150
สถานการณสินคาเกษตรที่สําคั และแนวโนม 2553 ISBN 978-974-403-640-7

¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรที่สําคัญ

และแนวโนม ป 2553 ISBN 978-974-403-640-7

Page 2: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม

ป 2553

สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตรสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 3: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

22

คํานํา

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรไดวิเคราะหสถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญในป

2552 ที่ผานมา และคาดการณแนวโนมป 2553 เพ่ือประเมินสถานการณการผลิต การตลาด

การสงออก การนําเขา และราคาของสินคาเกษตรท่ีสําคัญ จํานวน 19 ชนิด ซ่ึงผลการ

วิเคราะหจะนําไปใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาวางแผนดานการผลิตและการตลาด โดย

เอกสารฉบับนี้ใชประกอบการสัมมนาสถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนมป 2553

ในวันพุธที่ 2 ธันวาคม 2552 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนช่ัน กรุงเทพฯ

การจัดทําการวิเคราะหสถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนมป 2553 ไดรับ

ความรวมมือและอนุเคราะหขอมูลอยางดียิ่งจากหนวยงานตางๆ ที่เก่ียวของ ทั้งภาครัฐและ

เอกชน เชน กรมศุลกากร กรมการคาภายใน กรมสงเสริมการสงออก สมาคมผูผลิตและ

สงออกสินคาเกษตร เปนตน สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตองขอขอบคุณไว ณ โอกาสน้ี หากมีขอผิดพลาดประการใด ขอนอมรับเพ่ือนําไปปรับปรุง

แกไขใหดียิ่งข้ึนตอไป

สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ธันวาคม 2552

Page 4: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

33

สารบัญ

หนา

กลุมพืชไร

1. ขาว 7

2. ขาวโพดเล้ียงสัตว 25

3. ถ่ัวเหลือง 32

กลุมพืชพลังงานทดแทน

4. มันสําปะหลัง 41

5. ออยโรงงาน 47

6. ปาลมนํ้ามัน 53

กลุมพืชสวน

7. ยางพารา 63

8. สับปะรด 72

9. ลําไย 81

10. ทุเรียน 85

11. มังคุด 89

12. เงาะ 92

กลุมปศุสัตวและประมง

13. ไกเน้ือ 99

14. ไกไข 106

15. สุกร 111

16. โคเน้ือ 118

17. โคนม 125

18. กุง 133

19. ปลาปน 142

Page 5: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 6: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กลุมพืชไร1. ขาว 2. ขาวโพดเล้ียงสัตว 3. ถั่วเหลือง

Page 7: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 8: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

77

1. ขาว1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ผลผลิตขาวโลกในชวง 5 ปที่ผานมา (2547/48 - 2551/52) มีแนวโนมเพิ่มข้ึนจาก 401.756 ลานตันขาวสาร (597.80 ลานตันขาวเปลือก) เปน 445.667 ลานตันขาวสาร (664.70 ลานตันขาวเปลือก) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 2.46 ในป 2551/52 มีพ้ืนที่เก็บเก่ียว 978.125 ลานไร ไดผลผลิต 445.667 ลานตันขาวสาร (664.70 ลานตันขาวเปลือก) ผลผลิตตอไร 672 กิโลกรัม ทั้งพ้ืนที่และผลผลิตเพ่ิมขึ้นจาก 966.875 ลานไร และ 433.398 ลานตันขาวสาร (646.60 ลานตันขาวเปลือก) ของป 2550/51 รอยละ 1.16 และ 2.83 ตามลําดับ ทั้งนี้เน่ืองจากการเพ่ิมขึ้นของผลผลิตของประเทศผูผลิตและผูบริโภคที่สําคัญ เชน จีน อินเดีย บังคลาเทศ อินโดนีเซีย เวียดนาม และฟลิปปนส เปนตน 1.1.2 การตลาด (1) การบริโภค การบริโภคขาวของโลกในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548 – 2552) มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจาก 409.385 ลานตันขาวสาร เปน 435.339 ลานตันขาวสาร หรือเพ่ิมในอัตรารอยละ 1.53 สําหรับในป 2552 การบริโภคขาวโลกมีจํานวน 435.339 ลานตันขาวสาร เพ่ิมขึ้นจาก 428.116 ลานตันขาวสาร ของป 2551 รอยละ 1.69 เน่ืองจากการเพ่ิมขึ้นของประชากร (2) การคาขาวของโลก การคาขาวโลกในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548 – 2552) มีแนวโนมลดลงจาก 28.931 ลานตันขาวสาร เปน 28.212 ลานตันขาวสาร หรือลดลงในอัตรารอยละ 0.34 (2.1) การสงออกขาวของโลก ในป 2552 การสงออกขาวโลก มีจํานวน 28.212 ลานตันขาวสาร ลดลงจากป 2551 ซ่ึงสงออกได 29.598 ลานตันขาวสาร หรือลดลงรอยละ 4.68 โดยประเทศที่สงออกลดลงไดแก ไทย อินเดีย สหรัฐอเมริกา บราซิล จีน อียิปต และอียู ประเทศท่ีสงออกเพ่ิมขึ้นไดแก เวียดนาม กัมพูชา อารเจนตินา และอุรุกวัย เปนตน อยางไรก็ตามประเทศไทยยังคงเปนผูนําในการสงออกขาวเปนอันดับ 1 ของโลก โดยคาดวาไทยจะสงออกขาวไดประมาณ 8.60 ลานตันขาวสาร หรือคิดเปนสวนแบงการตลาด รอยละ 30 ของการสงออกขาวท้ังหมด เน่ืองจากไทยมีศักยภาพในการสงออก เพราะมีผลผลิตและสต็อกขาวเพียงพอตอความตองการขาวของโลก ประเทศท่ีมีสวนแบงการตลาดรองลงมาไดแก เวียดนาม ปริมาณ 5.70 ลานตันขาวสาร หรือรอยละ 20 สหรัฐอเมริกา ปริมาณ 3.10 ลานตันขาวสาร หรือรอยละ 11 ปากีสถาน ปริมาณ 3 ลานตันขาวสาร หรือรอยละ 10 และอินเดีย ปริมาณ 2 ลานตันขาวสาร หรือรอยละ 7 ตามลําดับ

Page 9: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

88

จากวิกฤติเศรษฐกิจโลกในป 2552 สงผลใหประเทศผูนําเขามีอํานาจซ้ือลดลง แตความตองการขาวเพ่ือการบริโภคยังเปนสิ่งจําเปน จึงหันไปซ้ือขาวคุณภาพตํ่าจากเวียดนาม กัมพูชา พมา และประเทศท่ีมีราคาถูกทดแทนการซ้ือขาวคุณภาพดีจากไทย สงผลใหไทยตองเสียสวนแบงการตลาดในป 2552 ประมาณรอยละ 4 ขณะที่เวียดนามไดสวนแบงการตลาดเพิ่มขึ้นรอยละ 4 เชนกัน (2.2) การนําเขาขาวของโลก ในป 2552 การนําเขาขาวโลก มีจํานวน 28.212 ลานตันขาวสาร ลดลงจากป 2551 รอยละ 4.70 เน่ืองจากในป 2551 เกิดวิกฤติทางดานอาหาร สงผลใหหลายประเทศนําเขาขาวเพ่ือเก็บสต็อกสํารองในประเทศจํานวนมาก ทําให ในป 2552 จึงมีการนําเขาขาวนอยลงเทาที่ตองการเทานั้น เชน มาเลเซีย ฟลิปปนส บราซิล และเซเนกัล เปนตน สําหรับอินโดนีเซียไมมีการนําเขา เน่ืองจากรัฐบาลสนับสนุนใหเพ่ิม ผลผลิตขาวในประเทศโดยผลิตขาวลูกผสมเพ่ือใหสามารถพ่ึงตนเองได แตอยางไรก็ตามประเทศที่นําเขามากที่สุดยังคงเปนฟลิปปนส ซ่ึงคาดวาจะนําเขาขาวประมาณ 2 ลานตันขาวสาร และประเทศท่ีนําเขาขาวรองลงมาไดแก อิหราน ไนจีเรีย ซาอุดิอาระเบีย และ อียู เน่ืองจากผลผลิตไมเพียงพอตองนําเขาขาวเพ่ิมขึ้น (2.3) สถานการณของประเทศผูสงออกและนําเขาท่ีสําคัญ (2.3.1) สถานการณทวีปเอเชีย จากสภาพปญหาความแหงแลงในอินเดียและพายุไตฝุนที่เกิดขึ้นที่ฟลิปปนส ไดทําลายพ้ืนที่นาขาวจํานวนมาก ซ่ึงอาจสงผลกระทบตอความมั่นคงทางอาหารข้ึนได โดยนายอาเธอร แย็บ เลขาธิการดานการเกษตรของฟลิปปนส ไดรายงานถึงความจําเปนในการสํารองอาหารของโลก ซ่ึงจะเปนมาตรการปองกันความผันผวนของราคาท่ีอาจเกิดข้ึนจากผลกระทบดังกลาวได นอกจากนี้ ยังชวยลดโอกาสในการเกิดการจลาจลซ่ึงอาจเกิดข้ึนอยางนอยถึง 30 ประเทศ ในปจจุบัน อัตราการขยายตัวของผลผลิตขาวลดลงประมาณรอยละ 1 ตอป เน่ืองจากหลายปจจัย เชน ขอจํากัดเร่ืองนํ้า พ้ืนที่สวนใหญถูกใชสําหรับเพาะปลูกพืชพลังงาน การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการเพ่ิมขึ้นของราคาปจจัยการผลิต เชน นํ้ามันและปุย เปนตน จากสถานการณดังกลาวไดเสนอแนะวา ควรมีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยี เพ่ือเสริมสรางศักยภาพการผลิต พรอมกับการใชเมล็ดพันธุที่หลากหลาย เพ่ือใหเกิดการฟนตัวจากสภาพปญหาดังกลาว (2.3.2) สถานการณประเทศอินเดีย อินเดียเปนประเทศผูปลูกขาวใหญเปนอันดับ 2 ของโลกรองจากจีน ซ่ึงในชวง 5 ปที่ผานมา (2547/48 – 2551/52) ผลผลิตขาวอินเดียมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 83.130 ลานตันขาวสาร เปน 99.150 ลานตันขาวสาร หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 4.13 แตการสงออกมีแนวโนมลดลงจาก 4.687 ลานตันขาวสาร เหลือ 2 ลานตันขาวสาร หรือลดลงรอยละ 18.11

