30
บททีบทที4 โคมไฟฟา โคมไฟฟา 4.1 ความนํา โคมไฟฟา (luminaire) หรือดวงโคม เปนอุปกรณสําหรับติดตั้งหลอดไฟใหสามารถตอเขา กับระบบไฟฟา ทําใหติดสวางและเปนตัวกระจายแสงไปยังพื้นที่ใชงานได ในที่นี้คําวาโคมไฟฟา จะ หมายถึงเฉพาะตัวโคมไมรวมหลอดไฟ แตโดยทั่วไปอนุโลมหมายรวมถึงทั้งสองสวนได โคมบาง ชนิดใชกับหลอดไฟไดหลายชนิดและหลายขนาดวัตต เชน โคมหลอดไอปรอท สามารถใชไดกับหลอด โซเดียมความดันสูงหรือหลอดเมทัลฮาไลด ซึ่งเปนหลอดตระกูลคายประจุความดันสูงดวยกัน เปนตน โคมบางชนิดก็ใชกับหลอด ไฟประเภทหนึ่งประเภทเดียว เชน โคมหลอดฟลูออเรสเซนต เปนตน นอกจากทําหนาที่ใหแสงสวางแลว โคมไฟฟายังเปนสวนหนึ่งของการตกแตงอาคาร อาคารที่ตองการ ความหรูหรา สวยงามและภูมิฐาน มักอาศัยโคมไฟฟาที่มี รูปลักษณที่สวยงาม ชวยตกแตงใหอาคาร ดูสวยงามมากยิ่งขึ้น ดังนั้นโคมไฟฟานอกจากจะมีความสําคัญดานการสองสวางแลว ยังมีความสําคัญ ดานการตกแตงซึ่งผูออกแบบจะตองเรียนรูและคํานึงถึงทุก ๆ การออกแบบ 4.2 ประเภทของโคมไฟฟา โคมไฟฟาแบงออกเปนหลายประเภท เชน จัดแบงตามรูปทรงหรือชนิดของหลอด ตาม การนําไปใชงาน ตามลักษณะการติดตั้งและลักษณะของการกระจายแสง สอดคลองกับการจัดแบงโดย ชาญศักดิอภัยนิพัฒน (2550, หนา 127) โดยผูเขียนไดเรียบเรียงเนื้อหามาจากหลายแหลง ดังนี 4.2.1 ประเภทของโคมไฟฟาแบงตามรูปทรงและชนิดของหลอดไฟฟา รูปทรงของหลอดมักเปนตัวกําหนดลักษณะของโคม เชน โคมฟลูออเรสเซนต มี รูปทรงยาว วงกลมหรือเหลี่ยมตามรูปทรงของหลอดที่ตรงหรือขดเปนวง ดังภาพที่ 4.1

โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

บทที่บทที่ 44

โคมไฟฟาโคมไฟฟา

4.1 ความนํา

โคมไฟฟา (luminaire) หรือดวงโคม เปนอุปกรณสําหรับติดต้ังหลอดไฟใหสามารถตอเขา

กับระบบไฟฟา ทําใหติดสวางและเปนตัวกระจายแสงไปยังพื้นที่ใชงานได ในที่น้ีคําวาโคมไฟฟา จะ

หมายถึงเฉพาะตัวโคมไมรวมหลอดไฟ แตโดยทั่วไปอนุโลมหมายรวมถึงทั้งสองสวนได โคมบาง

ชนิดใชกบัหลอดไฟไดหลายชนิดและหลายขนาดวัตต เชน โคมหลอดไอปรอท สามารถใชไดกับหลอด

โซเดียมความดันสูงหรือหลอดเมทัลฮาไลด ซึ่งเปนหลอดตระกูลคายประจุความดันสูงดวยกัน เปนตน

โคมบางชนิดก็ใชกับหลอด ไฟประเภทหน่ึงประเภทเดียว เชน โคมหลอดฟลูออเรสเซนต เปนตน

นอกจากทําหนาทีใ่หแสงสวางแลว โคมไฟฟายังเปนสวนหนึ่งของการตกแตงอาคาร อาคารที่ตองการ

ความหรูหรา สวยงามและภูมิฐาน มักอาศัยโคมไฟฟาที่มี รูปลักษณที่สวยงาม ชวยตกแตงใหอาคาร

ดูสวยงามมากยิ่งขึ้น ดังน้ันโคมไฟฟานอกจากจะมีความสําคัญดานการสองสวางแลว ยังมีความสําคัญ

ดานการตกแตงซึ่งผูออกแบบจะตองเรียนรูและคํานึงถึงทุก ๆ การออกแบบ

4.2 ประเภทของโคมไฟฟา

โคมไฟฟาแบงออกเปนหลายประเภท เชน จัดแบงตามรูปทรงหรือชนิดของหลอด ตาม

การนําไปใชงาน ตามลักษณะการติดตั้งและลักษณะของการกระจายแสง สอดคลองกับการจัดแบงโดย

ชาญศักด์ิ อภัยนิพัฒน (2550, หนา 127) โดยผูเขียนไดเรียบเรียงเน้ือหามาจากหลายแหลง ดังน้ี

4.2.1 ประเภทของโคมไฟฟาแบงตามรูปทรงและชนิดของหลอดไฟฟา

รูปทรงของหลอดมักเปนตัวกําหนดลักษณะของโคม เชน โคมฟลอูอเรสเซนต มี

รูปทรงยาว วงกลมหรือเหลี่ยมตามรูปทรงของหลอดที่ตรงหรือขดเปนวง ดังภาพที่ 4.1

Page 2: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

ภาพท่ี 4.1 โคมสาํหรับหลอดฟลอูอเรสเซนต

โคมสําหรับ หลอด อินแคนเดสเซนต หลอดฮาโลเจน หลอดคายประจุความดันสงู และ

หลอดฟลอูอเรสเซนตแบบคอมแพ็ กต โดยทั่วไปมักจะมีลักษณะทรงกลมตามลักษณะของหลอด ดัง

ภาพที่ 4.2 เปนตัวอยางของโคมพริสเมติกที่ใชงานกับหลอดฮาโลเจน ใชในรานอาหารแหงหน่ึง

ภาพท่ี 4.2 โคมพริสเมติกรูปทรงกลมใชงานกับหลอดฮาโลเจน

ในที่น้ีจะขอกลาวถึงรายละเอียดเพิ่มเติม สําหรับของโคมไฟฟาที่นิยมใชกันมาก 2 ชนิด

ดังน้ี

4.2.1.1 โคมฟลูออเรสเซนต เปนโคมชนิดที่ใชกันอยางแพรหลายมากที่สุด

เน่ืองจากหลอดฟลอูอเรสเซนตมี คาดัชนีความถูกตองของ สี (CRI) ดี มีประสิทธิผลการสองสวางสูง

ดังที่ ระบไุวในเว็บไซตสมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย (255 0) วา “หลอดฟลอูอเรสเซนตเปน

หลอดไฟที่ใชกันมากเพราะมีคาประสิทธิผลการสองสวางสูง โคมไฟสําหรับหลอดฟลูออเรสเซนตจึงมี

หลากหลายรูปแบบเพื่อใหเหมาะกับการใชงาน ที่แตกตางกนัไป ” และยังกลาวถึงการจัดแบงประเภท

