8
ฉบับที6 ปที5 ประจําเดือนมิ ถุนายน 2555 สารบัญ รอบรั้ว มทส. ขาวคราวของคณาจารย" ใน มทส. ………. 1 สาระดีดี จากหัวหนาสถานพัฒนาคณาจารย อาจารย"สามารถชวยนักศึกษาพัฒนาทักษะการ คิดสร.างสรรค"ได.อยางไร ……….……….. 3 Teaching Whimsies Teaching and the Imagination …….… 4 บทความเรียบเรียงโดย ผศ. ดร.วิสิษฐ แววสูงเนิน ผูช3วยอธิการบดีฝ6ายวิชาการ เรื่อง ในห.วงคํานึง ตอน Enlightenment (ตอ)............... 6 1 รอบรั้ว มทส. ยินดีตอนรับ องศาสตราจารย ดร.สินีนาฏ ศิริ อาจารยประจําสาขาวิชาชีววิทยา สํานักวิชาวิทยาศาสตร ไดรับวุฒิ Ph.D. (Cell Biology) จาก University of Connecticut ประเทศสหรัฐอเมริกา ขอแสดงความยินดีกับ ผูดํารงตําแหน3งบริหาร รองศาสตราจารย ดร.สันติ แมนศิริ อาจารยประจําสาขาวิชาฟ=สิกส สํานักวิชาวิทยาศาสตร ในโอกาสดํารงตําแหน7งผูรักษาการแทนหัวหนาสาขาวิชา ฟ=สิกส และ ผูรักษาการแทนหัวหนาสาขาวิชาเทคโนโลยี เลเซอรและโฟตอนนิกส สํานักวิชาวิทยาศาสตร ตั้งแต7วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 เป@นตนไป

สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

ฉบับท่ี 6 ปท่ี 5 ประจําเดือนมิถุนายน 2555 � สารบัญ

���� รอบรั้ว มทส. ข�าวคราวของคณาจารย" ใน มทส. ………. 1 ���� สาระดีดี

จากหัวหน�าสถานพัฒนาคณาจารย� อาจารย"สามารถช�วยนักศึกษาพัฒนาทักษะการ คิดสร.างสรรค"ได.อย�างไร ……….……….. 3 ���� Teaching Whimsies Teaching and the Imagination …….… 4 ���� บทความเรียบเรียงโดย ผศ. ดร.วิสิษฐ� แววสูงเนิน

ผู�ช3วยอธิการบดีฝ6ายวิชาการ เร่ือง ในห.วงคํานึง ตอน Enlightenment (ต�อ)............... 6

1

� รอบร้ัว มทส.

ยินดีต�อนรับ

รองศาสตราจารย� ดร.สินีนาฏ ศิริ อาจารย�ประจําสาขาวิชาชีววิทยา สํานักวิชาวิทยาศาสตร� ได�รับวุฒ ิPh.D. (Cell Biology) จาก University of Connecticut ประเทศสหรัฐอเมริกา

ขอแสดงความยินดีกับ

ผู�ดํารงตําแหน3งบริหาร

รองศาสตราจารย� ดร.สันติ แม�นศิริ อาจารย�ประจําสาขาวิชาฟ=สิกส� สํานักวิชาวิทยาศาสตร� ในโอกาสดํารงตําแหน7งผู�รักษาการแทนหัวหน�าสาขาวิชาฟ=สิกส� และ ผู�รักษาการแทนหัวหน�าสาขาวิชาเทคโนโลยีเลเซอร�และโฟตอนนิกส� สํานักวิชาวิทยาศาสตร� ตั้งแต7วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 เป@นต�นไป

Page 2: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

อาจารย� ดร.อิสรา ประมูลศุข อาจารย�ประจําสาขาวิชาต3างประเทศ สํานักวิชาเทคโนโลยีสังคม ดํารงตําแหน7งผู�ช7วยศาสตราจารยE ในสาขาวิชาภาษาศาสตรEประยุกตEและการสอนภาษาอังกฤษ ตั้งแต7วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2554 เป@นต�นไป อาจารย� ดร.รัชฎาพร อุ3นศิวิไลย� อาจารย�ประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ดํารงตําแหน7งผู�ช7วยศาสตราจารยE ในสาขาวิชาเทคโนโลยีอาหาร ตั้งแต7วันที่ 22 กุมภาพันธE พ.ศ. 2554 เป@นต�นไป

2

� การบรรยาย เร่ือง การผลิตบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 โดย ศาสตราจารยE นายแพทยE วิจารณE พานิช นายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล เม่ือวันที่ 11 มิถุนายน 2555

ขอแสดงความยินดีกับ

ผู�ดํารงตําแหน3งทางวิชาการ

คณาจารย�กับการเข�าร3วมกิจกรรมของ สพค.