Page 10: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

99

เน่ืองจากในป 2551 อินเดียประกาศงดการสงออกขาวขาวยกเวนขาวบาสมาติ เน่ืองจากอินเดียประสบปญหาภัยนํ้าทวมในป 2551 ผลผลิตขาวสาลีเสียหายไมเพียงพอตอการบริโภค และมีราคาสูงเน่ืองจากผลกระทบน้ํามันเช้ือเพลิงมีราคาสูงข้ึน รัฐบาลจึงประกาศงดการสงออกขาวขาวเพ่ือเก็บไวบริโภคในประเทศต้ังแตป 2551 จนถึงปจจุบันและไดประกาศงดสงออกตอไปอีกจนถึงป 2553 สงผลใหสต็อกปลายปเพ่ิมขึ้นจาก 8.50 ลานตันขาวสาร เปน 17 ลานตันขาวสาร หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 17.33 (2.3.3) สถานการณประเทศเวียดนาม เวียดนาม เปนประเทศผูสงออกขาวรายใหญเปนอันดับ 2 ของโลกรองจากไทย ซ่ึงในชวง 5 ปที่ผานมา (2547/48 – 2551/52) ผลผลิตขาวเวียดนามมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจาก 22.716 ลานตันขาวสาร เปน 24.430 ลานตันขาวสาร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 2.16 และการสงออกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 5.174 ลานตันขาวสาร เปน 5.70 ลานตันขาวสาร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.83 โดยในป 2552 สงออกเพ่ิมขึ้นจากป 2551 รอยละ 22.58 เน่ืองจากความตองการขาวท่ีเพ่ิมขึ้นของประเทศฟลิปปนสและประเทศในแถบแอฟริกาและตะวันออกกลาง ซ่ึงแหลงผลิตขาวเพ่ือการสงออกที่สําคัญของเวียดนาม ไดแกบริเวณสามเหล่ียมปากแมนํ้าโขงและบริเวณจังหวัดเทียนเจียงในเวียดนามตอนใต โดยในชวง 9 เดือนแรกของป 2552 (มกราคม – กันยายน 2552) เวียดนามสงออกขาวไปยังแอฟริกามีปริมาณ 1.40 ลานตัน หรือเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 98 ในขณะท่ีสงออกไปตะวันออกกลางสูงถึง 250,000 ตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 65 นอกจากน้ันจากกรณีที่ฟลิปปนสไดรับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ สงผลใหฟลิปปนสจะนําเขาขาวเร็วข้ึน โดยมีการเปดประมูลนําเขาขาวประมาณ 250,000 ตัน ในชวงตนเดือนพฤศจิกายน 2552 ซ่ึงผลการประมูลเวียดนามได 150,000 ตัน อนึ่ง จากสมาคมอาหารเวียดนาม (VFA) ไดรายงานวา ปริมาณขาวท่ีไดทําสัญญาในการสงออกใน 3 ไตรมาสแรกของปมีประมาณ 5.80 ลานตัน ซ่ึงมีการสงออกจริงเขาใกล 5 ลานตันแลว และคาดการณวาจะมีการสงออกในไตรมาสสุดทายสูงถึง 1.20 ลานตัน (2.3.4) สถานการณประเทศฟลิปปนส ฟลิปปนส เปนประเทศผูนําเขาขาวรายใหญที่สุดในโลก ซ่ึงในชวง 5 ปที่ผานมา (2547/48 – 2551/52) แมผลผลิตขาวฟลิปปนสมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจาก 9.425 ลานตันขาวสาร เปน 10.753 ลานตันขาวสาร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 3.34 แตการนําเขาก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามเชนกัน โดยเพ่ิมข้ึนจาก 1.890 ลานตันขาวสาร เปน 2 ลานตันขาวสาร หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 4.57 ซ่ึงโดยปกติแลวฟลิปปนสมีการนําเขาขาวทุกปเพ่ือทดแทนการผลิตภายในประเทศที่ยังคงขาดแคลนอยูประมาณรอยละ 10 และจากภัยธรรมชาติในปนี้หลายคร้ังทําใหผลผลิตขาวฟลิปปนสเสียหายไปประมาณ 925,000 ตัน และจากรายงานขององคการอาหารแหงชาติฟลิปปนส (National Food Authority : NFA) เปดเผยวา รัฐบาลฟลิปปนสไดวางแผน

Page 11: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

1010

ที่จะนําเขาขาวเพ่ิมเติมนอกเหนือจากการประมูลขาวจํานวน 250,000 ตันในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 เพ่ือการสํารองขาวสําหรับปหนาเน่ืองจากเกรงวาราคาขาวจะปรับตัวสูงข้ึน โดยไดเล่ือนการประมูลขาวจากเดิมที่ตั้งไวส้ินเดือนตุลาคมเปนตนเดือนพฤศจิกายนแทน เน่ืองจากผูคาขาว สวนใหญจะเขารวมการประชุมขาวนานาชาติ (International Rice Conference) ซ่ึงจัดข้ึนวันที่ 28 - 29 ตุลาคม 2552 ณ จังหวัด Cebu ซ่ึงเปนจังหวัดที่อยูทางตอนกลางของฟลิปปนส โดยผลการประมูลขาวของรัฐบาลประเทศฟลิปปนส เมื่อวันที ่4 พฤศจิกายน 2552 เปาหมาย 275,000 ตัน (ขาว 25%) บริษัทที่ชนะการประมูลขาวชนิด 25% จํานวน 250,000 ตัน มี 2 บริษัทไดแก บริษัท แดวู อินเตอรเนช่ันแนลคอรป ของเกาหลีใต ได 100,000 ตนั ทีร่าคา C&F 468.50 ดอลลารสหรัฐฯ/ตนั (หรือ15,552.14 บาท/ตนั) และจะทําการสงมอบในเดือนมกราคม – เมษายน 2553 โดยผลผลิตงวดแรก รอยละ 20 จะถูกสงภายใน 25 มกราคม 2553 และบริษัทเวียดนามเซาธเทิรนฟูดสคอรป (เวียนาฟูด) ของเวียดนามได 150,000 ตัน ในราคา C&F 480 ดอลลารสหรัฐฯ/ตัน (หรือ 15,933.89 บาท/ตัน) และจะสงมอบภายในเดือนมกราคม 2553 นอกจากนี้ฟลิปปนสยังเสนอประมูลซ้ือขาว 25% ปริมาณ 62,500 ตัน เพ่ิมอีกดวย 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต (1) ขาวนาป ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2547/48-2551/52) พ้ืนที่ปลูกลดลงจาก 57.652 ลานไร ในป 2547/48 เปน 57.422 ลานไร ในป 2551/52 หรือลดลงในอัตรารอยละ 0.15 แตผลผลิตและผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นจาก 22.649 ลานตันขาวเปลือก และ 393 กิโลกรัมตอไร ในป 2547/48 เปน 23.235 ลานตันขาวเปลือก และ 405 กิโลกรัมตอไร ในป 2551/52 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 0.41 และ 0.58 ตามลําดับ จากผลการสํารวจขาวนาป ป 2551/52 พบวามีพ้ืนที่ปลูก 57.422 ลานไร ผลผลิต 23.235 ลานตันขาวเปลือก และผลผลิตตอไร 405 กิโลกรัม พ้ืนที่เพ่ิมขึ้นจากป 2550/51 รอยละ 0.06 เน่ืองจากขาวมีราคาสูงข้ึนคอนขางมาก จูงใจใหเกษตรกรเพ่ิมพื้นที่ปลูกขาวแตไมมากนักเน่ืองจากขอจํากัดของพื้นที่การเกษตร และเกษตรกรบางสวนเปล่ียนไปปลูกพืชพลังงานทดแทน เชน ปาลมนํ้ามัน และยางพารา เปนตน สําหรับผลผลิตและผลผลิตตอไรลดลงจากป 2550/51 รอยละ 0.31 และ 0.25 ตามลําดับ เน่ืองจากในชวงท่ีขาวออกรวงกระทบอากาศหนาวเย็นทําใหขาวชะงักการเจริญเติบโตและเมล็ดลีบ (2) ขาวนาปรัง ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ทั้งพ้ืนที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไรมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 8.914 ลานไร 5.888 ลานตันขาวเปลือก และ 661 กิโลกรัมตอไร ในป 2548 เปน 12.402 ลานไร 8.415 ลานตันขาวเปลือก และ 679 กิโลกรัมตอไร ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 9.61, 10.27 และ 0.61 ตามลําดับ