ของโคมฟลอูอเรสเซนตไว 4 ประเภท ผูเขียนไดเรียบเรียงและนํามาเสนอ ดังน้ี

Page 3: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

85

4.2.1.1.1 โคมฟลูออเรสเซนตเปลือย (Bare Type Luminaire) โคมแบบ

เปลอืยก็คือโคมที่มองเห็น ตัวหลอดแบบไมมีอะไรปดบัง แบบนี้ดีในแงราคาถูกและไดปริมาณฟลักซ

สองสวางกระจายออกมามาก แตมักมีปญหาเร่ืองแสงบาดตา นอกจากกระจายแสงโดยตัวโคมเองแลว

ยังอาศัยเพดานหรือฝาที่มีสีออนเปนตัวชวยกระจายแสงไปทั่วบริเวณ ดังภาพที่ 4.3 เปนโคมแบบ

เปลอืยทีใ่ชในลานจอดรถแหงหน่ึง

ภาพท่ี 4.3 โคมฟลอูอเรสเซนตแบบเปลอืย

4.2.1.1.2 โคมฟลอูอเรสเซนตแบบโรงงาน (Industrial Luminaire) โคม

แบบโรงงานคือแบบที่มีเฉพาะแผนสะทอนแสง ( reflector) ทําหนาที่กระจายและควบคุมทิศทางแสง

โดยไมมีตัวชวยกระจายแสงอ่ืน ๆ อีก แผนสะทอนแสงอาจทํามาจากอลูมิเนียมแผนที่มีความมันวาว

หรือเหล็กแผนพนสีขาว เปนตน โคมชนิดน้ีมักใชในโรงงาน หรือโกดังเก็บของซึ่งไมตองการความ

สวยงามจากตัวโคมมากนัก ดังตัวอยาง ในภาพที่ 4.4 เปนโคมแบบโรงงานที่ใชในโกดังเก็บของแหง

หน่ึง

ภาพท่ี 4.4 โคมฟลูออเรสเซนตแบบโรงงาน

4.2.1.1.3 โคมฟลูออเรสเซนตแบบกรองแสง (Diffuser Luminaire) โคม

แบบกรองแสงจะมแีผนกรองแสง (diffuser) ปดตัวหลอดไวอีกที วัสดุกรองแสงอาจเปนพลาสติกแบบ

Page 4: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

86

ขาวขุน (opal) แบบเกร็ดแกว ( prismatic) หรือแบบผิวสม (stipple) ทําใหโคมไฟดูสวยงามขึ้น การ

กระจายแสงเปนไปดวยความนุมนวลมากขึ้น ปญหาเร่ืองแสงบาดตาจึงลดลง ดังในภาพที่ 4.5 เปนโคม

ที่มีแผนกรองแสงแบบผิวสมชนิดฝงในฝาและชนิดติดลอย

ภาพท่ี 4.5 โคมฟลอูอเรสเซนตแบบกรองแสง

4.2.1.1.4 โคมฟลูออเรสเซนตแบบตะแกรง (Louver Luminaire) แบบน้ี

จะมีแผนอลูมิเนียมทําเปนตะแกรง ( louver ) ดังตัวอยางในภาพที่ 4.6 ตะแกรงจะชวยกําบังแสงเพื่อทํา

หนาที่ลดแสงบาดตาโดยเฉพาะ ใชงานทั่วไป เชน ในหองพกั อาคารสํานักงาน สถานศึกษา เปนตน

ภาพท่ี 4.6 โคมฟลอูอเรสเซนตแบบตะแกรง

4.2.1.2 โคมไฟสองลง เปนโคมชนิดที่ควบคุมใหแสงกระจายลงเฉพาะดานลาง หาก

ไมจงใจมองยอนขึ้นไปก็จะไมเกิดปญหาเร่ืองแสงบาดตา ใชไดกับหลอดอินแคนเดสเซนต ฟลอูอเรส

เซนตแบบคอมแพ็กต และยังมีโคมไฟสองลงที่ใชหลอดแอลอีดี ดังไดกลาวแลวในบทที่ 2 แตปจจุบัน

ยังไมแพรหลายมากนัก ใน กรณีที่เพดานอยูสูงมาก ๆ หากตองการใชหลอดคายประจุความดันสูงก็

สามารถใชได การใชงานโดยทั่วไปมักมีการติดต้ังแบบฝงกับฝาเพดานแตก็อาจพบการติดต้ังแบบอ่ืน ๆ

เชน แบบแขวน แบบลอย และแบบกึ่งฝงกึ่งลอย เปนตน ทั้ง 4 แบบมีลักษณะดังภาพที่ 4.7

Page 5: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

87

ภาพท่ี 4.7 โคมไฟสองลงชนิดสําหรับการติดต้ังแบบตาง ๆ

ท่ีมา : สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย, 2550

4.2.2 ประเภทของโคมไฟฟาแบงตามสภาพการใชงาน

โคมที่ใชงานโดยทั่วไปเชนตามอาคารสํานักงาน รานคา สถานศึกษา อาจมีความ

แตกตางกันไมมาก นัก แตในกรณีงานที่มีไอสารเคมีกัดกรอน ไอนํ้ามัน ที่ที่มีความชื้นสูง จะตอง

เลอืกใชโคมที่สามารถทนตอสภาพแวดลอมน้ัน ๆ ได อีกทั้งโคมไฟจะตองไมกอมีประกายไฟที่จะจุด

ติดไอระเหยได ตัวอยางเชน ในภาพที่ 4.8 เปนโคมฟลอูอเรสเซนตชนิดปองกนั ไอระเหยจากแกสได

ติดต้ังในถานีบริการแกสรถยนต ( LPG) แหงหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร สวนภาพที่ 4.9 เปนโคมไฟ

ถนนที่พบโดยทั่วไป

ภาพท่ี 4.8 โคมฟลอูอเรสเซนตชนิดปองกนัไอระเหยจากแกสได

โคมไฟสองลงชนดิลอย

โคมไฟสองลงชนิดก่ึงฝงก่ึงลอย

โคมไฟสองลงชนดิแขวน โคมไฟสองลงชนิดฝง

Page 6: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

88

ภาพท่ี 4.9 โคมไฟถนน

ในภาพที่ 4.10 เปน การใชงาน โคมฉายกับสนามกีฬา ซึ่งโคมฉายมีลักษณะพิเศษ ซึ่ง

สามารถปรับมุมฉายแสงได ทําใหสามารถควบคุมตําแหนงของการสองสวางไดดี

ภาพท่ี 4.10 โคมฉายสําหรับสนามกีฬา

ท่ีมา : บริษัทฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย), 2550

4.2.3 ประเภทของโคมไฟฟาแบงตามลักษณะการติดตั้ง

สถานที่ใชงานเปนอีกเงื่อนไขหน่ึงที่กําหนดลักษณะของโคมใหมีรูปรางที่แตกตาง

ออกไปเพื่อใหงายตอการติดต้ัง มีความสวยงาม และสามารถจัดทิศทางการกระจายแสงไปยังพื้นผิว

งานไดงาย กรณีน้ีโคมไฟฟาถูกจัดแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

Page 7: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

89

4.2.3.1 โคมไฟฟาสําหรับติดตั้งแบบหอยหรือแขวนจากเพดาน (Pendant

Mounted) ใชในกรณีที่เพดานสูงจากผิวงานมาก จึงแขวนลดระดับลงมาใหไดรับความสองสวางมากขึ้น

เชน โคมฟลอูอเรสเซนต ดังภาพที่ 4.11 ก. ที่สถานรับเลี้ยงเด็กออนแหงหน่ึง สวน โคมที่ใชกับอาคาร

ที่มีหลังคาสูงตามปกติ คือโคมหลอด คายประจุความดันสูง ที่ใหความสองสวางมาก เชนโคมไฮเบย

(high bay) พบเห็นทั่วไปไดในหอประชมุ โรงงานอุตสาหกรรม ซุปเปอรมาเก็ต เปนตน ดังในภาพที่

4.11 ข. เปนโคมไฮเบยติดต้ังในหอประชุมระดับชาติแหงหน่ึง

ก. ข.