Page 3: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

การสอนในปSจจุบันยังเน�นท่ีเน้ือหาความรู�ส7วนใหญ7 แต7มักจะขาดการสอนท่ีใช�กระบวนการการเรียนรู� ท่ีนําสู7การเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะทักษะการคิดใคร7ครวญ (Halpern 1998) และการคิดสร�างสรรคE โดยท่ีความคิดสร�างสรรคEจะเน�นท่ีความสามารถในการผลิตผลงานท่ีแปลกใหม7หรือสิ่งใหม7ๆ ซ่ึงหมายรวมถึงการเลียนแบบหรอือิงของเดิมด�วย เน่ืองจากความเช่ือท่ีว7าไม7มีงานใดท่ีเป@นของใหม7จริงๆ ดังน้ันจึงต�องตรวจสอบความสมดุลระหว7างการเลียนแบบและนวัตกรรม Sternberg (2005) ได�นิยามความคิดสร�างสรรคEว7าต�องใช�ทักษะและเจตคติในการกําหนดแนวคิดและผลิตผลงานท่ีเป@นสิ่งแปลกใหม7 (novel, original) มีคุณภาพสูงและเหมาะสมกับการนํามาใช�งาน อาจกล7าวได�ว7าเป@นความสามารถในการประดษิฐEหรือผลิตงานท่ีเป@นต�นกําเนิดหรือท่ีไม7คาดคิดมาก7อนและยังเป@นงานท่ีมีคุณภาพสูงและเหมาะสมในการนํามาใช� ได�มีผู�กล7าวว7า บุคคลท่ีมีลักษณะเด7นของอัจฉริยะหรือมีสติปSญญาเฉียบแหลม เป@นคนประเภท ชอบความมีอิสระในการตัดสินใจ มีความมั่นใจในตนเองสูง ชอบความซับซ�อน มีสุนทรียะ เปbดรับประสบการณE ชอบความเสี่ยงและ เห็นคุณค7าตนเอง การสอนความคิดสร�างสรรคEและทักษะการคิดข้ันสูง ต�องเริ่มจากการมองหาบุคลิกของนักศึกษาข�างต�นและนํามากระตุ�นให�เกิดไฟในการรู�จักและพัฒนาตนเอง ให�เล็งเห็นความสําคัญของการคิดวิเคราะหE สังเคราะหEและสร�างสรรคEความรู�และประสบการณEในวิชาในรูปแบบต7าง ๆ เช7น วิเคราะหEสถานการณEและการแก�ปSญหา กรณีศึกษา โครงงาน โครงการ การวิจัย สิ่งประดิษฐE นวัตกรรม เป@นต�น โดยช7วงแรกให�ใช�แรงจูงใจภายนอก ได�แก7 คะแนนการเรียนหรือเกรด ซ่ึงยังมีข�อจํากัดด�านแรงจูงใจท่ีส7งเสริมให�ทํากิจกรรมท่ีตนเองสนใจอย7างต7อเน่ือง ท่ีดีท่ีสุดคือการสร�างแรงจูงใจภายใน โดยเฉพาะอารมณEความรู�สึก ความชอบและ

ความสนใจจริงจังท่ีจะทํางานให�สาํเร็จ ซ่ึงมี 6 ข้ันตอน Amabile (1998) ดังน้ี 1. เกิดแรงท�าทาย จัดกิจกรรมการเรียนรู�ท่ีเอ้ือต7อการขยาย

แนวคิดมากกว7าการครอบงําความคิด โดยเริ่มจากการประเมินความสนใจ ความรู�และทักษะของนักศึกษาแต7ละคนก7อน

2. มีความเป@นอิสระ อาจารยEอธิบายเปhาหมายชัดเจน ใช�ทักษะการคิดไตร7ตรองเพ่ือให�นักศึกษาทํางานท่ีมอบหมาย ด�วยวิธีการต7างๆ รวมถึงกระตุ�นการเรียนรู�ด�วยตนเอง

