Chief Executive Officer)

Vice PresidentOperations

Vice PresidentMarketing

VP ofFinance

โครงสรางของการเงินในองคกร

1-20 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

TreasurerCapital BudgetingCash ManagementCredit Management

Dividend DisbursementFin Analysis/PlanningPension ManagementInsurance/Risk MngmtTax Analysis/Planning

VP of FinanceController

Cost AccountingCost ManagementData ProcessingGeneral Ledger

Government ReportingInternal Control

Preparing Fin StmtsPreparing Budgets

Preparing Forecasts

โครงสรางของการเงินในองคกร

1-21 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับเศรษฐศาสตร

เศรษฐศาสตรมหภาคผูจัดการทางการเงินตองเขาใจโครงสรางของเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และนโยบายทางเศรษฐกิจ

เศรษฐศาสตรจุลภาคนําทฤษฎมีาประยุกตใชในการดําเนินธุรกิจ เชน การวิเคราะหอุปสงคอุปทาน กลยุทธกําไรสูงสุด ทฤษฎีราคา และที่สําคัญคือการวิเคราะหสวนเพิ่ม

1-22 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับเศรษฐศาสตร (ตอ)

บริษัท นนทรี จํากัด จะซื้อคอมพิวเตอรใหมมาทดแทนเครื่องเกา ซึ่งจะประมวลผลได เร็วขึ้น ตนทุนของเครื่องใหม 80,000 บาท เครื่องเกาสามารถขายไดในราคา 28,000 บาท ผลประโยชนที่ไดรับจากการใชเครื่องใหม 100,000 บาท ผลประโยชนจากการใชเครื่องเกา 35,000 บาท

1-23 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับเศรษฐศาสตร (ตอ)

ผลประโยชนจากเครื่องใหม 100,000 บาทหัก ผลประโยชนจากเครื่องเกา 35,000

ผลประโยชนสวนเพิ่ม 65,000ตนทุนของเครื่องใหม 80,000หัก เงินรับจากการขายเครื่องเกา 28,000

ตนทุนสวนเพิ่ม 52,000ผลประโยชนสุทธิ 13,000

บริษัท นนทรี จํากัด ควรซื้อคอมพิวเตอรใหม1-24 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับการบัญชี

บัญชีเปนเรื่องเกี่ยวกับการบันทึกขอมูล กิจกรรมของธุรกิจในรูปของตัวเลข แลวสรุปออกมาเปนรายงานในรูปงบการเงิน

นักการเงินจะใชขอมูลและงบการเงินที่ไดรับจากนักบัญชีไปทําการวิเคราะหและตัดสินใจ

1-25 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับการบัญช ี(ตอ)

การเนนกระแสเงินสด นักบัญชีจะจัดทํางบ การเงินโดยใชเกณฑคงคางหรือเกณฑพึงรับพึงจาย ในขณะที่ผูจัดการทางการเงินจะใชเกณฑเงินสด

1-26 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับการบัญช ี(ตอ)

รางกาย= กิจการ

การเตนของหัวใจ= รายการคา

นักบัญชบีนัทึกการเตน :รายไดจากการขาย คาใชจาย กําไร

เลือดจากการเตนของหัวใจที่ผานหลอดเลือดแดงไปยังเซลลตาง ๆ และทําใหอวัยวะในรางกายทํางานตามปกติ= กระแสเงินสด

หัวใจแข็งแรง/เสนเลือดอุดตันกิจการกําไรดี/ขาดสภาพคลอง

1-27 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

บริษัทบางเขน มีผลการดําเนินงานในปที่ผานมาดังนี้ยอดขาย 100,000 บาท (ยังเก็บเงินไมได 50%)ตนทุนสินคาขาย 60,000 บาท (จายเงินหมดแลว)คาใชจาย 30,000 บาท (จายเงนิหมดแลว)

ความสัมพันธกับการบัญช ี(ตอ)

1-28 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

มุมมองนักบัญชีเกณฑคงคาง

100,000(60,000)40,000

(30,000)10,000

ความสัมพันธกับการบัญช ี(ตอ)