ภาพท่ี 4.11 ตัวอยางโคมไฟฟาชนิดติดต้ังแบบแขวน

4.2.3.2 โคมไฟฟาสําหรับติดตั้งติดกับเพดาน (Ceiling Mounted) ใชในกรณีที่เพดาน

สูงจากผิวงานไมมากนัก ปกติติดต้ังสูงไมเกิน 3 เมตร โคมที่ใชมักเปนโคมฟลูออเรสเซนต ดังภาพที ่4.12

พบเห็นไดโดยทั่วไป เชน ตามอาคารสํานักงาน ที่พักอาศัย สถานศึกษา เปนตน

ก. ติดต้ังบนผนัง ข. ติดต้ังบนเพดาน

ภาพท่ี 4.12 โคมฟลอูอเรสเซนตชนิดติดต้ังบนเพดานหรือผนัง

Page 8: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

90

4.2.3.3 โคมไฟฟาสําหรับติดตั้งแบบซอนในฝาหรือเพดาน (Ceiling Mounted) ใชในกรณี

เดียวกันกับกรณียึดกับเพดาน คือมีความสูงไมมากนัก แตกรณีน้ีจะซอนสวนของตัวโคมใหมิดชิด เปด

เฉพาะสวนหนาโคมใหแสงสวางกระจายออกมาเทานั้น ทําใหดูประณีตสวยงามมากขึ้น มักพบใน

อาคารสํานักงาน หองทํางานผูบริหาร โรงแรม เปนตน มีลักษณะการติดต้ังและตัวอยางการใชงาน

ดังภาพที่ 4.13

ภาพท่ี 4.13 โคมฟลูออเรสเซนตชนิดติดต้ังในฝาเพดาน

ท่ีมา : บริษัทฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย), 2550

4.2.4 ประเภทของโคมไฟฟาแบงตามลกัษณะการกระจายแสง

เปนการจัดแบงโคมไฟฟาตามทิศทางการกระจายแสง ซึ่งพิจารณาจากกราฟการกระจาย

ความเขมการสองสวาง ( lighting distribution curve) จัดแบงโคมไฟฟาออกเปน 6 กลุม ระบไุวโดย

ประสิทธิ์ พิทยพัฒน (2543, 138) และตรงกับ Frederic Jones (1989, p. 25-31) ดังน้ี

4.2.4.1 แบบกระจายแสงโดยตรง ( Direct Distribution Type) เปนโคมชนิดที่กระจาย

แสงลงชิ้นงานโดยตรง (90-100 %) ดังภาพที่ 4.14

ภาพท่ี 4.14 โคมไฟฟาแบบกระจายแสงโดยตรง

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

Page 9: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

91

4.2.4.2 แบบกระจายแสงกึง่ตรง ( Semi-direct Distribution Type) เปนโคมชนิดที่

กระจายแสงสวนใหญลงทีผ่วิงาน (60-90 %) ดังภาพที่ 4.15

ภาพท่ี 4.15 โคมไฟฟาแบบกระจายแสงกึ่งตรง

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

4.2.4.3 แบบกระจายแสงกึ่งตรงและกึ่งออม ( Direct-indirect Distribution Type) เปน

โคมชนิดที่กระจายแสงขึ้นดานบนและลงดานลางเทา ๆ กัน เพื่อลดความจาของแสงที่สองลงพื้น และ

ตองการใหมีความสวางที่สวนบนของหอง ดังภาพที่ 4.16

ภาพท่ี 4.16 โคมไฟฟาแบบกระจายแสงกึ่งตรงและกึ่งออม

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

4.2.4.4 แบบกระจายแสงรอบตวั ( General Diffuse Distribution Type) เปนโคมชนิดที่

กระจายแสงรอบตัว ดังภาพที่ 4.17 มีตัวอยางการใชงาน เชน โคมแขวนที่มีลักษณะทรงกลม เปนตน

ภาพท่ี 4.17 โคมไฟฟาแบบกระจายแสงรอบตัว

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

Page 10: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

92

4.2.4.5 แบบกระจายแสงกึ่งออม ( Semi Indirect Distribution Type) เปนโคมชนิดที่

กระจายแสงสวนใหญ (60-90%) ขึน้ดานบน ดังภาพที่ 4.18 เพื่อใหแสงกระทบกับเพดานหรือผนังกอน

แลวจึงสะทอนลงสูผิวงานดานลาง เพื่อลดแสงจาและทําใหแสงนุมนวลขึ้น เชน การใหแสงในโรงแรม

รานอาหาร โรงภาพยนตร เปนตน

ภาพท่ี 4.18 โคมไฟฟาแบบกระจายแสงสวนใหญขึ้นดานบน

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

4.2.4.6 แบบกระจายแสงทางออม ( Indirect Distribution Type) เปนโคมชนิดที่

กระจายแสงทั้งหมด (90-100%) ขึน้ดานบน โดยมีจุดประสงคคลายกันกับชนิดกึ่งออม ดังภาพที่ 4.19

ภาพท่ี 4.19 โคมไฟฟาแบบกระจายแสงทางออม

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

4.3 สัมประสิทธ์ิการใชประโยชนของโคมไฟฟา

คาสัมประสิทธิ์การใชประโยชน (coefficient of utilization, CU) เปนอัตราสวนระหวาง

ฟลักซแสงสวางบนพื้นงานตอฟลักซแสงสวางที่ออกมาจากโคม คาสัมประสิทธิ์การใชประโยชนจะ

ขึ้นอยูกับลักษณะการกระจายแสงของดวงโคม ซึ่งเปนผลมาจาก การสะทอนแสงของพื้น ผนัง และ

เพดาน ในเร่ืองน้ี Gordon (2003, p.131) กลาวไววา ผูผลิตจะมีตารางสัมประสิทธิ์การใชประโยชน

แนบมากับดวงโคมดวยเสมอ สวน ชาญศักด์ิ อภัยนิพัฒน (2550, หนา 146) แนะวา อาจใชตาราง

มาตรฐานขององคกรแสงสวางที่แนะนําไว เชน IES หรือ CIE เปนตน

Page 11: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

93

4.4 ระนาบการกระจายแสงของโคมไฟฟา

ระนาบการกระจายแสง ( plane of light distribution) เปนแผนภาพที่แสดงการกระจาย

ความเขมการสองสวางของโคม แตละแผนภาพมีลักษณะคลายกับหนาหนังสือ โดยแตละหนาก็คือ

ระนาบที่มีมุมตาง ๆ กัน ระนาบการกระจายแบงออกเปน 3 ระบบ ตามการกาํหนดจุดหมนุ (axis of

rotation) ของระนาบ ดังน้ี

4.4.1 ระนาบการกระจายแสงระบบ A- α

กําหนดจุดหมุนตามแนวเสนที่ลากจากดานหนากับดานหลังโคม ระนาบเร่ิมที่มุม

0° เรียก A = 0° จนกระทั่งถึงมุม 180° เรียก A = 180° สวนอีกดานจะเปนระนาบ A = 0° ถึง A = -