Page 12: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

1111

สําหรับผลสํารวจขาวนาปรัง ป 2552 พ้ืนที่ปลูกมีประมาณ 12.402 ลานไร ไดผลผลิต 8.415 ลานตันขาวเปลือก และผลผลิตตอไร 679 กิโลกรัม ทั้งพ้ืนที่ ผลผลิตและผลิตตอไรลดลงจากป 2551 รอยละ 3.12 , 4.28 และ 1.16 ตามลําดับ 1.2.2 การตลาด (1) การใชภายในประเทศ ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ความตองการใช ในประเทศเพ่ือการบริโภค ทําพันธุ อาหารสัตว และอุตสาหกรรมแปรรูปอื่นๆ มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 15.860 ลานตันขาวเปลือก ในป 2548 เปน 17.101 ลานตันขาวเปลือก ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 2.08 เน่ืองจากการเพ่ิมขึ้นของประชากรในประเทศ จํานวนสัตว และผลิตภัณฑอุตสาหกรรมอาหารอ่ืนๆ ในป 2552 จะมีการใช ในประเทศประมาณ 17.101 ลานตันขาวเปลือก เพ่ิมขึ้นจาก 16.815 ลานตันขาวเปลือก ในป 2551 หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 1.70 (2) ราคาขาว - ราคาเกษตรกรขายได ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) ราคาขาวเปลือกนาปเกษตรกรขายได ขาวหอมมะลิ ขาว 5% และขาวเหนียวเมล็ดยาว ป 2548 เฉล่ียตันละ 7,685 6,607 และ 6,057 บาท เพ่ิมขึ้นเปนตันละ 14,500 9,650 และ 7,600 บาท ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 18.71, 12.39 และ 2.73 ตามลําดับ เน่ืองจากความตองการของตลาดโลกยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง สําหรับป 2552 ราคาเกษตรกรขายไดขาวเปลือกหอมมะลิและขาวเปลือกเหนียวเมล็ดยาว เฉล่ียตันละ 14,500 และ 7,600 บาท สูงข้ึนจากตันละ 12,536 และ 6,327 บาท ในป 2551 คิดเปนรอยละ 15.67 และ 20.12 ตามลําดับ สวนราคาเกษตรกรขายไดขาวเปลือก 5% เฉลี่ยตันละ 9,650 บาท ลดลงจากตันละ 9,848 บาท ของป 2551 รอยละ 2.01 - ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ราคาสงออกขาวหอมมะลิ ขาว 5% และขาวเหนียวเมล็ดยาว 10% ในป 2548 เฉล่ียตันละ 416 ดอลลารสหรัฐฯ (16,647 บาท/ตัน), 289 ดอลลารสหรัฐฯ (11,554 บาท/ตัน) และ 318 ดอลลารสหรัฐฯ (12,729 บาท/ตัน) เพ่ิมข้ึนเปนตันละ 940 ดอลลารสหรัฐฯ (32,000 บาท/ตัน), 550 ดอลลารสหรัฐฯ (18,800 บาท/ตัน) และ 500 ดอลลารสหรัฐฯ (17,100 บาท/ตัน) ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 25.48, 23.29 และ 12.23 ตามลําดับ สําหรับป 2552 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ขาวหอมมะลิ เฉล่ียตันละ 940 ดอลลารสหรัฐฯ (32,000 บาท/ตัน) สูงข้ึนจากตันละ 910 ดอลลารสหรัฐฯ (30,083 บาท) ในป 2551 คิดเปนรอยละ 3.30 หรือสูงข้ึนในรูปเงินบาทตันละ 1,917 บาท แตราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ขาว 5% และขาวเหนียวเมล็ดยาว 10% กลับมีแนวโนมลดลงจาก 688 ดอลลารสหรัฐฯ (22,767 บาท/ตัน) และ 585 ดอลลารสหรัฐฯ (19,289 บาท/ตัน) ในป 2551 เหลือ 550 ดอลลารสหรัฐฯ

Page 13: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

1212

(18,800 บาท/ตัน) และ 500 ดอลลารสหรัฐฯ (17,100 บาท/ตัน) ในป 2552 หรือลดลงรอยละ 20.06 และ 14.53 ตามลําดับ (3) การสงออก ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ปริมาณและมูลคาการสงออกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 7.496 ลานตันขาวสาร มูลคา 92,994 ลานบาท (2,320 ลานเหรียญสหรัฐฯ) ในป 2548 เปน 8.60 ลานตันขาวสาร มูลคา 170,000 ลานบาท (5,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ) ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 6.02 และ 21.34 ตามลําดับ โดยในป 2552 คาดวาจะสงออกไดประมาณ 8.60 ลานตันขาวสาร มูลคา 170,000 ลานบาท ลดลงจาก 10.216 ลานตันขาวสาร มูลคา 203,219 ลานบาท ในป 2551 คิดเปนรอยละ 15.82 และ 16.35 ตามลําดับ ทั้งนี้เน่ืองจากป 2551 เกิดวิกฤตทางดานอาหาร ทําใหหลายประเทศเรงนําเขาขาวเพ่ือเพ่ิมสต็อกและขยายการผลิตขาวเพ่ือใหเพียงพอตอความตองการมากข้ึน ทําใหการสงออกขาวของไทยในป 2551 สูงมากเปนประวัติการณ2. แนวโนมในป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาจะมีพ้ืนที่เก็บเก่ียว 960 ลานไร ไดผลผลิตขาวโลก 433.655 ลานตันขาวสาร (646.80 ลานตันขาวเปลือก) และผลผลิตตอไร 672 กิโลกรัม ทั้งพ้ืนที่และผลผลิตลดลงจากป 2551/52 รอยละ 1.85 และ 2.70 ตามลําดับ เน่ืองจากการลดลงของผลผลิตของประเทศผูบริโภคและผูสงออกที่สําคัญของโลก เชน บังคลาเทศ อียิปต อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุน เกาหลีใต ปากีสถาน ฟลิปปนส เวียดนาม และไทย 2.1.2 การตลาด (1) การใชในประเทศ ในป 2553 คาดวาจะมีประมาณ 438.464 ลานตันขาวสาร เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 0.72 เน่ืองจากการเพ่ิมขึ้นของประชากร (2) ราคาซ้ือขายขาวเปลือกลวงหนาในตลาดชิคาโก ป 2553 ราคาซ้ือขายขาวเปลือกลวงหนาในตลาดชิคาโก มีแนวโนมลดลงจาก 1,488 เซนต/100 ปอนด (CWT) (331 ดอลลารสหรัฐฯ/ตัน หรือ 10,968 บาท/ตัน) ในเดือนพฤศจิกายน 2552 เปน 1,434 เซนต/100 ปอนด (CWT) (319 ดอลลารสหรัฐฯ/ตัน หรือ 10,570 บาท/ตัน) ในชวงเดียวกันของเดือนพฤศจิกายน 2553 หรือลดลงรอยละ 3.77 (3) การคาขาวของโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ไดคาดคะเนการคาขาวของโลก ป 2553 วาจะมีประมาณ 29.650 ลานตันขาวสาร เพ่ิมขึ้นจาก 28.21 ลานตันขาวสาร ของป 2552 รอยละ 5.10 เน่ืองจากหลายประเทศ เชน ฟลิปปนสประสบกับพายุไตฝุน Ondoy, Ketsana และ Prama