มุมมองนักการเงินเกณฑเงินสด

50,000(60,000)(10,000)(30,000)(40,000)

ยอดขายตนทุนขายกําไรขั้นตนคาใชจายกําไร(ขาดทุน)สุทธิ

1-29 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความสัมพันธกับการบัญช ี(ตอ)

การตัดสินใจ นักบัญชีจะสนใจในกระบวน การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนําเสนอในรูป ของงบการเงิน ผูจัดการทางการเงินจะ ประเมินงบการเงินของนักบัญชี จัดทําขอ มูลเพิ่มเติม และตัดสินใจดวยการประเมิน ความเสี่ยงและผลตอบแทน

1-30 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

กิจกรรมที่สําคัญของผูจัดการทางการเงิน

กิจกรรมที่สําคัญจะมีความสัมพันธกับงบดุลของกิจการ

สินทรัพยหมุนเวียนสินทรัพยถาวร

หนี้สินหมุนเวียนเงินทุนระยะยาว

งบดุลตัดสินใจลงทุน

ตัดสินใจจัดหาแหลงเงินทุน

วเิคราะหและวางแผนทางการเงิน

1-31 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

กิจกรรมที่สําคัญของผูจัดการทางการเงิน (ตอ)

กิจกรรมหลักคือการวิเคราะหและวางแผนทางการเงนิ

(หรือ การบริหาร)การตดัสินใจลงทนุ

และ การตัดสินใจจดัหาแหลงเงนิทุน1-32 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การวิเคราะหและวางแผนทางการเงิน (การบริหาร)

ติดตามดูฐานะทางการเงินของกิจการโดยการวิเคราะหอัตราสวนและรอยละของขนาดรวมประเมินความจาํเปนในการเปลี่ยนแปลงกําลังการผลิตประเมินความจาํเปนในการเปลี่ยนแปลงแหลงเงินทุนพิจารณาวากิจการบริหารสินทรัพยที่มีอยู อยางมีประสทิธิภาพเพียงใด?สวนใหญเนนในเรื่องของ การบริหารสินทรัพยหมุนเวียน มากกวา การบริหารสินทรัพยถาวร

1-33 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การตัดสินใจลงทนุ

ขนาดของกจิการที่เหมาะสม?กิจการควรลงทุนในสินทรัพยแตละประเภทเทาใด?สินทรัพยใดบางที่กิจการควรลดจํานวนลง?

พิจารณา 3 เรื่องสําคัญ คือ

1-34 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การตัดสินใจจดัหาแหลงเงินทนุ

กิจการควรจัดหาเงินจากแหลงใด? สัดสวนของแหลงเงินทุนที่เหมาะสม?นโยบายเงินปนผลที่ดีที่สุดเปนอยางไร?วิธีการจัดหาเงินทุน?

กําหนดวาสินทรัพยที่กิจการลงทุน (รายการดานซายมือของงบดุล) ควรจัดหาเงนิทุนจากแหลงใด (รายการดานขวามือของงบดุล)

1-35 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

เปาหมายของผูจัดการทางการเงนิ

เพิ่มความมัง่คั่งสูงสุด แกผูถือหุน!

การเพิ่มมลูคา เกิดขึ้น เมื่อทําให ราคาหุนสามัญ ณ ปจจุบันมีคาสูงสุด

1-36 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ทํากําไรสูงสุด(Profit Maximization)

ไมคํานึงถึงจังหวะเวลาที่ไดรับผลตอบแทนตองพิจารณาวากระแสเงินสดที่ผูถือหุนสามัญจะไดรับคือ เงินสดปนผลและกําไรจากการเปลี่ยนแปลงราคา ไมใชกําไรของกิจการละเลยการพิจารณาความเสี่ยง

นักการเงนิจะเลือก ทางเลือก ที่ทําใหเกดิผลตอบแทน (ซึ่งเปนตัวเงนิ) ที่คาดหวัง สูงสุด

เปาหมายนี้สามารถทํากําไรไดในระยะสั้น (ในปจจุบัน)แตจะเปนการทําใหเกิดผลเสียแกกจิการในระยะยาว เชนเลื่อนการบํารุงรักษาเครื่องจักรออกไปเพื่อประหยัดคาใชจาย