180° ในทุกระนาบจะมีกราฟการกระจายความเขมการสองสวาง เร่ิมจาก 0° เรียกวา α = 0° ถึงมุม

90° เรียกวา α = 90° สวนอีกดานของระนาบเดียวกนัจะเปน α = 0° ถึง α = -90° ดังภาพที่ 4.20

ภาพท่ี 4.20 ระนาบการกระจายแสงระบบ A- α

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 150

Page 12: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

94

4.4.2 ระนาบการกระจายแสงระบบ B-β

ระบบนี้ระนาบเร่ิมที่ B = 0° ถึง B = 180° และ B = 0° ถึง B = -180° ในแตละ

ระนาบจะมีกราฟการกระจายความเขมการสองสวางจาก β = 0° ถึง β = 90° และ β = 0° ถึง β = -90°

ดังภาพที่ 4.21

ภาพท่ี 4.21 ระนาบการกระจายแสงระบบ B-β

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 151

4.4.3 ระนาบการกระจายแสงระบบ C-γ

ระบบนี้ระนาบเร่ิมที่ C = 0° ถึง C = 360° ซึ่งก็คือ C = 0° ในแตละระนาบจะมี

กราฟการกระจายความเขมการสองสวาง เร่ิมจาก γ = 0° ถึง γ = 90° และ γ = 0° ถึง γ = -90° ดังภาพที่

4.22

ภาพท่ี 4.22 ระนาบการกระจายแสงระบบ C-γ

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 151

Page 13: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

95

90° 270°

180°

ระนาบที่ถูกนํามาใชพิจารณาในการออกแบบระบบสองสวางมากที่สุดก็คือ ระนาบ C-γ

มี 2 ระนาบ ที่มักนํามาพิจารณาการกระจายแสงคือ

C 0-180 มี 2 ระนาบตอกันคือ C = 0° กับ C = 180° ขวางกับแนวยาวของโคม

C 90-270 มี 2 ระนาบตอกันคือ C = 90° กับ C = 270° ขนานกับแนวยาวของโคม

ดังภาพที่ 4.23 เมื่อมองจากดานบนลงไปจะเห็นสันของทั้ง 2 ระนาบเปนเสนต้ังฉากกัน

ภาพท่ี 4.23 ระนาบ C 0-180 และ C 90-270

กราฟการกระจายความเขมการสองสวาง มักมี 2 เสนซอนกันอยูในพิกัดเดียวกัน เสั้นเต็มเปน

การกระจายแสงของราบ C 0-180 สวนเสนประเปนระนาบ C 90-270 ตัวอยางของโคมฟลูออเรสเซนตที่มี

การกระจายแสงแบบสมดุลในระนาบ C 90-270 และกระจายแสงแบบไมสมดุลในระนาบ C 0-180

จะมีการบอกสัญลักษณของระนาบไวบนของกราฟ ดังภาพที่ 4.24 ก. และ ข.

ก. ข.

ภาพท่ี 4.24 การกระจายความเขมการสองสวางในระนาบ C 0-180 และ C 90-270

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 149

Page 14: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

96

4.5 กราฟการกระจายความเขมการสองสวาง

ดังไดกลาวแลวในเร่ืองระนาบการกระจายแสงวา กราฟการกระจายความเขมการสอง

สวาง จะพิจารณาที่ระนาบหน่ึง ๆ โดยทั่วไปคือระนาบ C ลักษณะการกระจายแสงจะมี 3 แบบตาม

ลักษณะความสมดุลของความเขมการกระจายแสงในแตละระนาบ

4.5.1 กระจายแบบสมมาตรตามแนวแกนหมุน

กระจายแบบสมมาตรตามแนวแกนหมุน (rotational symmetry) การกระจายความ

เขมการสองสวางของโคมชนิดนี้ จะสมดุลกันทุกระนาบ (เสนกราฟทั้ง 2 ระนาบจะทับกันดูเปนเสน

เดียว) เน่ืองจากโคมมีลักษณะทรงกลม ดังภาพที่ 4.25

ภาพท่ี 4.25 การกระจายความเขมการสองสวางแบบสมมาตรตามแนวแกนหมุน

4.5.2 กระจายแบบสมมาตรตามแนวแกนระนาบ

การกระจาย ความเขมการสองสวาง แบบสมมาตรตามแนวแกนระนาบ (plane

symmetry) ของโคมชนิดน้ี จะสมดุลกันในระนาบหน่ึง ๆ เทาน้ัน ถาตางระนาบกันการกระจายแสงจะ

ไมเทากัน ดังภาพที่ 4.26

Page 15: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

97

ภาพท่ี 4.26 การกระจายความเขมการสองสวางแบบสมมาตรตามแนวแกนระนาบ

4.5.3 กระจายแบบไมสมมาตร

กระจายแบบไมสมมาตรตามแนวแกนระนาบ (asymmetry) การกระจายความเขม

การสองสวางของโคมชนิดนี้ ในบางระนาบการกระจายความเขมการสองสวางจะไมสมดุลกัน ดังภาพ

ที่ 4.27 ระนาบ C 0-180 การกระจายจะเปนแบบสมดุล สวนระนาบ C 90-270 การกระจายจะเปนแบบ

ไมสมดุล

วิธีการอานคาความเขมการสองสวาง

จากกราฟ การกระจายแสงจะบอกคาเปน cd/klm

เชนที่ 30° มีความเขมแสง 360 cd/klm ถาหลอดมี

ปริมาณแสง 2 ,600 lm จะมีความเขมการสองสวาง

360 cd/klm x 2.6 klm = 936 cd เปนตน

ภาพท่ี 4.27 ตัวอยางการกระจายความเขมการสองสวางแบบไมสมมาตร

ท่ีมา : ประสิทธิ์ พิทยพัฒน, 2543, หนา 138

Page 16: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

98

4.6 การควบคุมแสง

การควบคุมแสง ( light control) เปนวิธีการออกแบบโคมหรือสวนของงานสถาปตยกรรม

ภายนอกเพื่อบังคับแสงที่ออกจากตัวหลอดมีทิศทางตาง ๆ เพื่อกําหนดรูปแบบของลําแสงที่จะสองไปยัง

ชิ้นงาน การควบคุมแสงนี้หลอดบางชนิดก็ออกแบบใหสามารถควบคุมลําแสงไดในตัว Gordon (2003,

p. 105) ไดยกตัวอยางไวเชน หลอดรหัส AR MR PAR และ R สวนชนิดอ่ืน ๆ จะอาศัยสวนประกอบ

ภายนอกในการปรับปรุง (modify) การกระจายแสงเพื่อใหผลลัพธสองลงบนผิวงาน

Gordon (2003, p. 105) ยังกลาวอีกวา การควบคุมแสงมีวัตถุประสงคสองประการ คือ

สองแสง (direct light) ไปยังตําแหนงที่ตองการ และกําบังแสง ( block light) ไมใหสองไปยังตําแหนงที่