3. ช้ีแนะทรัพยากร คุณภาพของปฏิสัมพันธEและการสื่อสารท่ีดีระหว7าง นักศึกษากับ นักศึกษา และกับอาจารยE รวมถึงสื่อการเรียนการสอนต7างๆ ในห�องสมุดออนไลนEและอ่ืนๆ

4. เน�นย้ําจุดเด7นของการทํางานกลุ7ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู�ในความหลากหลายของความรู� วิชาชีพ ประสบการณEต7างๆทําให�เกิดความคิดสร�างสรรคE

5. ให� คําปรึกษาต7อเ น่ือง อาจารยEให� คํา ช้ีแนะนักศึกษาโดยเฉพาะในกรณีมีความเครียดและความยากของงาน ความอดทนท่ีจะฟSนฝkาอุปสรรค หรือ แก�ปSญหาท่ีซับซ�อน นักศึกษาอาจจะขาดความมั่นใจในทักษะการเรียนรู�หรือหวาดกลัวความล�มเหลว

6. ให�ความสําคัญกับการสนับสนุนขององคEกร อาจารยEและนักศึกษารู�สึกว7างานท่ีทํามีความสาํคัญและสามารถสร�างช่ือเสียงให�สถาบันได� หากมีการเผยแพร7ท่ีเหมาะสม จึงควรได�รับการยอมรับจากผู�บริหาร เช7น จัดให�มีการประกวดชิงรางวัล สนับสนุนให�มีการนําเสนอในท่ีประชุมวิชาการ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู�กับนักศึกษา คณาจารยEในสถาบันอ่ืน โดยเฉพาะรูปแบบการหล7อหลอมนักศึกษา ท่ีมีการสอนแบบอย7างท่ีดี

เอกสารอ�างอิง 1. Amabile, T.M. (1998). How to kill creativity. Harvard

Business Review, 76 (5), 76-87 2. Halpern, D.F. (1998). Teaching critical thinking for

transfer across domains: Dispositions, skills, structure training, and metacognitive monitoring. American Psychologists.53(4),449-455.

3. http://ifets.ieee.org/discussions/discuss_september2006.html

3

� สาระดีดี จาก

หัวหน�าสถานพัฒนาคณาจารย�

รองศาสตราจารย� ดร.วราภรณ� เอ้ียวสกุล e-mail : [email protected]

อาจารย�สามารถช3วยนักศึกษาพัฒนา

ทักษะการคิดสร�างสรรค�ได�อย3างไร

Page 4: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

Imagination is probably the most underrated faculty to train in academia. Now I don’t mean that we don’t use our imagination: I just don’t seem to see it stated explicitly. In fact imagination seems to be the key to everything in life. In the first five minutes of 2012 Calculus I , I brought up the famous Einstein quote, “Imagination is more important than knowledge.” In fact, calculus is all about training the imagination: to see a function get “near” to a value as its argument gets “near” a value, the limit for example. Graphing functions is also an aid to train the imagination. And more recently I picked up a book by Hermann Wouk at The Mall Khorat’s Asia Books with an intriguing title, The Language God Talks. The first chapter told of how Herman Wouk talked to the great physicist Richard Feynman to learn more about the Manhattan Project for his World War II novel. At one point Feynman asked Wouk, “Do you know the calculus?” When Wouk said no, Feynman said in his characteristic way, “You should. It is the language God talks.” And just to understand that quote would require an active imagination. Imagination has been underrated in my life, but it was not always so. I remember when I was around nine years old, growing up in Camp Thannarat in Pranburi.

I attended a little school in Hua Hin and commuting required riding a rickety school bus. One afternoon the bus broke down in the middle of nowhere between Hua Hin and Pranburi. In those days, nowhere was nowhere, the roads barely paved. And yet for some reason I remember feeling very peaceful. I thought that Daddy would come and pick me up, that I was totally safe. And sure enough, Dad did come to pick me up in about an hour, or so, I remember. Those were the late 60s: no telephones, no CDs, no (gasp) cellphones! Last February I turned 50. Little did I know that my life would change: life does begin at 50! In my internet excursions, I happened upon an old mystic, Neville Goddard. I didn’t know anything about him, but his writings kept burning inside me as I read them. He kept stressing the importance of the imagination. He kept stressing that whatever I wanted, just act like I already received the matter, I mean, really act, feel, see, hear as if I have already received the matter, kind of like my boyhood experience in Pranburi. Thus if I wanted to teach well, imagine that I already do, that I can communicate well. Interestingly, my preparation is more intense and my delivery even more intense this year. I am even holding Office Hours in the Classroom Building, guaranteeing maximum accessibility for my students, something I would never have thought of doing before. Thus such imagination has had a part in revolutionizing my teaching.