Page 14: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

1313

ที่ไดสรางความเสียหายแกผลผลิตขาวฤดูใหมจึงตองนําเขาขาวในปริมาณมาก สวนประเทศอินเดีย ผลผลิตขาวไดรับความเสียหายจากภัยแลงในชวงตนฤดูและน้ําทวมในชวงปลายฤดูซ่ึงทําใหผลผลิตขาวในปการผลิต 2552/53 ลดลง สงผลใหอินเดียตองขยายระยะเวลาการหามสงออกขาวออกไปจนถึงเดือนกันยายนหรือตุลาคม 2553 และตองนําเขาขาวเพ่ือชดเชยผลผลิตขาวท่ีเสียหายจากภัยธรรมชาติและรักษาระดับราคาและปริมาณขาวในสต็อก (3.1) การสงออกขาวของโลก ประเทศท่ีคาดวาสงออกเพ่ิมขึ้นไดแก อารเจนตินา จีน ปากีสถาน สวนประเทศท่ีคาดวาสงออกลดลงไดแก บราซิล อินเดีย เวียดนาม และสหรัฐอเมริกา (3.2) การนําเขาขาวของโลก ประเทศท่ีคาดวานําเขาเพ่ิมขึ้นไดแก บราซิล คิวบา เม็กซิโก อิรัก จีน มาเลเซีย ฟลิปปนส ซาอุดิอาระเบีย แอฟริกาใต และอียู เปนตน (3.3) สถานการณของประเทศผูสงออกและนําเขาท่ีสําคัญ (3.3.1) สถานการณประเทศอินเดีย ในป 2553 อนิเดยีคาดวาอาจจะมกีารนําเขาขาวสูงถึง 3 ลานตนั เน่ืองจากรัฐบาลตองการสํารองขาวในประเทศใหเพียงพอ เพ่ือปองกันกรณีที่ประเทศอาจประสบปญหาความแหงแลงอีกในปถัดไป ซ่ึงอาจสงผลใหราคาขาวโลกสูงข้ึนตาม (3.3.2) สถานการณประเทศฟลิปปนส ในป 2553 ฟลปิปนสคาดวาจะนาํเขาขาวประมาณ 2.40 ลานตนั เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 20 เพ่ือชดเชยผลผลิตขาวท่ีเสียหายจากพายุไตฝุนและเพ่ือรักษาระดับราคาขายปลีกขาวสารภายในประเทศและปริมาณขาวในสต็อก

2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต (1) ขาวนาป ป 2552/53 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรไดคาดการณ ณ เดือนกันยายน 2552 วาจะมีพ้ืนที่ปลูก 57.256 ลานไรไดผลผลิต 23.245 ลานตันขาวเปลือก และผลผลิตตอไร 406 กิโลกรัม โดยพ้ืนที่ลดลงจากป 2551/52 รอยละ 0.29 เน่ืองจากเกษตรกรบางสวนในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางไดปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา สวนเกษตรกรในภาคตะวันออกและภาคใตไดหันไปปลูกปาลมนํ้ามันแทน สําหรับผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นจากป 2551/52 รอยละ 0.25 เน่ืองจากพื้นที่ปลูกสวนใหญสภาพดินฟาอากาศเอ้ืออํานวย ปริมาณนํ้าเพียงพอประกอบกับมีการกระจายเมล็ดพันธุดีสูเกษตรกรเพ่ิมมากขึ้น แตก็มีบางสวนท่ีไดรับผลกระทบจากปริมาณนํ้าฝนนอยในเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2552 และปญหาการระบาดของเพล้ียกระโดดสีนํ้าตาล ทําใหการผลิตขาวเสียหาย สงผลใหผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นไมมากนัก โดยผลผลิตขาวจะเก็บเก่ียวไดตั้งแตเดือนสิงหาคม 2552 และจะเก็บเก่ียว

Page 15: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

1414

มากสุดในเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2552 ประมาณรอยละ 47.99 และ 27.22 ของผลผลิตขาวนาปทั้งหมด (2) ขาวนาปรัง ป 2553 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรไดคาดการณ ณ เดือน ตุลาคม 2552 วาจะมีพ้ืนที่ปลูก 12.090 ลานไร ผลผลิต 8.244 ลานตัน และผลผลิตตอไร 682 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับป 2552 พ้ืนที่ปลูกและผลผลิตลดลงคิดเปนรอยละ 2.52 และ 2.03 ตามลําดับ แตผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นคิดเปนรอยละ 0.44 ทั้งนี้พ้ืนที่ปลูกลดลงเน่ืองจากในปนี้ปริมาตรนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาดใหญและขนาดกลางนอยกวาปที่แลว รวมท้ังเกษตรกรบางสวนปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพาราและมันสําปะหลัง สวนภาคตะวันออกปรับเปลี่ยนไปปลูกปาลมนํ้ามันและยางพาราแทน สําหรับผลผลิตตอไรคาดวาเพ่ิมขึ้นจากป 2552 เน่ืองจากนโยบายรัฐบาลที่สนับสนุนและกระจายพันธุดีผานศูนยขาวชุมชนใหเกษตรกรมากข้ึน อยางไรก็ตามในภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศมีแนวโนมลดลงเนื่องมาจากการลดลงของพ้ืนที่ปลูก โดยผลผลิตขาวนาปรัง คาดวาจะเก็บเก่ียวไดตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2553 และจะเก็บเก่ียวมากท่ีสุดในเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ประมาณรอยละ 26.22 และ 19.28 ของผลผลิตขาวนาปรังทั้งหมด หรือคิดเปนผลผลิตรวม 2 เดือนประมาณ 3.751 ลานตันขาวเปลือก 2.2.2 การตลาด (1) การใชในประเทศ การใช ในประเทศ ประกอบดวย การบริโภค การใชทําพันธุ และใช ในอุตสาหกรรมอาหารสัตวและอ่ืนๆ โดยป 2553 คาดวาจะมีการใช ในประเทศ 17.829 ลานตันขาวเปลือก เพ่ิมขึ้นจาก 17.101 ลานตันขาวเปลือก ของป 2552 คิดเปนรอยละ 4.26 (2) ราคา แนวโนมราคาในประเทศป 2553 คาดวานาจะยังคงอยูในเกณฑสูง เน่ืองจากผลผลิตขาวโลกลดลงจากป 2552 ขณะที่ความตองการขาวในตลาดโลกมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่สต็อกขาวของโลกลดลง อีกท้ังประเทศผูสงออกที่สําคัญ เชน อินเดีย ประสบภาวะแหงแลง ผลผลิตไดรับความเสียหาย ไมสามารถสงออกไดและยังตองนําเขาขาวในป 2553 ประมาณ 1.00 - 3.50 ลานตัน และมีบางประเทศผูนําเขาประสบปญหาภัยธรรมชาติตองนําเขาขาวเพ่ิมขึ้น เชน ฟลิปปนส อิหราน และแอฟริกาใต ดังนั้นจึงคาดวาราคาขาวป 2553 นาจะสูงข้ึนจาก ป 2552 แตไมมากนัก เน่ืองจากประเทศผูนําเขาไดมีการสต็อกขาวไวมากหลังเกิดวิกฤติเมื่อป 2551 รวมท้ังในป 2553 ธัญพืชโลกโดยเฉพาะผลผลิตขาวสาลีเพ่ิมขึ้น จึงคาดวาราคาขาวในประเทศจะสูงข้ึนแตไมเทาป 2551 ที่ผลผลิตขาวสาลีของโลกลดลงมาก (3) การสงออก จากการคาดการณของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาวาผลผลิตขาวโลก ป 2553 จะลดลงจากป 2552 เน่ืองจากในหลายประเทศประสบภัยธรรมชาติ ในขณะท่ีการใช ในประเทศจะเพ่ิมขึ้น สงผลใหการคาขาวโลกเพ่ิมขึ้นตาม ดังนั้นในฐานะที่ไทยเปนผูสงออกรายใหญ

Page 16: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

1515

ที่สุดในโลกท่ีมีความพรอมทั้งปริมาณผลผลิตขาวและสต็อกคงเหลือ จึงคาดวาไทยจะสงออกไดเพ่ิมขึ้น แตหากการเปดตลาดเสรีสินคาขาวภายใต AFTA คือภาษีรอยละ 0 แลว คาดวาไทยอาจจะตองแขงขันกับประเทศเวียดนาม กัมพูชา พมาและลาวท่ีมีตนทุนถูกกวาไทย รวมท้ังผูสงออกเร่ิมมีการไปลงทุนในตางประเทศ ซ่ึงอาจนําขาวตางประเทศสงออกแทนขาวไทย ดังนั้นจึงคาดวาป 2553 ไทยจะสงออกขาวไดประมาณ 9.5 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552