ไมตองการ เชน กําบังไมใหเกิดแสงบาดตา เปนตน การควบคุมแสงที่ครบถวนมีควรมีการควบคุม ทั้ง

3 ดาน คือ การสะทอน (reflection) การสงผาน (transmission) และ การหักเหของแสง (refraction) ดังน้ี

4.6.1 การสะทอน

อาศัยวัสดุที่ทําหนาที่สะทอนลําแสง เรียกวาตัวสะทอนแสง ( reflector) รูปแบบ

การสะทอนแสงมี 3 รูปแบบ ซึ่งขึ้นอยูกับพื้นผิวของตัวสะทอนแสง ดังน้ี

4.6.1.1 การสะทอนโดยตรง ( Specular Reflection) โดยอาศัยวัสดุผิวเรียบ

หรือผิวมันวาว เชน กระจกเปนตน การสะทอนกับมุมตกกระทบจะมีคาเทากันและลําแสงไมแตก

กระจาย ดังในภาพ 4.28 ก.

4.6.1.2 การสะทอนแบบก่ึงกระจาย (Semi-specular (spread) Reflection)

โดยอาศัยวัสดุผิวที่ทําใหขรุขระดวยวิธีตาง ๆ เชน ทุบดวยคอน การขัด การกะเทาะ เปนตน เพื่อให

การสะทอนกระจายแสงออก ( spread) โดยมีมุมสะทอนไมตางจากเดิมแตจะทําใหแสงนุมนวลขึ้น ดัง

ในภาพ 4.28 ข.

4.6.1.4 การสะทอนแบบกระจาย ( Diffuse Reflection) โดยอาศยัวัสดุ

ผิวดานหรือหยาบ สะทอนแสงที่ตกกระทบออกไปทุกทิศทางจึงทําใหไดลําแสงแบบกวาง ( wide

distribution) ดังในภาพ 4.28 ค.

Page 17: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

99

ก. ข. ค.

ภาพท่ี 4.28 รูปแบบของการสะทอนแสง

ที่มา : Gordon, 2003, p. 106

การขึ้นรูปของตัวสะทอนแสง ( reflector contours) ในโคมไฟฟาจะมีรูปแบบพื้นฐานอยู

3 แบบ คือ แบบวงรี ( elliptical contour) (ภาพที่ 4.29 ก.) แบบนี้จะใหลําแสงแคบ เชน โคมแบบไฟ

สองลง เปนตน แบบพาราโบลา ( parabolic contour) (ภาพที่ 4.29 ข.) แบบน้ีจะจัดลาํแสงใหขนานกนั

สองออกจากโคม ขนาดของลําแสงจะเทากับเสนผานศูนยกลางของตัวสะทอนแสง ซึ่งเปนหลักการ

ของหลอดรหัส R (reflector lamp) ชนิดตาง ๆ และแบบวงกลม ( circular contour) (ภาพที่ 4.29 ค.)

ตัวกระจายแสงจะสะทอนแสงกลับมายังจุดกําเนิดแสงและกระจายแสงออกแบบลําแสงกวาง

นอกจากน้ันยังมีออกแบบใหมีลักษณะผสมผสาน ( compound contour) เพื่อใหไดลําแสงหลายรูปแบบ

ตามตองการ

ก. ข. ค.

ภาพท่ี 4.29 รูปแบบการขึ้นรูปของตัวสะทอนแสง

ที่มา : Gordon, 2003, p. 106-107

Page 18: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

100

4.6.2 การสงผาน

เปนรูปแบบของแสงขณะผานตัวกลางเชนเลนส ( lens) หรือ ตัวกรองแสงของโคม

ทําใหเกิดรูปแบบการสงผานของแสง 3 แบบ

4.6.2.1 การสงผานโดยตรง ( Direct Transmission) เปนปรากฏการณที่

แสงสงผานวัสดุโปรงแสง ( transparent material) เพื่อการดูดซับรังสีอัลตราไวโอเล็ต สะทอนรังสี

ความรอน หรือปรับปรุงเร่ืองแสงสี เปนตน

4.6.2.2 การสงผานแบบก่ึงกระจาย (Semi-diffuse (spread) Transmission)

เปนปรากฏการณที่แสงสงผานวัสดุโปรงใส ( translucent material) ซึ่งมีผิวหนาขรุขระจากวิธีตาง ๆ

เชน ใชกรดกัด ทําใหกะเทาะดวยทรายขัดเปนตน แสงจะถูกกระจายออกดวยมุมที่กวางขึ้น การกระทํา

เชนน้ี จะชวยกําบังตัวหลอดที่มีแสงจาและปองกันการเกิดแสงบาดตาได

4.6.2.2 การสงผานแบบกระจาย (Diffuse Transmission) เปนปรากฏการณ

ที่แสงสงผานวัสดุที่เปนสวนผสมอนุภาคขนาดเล็กระหวางแกวโอปอล ( opal glasses) กับพลาสติก

ซึ่งสามารถกระจายแสงออกไดในทุกทิศทาง การสงผานแสงทั้ง 3 รูปแบบดังแสดงในภาพที่ 4.30

ภาพท่ี 4.30 รูปแบบของการสงผานแสงผานตัวกลาง

ที่มา : Gordon, 2003, p. 111

Page 19: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

101

4.6.3 การหักเห

ความเขาใจในหลักการ การหักเหของแสงเมื่อผานตัวกลาง เชน ปริซึม ( prism)

หรือ เลนส ( lens) สามารถนํามาเปนรูปแบบในการควบคุมทิศทางของแสงได ดังในภาพที่ 4.31 เปน

การควบคุมแสงโดยอาศัยเลนสแบบเฟรสเนล (fresnel lens) ซึ่งรวมเอาหลักการของเลนสและปริซึมไว

ดวยกัน สามารถควบคุมใหลําแสงเปนแบบเขมขน ( concentrate beam) และสองออกมาเปนจุดได ทํา

ใหเอียงไปดานใดดานหน่ึง หรือทําใหเปนแบบกระจาย ได

ภาพท่ี 4.31 รูปแบบของการควบคุมลําแสงโดยเลนสเฟรสเนล

ที่มา : Gordon, 2003, p. 114

4.7 แสงบาดตา

เร่ืองแสงบาดตานี้ไดกลาวไวบางแลวในบทที่ 1 วา แสงบาดตาหมายถึงแสงที่สองเขาตา

แลวทําใหตาพรา บางคร้ังจึงเรียกแสงพราตา การที่มีแสงสองเขาตาขณะใชงาน อาจเกิดจากการแหงน

หนามากเกินไปและมองไปยังดวงโคมโดยบังเอิญ หรือการที่ดวงโคมมีตัวกรองแสงที่ไมสามารถ

Page 20: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

102

ปองกันแสงเขาตาไดเมื่อเงยหนาขึ้นในระดับปกติ กรณีหลังน้ีจัดวาเปนปญหาในการออกแบบ และ

การเลือกใชโคม โดยทั่วไปโคมที่ไดมาตรฐานจะตองไมเกิดแสงบาดตาที่มุมเงยนอยกวา 45 องศา

หมายความวาถาแหงนหนาไมเกิน 45 องศา โคมที่ดีไมควรมีแสงบาดตา แตหากแหงนหนามากวาน้ัน

การที่มีแสงบาดตาถือวาเปนเร่ืองปกติ ในเร่ืองน้ีมีมุมที่เกี่ยวของที่ตองกลาวถึง 2 มุมคือ