4

Asst. Prof. Dr. Arjuna Peter Chaiyasena School of Mathematics Suranaree University of Technology Nakhon Ratchasima, Thailand

Teaching and the Imagination

Page 5: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

But there are extra-classroom implications of imagination. For example, if I want the Higher Power to teach through me, I must be a clear channel for the Power. There is only one way to do that: to imagine that I am forgiven and to forgive others for their wrongs. Thus prayer is the creative imagining for our fellow beings for their well-being and welfare. But to be effective in the creative imagining, I must creatively imagine all those who have “wronged me” to not have wronged me at all. In short, I must “revise” my history. Thus I am free to imagine that my students love calculus and that they want to do their best, even though the “reality” may point otherwise. That is where faith comes in. And that is the hidden message of movies such as Back to the Future. In it, Marty McFly reinvents his whole family by going back in time and correcting a little incident for his parents. That little correction affects his whole life in the future. We can do the same thing through our imagination. Everything we don’t like that happened before, we can imagine the opposite, the good instead. Furthermore, we can imagine the best for

our colleagues, students and friends. When we

say that so and so will always be “that way,” we

are imagining that for them. When we say that

certain SUT students are weak and shouldn’t be

here, we are imprisoning them in our

imagination. We can free them using our

imagination and help them become all they can

be and more.

5

Perhaps it is worthy to quote Einstein in full (thank you, Wikipedia): I believe in intuition and inspiration. … At times I feel certain I am right while not knowing the reason. When the eclipse of 1919 confirmed my intuition, I was not in the least surprised. In fact I would have been astonished had it turned out otherwise. Imagination is more important than knowledge. For knowledge is limited, whereas imagination embraces the entire world, stimulating progress, giving birth to evolution. It is, strictly speaking, a real factor in scientific research. Of course this article is not fully scientific: a lot of mystical stuff resides in here, but I hope we can all be encouraged to develop this, the most god-like of our traits, the imagination.

Page 6: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

ในห�วงคิดคํานึง

ตอน Enlightenment (ต3อ) 2. สมาธิ – การจดจ3อโดยต้ังจิตมั่น

ในเช�าของคืนวันท่ีจะตรัสรู�น้ันหลังจากพระองคEเสวยข�าวมธุปายาสท่ีนางสุชาดานํามาถวายแล�ว ก็ได�ทรงอธิษฐาน

เสี่ยงทายถาดทองคําท่ีแม7นํ้าเนรัญชรา แล�วประทับยับยั้งอยู7ท่ีน้ันจนตะวันบ7ายคล�อยเสด็จกลบัมายังต�นพระศรีมหา โพธ์ิ ในระหว7างทาง ได�ทรงรับหญ�าคา 6 กํามือ จาก

พราหมณE จึงนํามาปูลาด ณ ใต�ต�น พระศรีมหาโพธ์ิ แล�วข้ึนประทับผินพระพักตรEไปทางทิศตะวันออก แล�วจึงอธิษฐานว7า ตราบใดท่ียังไม7ได�บรรลุพระสัมโพธิญาณ

แม�ว7าเน้ือและเลือดจะเหือดแห�งไปจนเหลือเพียงหนังหุ�มกระดูกก็ตาม ก็จะไม7ลุกจากบัลลังกEน้ี หลังจาก อธิษฐานจิต พระองคEก็ได�เผชิญกับสงครามจิตวิทยากับพญามาร

และพรรคพวก แต7พระองคEก็สามารถเอาชนะได� ก7อนท่ีพระอาทิตยEจะตกเล็กน�อยก็ได�เจริญภาวนาจนได�บรรลุพระญาณต7าง ๆ ตามลําดับ คือ

ปฐมยาม ทรงบรรลุบุพเพนิวาสานุสสติญาณ สามารถระลึกชาติในอดีตได�เป@นเหตุให�ทรงยั่งรู�อัตตภาพขันธสังขารต7างท่ี ประกอบกันข้ึนและดับไปนับครั้งไม7ถ�วน ทําให�ทรงกําจัด

ความหลงในขันธEอันเป@นเหตุรักหรือชังเสียได�โดยสิ้นเชิง มัชฌิมยาม ทรงบรรลจุุตูปปาตญาณ หรือ ทิพพจักษุ สามารหยั่งรู�การเกิดการตายตลอดถึงสาเหตุท่ีทําให�สรรพสัตวEต�อง