1-37 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

จุดแข็งของการเพิ่มมูลคาสูงสุดแกผูถือหุนสามัญ

จะคํานึงถึง: กําไรของกิจการในปจจุบันและอนาคต จังหวะการเกิดและความเสี่ยงของกระแสเงินสด และนโยบายเงินปนผลดังนั้น ราคาหุน จะเปนตัววัดผลการดําเนินงานของธุรกิจมลูคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ (EVA) เปนเครื่องมือวัดวา การลงทุนนั้นชวยใหเกิดความมั่งคั่งแกเจาของมากนอยเพียงใด

1-38 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ผูมีสวนไดเสียในกิจการ (Stakeholders)

กลุมบุคคลที่มีความเกี่ยวของทางเศรษฐกิจโดยตรงตอกิจการ

ลูกจางลูกคาผูขายของใหกิจการเจาหนี้เจาของ

1-39 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

โครงสรางของกจิการในปจจุบัน

ในโครงสรางนี้จะแยกหนาที่ระหวางเจาของและผูจัดการบริษัท

บริษัทที่ทันสมยัในปจจุบัน

ผูถือหุนสามัญ ฝายบริหาร

1-40 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเด็นเรื่องตัวแทน

ตัวแทน คือบุคคลที่ไดรับการวาจาง หรือไดรับมอบอํานาจการตัดสินใจในการบริหารกิจการเพื่อผลประโยชนของเจาของผูจัดการทําหนาที่เปนตัวแทนของเจาของกิจการแตอาจมีความขัดแยงกันในเรื่องผลประโยชนความขัดแยงเรื่องตัวแทนทําใหเกิดตนทุน เชน การตรวจสอบบัญชี

ฝายบริหารจะปฏิบัติตัวเปนเสมอืน ตัวแทน (agent) ของเจาของ (ผูถอืหุนสามัญ) ของกิจการ

1-41 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ปญหาตัวแทน (Agency Problem)

สิ่งจูงใจไดแก สิทธิในการซื้อหุนของกิจการ เงินโบนัส และสิทธพิิเศษอื่น เชนเปนสมาชิกสโมสรชั้นนํา รถประจําตําแหนงราคาแพง ที่ทํางานหรูหรา

ผูถือหุนตองให สิ่งจูงใจ (incentives) เพื่อใหฝายบริหารกระทําการเพื่อประโยชนที่ดีที่สุดของเจาของ และติดตาม (monitor) ผลที่เกิดขึ้น

1-42 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

สภาพแวดลอมทางการเงิน

ผูจัดการทางการเงินตองติดตอกับแหลงเงินทุนอยางตอเนื่อง ซึ่งสามารถหาได 3 ทางคือ

ผานสถาบันการเงินผานตลาดการเงินการขายหลักทรัพยโดยตรง

1-43 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ประเภทของสถาบันการเงิน

ธนาคารพาณิชยSavings and LoansCredit Unions

} สถาบันรับฝากเงิน

•รับฝากเงิน•ปลอยกู

1-44 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

บริษัทเงินทุนบริษัทประกันภัยกองทุนบําเหน็จบํานาญ

•ไดรับเงินทุนมาจากการกูยืมการขายกรมธรรมประกันภัย •ใชเงินทุนซื้อหลักทรัพย และปลอยกู

} สถาบันที่ไมรับฝากเงิน

ประเภทของสถาบันการเงิน (ตอ)

1-45 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ตลาดการเงิน (Financial Markets) ประกอบดวยสถาบันและกระบวนการที่จะนําผูซื้อและผูขายเครื่องมือทางการเงินมาพบกันวัตถุประสงคของตลาดการเงินคือ จัดสรรเงินออมไปถงึผูบริโภคขั้นสุดทาย (ultimate users) อยางมปีระสิทธิภาพตนทุนของเงินทุนกําหนดโดยอัตราดอกเบี้ย

สภาพแวดลอมทางการเงิน (ตอ)

1-46 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

วัตถุประสงคของระบบการเงิน คือ นําบุคคล ธุรกิจ และหนวยงานรัฐบาลทีม่เีงนิออม และที่ตองการใชเงนิทุนมาพบกัน