มุมกําบัง (shielding angle, θ) คือมุมที่เราเงยหนามองดวงโคม นับจากแนวระดับสายตา

จนถงึ 45 องศา

มุมแสงบาดตา ( glare angle, γ) คือมุมกระจายแสงของดวงโคมที่วัดจากจุดใตโคมไปยัง

แนวสายตาที่มองมายังดวงโคม มีคาต้ังแต 0 ถึง 45 องศา หากมีการเงยหนามองมายังดวงโคมในเขต

ของมุมนี้แลวมีแสงบาดตาถือเปนเร่ืองปกติ แตมุมที่มีขนาดมากกวา 45 องศา จะเปนเขตที่ไมควรมีแสง

บาดตา

เนื่องจากมุมแสงบาดตาและมุมกําบังแสงอยูในสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังภาพที่ 4.32 จึงมีคา

มุมสัมพันธกันดังน้ี

ภาพท่ี 4.32 ความสัมพันธระหวางมุมกําบังกับมุมแสงบาดตา

ความจริงมุมแสงบาดตา ก็คือมุมกระจายความเขมของการสองสวางหรือมุมกระจายแสง

ในระบบ C-γ ดังไดกลาวมาแลว จากภาพที่ 4.32 ที่มุม γ มากกวา 45 องศา ควรปลอดจากแสงบาดตา

นั่นหมายความวา คาความเขมของการสองสวางควรมีคานอยลงหรือมีคาสัมพันธกับมุมที่มากขึ้น เพื่อ

ไมใหความเขมการสองสวางที่กระจายออกมาทําใหตาพราได จึงมีคําถามวา คาความสวาง หรือ ความ

เขมการสองสวางที่มุมกระจายต้ังแต 45 องศาเปนตนไป ควรมีคาไมเกินเทาใดเพื่อไมใหมีแสงบาดตา

θ

γ θ = 50° γ = 40° เปนมุมที่มีแสงบาดตา

θ = 45° γ = 45° เปนมุมวิกฤตขิองการมอง

θ = 40° γ = 50° เปนมุมปลอดภัยจากแสงบาดตา

θ = 30° γ = 60° เปนมุมปลอดภัยจากแสงบาดตา

θ = 0° γ = 90° เปนมุมปลอดภัยจากแสงบาดตา

Page 21: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

103

จึงมีหลักการพิจารณาคาของแสงที่เหมาะสม ดังตอไปนี้

ขั้นตอนการพิจารณาแสงบาดตา

1. กําหนดคุณภาพ การจํากัดแสงบาดตา ระดับ คุณภาพที่ ดีที่สุดคือ A มีพิกัดแกลร ( G)

1.15 พรอมทั้งระบุคาความสองสวางที่ตองการตามตารางที่ 4.1 จะไดเสนกราฟความสวาง a – h ที่อยู

ใตตาราง โดยกราฟน้ีจะใชเปนฐานเปรียบเทียบกับคาความสวางที่คํานวณได

ตารางท่ี 4.1 ระดับคุณภาพการจํากัดแสงบาดตากับคาความสองสวางที่เหมาะสม

ท่ีมา : ชํานาญ หอเกียรติ, 2540, หนา 3-8

หมายเหต ุ: ผลของแกลรจะเร่ิมจากคาตํ่าสุดคือ 0 จะไมมีผลใด ๆ สวนที่ระดับ 5 ซึ่งเปนคาสูงสุด จะมี

ผลเร่ิมทําใหรําคาญและไมอาจทนได (ไชยะ แชมชอย, 2549, หนา 29)

2. กําหนดคาความสองสวางที่เหมาะกับการปฏิบัติงาน เชน ความสองสวางสําหรับหอง

ทํางานควรเปน 500 lx

3. เลือกกราฟความสวางที่ใชพิจารณาใหถูกตองกับดวงโคม 2 กลุมคือ

กลุมที่ 1 เปนดวงโคมที่ไมกระจายแสงออกดานขาง เชน ดาวนไลท หรือ เปนโคมที่

กระจายแสงออกดานขาง เชน ดวงโคมฟลอูอเรสเซนต แต การใชงานสายตาจะตอง มองขนานกบัแนว

ยาวของโคม (มองที่ดานหัว-ทาย) ใหใชกราฟในภาพที่ 4.33

กลุมที่ 2 เปนดวงโคมที่กระจายแสงออกดานขางและ การใชงานสายตาจะ มองขวางกับ

กับแนวยามของโคม (มองที่ดานขาง) เชน ดวงโคมฟลูออเรสเซนต เปนตน ใหใชกราฟในภาพที่ 4.34

Page 22: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

104

ภาพท่ี 4.33 กราฟความสวางมาตรฐานของโคมไมมีการกระจายแสงดานขาง

ท่ีมา : ชํานาญ หอเกียรติ, 2540, หนา 3-8

ภาพท่ี 4.34 กราฟความสวางมาตรฐานของโคมกระจายแสงดานขาง

ท่ีมา : ชํานาญ หอเกียรติ, 2540, หนา 3-8

4. คํานวณคาความสวางของโคม เพื่อเขียนกราฟความสวางและเปรียบเทียบกับเสนกราฟ

มาตรฐาน คํานวณโดยใชสมการที่ 4.1 ดังน้ี

L = (cd/m2) (4.1)

I(γ )

A cos γ

Page 23: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

105

A คือ พื้นที่ดานหนา /เลนสของโคม (m2)

I(γ ) คือ ความเขมการสองสวาง ( cd)

ที่มุมกระจายแสง 45° 55° 65° และ 75°

5. การตัดสินคุณภาพ โดย กําหนดคาความสวางที่คํานวณไดจากมุม 45° 55° 65° และ

75°ลงในกราฟความสวางมาตรฐาน หากคาที่คํานวณไดมีคานอยกวา ถือวาคาความสวางจากโคมที่

พิจารณามีคุณ ภาพการจํากัดแสงบาดตาในระดับดีมาก ( A) หรือระดับอ่ืน ๆ ตามทีก่าํหนดไวแตตน

แตถาคาที่คํานวณไดสูงกวาคามาตรฐาน ถือวาโคมมีคุณภาพการจํากัดแสงบาดตาตํ่ากวาระดับที่กําหนด

ตัวอยางท่ี 4.1 หองสมุดแหงหน่ึงติดต้ังโคมฟลูออเรสเซนตชนิดฝงในฝา ดังภาพ ใชกับหลอด

คูลไวท 75 ลูเมนตอวัตต ใหพิสูจนวาโคมดังกลาวมีการจํากัดแสงบาดตาคุณภาพระดับ A หรือไม

วิธีทํา

จากโจทยกําหนดคุณภาพ การจํากัด แสงบาดตาระดับ A และตามมาตรฐานหองสมุดมี

ความสองสวาง 500 lx

จากตารางที่ 4.1 ไดกราฟความสวางที่จะนํามาพิจารณาคือกราฟ C และโคมฟลอูอเรสเซนต

เปนโคมที่มีการกระจายแสงออกดานขาง จึงเลือกกราฟในภาพที่ 4.34 ในการพจิารณา

Page 24: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

106

ขั้นตอนของการพิสูจนมี 2 วิธี คือ

1. คํานวณคาความสวางจากคาความเขมการสองสวางของโคม แลวนํามาเปรียบเทียบกับ

คาจากตาราง หากคาจากการคํานวณตํ่ากวาคาจากตารางถือวาคุณภาพการจํากัดแสงบาดตาอยูในระดับ