เวียนว7ายตาย เกิดในรูปแบบต7าง ๆ กันออกไปก็ด�วยอํานาจกรรมท่ีแตกต7างกัน เป@นผลให�ทรงกําจัดความหลง ในคติแห7งขันธEอันเป@นเหตุสาํคัญผิดด�วยประการต7าง ๆ ได�

ปbจฉิมยาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ สามารถกําจัดอาสวักกิเลสน�อยใหญ7ท้ังมวลได�สิ้นเชิงด�วยพระปSญญารู�แจ�งความ จริงอันประเสริฐและเข�าใจชัดแจ�งถึงสายโซ7แห7งชีวิตท่ีเกิดดับ

โดยความอาศัยกันและกัน แห7งเหตุปSจจัย หรือ ปฏิจจสมุทปบาทธรรม ทําให�ทรงได�ชีวิตใหม7 บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ กลายเป@นพระสัมมาสัมพุทธเจ�า ผู�มีพระญาณอันหมดจดวิเศษเหนือกว7ามนุษยE และทวยเทพท้ังมวล 3. ปbญญา – ผู�รู� ผู�ต่ืน ผู�เบิกบาน

ภายหลังจากตรัสรู� พระองคEก็ได�ประทับน่ังเสวยวิมุติสุขและพิจารณาปฏิจจสมุปบาทธรรมตลอด 7 วัน ณ ควงไม�พระศรีมหาโพธ์ิ โดยมิได�เสด็จลุกไปไหนด�วยเหตุอัศจรรยEดังกล7าว พระองคEประทับเสวยวิมุตติสุข (การพบสุขท่ีเกิดเพราะความหลุดพ�น จากกิเลส) อยู7ในท่ี 7 แห7งๆ ละ 7 วัน จากน้ันพระพุทธเจ�าเสด็จไปยังปkาอิสิปตนมฤคทายวันแขวงเมืองพาราณสีทันทีหลังการตรัสรู�ของพระองคE เพ่ือเทศนาโปรดปSญจวัคคียE พระองคEทรงแสดงหลักอริยสัจสี่ ซ่ึงสรุปแก7นคําสอนของพระองคEในลักษณะเดียวกับท่ีแพทยEกระทําในการรักษาผู�ปkวย คือประการแรก ค�นหาสมุฏฐานโรคของมนุษยEจากน้ันก็ยืนยันว7าความเจ็บปkวยน้ันสามารถรักษาให�หายได� และท�ายท่ีสุดก็ประกอบยาให�รับประทาน • อริยสัจข�อแรก แสดงลักษณะสภาวะของมนุษยE อัน

ได�แก7 ทุกขE คือความทุกขEทนและความผิดหวัง สิ่งเหล7าน้ีเกิดข้ึนเน่ืองจากเราไม7ยอมรับความจริงของชีวิตท่ีว7า สรรพสิ่งรอบตัวเราล�วนไม7เท่ียงและเปลี่ยนแปลงไป พระพุทธเจ�าตรัสว7า “สรรพสิ่งย3อมเกิดขึ้นและดับไป” ความคิดท่ีว7า ธรรมชาติมีลักษณะเลื่อนไหลเปลี่ยนแปลงนับเป@นรากฐานของพุทธศาสนา ในทัศนะของชาวพุทธ ความทุกขEเกิดข้ึนเมื่อเราต�านกระแสของชีวิตและพยายามยึดเหน่ียวเอารูปลักษณEอันใดอันหน่ึงอย7างตายตัว ท้ังท่ีท้ังหมดน้ันล�วนเป@นมายา ไม7ว7าจะเป@นสิ่งของ เหตุการณE บุคคล หรือความคิดก็ตาม คําสอนเรื่องความไม7เท่ียง รวมไปถึงความคิดท่ีว7าไม7มีตัวตน ไม7มีอัตตาซ่ึงเท่ียงแท�ถาวรเป@นผู�รับรู�ประสบการณEท้ังหลายของเรา พุทธศาสนาถือว7าความคิดเรื่องอัตตาของปSจเจกบุคคลเป@นเพียงภาพลวง เป@นอีกรูปหน่ึงของมายา เป@นความคิดนึกท่ีเฉลียวฉลาดแต7หาความจริงไม7ได� การยึดติดกับความคิดน้ีนําไปสู7ความพลาดหวังเช7นเดียวกับการยึดติดกับความคิดลักษณะอ่ืน ๆ