ระบบการเงิน (Financial System)

1-47 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ออมเงิน

กูเงินกูเงิน

ออมเงิน

ระบบการเงิน (ตอ)

1-48 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

เงินทุนสามารถเคลือ่นยายผานระบบการเงิน โดยนําเงินทุนไปแลกเปนหลักทรัพยหลักทรัพยเปนเอกสารแสดงสิทธิที่จะไดรับเงินทุนในอนาคตตัวกลางทางการเงิน ชวยสนับสนุนกระบวนการเคลือ่นยายเงิน

ระบบการเงิน (ตอ)

1-49 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ

ตัวกล

างทา

งการเงิน

ผูมีเงินทุน / ผูออม

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

ตลาดรอง

ผูตองการเงินทุน

1-50 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวกล

างทา

งการเงิน

ผูมีเงินทุน / ผูออม

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

ตลาดรอง

ผูตองการเงินทุน

ธุรกิจรัฐบาลครัวเรือน

ผูตองการเงินทุน

1-51 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวกล

างทา

งการเงิน

ผูมีเงินทุน / ผูออม

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

ตลาดรอง

ผูมีเงินทุน / ผูออม

ครัวเรือนธุรกิจรัฐบาล

ผูตองการเงินทุน

1-52 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวกล

างทา

งการเงิน

ผูมีเงินทุน / ผูออม

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

ตลาดรอง

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

Investment Bankers

Mortgage Bankers

ผูตองการเงินทุน

1-53 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)ตัว

กลาง

ทางก

ารเงิน

ผูมีเงินทุน / ผูออม

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

ตลาดรอง

ตัวกลางทางการเงิน

ธนาคารพาณชิยบริษัทประกันภัย

กองทุนบําเหน็จบํานาญบริษัทเงินทุนกองทุนรวม

ผูตองการเงินทุน

1-54 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

การไหลของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ตอ)

ตัวกล

างทา

งการเงิน

ผูมีเงินทุน / ผูออม

นายหนาซื้อขายหลักทรัพย

ตลาดรอง

ตลาดรอง

ตลาดหลักทรัพยที่จัดตั้งเปนทางการตลาดซื้อขายนอก

ระบบ

ผูตองการเงินทุน

1-55 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ตลาดการเงิน(Financial Markets)

แบงประเภทตามลักษณะของผูที่มีสวนรวมในตลาดและหลักทรัพยที่เกี่ยวของตลาดแรก เปนสถานที่ซึ่งหนวยเศรษฐกิจขาย หลักทรัพยออกใหม

ธุรกจิขายหลกัทรัพยเพื่อระดมเงินทุนไปใชในกิจการ

1-56 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒนหลักทรัพย

เงินทุน

ตลาดแรก

ตลาดการเงิน (ตอ)

1-57 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

แบงประเภทตามลักษณะของผูที่มีสวนรวมในตลาดและหลักทรัพยที่เกี่ยวของตลาดแรก เปนสถานที่ซึ่งหนวยเศรษฐกิจ ขาย หลักทรัพยออกใหมตลาดรอง เปนสถานที่นักลงทุนซื้อขายหลักทรัพยกัน

ตลาดการเงิน (ตอ)

1-58 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

หลักทรัพย

เงินทุน

ตลาดรอง

ตลาดการเงิน (ตอ)

1-59 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ตลาดเงิน และ ตลาดทุนตลาดเงิน (Money Market)

ซื้อขายตราสารหนี้ระยะสัน้ (นอยกวา 1 ป) เชน ตั๋วเงินคงคลัง ตราสารพาณิชย

ตลาดทุน (Capital Market)ซื้อขายหลักทรัพยระยะยาว เชน หุนกู หุนสามัญ

ตลาดการเงิน (ตอ)

1-60 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒนหลักทรัพย

หลักทรัพย฿฿

฿฿

ตัวกลางทางการเงิน เชน ธนาคารพาณิชย และบริษัทประกันภัย ชวยสนับสนุนใหการไหลของเงินทุนในตลาดการเงินเกิดขึ้นสะดวก

ตลาดการเงิน (ตอ)