A ตามที่กําหนด

2. คํานวณคาความเขมการสองสวางจากคาความสวางที่ไดจากตาราง แลวนําคามา

เปรียบเทียบกับคาความเขมการสองสวางของดวงโคม หากคาของโคมมีคาตํ่ากวาถือวาใชได

ในที่น้ีเลือกวิธีที่ 2 มีขั้นตอนการดําเนินการดังน้ี

1. อานคาความสวางที่มุมตาง ๆ ของโคมจากกราฟ C ในภาพที่ 4.34 กาํหนดเปน

มาตรฐาน จากการพิจารณาไดคาดังน้ี

L(45°) = 5,000 cd/m2

L(55°) = 3,400 cd/m2

L(65°) = 2,100 cd/m2

L(75°) = 1,350 cd/m2

2. อานและคํานวณคาความเขมการสองสวางของโคม จากกราฟการกระจายความเขมการ

สองสวางที่แนบมา ไดดังน้ี

I(γ) = (cd/klm)(lm)/1000 (cd)

I(45°) = (135)(40 x 2 x 75)/1,000 = 810 cd

I(55°) = (45)(40 x 2 x 75)/1,000 = 270 cd

I(65°) = (0)(40 x 2 x 75)/1,000 = 0 cd

I(75°) = (0)(40 x 2 x 75)/1,000 = 0 cd

3. คาํนวณพืน้ทีด่านหนาของดวงโคม, A โดยใชมิติกวางยาวจากตารางที่แนบมา

A = (0.3 m) (1.2 m) = 0.36 m2

4. คํานวณคาความสวางดวยสมการ 4.1 ที่มุมกระจายแสงตาง ๆ

Page 25: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

107

L(45°) = (cd/m2)

L(45°) = cd/m2

= 3,182 cd/m2

L(55°) = cd/m2

= 1,307.6 cd/m2

L(65°) = 0 cd/m2

L(75°) = 0 cd/m2

5. เปรียบเทียบคาความสวางจากการคํานวณกับคามาตรฐาน

ที่ 45° จากการคํานวณ 3,182 cd/m2 < มาตรฐาน 5,000 cd/m2

ที่ 55° จากการคํานวณ 1,307.6 cd/m2 < มาตรฐาน 3,400 cd/m2

ที่ 65°และ 75°จากการคํานวณ 0 cd/m2 < มาตรฐาน 2,100 และ 1,350 cd/m2

สรุปไดวา โคมไฟฟาที่เลือกใชมีคาความสวางไมเกินคามาตรฐานที่ยอมใหมีได ทุกมุม

กระจายแสง จึงมีคุณภาพการจํากัดแสงบาดตาในระดับ A ตามทีก่าํหนดไว

4.8 ระดับการปองกันของโคมไฟฟา

หมายถึงคาที่บอกระดับของการปองกัน ( index of protection, IP) โคมไฟฟาจากวัตถุและ

ความชื้น ซึ่งคลายกับระดับการปองกันสําหรับเคร่ืองใชไฟฟาทั่วไป ซึ่งจะทําใหทราบวาโคมไฟฟา

ดังกลาวจะสามารถนําไปใชในสภาพแวดลอมเชนใดไดบาง หากเลือกใหเหมาะสมก็จะทําใหเกิดความ

I(45° )

A cos 45°

810 cd

(0.36 m2)(cos 45°)

270 cd

0.36 m2 cos 55°

Page 26: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

108

ปลอดภัยตอผูใชและระบบไฟฟา อีกทั้งยังสามารถประหยัดตนทุนการติดต้ังลงได

ระดับการปองกันจะประกอบดวยตัวอักษรนํา 2 ตัวคือ IP แลวตามดวยตัวเลขอีก 2 หลัก

หลักแรกปองกันวัตถุ สวนหลักที่สองปองกันความชื้น คาตัวเลขยิ่งมากจะหมายถึงมีการปองกันตัวเองที่

ดีมากขึ้น เชน IP 65 : โคมสามารถปองกันฝุนผงเขาและปองกันนํ้าฉีดเขาได สวนระดับอ่ืน ๆ เปน ดัง

ตารางที่ 4.2

ตารางท่ี 4.2 ระดับการปองกันของโคมไฟฟา

ระดับการ

ปองกัน

ความหมาย

คาตวัแรก

ความหมาย

คาตัวท่ีสอง

สัญลักษณ

IP00 ไมมีการปองกัน ไมมีการปองกัน

IP11 ปองกันวัสดุ > 50 mm. ปองกันน้ําหยดทํามุม 0 องศา

กบัแนวด่ิง

IP20 ปองกันวัสดุ > 12 mm. ไมมีการปองกัน

IP22 ปองกันวัสดุ > 12 mm. ปองกันน้ําหยดทํามุม 15 องศา

กบัแนวด่ิง

IP33 ปองกันวัสดุ > 2.5 mm. ปองกันนํ้าสาด(Splash)

IP40 ปองกันวัสดุ > 1 mm. ไมมีการปองกัน

IP50 ปองกันผง ไมมีการปองกัน

IP54 ปองกันผง ปองกันนํ้าพน(Spray)

IP55 ปองกันผง ปองกันนํ้าฉีด(Water Jet)

IP65 ปองกันผงเขาได ปองกันนํ้าฉีด(Water Jet)

ท่ีมา : สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย, 2551

Page 27: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

109

4.9 ขอแนะนําในการเลือกใชหลอดและโคมไฟฟา

เว็บไซตสมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย (2550) ไดแนะนําเร่ืองการเลือกใชหลอด

และโคมไฟฟา วา หาก เลือกใชโคมและหลอดใหเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการใชงานจะชวย

ประหยัดพลังงานได เชน โคมไฟสาดอาจใชหลอดทังสเตนฮาโลเจน หรือหลอดคายประจุความดันไอสงู

ก็ได ขึ้นอยูกับการใชงาน ดังน้ี

1. การสองปายโฆษณา หรือสถานที่กอสราง ที่ใชโคมไฟสาดหลอดทังสเตนฮาโลเจน

เนื่องจากโคมมีราคาถูก แตมีปญหาเร่ืองอายุการใชงานของหลอดสั้นและตองใชพลังงานไฟฟาสูง ไม

ประหยัดพลังงาน (งานที่ตองการใหเปดไฟแสงสวางไดทันที ตองใชหลอดและโคมประเภทน้ี แมจะ

ไมประหยัดพลังงานก็ตาม)

2. การสองเนนสถาปตยกรรมตัวอาคาร ตองพิจารณาความสองสวางรอบขางเพื่อเลือก

ขนาดวัตตและจํานวนของโคม การใชโคมไฟสาดหลอดคายประจุความดันสูง ตองเลือกสีของแสงที่ได