6

เรียบเรียงโดย

ผศ. ดร.วิสิษฐ� แววสูงเนิน

ผู�ช3วยอธิการบดีฝ6ายวิชาการ

Page 7: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

• อริยสัจข�อท่ีสอง กล7าวถึงสาเหตุแห7งความทุกขE คือ ตัณหา ความยึดอยาก การจับฉวยเอาด�วยความอยาก การไขว7คว�าอย7างไร�ประโยชนEของชีวิตอันเน่ืองมาจากทัศนะท่ีผิดซ่ึงเรียกว7า อวิชชา หรือความไม7รู� จากอวิชชาเราได�แบ7งโลกซ่ึงเรารับรู�ออกเป@นปSจเจกชนและสิ่งต7าง ๆ ท่ีแยกจากกัน ดังน้ันจึงพยายามท่ีจะจํากัดขอบเขตของสัจจะซ่ึงมีลักษณะเลื่อนไหล ให�อยู7ลักษณะคงท่ีตามท่ีจิตในของเราสร�างข้ึน ตราบเท7าท่ีทัศนะเช7นน้ียังคงอยู7เราก็ตกอยู7ภายใต�ความทุกขEทนวนเวียน เมื่อเราพยายามท่ีจะยึดอยู7กับสิ่งซ่ึงเราเห็นว7ามั่นคงและเท่ียงแท� ท้ังท่ีจริงมันเป@นสิ่งคงอยู7ช่ัวครั้งช่ัวคราวและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เราก็ถูกจับอยู7ในวังวนซ่ึงทุก ๆ การกระทําก7อให�เกิดการกระทําต7อไปอีก และคําตอบต7อทุกคําถามแฝงไว�ด�วย คําถามใหม7 วังวนอันน้ีในพุทธศาสนาเรียกว7า สังสารวัฏ วังวนแห7งการเกิดและการตาย ถูกผลักดันให�หมุนไปโดยกรรม ลูกโซ7แห7งเหตุและผลอันไม7รู�จบ

• อริยสัจข�อท่ีสาม กล7าวว7าความทุกขEความพลาดหวังอาจทําให�หมดไปได� เป@นไปได� ท่ี เราจะก�าวพ�นวังวนแห7งสังสารวัฏ หลุดพ�นจากกรรมและลุถึงภาวะแห7งความหลุดพ�นท่ีเรียกว7า นิพพาน ในภาวะนิพพาน ความคิดท่ีผิดพลาดในเรื่องตัวตนซ่ึงเป@นเอกเทศได�มลายไป และความเป@นหน่ึงเดียวของสรรพชีพปรากฏข้ึนอย7างคงท่ีในความรับรู� เป@นภาวะการรับรู�ท่ีไปพ�นปSญญาอย7างสามัญ และท�าทายต7อคําอธิบายอีกมากมาย การบรรลุนิพพานคือการบรรลุถึงความตื่นหรือพุทธภาวะ

• อ ริยสั จข� อ ท่ีสี่ คื อ โ อสถของพระ พุทธ เจ� า ซ่ึ ง ใช�บําบัดรักษาความทุกขEท้ังมวล น่ันคือ อริยมรรคมีองคEแปด หนทางแห7งการพัฒนาตนเองสู7พุทธภาวะ องคEมรรคสองแรกคือสัมมาทิฐิและสัมมาสังกัปปะ น่ันคือญาณทัสนะท่ีกระจ7างชัด ส7องเข�าไปภายในสภาวะของมนุษยE อันเป@นจุดเริ่มต�นท่ีจําเป@น องคEมรรคสี่ข�อต7อมาเป@นเรื่องการกระทําท่ีถูกต�อง อันประกอบข้ึนเป@นวินัยของวิถีชีวิตของชาวพุทธ เป@นทางสายกลางระหว7างทางสุดโต7งสองสาย องคEมรรคสองข�อสุดท�าย คือ สัมมาสติและสัมมาสมาธิ ในตอนท�ายได�บรรยายถึงประสบการณEโดยตรงต7อสัจจะ ซ่ึงเป@นเปhาหมายสุดท�ายของมนุษยE