ตารางท่ี 1 ผลผลิตขาวโลก ป 2547/48 – 2552/53

หนวย : ลานตันขาวสาร

ประเทศ ป 2547/48 ป 2548/49 ป 2549/50 ป 2550/51

ป 2551/52 อัตราเพ่ิม ป 2552/53 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

บังคลาเทศ 25.600 28.758 29.000 28.800 31.000 3.92 30.000 -3.23

บราซิล 8.996 7.874 7.695 8.199 8.600 -0.49 8.840 2.79

พมา 9.570 10.440 10.600 10.730 10.150 1.46 10.730 5.71

กัมพูชา 2.630 3.771 3.946 4.240 4.520 12.75 4.630 2.43

จีน 125.363 126.414 127.200 129.850 134.330 1.66 136.000 1.24

อิยิปต 4.128 4.135 4.383 4.385 4.387 1.82 4.370 -0.39

อินเดีย 83.130 91.790 93.350 96.690 99.150 4.13 84.000 -15.28

อินโดนีเซีย 34.830 34.959 35.300 37.000 38.300 2.50 37.600 -1.83

ญี่ปุน 7.944 8.257 7.786 7.930 8.029 -0.19 7.620 -5.09

เกาหลีใต 5.000 4.768 4.680 4.408 4.843 -1.41 4.500 -7.08

ไนจีเรีย 2.300 2.700 2.900 3.000 3.200 7.96 3.400 6.25

ปากีสถาน 5.025 5.547 5.450 5.700 6.300 4.91 6.000 -4.76

ฟลิปปนส 9.425 9.821 9.775 10.479 10.753 3.34 10.710 -0.40

เวียดนาม 22.716 22.772 22.922 24.375 24.430 2.16 23.800 -2.58

ไทย 18.834 19.993 19.564 21.185 20.889* 2.69 20.783* -0.51

สหรัฐฯ 7.462 7.105 6.267 6.344 6.515 -3.77 7.060 8.37

อื่นๆ 28.803 29.337 29.809 30.083 30.270 1.25 33.615 11.05

รวม 401.756 418.441 420.627 433.398 445.667 2.46 433.655 -2.70

หมายเหตุ : * ประมาณการ ณ เดือนตุลาคม 2552

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ขอมูลผลผลิตขาวไทย จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 17: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

1616

ตารางท่ี 2 ปริมาณการบริโภคขาวของโลก ป 2548 - 2553

หนวย : ลานตันขาวสาร

ประเทศ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

บังคลาเทศ 26.900 29.000 29.764 30.747 31.000 3.48 31.400 1.29

บราซิล 9.074 8.460 7.925 8.250 8.660 -1.18 8.840 2.08

พมา 10.300 10.400 10.670 10.249 9.550 -1.64 9.750 2.09

กัมพูชา 2.780 3.571 3.646 3.790 3.770 6.92 3.880 2.92

จีน 130.300 128.000 127.200 127.450 129.300 -0.20 132.500 2.47

อิยิปต 3.250 3.320 3.280 3.340 4.000 4.30 4.000 0.00

อินเดีย 80.861 85.088 86.700 90.470 93.150 3.50 89.500 -3.92

อินโดนีเซีย 35.850 35.739 35.900 36.350 37.090 0.85 37.400 0.84

ญี่ปุน 8.300 8.250 8.250 8.177 8.370 0.08 8.200 -2.03

เกาหลีใต 4.951 4.766 4.887 4.670 5.010 0.03 4.750 -5.19

ฟลิปปนส 10.400 10.722 12.000 13.499 13.650 8.05 14.010 2.64

เวียดนาม 17.595 18.392 18.775 19.400 19.150 2.25 19.150 0.00

ไนจีเรีย 4.250 4.300 4.400 4.500 5.000 3.77 5.100 2.00

สหรัฐฯ 3.934 3.828 4.102 4.080 4.100 1.47 4.140 0.98

ไทย 10.468 10.503 10.732 11.098 11.287* 2.08 11.767* 4.26

อื่นๆ 50.180 51.225 53.286 52.046 52.415 1.04 54.720 4.40

รวม 409.385 415.841 421.515 428.116 435.339 1.53 438.464 0.72

หมายเหตุ : * ประมาณการ ณ เดือนตุลาคม 2552

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ขอมูลผลผลิตขาวไทย จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 18: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

1717

ตารางท่ี 3 ปริมาณการสงออกขาวของโลก ป 2548 - 2553

หนวย : ลานตันขาวสาร

ประเทศ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

อารเจนตินา 0.348 0.487 0.436 0.408 0.500 5.63 0.550 10.00

บราซิล 0.272 0.291 0.201 0.511 0.450 17.00 0.400 -11.11

จีน 0.656 1.216 1.340 0.969 0.800 1.71 1.300 62.50

กัมพูชา 0.200 0.350 0.450 0.500 0.800 36.74 0.800 0.00

ญี่ปุน 0.200 0.200 0.200 0.200 0.200 0.00 0.200 0.00

อิยิปต 1.095 0.958 1.209 0.750 0.500 -16.58 0.500 0.00

อินเดีย 4.687 4.537 6.301 3.380 2.000 -18.11 1.500 -25.00

ปากีสถาน 3.032 3.579 2.696 3.000 3.000 -1.96 3.300 10.00

อุรุกวัย 0.762 0.812 0.734 0.634 0.800 -1.49 0.800 0.00

เวียดนาม 5.174 4.705 4.522 4.649 5.700 1.83 5.500 -3.51

อียู 0.201 0.144 0.139 0.160 0.140 -5.99 0.140 0.00

สหรัฐฯ 3.863 3.307 3.029 3.270 3.100 -4.41 3.050 -1.61

ไทย 7.496 7.494 9.193 10.216 8.600* 6.02 9.500* 10.47

อื่นๆ 0.945 1.040 1.394 0.951 1.622 10.42 2.110 30.09

รวม 28.931 29.120 31.844 29.598 28.212 -0.34 29.650 5.10

หมายเหตุ : * ประมาณการ ณ เดือนตุลาคม 2552

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ขอมูลการสงออกขาวไทย จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความรวมมือของกรมศุลกากร

Page 19: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

1818

ตารางท่ี 4 สวนแบงการตลาดขาวในตลาดโลก ป 2551 - 2553

ประเทศ ไทย เวียดนาม ปากีสถาน สหรัฐฯ อินเดีย จีน กัมพูชา อุรุกวัย อารเจนตินา อิยิปต บราซิล อ่ืนๆ รวม

ป 2551

- ปริมาณ 10.216 4.649 3.000 3.270 3.380 0.969 0.500 0.634 0.408 0.750 0.511 1.311 29.598

(ลานตัน)

- สวนแบงการตลาด 34.52 15.71 10.14 11.05 11.42 3.27 1.69 2.14 1.38 2.53 1.73 4.43 100

(รอยละ)

ป 2552

- ปริมาณ 8.600* 5.700 3.000 3.100 2.000 0.800 0.800 0.800 0.500 0.500 0.450 1.962 28.212

(ลานตัน)

- สวนแบงการตลาด 30.48 20.20 10.63 10.99 7.09 2.84 2.84 2.84 1.77 1.77 1.60 6.95 100

(รอยละ)

ป 2553

- ปริมาณ 9.500* 5.500 3.300 3.050 1.500 1.300 0.800 0.800 0.550 0.500 0.400 2.45 29.650

(ลานตัน)

- สวนแบงการตลาด 32.04 18.55 11.13 10.29 5.06 4.38 2.70 2.70 1.85 1.69 1.35 8.26 100

(รอยละ)

หมายเหตุ : * ประมาณการ ณ เดือนพฤศจิกายน 2552

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ขอมูลการสงออกขาวไทย จากสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความรวมมือของกรมศุลกากร

Page 20: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

1919

ตารางท่ี 5 ปริมาณการนําเขาขาวของโลก ป 2548 - 2553

หนวย : ลานตันขาวสาร

ประเทศ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

บังคลาเทศ 0.785 0.531 1.570 1.658 0.500 2.39 0.500 0.00

บราซิล 0.548 0.691 0.684 0.420 0.470 -7.73 0.650 38.30

โกตดิวัวร 0.850 0.750 0.980 0.800 0.800 -0.57 0.800 0.00

คิวบา 0.736 0.594 0.574 0.555 0.430 -10.80 0.580 34.88

เม็กซิโก 0.550 0.590 0.610 0.580 0.500 -2.06 0.600 20.00

อิหราน 1.200 1.500 1.500 1.500 1.700 7.21 1.700 0.00

อิรัก 0.786 1.306 0.613 0.975 1.000 1.91 1.100 10.00

ญี่ปุน 0.787 0.681 0.642 0.546 0.700 -4.45 0.700 0.00

จีน 0.609 0.654 0.472 0.295 0.330 -18.30 0.350 6.06

มาเลเซีย 0.751 0.886 0.799 1.020 0.830 3.47 0.850 2.41

ไนจีเรีย 1.777 1.600 1.550 1.600 1.600 -2.08 1.600 0.00

ฟลิปปนส 1.890 1.791 1.900 2.500 2.000 4.57 2.400 20.00

ซาอุดอิาระเบีย 1.357 0.958 0.961 1.360 1.370 3.76 1.400 2.19

เซเนกัล 0.850 0.600 0.700 0.860 0.700 -0.28 0.700 0.00

แอฟริกาใต 0.764 0.800 0.960 0.665 0.650 -4.95 0.800 23.08

อียู 1.058 1.220 1.342 1.520 1.350 7.33 1.400 3.70

สหรัฐฯ 0.419 0.633 0.695 0.651 0.700 11.12 0.740 5.71

อื่นๆ 13.214 13.335 15.292 12.093 12.582 -1.94 12.780 1.57

รวม 28.931 29.120 31.844 29.598 28.212 -0.34 29.650 5.10

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

Page 21: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

2020

ตารางท่ี 6 บัญชีสมดุลขาวโลก ป 2548 - 2553หนวย : ลานตันขาวสาร

รายการ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

สตอกตนป 81.150 73.390 75.992 75.103 80.382 0.04 90.710 12.85

ผลผลิต 401.756 418.441 420.627 433.398 445.667 2.46 433.655 -2.70

นําเขา 28.931 29.120 31.844 29.598 28.212 -0.34 29.650 5.10

ใช ในประเทศ 409.385 415.841 421.515 428.116 435.339 1.53 438.464 0.72

สงออก 28.931 29.120 31.844 29.598 28.212 -0.34 29.650 5.10

สตอ็กปลายป 73.390 75.992 75.103 80.382 90.710 4.92 85.901 -5.30

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ตารางท่ี 7 บัญชีสมดุลขาวประเทศอินเดีย ป 2548 - 2553หนวย : ลานตันขาวสาร

รายการ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

สต็อกตนป 10.918 8.500 10.520 11.430 13.000 6.67 17.000 30.77

ผลผลิต 83.130 91.790 93.350 96.690 99.150 4.13 84.000 -15.28

สงออก 4.687 4.537 6.301 3.380 2.000 -18.11 1.500 -25.00

ใช ในประเทศ 80.861 85.088 86.700 90.470 93.150 3.50 89.500 -3.92

สตอ็กปลายป 8.500 10.520 11.430 13.000 17.000 17.33 10.000 -41.18

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ตารางท่ี 8 บัญชีสมดุลขาวประเทศเวียดนาม ป 2548 - 2553หนวย : ลานตันขาวสาร

รายการ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

สต็อกตนป Na. 17.60 18.39 18.78 19.40 - 19.15 -1.29

ผลผลิต 22.716 22.772 22.922 24.375 24.430 2.16 23.800 -2.58

สงออก 5.174 4.705 4.522 4.649 5.700 1.83 5.500 -3.51

ใช ในประเทศ 17.595 18.392 18.775 19.400 19.150 2.25 19.150 0.00

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

Page 22: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

2121

ตารางท่ี 10 สต็อกขาวปลายปของโลก ป 2548 - 2553หนวย : ลานตันขาวสาร

ประเทศ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

จีน 38.931 36.783 35.915 37.641 42.200 1.86 44.751 6.05

อินเดีย 8.500 10.520 11.430 13.000 17.000 17.33 10.000 -41.18

อินโดนีเซีย 3.448 3.207 4.607 5.610 7.060 22.05 7.560 7.08

ฟลิปปนส 4.572 5.293 4.868 4.420 4.120 -3.81 3.230 -21.60

ญี่ปุน 1.919 2.395 2.406 2.556 2.715 7.89 2.640 -2.76

สหรัฐฯ 1.211 1.371 1.266 0.942 0.970 -7.86 1.490 53.61

อื่นๆ 14.809 16.423 14.611 16.213 16.645 2.23 16.230 -2.49

รวม 73.390 75.992 75.103 80.382 90.710 4.92 85.901 -5.30

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

ตารางท่ี 9 บัญชีสมดุลขาวประเทศฟลิปปนส ป 2548 - 2553หนวย : ลานตันขาวสาร

รายการ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

สต็อกตนป 3.65 4.572 5.293 4.868 4.420 4.56 4.120 -6.79

ผลผลิต 9.425 9.821 9.775 10.479 10.753 3.34 10.710 -0.40

นําเขา 1.890 1.791 1.900 2.500 2.000 4.57 2.400 20.00

ใช ในประเทศ 10.400 10.722 12.000 13.499 13.650 8.05 14.010 2.64

สตอ็กปลายป 4.572 5.293 4.868 4.420 4.120 -3.81 3.23 -21.60

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจําเดือนตุลาคม 2552

Page 23: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

2222

ตารางท่ี 11 พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไร ของขาวนาป และนาปรัง ป 2548 - 2553

ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551 ป 2552 อัตราเพ่ิม ป 2553 ผลตาง

รายการ (ป 2547/48) (ป 2548/49) (ป 2549/50) (ป 2550/51) (ป 2551/52)* รอยละ (ป 2552/53)* รอยละ

(2) (1) (1) และ (2)

ขาวนาป

- พ้ืนที่ปลูก (ลานไร) 57.652 57.774 57.542 57.380 57.422 -0.15 57.256 -0.29

- ผลผลิต (ลานตัน) 22.649 23.539 22.84 23.308 23.235 0.41 23.245 0.04

- ผลผลิตตอไร (กก.) 393 407 397 406 405 0.58 406 0.25

ขาวนาปรัง

- พ้ืนที่ปลูก (ลานไร) 8.914 9.903 10.074 12.801 12.402 9.61 12.090 -2.52

- ผลผลิต (ลานตัน) 5.888 6.753 6.802 8.791 8.415 10.27 8.244 -2.03

- ผลผลิตตอไร (กก.) 661 682 675 687 679 0.61 682 0.44

ขาวรวม

- พ้ืนที่ปลูก (ลานไร) 66.566 67.677 67.616 70.181 69.824 1.33 69.346 -0.68

- ผลผลิต (ลานตัน) 28.537 30.292 29.642 32.099 31.65 2.69 31.489 -0.51

- ผลผลิตตอไร (กก.) 429 448 438 457 453 1.34 454 0.18

หมายเหตุ : * พยากรณ ณ เดือนตุลาคม 2552

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 12 อุปสงคและอุปทานขาวของไทย ป 2548 - 2553หนวย : ลานตันขาวสาร

รายการ ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551

ป 2552* อัตราเพ่ิม ป 2553* ผลตางรอยละ

(2) รอยละ (1) (1) และ (2)

ผลผลิต 28.537 30.292 29.642 32.099 31.650 2.69 31.489 -0.51

ความตองการใช 15.860 15.914 16.261 16.815 17.101 2.08 17.829 4.26

การสงออก 11.358 11.355 13.929 15.479 13.030 6.02 14.394 10.47

(7.496) (7.494) (9.193) (10.216) (8.600) (9.50)

หมายเหตุ : * ประมาณการ ณ เดือนตุลาคม 2552, ( ) หนวยลานตันขาวสาร, อัตราแปรสภาพขาวเปลือก

เปนขาวสาร 1 : 0.66

ที่มา : สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 24: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาว

2323

ตารางท่ี 13 ราคาขาวท่ีเกษตรกรขายได ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ป 2548 - 2552

ขาวหอมมะลิ ขาว 5% ขาวเหนียวเมล็ดยาว 10%

ป เกษตรกร สงออก F.O.B* เกษตรกร สงออก F.O.B เกษตรกร สงออก F.O.B

(บาท/ตัน) (บาท/ตัน) ($/ตัน) (บาท/ตัน) (บาท/ตัน) ($/ตัน) (บาท/ตัน) (บาท/ตัน) ($/ตัน)

2548 7,685 16,647 416 6,607 11,554 289 6,057 12,729 318

2549 8,032 18,094 480 6,533 11,583 307 7,612 17,135 456

2550 8,875 19,267 561 6,587 11,242 327 10,710 23,097 673

2551 12,536 30,083 910 9,848 22,767 688 6,327 19,289 585

2552** 14,500 32,000 940 9,650 18,800 550 7,600 17,100 500

อัตราเพ่ิม 18.71 19.91 25.48 12.39 17.93 23.29 2.73 7.35 12.23

รอยละ

หมายเหต ุ: * ราคาสงออก F.O.B ขาวหอมมะลช้ัิน 2 (ใหม), ** ประมาณการ ณ เดอืนพฤศจกิายน 2552

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 14 ปริมาณและมูลคาการสงออกขาวของไทย ป 2548 - 2553

ป ปริมาณ1/ มูลคา อัตราแลกเปล่ียน2/

(ลานตันขาวสาร) ลานบาท1/ ลานเหรียญสหรัฐ (บาท/ดอลลารสหรัฐ)

2548 7.496 92,994 2,320 40.0761

2549 7.494 98,179 2,602 37.7352

2550 9.193 119,215 3,471 34.3509

2551* 10.216 203,219 6,132 33.1413

2552* 8.600 170,000 5,000 34.000

อัตราเพ่ิมรอยละ 6.02 21.34 27.04 -4.48

2553* 9.500 197,000 5,794 34.000

หมายเหตุ : * ประมาณการ ณ เดือนพฤศจิกายน 2552

ที่มา : 1/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความรวมมือของกรมศุลกากร

2/ ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 25: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

2424

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553ตารางที่

15 ปริมาณและรอยละการเก็บเกี่ยวขาวนาป ป 2

552/

53 รายเดือน

หนวย

: ตันขาวเปลือก

รายการ

ปริมาณผลผลิตขาวนาป ป

2552

/53 รายเดือน

รวม

ส.ค.