1-61 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

หลักทรัพยในตลาดเงิน

ตั๋วเงินคงคลัง (Treasury Bills)บัตรเงินฝาก (Certificates of Deposit)ตราสารพาณิชย (Commercial Paper)ตั๋วเงินที่ธนาคารรับรอง (Banker’s

Acceptances)

1-62 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ

อัตราดอกเบี้ย กําหนดโดยอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (Real Rate of Interest)อัตราเงินเฟอที่คาดหมาย (Expected Inflation)ความเสีย่งในการผิดนัดชําระหนี ้(Default Risk)ความเสีย่งของระยะเวลาครบกําหนดชําระ (Maturity Risk)ความเสีย่งของสภาพคลอง (Liquidity Risk)

1-63 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงเปนคาตอบแทนที่ผูตองการเงินทุนจายใหแกผูใหเงินทุน (ผูออม) สําหรับคาเสียโอกาสในการเลื่อนใชเงินทุนออกไป

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-64 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

อัตราเงินเฟอที่คาดหมายเงินเฟอทําใหอํานาจซือ้ของเงินลดลงตัวอยางเชน: หากนิสิตใหเพื่อนกูยืมเงินจํานวน 1,000 บาทและเพื่อนของนิสิตจายคืนเงินในอีก 1 ปตอมาพรอมกับดอกเบี้ย 10% นิสิตจะไดรับเงิน 1,100 บาท แตถาเงินเฟอเพิ่มขึ้น 5% ทาํใหสินคาตนทุน 1,100 บาทในตอนตนป กลายเปนมีตนทุนในขณะนี้ 1,100(1.05) = 1155 บาท

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-65 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความเสี่ยงในการผิดนัดชําระหนี้ความเสี่ยงที่ผูใหกูจะไมไดรับการจายชําระหนี้คืนตามกําหนดหากโอกาสที่จะผิดนัดชําระหนี้มาก อัตราดอกเบี้ยที่กําหนดก็จะสูงตาม

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-66 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความเสี่ยงของระยะเวลาครบกาํหนดถาอัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ผูใหกูจะรูสึกวาเงินทีเ่ขาปลอยกู จายดอกเบี้ยในอัตราทีต่่ํากวา ดอกเบี้ยที่เขาสามารถไดรับจากการปลอยกูใหมความเสี่ยงของเหตุการณนี้จะสูงขึ้น หากระยะเวลาที่จะครบกําหนดไถถอนนานขึ้นผูใหกูจะปรับสวนชดเชยความเสี่ยงที่เขาคิดจาก ผูกูตามความเสี่ยงที่เขาคาดการณ

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-67 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

ความเสี่ยงของสภาพคลองการลงทุนที่ขายไดงาย โดยไมทําใหเสยีราคาเปนการลงทุนที่มีสภาพคลองหลักทรัพยที่ไมมีสภาพคลอง ตองการอัตราดอกเบี้ยที่สูงเพื่อชดเชยแกผูใหกู

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-68 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

k1 = อัตราดอกเบี้ยที่เปนตัวเลขของหลักทรัพย 1

k* = อัตราดอกเบี้ยที่แทจริงIP = สวนชดเชยเงินเฟอRP1 = สวนชดเชยความเสี่ยง

k1 = k* + IP + RP1

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-69 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

โครงสรางระยะเวลาของอัตราดอกเบี้ยความสัมพันธระหวางอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นและระยะยาวเสนอัตราผลตอบแทน

อัตราดอกเบี้ย หรือผลตอบแทนที่ตองการ (ตอ)

1-70 ผศ.ดร.อภิชาติ พงศสุพัฒน

โครงสรางระยะเวลาของอัตราดอกเบี้ย(Term Structure of Interest Rates)

เสนอัตราผลตอบแทน (yield curve) เปนเสนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนและระยะเวลาครบกําหนดไถถอนของหลักทรัพย

Upward Sloping Yield Curve

Downward Sloping Yield Curve

02

46

810

อัตราผล

ตอบแ

ทน (%

)

0 5 10 15 20 25 30

(ปกติ)

(ไมปกติ)

ระยะเวลาที่ครบกําหนด

Flat Yield Curve