ภายหลังการตรัสรู� ทรงคํานึงว7า ธรรมท่ีพระองคEตรัสรู�น้ี ลึกซ้ึงมาก ยากท่ีผู�อ่ืนจะรู�ตาม จีงท�อพระทัยท่ีจะสั่งสอน แต7อาศัยพระกรุณาเป@นท่ีตั้ง ทรงเล็งเห็นว7าโลกน้ีผู�ท่ีพอจะรู�ตามได�ก็คงมี ตอนน้ีแสดงถึงบุคคล 4 เหล7า เปรียบกับดอกบัว 4 ประเภท คือ 1. อุคฆติตัญhู ได�แก7 ผู�ท่ีมีอุปนิสัยสามารถรู�ธรรมวิเศษได�ทันทีทันใดในขณะท่ีมีผู�สอนสั่ง สอนเปรียบเทียบ เหมือนดอกบัวท่ีโผล7ข้ึนพ�นนํ้าแล�ว พร�อมท่ีจะบานในเมื่อได�รับแสงพระอาทิตยEในวันน้ัน 2. วิปbจจิตัญhู ได�แก7 ผู�ท่ีสามารถจะรู�ธรรมวิเศษได� ต7อเมื่อท7านขยายความย7อให�พิสดารออกไปเปรียบเหมือนดอกบัวท่ีตั้งอยู7เสมอ ระดับนํ้า จักบานในวันรุ7งข้ีน 3. เนยยะ ได�แก7 ผู�ท่ีพากเพียรพยายาม ฟSง คิด ถาม ท7องอยู7เสมอไม7ทอดท้ิง จึงได�รู�ธรรม วิเศษ เปรียบเหมือนดอกบัวท่ียังไม7โผล7ข้ึนจากนํ้า ได�รับการหล7อเลี้ยงจากนํ้า แต7จะโผล7แล�วบานข้ีนในวันต7อ ๆ ไป 4. ปทปรมะ ได�แก7 ผู�ท่ีแม�ฟSง คิด ถาม ท7อง แล�วก็ไม7สามารถรู�ธรรมวิเศษได� เปรียบเหมือน ดอกบัวท่ีอยู7ใต�นํ้าติดกับเป�อกตม รังแต7จะเป@นภักษาหารแห7งปลาและเต7า

พุทธวิธีในการสอน ข�อสรุปพระคุณสมบัติของพระพุทธเจ�าท่ีควรสังเกต 1. ทรงสอนสิ่งท่ีเป@นจริง และเป@นประโยชนEแก7ผู�ฟSง 2. ทรงรู�เข�าใจสิ่งท่ีสอนอย7างถ7องแท�สมบูรณE 3. ทรงสอนด�วยเมตตา มุ7งประโยชนEแก7ผู�รับคําสอนเป@นท่ีตั้ง

ไม7หวังผลตอบแทน 4. ทรงทําได�จริงอย7างท่ีสอน เป@นตัวอย7างท่ีดี 5. ทรงมีบุคลิกภาพโน�มน�าวจิตใจให�เข�าใกล�ชิดสนิทสนม

และพึงพอใจได�ความสุข 6. ทรงมีหลักการสอน และวิธีสอนยอดเยี่ยม

หลักท่ัวไปในการสอน เกี่ยวกับเนื้อหาหรือเร่ืองท่ีสอน 1. สอนจากสิ่งท่ีรู�เห็นเข�าใจง7าย หรอืรู�เห็นเข�าใจอยู7แล�ว ไป

หาสิ่งท่ีเห็นเข�าใจได�ยาก หรือยังไม7รู�ไม7เห็นไม7เข�าใจ

7

Page 8: สารบัญ - web.sut.ac.thweb.sut.ac.th/fda/images/stories/pdf/Newsletter/2012/june.pdf · การสอนในปsจจุบันยังเนนที่เนื้อหาความรูส7วนใหญ7

2. สอนเน้ือเรื่องท่ีค7อยลุ7มลึก ยากลงไปตามลําดับข้ัน และความต7อเน่ืองกันเป@นสายลงไป อย7างท่ีเรียกว7า สอนเป@นอนุบุพพิกถา..