52

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย

. ธ.ค.

ม.ค.

53

ก.พ.

มี.ค.

เม

.ย.

รวมทั้งประเทศ

779,6

03

1,177

,692

1,997

,645

11,16

4,465

6,32

7,757

97

6,177

47

7,998

26

9,667

74

,407

23,24

5,411

(รอยละ

) 3.37

5.08

8.60

47

.99

27.22

4.20

2.06

1.16

0.32

10

0.00

หมายเหตุ

: ประมาณการ ณ

เดือนกันยายน

2552

ที่มา

: ศูนยสารสนเทศการเกษตร

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษต

ตารางที่

16

ปริมาณ

และรอยละการเก็บเกี่ยวขาวนาปรัง

ป 2

553 รายเดือน

หนวย

: ตันขาวเปลือก

รายการ

ปริมาณผลผลิตขาวนาป ป

2552

/53 รายเดือน

รวม

ก.พ. 5

3 มี.ค.

เม

.ย.

พ.ค

. มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

รวมทั้งประเทศ

342,34

4 1,13

9,29

9 2,16

1,53

5 1,58

9,41

2 1,18

3,81

5 1,16

8,15

2 59

1,90

8 46

,990

19

,785

8,24

3,84

0

(รอยละ

) 4.16

13

.82

26.22

19.28

14.36

14.17

7.18

0.57

0.24

10

0.00

หมายเหตุ

: ประมาณการ ณ

เดือนกันยายน

2552

ที่มา

: ศูนยสารสนเทศการเกษตร

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษต

Page 26: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาวโพดเล้ียงสัตว

2525

2. ขาวโพดเล้ียงสัตว 1 สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต การผลิตป 2547/48 – 2551/52 มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 714.92 ลานตัน ในป 2547/48 เปน 791.29 ลานตัน ในป 2551/52 หรือเพิ่มขึ้นอัตรารอยละ 3.33 โดยที่สหรัฐ อเมริกา ซ่ึงเปนผูผลิตรายใหญของโลกผลิตไดเพ่ิมขึ้นจาก 299.88 ลานตัน เปน 307.39 ลานตัน ในป 2551/5 เพ่ิมขึ้นอัตรารอยละ 2.12 นอกจากนี้ประเทศผูผลิตที่สําคัญ เชน บราซิล จีน อินเดีย อัฟริกาใต ยูเครน และไนจีเรีย ผลิตไดเพ่ิมขึ้นเชนกัน ผลผลิตโลกป 2551/52 ลดลงจาก 791.87 ลานตันของ ป 2550/51 รอยละ 0.07 ซ่ึงผลผลิตของสหรัฐอเมริกา ลดลงจากป 2550/51 รอยละ 7.18 นอกจากนี้อารเจนตินา บราซิล อินเดีย เม็กซิโก อัฟริกาใตผลิตลดลงดวย เน่ืองจากสหรัฐอเมริกาลดพ้ืนที่ปลูกลงและหลายประเทศประสบภาวะแหงแลง แตหลายประเทศ เชน จีน สหภาพยุโรป ยูเครน และไนจีเรียผลิตไดเพ่ิมขึ้น สงผลใหการผลิตโลกลดลงไมมากนัก 1.1.2 ความตองการใช ความตองการใชมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 688.30 ลานตันในป 2547/48 เปน 774.72 ลานตัน ในป 2551/52 เพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 3.30 ซ่ึงสหรัฐอเมริกาผลิตไดมากมีความตองการใชขาวโพดเพ่ือเปนอาหารสัตว ใช ในอุตสาหกรรมตางๆ ผลิตเอทานอล และสงออก เพ่ิมขึ้นดวย คิดเปนอัตรารอยละ 4.16 สวนอารเจนตินา บราซิล จีน เม็กซิโก อินเดีย ไนจีเรีย อัฟริกาใตและอินโดนีเซีย ตองการใชขาวโพดเพ่ิมขึ้นในชวงระยะเวลาดังกลาวดวย สําหรับความตองการใช ป 2551/52 เพ่ิมขึ้นจาก 770.72 ลานตัน ของป 2550/51 รอยละ 0.52 แมวาความตองการใชของสหรัฐอเมริกา ลดลง รอยละ 0.90 เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า แตบราซิล จีน เม็กซิโก อัฟริกาใต ไนจีเรีย และอินโดนีเซีย มีความตองการใชเพ่ิมขึ้น 1.1.3 การสงออก/นําเขา การคาโลก (สงออก/นําเขา) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 75.96 ลานตันในป 2547/48 เปน 80.68 ลานตัน ในป 2551/52 เพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 2.98 ซ่ึงสหรัฐอเมริกาสงออกเปนอันดับหนึ่งของโลกไดขยายการสงออกในชวงระยะเวลาดังกลาวเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 1.73 นอกจากนั้นบราซิล ยูเครน อัฟริกาใต ปารากวัย และอินเดียสงออกไดเพ่ิมขึ้นดวย ในป 2551/52 ปริมาณการคาโลกลดลงจาก 98.22 ลานตันของปกอนรอยละ 17.86 เน่ืองจากสหรัฐ อเมริกา อารเจนตินา และบราซิล ผลิตไดลดลงขณะที่ความตองการใช ในประเทศมีมาก และประเทศผูนําเขาหันไปใชธัญพืชอื่น เชนขาวสาลีในอาหารสัตวเพ่ิมขึ้น สหภาพยุโรปลดการนําเขาถึงรอยละ 82 เน่ืองจากผลิตขาวสาลีไดเพียงพอกับความตองการใช

Page 27: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

2626

1.1.4 ราคา ราคาขาวโพดอเมริกันช้ัน 2 ในตลาดชิคาโก มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจากตันละ 83.24 ดอลลารสหรัฐ ฯ (3,351 บาท/ตัน) ในป 2547/48 เปนตันละ 168.08 ดอลลารสหรัฐฯ (5,837 บาท/ตัน) ในป 2551/52 เพ่ิมข้ึนในอัตรารอยละ 24.38 ทั้งนี้เปนผลจากราคาน้ํามันในตลาดโลกปรับตัวเพ่ิมสูงข้ึน หลายประเทศจึงหันมาผลิตพลังงานชีวภาพ (เอทานอล และไบโอดีเซล) สหรัฐอเมริกาใชขาวโพดทําเอทานอลเพิ่มขึ้นรอยละ 31 ขณะที่ความตองการใช ในตลาดโลกเพ่ือเปนวัตถุดิบอาหารสัตวมีมาก สําหรับป 2551/52 ราคาในตลาดชิคาโกลดลงจากตนัละ 179.43 ดอลลารสหรัฐของปทีแ่ลว รอยละ 6.33 และลดลงในรูปเงินบาทตันละ 105 บาท เน่ืองจากในชวงกลางป 2551 เกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซา และความไมแนนอนของตลาดการเงินสหรัฐอเมริกา ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกลดลง จากเดือนกรกฎาคม 2551 ซ่ึงมีราคา 147 ดอลลารสหรัฐ ฯ/บารเรล เหลือ 60 – 70 ดอลลารสหรัฐ/บารเรล ในชวงคร่ึงปหลังของป 2551 ประกอบกับคาเงินสหรัฐ ฯ แข็งคาข้ึน และอุปทานของธัญพืช เชน ขาวสาลี ขาวบารเลย เพ่ิมขึ้นมาก เปนแรงกดดันใหราคาขาวโพดในตลาดโลกลดลง 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต พ้ืนที่ปลูก ในป 2547/48 มี 7.272 ลานไร ลดลงเหลือ 6.692 ลานไร ในป 2551/52 ลดลงในอัตรารอยละ 2.45 เน่ืองจากเกษตรกรบางรายเปล่ียนไปปลูกพืชท่ีใหผลตอบแทนที่ดีกวา เชน มันสําปะหลัง ออยโรงงาน และมีบางรายเปล่ียนไปปลูกยางพารา และไมผล อยางไรตามผลผลิตตอไรไดเพ่ิมข้ึนไมมากนักเพียงอัตรารอยละ 1.56 เน่ืองจากเกษตรกรมีการใชเมล็ดพันธลูกผสม แตภาวะฝนทิ้งชวงและน้ําทวมในบางพ้ืนที่ ทําใหขาวโพดไดรับความเสียหายบางสวน สําหรับผลผลิตรวมมีแนวโนมลดลงจาก 4.341 ลานตัน ในป 2547/48 เหลือ 4.249 ลานตันในป 2551/52 ลดลงในอัตรารอยละ 0.94 เน่ืองจากพ้ืนที่ปลูกลดลง ใน ป 2551/52 พ้ืนที่ปลูกเพ่ิมขึ้นจาก ปที่ผานมารอยละ 5.15 เน่ืองจากราคาขาวโพดปที่ผานมาดี สภาพอากาศเอ้ืออํานวยตอการเพาะปลูก ขาวโพดไดรับปริมาณนํ้าฝนที่เพียงพอและเกษตรกรใชปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีในอัตราสวนท่ีเพ่ิมขึ้น สงผลใหผลผลิตตอไรและผลผลิตรวมเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 3.76 และ 9.23 ตามลําดับ 1.2.2 การใชในประเทศ ความตองการใช ในประเทศ ป 2547/48 มี 3.48 ลานตัน เพ่ิมขึ้นเปน 3.82 ลานตันในป 2551/52 เน่ืองจากตางประเทศมีความมั่นใจความปลอดภัยดานอาหารของไทย ซ่ึงไทยควบคุมการระบาดของไขหวัดนกท่ีระบาดเม่ือป 2547 ไวได และจีนมีปญหาความปลอดภัยดานอาหาร ทําใหไทยสงออกไกเน้ือและผลิตภัณฑไดมากข้ึน ความตองการใช ในประเทศเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 2.94 ความตองการใช ในประเทศ ป 2551/52 ลดลงจาก 3.96 ลานตันของป 2550/51