จากหลอดใหเหมาะสมกับสีของสถาปตยกรรมที่ตองการสองเนน เชน หลอดเมทัลฮาไลด ใหแสงสีขาว

หลอดโซเดียมความดันสงู ใหแสงสเีหลอืงทอง เปนตน

3. การสองสวางสนามกีฬาที่ตองการความสองสวางและความถูกตองของสีสูงเพื่อการ

ถายทอดโทรทัศน ควรใชหลอดเมทัลฮาไลด

4. การสองสวางสนาม ลานจอดรถ บริเวณขนถายสินคา ที่ไมตองการความถูกตองของสี

มาก แนะนําใหใชหลอดโซเดียมความดันสงู

4.10 ขอควรระวัง

นอกจากขอแนะนําเร่ืองการเลอืกใชหลอดและโคมไฟฟาแลว เว็บไซตสมาคมไฟฟาแสง

สวางแหงประเทศไทย ( 2550) ยังไดแนะนําเร่ืองขอควรระวังของการเลือกใชหลอดและโคมไฟฟา

ดังน้ี

1. เนื่องจากหลอดที่ใชกับโคมไฟสาดที่ใหความเขมแสงสูงมากอาจเปนอันตรายตอสายตา

จึงควรเลือกตําแหนงในการติดต้ังใหเหมาะสม หรือเลือกใชโคมไฟสาดที่ออกแบบใหโคมสามารถบังแสง

(shield type) เพื่อไมใหมองเห็นแสงหรือภาพของหลอดปรากฏโดยตรงในมุมที่ไมพึงประสงค และชวยลด

แสงบาดตาที่เกิดจากหลอดและตัวสะทอนแสงใหมีนอยที่สุด หรืออาจมีตัวกรองแสงปดที่หนาโคมซึ่งอาจ

เปนเลนสหรือกระจกที่ปองกันรังสีอัลตราไวโอเลตได

Page 28: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

110

2. โคมที่ใชหลอดเมทัลฮาไลดที่มีขนาดวัตตสูง ตัวโคมควรมีสวิตชตัดตอน (disconnecting

switch) ในการซอมเพื่อใหปลอดภัยและปองกันอันตรายจากรังสีอัลตราไวโอเลต

4.11 สรุป

การเรียนรูคุณสมบัติ การจัดแบงประเภทในแงมุมตาง ๆ รวมถึงการนําไปใชงานของโคม

ไฟฟาประเภทตาง ๆ น้ีพื้นฐานที่สําคัญสําหรับการออกแบบระบบสองสวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งในบทที่

5, 6 ตัวอยางเชน ในบทที่ 5 ซึ่งเปนการคาํนวณออกแบบระบบสองสวางภายในอาคาร เชน การคํานวณ

คาความสองสวางจะใชคาสัมประสิทธิ์การใชประโยชน ซึ่งเปนตัวประกอบลดทอน ฟลักซสอง สวาง

ที่กระจายออกมาจากตัวโคม และคาตัวประกอบการบํารุงรักษา ซึ่งมีคาแตกตางกันในแตละประเภทของ

โคมไฟฟาที่จัดแบง ตามลักษณะการ กระจายแสง ในบทที่ 6 เปนหลักและเทคนิคตาง ๆ ในการออกแบบ

ระบบสองสวางภายใน โคมไฟฟาประเภทตาง ๆ ก็จะถูกนําไปพิจารณาเลือกใชสําหรับการ ออกแบบให

แสงสวางอยางเหมาะสมสําหรับงานประเภทตาง ๆ สวนในบทที่ 7 เปนการ ออกแบบระบบสองสวาง

ไฟถนนซึ่งตองใชคาสัมประสิทธิ์การใชประโยชน คาตัวประกอบการบํารุงรักษาในการคํานวณคาความ

สองสวาง เชนกัน สวนความรูเร่ือง ระนาบการกระจายแสงนั้นจะ ใชในการอานคาความเขมการสอง

สวางของโคม ไฟฟา สําหรับหา คาความสองสวาง ในการคํานวณแบบจุดตอจุด ทั้งในและนอกอาคาร

นอกจากน้ันยังใชคํานวณเพื่อหาระดับคุณภาพของโคมเร่ืองแสงบาดตา เพื่อเลือกใช โคมไฟฟา ที่มี

คุณภาพการจํากัดแสงบาดตาในระดับเหมาะสม

4.12 คําถามทบทวน

1. เหตุใดดวงโคมจึงมีรูปรางตาง ๆ กัน กลมบางยาวบาง

2. โคมที่สามารถปรับมุมสําหรับฉายแสงไดคือโค มชนิดใด นําไปใชในงานประเภท

ใดบาง

3. โคมแขวนมีความสําคัญอยางไร งานใดบางที่ตองใชโคมแขวน

4. แผนกรองแสงของโคมมีผลหรือสัมพันธอยางไรกับคาสัมประสิทธิ์การใชประโยชน

5. โคมไฟที่สองเพดานเพื่อใหลดแสงจาบนจอมอนิเตอร จัดเปนโคมชนิดใดถาจําแนก

ตามลักษณะการกระจายแสง

6. ใหอธิบายเปรียบเทียบระหวางดวงโคมกระจายแสงโดยตรง กับ ดวงโคมกระจายแสง

Page 29: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

111

แบบทางออม

7. ระนาบกระจายแสงคืออะไร มีกี่ระบบ อะไรบาง

8. ใหอธิบายวา C และ γ คอือะไรในระนาบระบบ C γ

9. หากเปรียบระนาบในระบบ C γ เปนเหมอืนหนากระดาษ กาํหนดใหระนาบละ 1 องศา

เทากับ 1 แผนหนังสือ อยากทราบวาหนังสือเลมน้ีจะมีจํานวนหนาทั้งหมดเทาใด

10. การมองดูโคมฟลอูอเสเซนต ไปที่ดานหัวหรือทายโคม เราจะ มองเห็นระนาบใดใน

ระบบ C γ

11. สัญลักษณน้ี คือระนาบใดในระบบ C γ

จากภาพตอบคําถามขอ 12 – 13

12. ระนาบใดที่มีการกระจายแสงแบบสมดุล

13. ความเขมของการสองสวางมีคาสูงสุดที่ระนาบใด ที่มุมกระจายแสงเทาใด และมีคา

เทาใด (หนวยแคนเดลา) ถาหลอดมีฟลักซสองสวาง 3,350 ลเูมน

14. เมื่อเงยหนาขึ้นประมาณ 40° มีแสงจากดวงโคมแยงตา ถือวาเปนภาวะปกติ ของการ

สองสวางของโคมหรือไม ใหอธิบาย

Page 30: โคมไฟฟ า · 2014-03-27 · ภาพที่ 3 โคมฟลูออเรสเซนต แบบเปลือย. 4. 4.2.1.1.2 . โคมฟลูออเรสเซนต

112

15. สํานักงานแหงหนึ่งตองการความสองสวาง 500 ลักซ ใชโคมฟลอูอเรสเซนต 2 x 36 W

ขนาดทางกายภาพ กวาง x ยาว x สูง เทากับ 595 x 1,220 x 90 มิลลิเมตร มีกราฟกระจายความเขมการ

สองสวางโดยคาที่ระบุในกราฟมีหนวยเปน cd/klm ดังภาพ

ใหพิสูจนวาที่มุม 45 องศาของระนาบ C 0 องศา มีความสวางตามเกณฑ คุณภาพการจํากัดแสง

บาดตาในระดับ A หรือไม