3. ถ�าสิ่งท่ีสอนเป@นสิ่งท่ีแสดงได� ก็สอนด�วยของจริง ให�ผู�เรยีน ได�ดู ได�เห็น ได�ฟSงเอง อย7างท่ีเรียกว7าประสบการณEตรง

4. สอนตรงเน้ือหา ตรงเรื่อง คุมอยู7ในเรื่อง มีจุด ไม7วกวน ไม7ไขว�เขว ไม7ออกนอกเรื่องโดยไม7มีอะไรเก่ียวข�องในเน้ือหา

5. สอนมีเหตุผล ตรองตามเห็นจริงได� อย7างท่ีเรียกว7า สนิทานํ 6. สอนเท7าท่ีจําเป@นพอดี สําหรับให�เกิดความเข�าใจ ให�เการ

เรียนรู�ได�ผล ไม7ใช7สอนเท7าท่ีตนรู� หรือสอนแสดงภูมิว7าผู�สอนมีความรู�มาก

7. สอนสิ่งท่ีมีความหมาย ควรท่ีเขาจะเรียนรู� และเข�าใจ เป@นประโยชนEแก7ตัวเขาเอง อย7างพุทธพจนEท่ีว7า พระองคEทรงมีพระเมตตา หวังประโยชนEแก7สัตวEท้ังหลาย จึงตรสัพระวาจาตามหลัก 6 ประการคือ • คําพูดท่ีไม7จริง ไม7ถูกต�อง ไม7เป@นประโยชนE ไม7เป@นท่ีรัก

ท่ีชอบใจของผู�อ่ืน - ไม7ตรสั • คําพูดท่ีจริง ถูกต�อง แต7ไม7เป@นประโยชนE ไม7เป@นท่ีรัก

ท่ีชอบใจของผู�อ่ืน - ไม7ตรสั • คําพูดท่ีจริง ถูกต�อง เป@นประโยชนE ไม7เป@นท่ีรักท่ี

ชอบใจของผู�อ่ืน - เลือกกาลตรัส • คําพูดท่ีไม7จริง ไม7ถูกต�อง ไม7เป@นประโยชนE ถึงเป@นท่ี

รักท่ีชอบใจของผู�อ่ืน - ไม7ตรัส • คําพูดท่ีจริง ถูกต�อง ไม7เป@นประโยชนE ถึงเป@นท่ีรักท่ี

ชอบใจของผู�อ่ืน - ไม7ตรสั • คําพูดท่ีจริง ถูกต�อง เป@นประโยชนE เป@นท่ีรักท่ีชอบ

ใจของผู�อ่ืน - เลือกกาลตรสั ลักษณะของพระพุทธเจ�าในเรื่องน้ี คือ ทรงเป@นกาลวาที สัจจวาที ภูตวาที อัตถวาที ธรรมวาที วินัยวาที เกี่ยวกับตัวผู�เรียน 1. รู� คํานึงถึง และสอนให�เหมาะสมตามความแตกต7าง

ระหว7างบุคคล... 2. ปรับวิธีสอนผ7อนให�เหมาะกับบุคคล แม�สอนเรื่องเดียวกัน

แต7ต7างบุคคล อาจใช�ต7างวิธี

3. นอกจากคํานึงถึงความแตกต7างระหว7างบุคคลแล�ว ผู�สอนยังจะต�องคํานึงถึงความพร�อม ความสุกงอม ความแก7รอบแห7งอินทรียE หรือญาณ ท่ีบาลี เรียกว7า ปริปากะ ของผู�เรียนแต7ละบุคคลเป@นรายๆ ไปด�วย

4. สอนโดยให�ผู�เรียนลงมือทําด�วยตนเอง ซ่ึงจะช7วยให�เกิดความรู�ความเข�าใจชัดเจน แม7นยําและได�ผลจริง เช7น ทรงสอนพระจูฬปSนถกผู�โง7เขลาด�วยการให�นําผ�าขาวไปลูบคลํา...

5. การสอนดําเนินไปในรูปท่ีให�รู�สึกว7าผู�เรียน กับผู�สอนมีบทบาทร7วมกัน ในการแสวงความจริง ให�มีการแสดงความคิดเห็นโต�ตอบเสรี หลักน้ีเป@นข�อสําคัญในวิธีการแห7งปSญญา ซ่ึงต�องการอิสรภาพในทางความคิด และโดยวิธีน้ีเมื่อเข�าถึงความจริง ผู�เรียนก็จะรู�สึกว7าตนได�มองเห็นความจริงด�วยตนเอง และมีความชัดเจนมั่นใจ หลักน้ีเป@นหลักท่ีพระพุทธเจ�าทรงใช�เป@นประจํา และมักมาในรูปการถามตอบ

6. เอาใจใส7บุคคลท่ีควรได�รับความสนใจพิเศษเป@นรายๆ ไปตามควรแก7กาละเทศะ และเหตุการณE...

7. ช7วยเหลือเอาใจใส7คนท่ีด�อย ท่ีมีปSญหา...

8

☺ มีต7อฉบับหน�า ☺