Page 28: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาวโพดเล้ียงสัตว

2727

รอยละ 3.54 แมวาการสงออกไกเน้ือและผลิตภัณฑจะขยายตัว เพราะจีนมีปญหาสารเมลามีนในนม ทําใหตางประเทศไมมีความเช่ือมั่นคุณภาพอาหารจากจีนเพราะจีนอาจนําสารน้ีมาผสมในอาหารสัตว และไทยไดโควตานําเขาไกปรุงสุกจากสหภาพยุโรปเพ่ิมขึ้น แตเน่ืองจากราคาขาวโพดท่ีสูงข้ึนซ่ึงมีสาเหตุจากราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกสูงข้ึนผลักดันใหปจจัยการผลิตตางๆ เชน เมล็ดพันธุ ปุย คาแรงงาน นํ้ามัน ซ่ึงเปนสวนประกอบของตนทุนการผลิตของเกษตรกรสูงข้ึนดวย ทําใหผูเล้ียงบางรายตองปรับสูตรอาหารสัตว โดยใชมันสําปะหลังทดแทนขาวโพดเพ่ือลดตนทุนการผลิต 1.2.3 การสงออก/นําเขา การสงออก การสงออกตั้งแตป 2547/48 มี 0.43 ลานตัน ลดลงเหลือ 0.31 ลานตัน ในป 2551/52 ลดลงในอัตรารอยละ 9.62 เน่ืองจากผลผลิตมีจํากัด ขณะที่ความตองการใชมีมากข้ึน ทําใหมีผลผลิตเหลือสงออกนอยลง และอินเดียเขามาขายขาวโพดราคาถูกแขงกับไทยในตลาดเอเชีย ป 2551/52 มีการสงออก 0.31 ลานตัน มูลคา 3,925 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจาก 0.07 ลานตัน มูลคา 575 ลานบาท ของปที่ผานมามีปริมาณเพิ่มขึ้น 4 เทา มูลคาเพ่ิมขึ้น 7 เทา เน่ืองจากตลาดตางประเทศมีความตองการใชมาก ประกอบกับมีการนําเขาขาวโพดราคาถูกจากประเทศเพ่ือนบาน เชน ลาว กัมพูชา จึงมีอุปทานเพิ่มขึ้นสามารถสงออกไดมากข้ึน การนําเขา ใน ป 2547/48 มีการนําเขา 0.01 ลานตัน เพ่ิมขึ้นเปน 0.50 ลานตัน ในป 2551/52 เพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 40.30 โดยมีการนําเขาจากประเทศเพ่ือนบานมาใชเพ่ือลดตนทุนการเล้ียงสัตวและสงออก ป 2551/52 มีการนําเขาจากประเทศเพ่ือนบานในปริมาณและมูลคาที่เพ่ิมขึ้นจากป 2550/51 2 เทา เน่ืองจากราคาขาวโพดไทยสูง 1.2.4 ราคา ราคาขาวโพดต้ังแต ป 2547/48 – 2551/52 โนมสูงข้ึนทุกตลาด เน่ืองจากราคาตลาดโลกสูงข้ึน และความตองการในประเทศมีมาก สรุปราคาขาวโพดตลาดตาง ๆ ไดดังนี้ 1) ราคาท่ีเกษตรกรขายได (ความช้ืนไมเกิน 14.5 %) ป 2547/48 เฉล่ียกิโลกรัมละ 4.59 บาท เพ่ิมขึ้นเปนกิโลกรัมละ 7.05 บาทในป 2551/52 เพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 13.02 และป 2551/52 เพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมา รอยละ 2.32 2) ราคาขายสงในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงานอาหารสัตวรับซ้ือ ป 2547/48 เฉล่ียกิโลกรัมละ 5.30 บาท เพ่ิมขึ้นเปนกิโลกรัมละ 8.18 บาทของป 2551/52 รอยละ 13.43 โดยที่ ป 2551/52 เพ่ิมขึ้นจากที่ผานมา รอยละ 2.73 สวนท่ีไซโลรับซ้ือ ป 2547/48 เฉล่ียกิโลกรัมละ 5.06 บาท เพ่ิมขึ้นเปนกิโลกรัมละ 6.61 บาทของ ป 2551/52 เพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 10.16 และป 2551/52 เพ่ิมขึ้นจากปที่แลวรอยละ 16.96 3) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ป 2547/48 เฉล่ียตันละ 138.69 ดอลลารสหรัฐฯ

Page 29: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

2828

(5,531 บาท/ตัน) เพ่ิมขึ้นเปนตันละ 241.78 ดอลลารสหรัฐ ฯ (8,314 บาท/ตัน) ของป 2551/52 เพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 18.21 โดยป 2551/52 เพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 8.60 และเพ่ิมขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 381 บาท

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ในป 2552/53 คาดวาผลผลิตโลกมี 792.55 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 791.29 ลานตันของป 2551/52 รอยละ 0.16 เน่ืองจาก สหรัฐอเมริกาขยายการผลิตในรุน 2 ประกอบกับสภาพอากาศเอ้ืออํานวยตอการเพาะปลูก ทําใหผลผลิตเพ่ิมขึ้นจากป 2551/52 รอยละ 7.57 นอกจากนี้อารเจนตินา บราซิล อินเดีย เม็กซิโก และ ไนจีเรีย ผลิตเพ่ิมขึ้นดวย 2.1.2 การใชในประเทศ ความตองการใช ป 2552/53 มี 803.14 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 774.72 ลานตันของป 2551/52 รอยละ 3.67 เน่ืองจากสหรัฐ ฯ มีนโยบายใชขาวโพดทําเอทานอลเพิ่มขึ้นรอยละ 14 คือเพิ่มจาก 3,675 ลานบุชเชล (93.35 ลานตัน) ของป 2551/52 เปน 4,200 ลานบุชเชล (106.68 ลานตัน) ในป 2552/53 สงผลใหความตองการใชขาวโพดของสหรัฐฯ เพ่ิมขึ้นจากปที่แลวรอยละ 6.59 นอกจากนี้ บราซิล จีน เม็กซิโก อินโดนีเซีย ไนจีเรีย มีความตองการใชเพ่ิมขึ้นเชนกัน 2.1.3 การสงออก/นําเขา ใน ป 2552/53 ปริมาณการคาโลกมี 84.79 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 80.68 ลานตันของปกอน รอยละ 5.09 เน่ืองจากคูแขงทางการคาของสหรัฐอเมริกา เชนอารเจนตินา และ ยูเครน ลดการแขงขันลง สหรัฐอเมริกาจึงสงออกไดเพ่ิมขึ้นรอยละ 14.74 สวนประเทศผูนําเขา เชน เม็กซิโกนําเกาหลีใตและไตหวัน นําเขาเพ่ิมขึ้น 2.1.4 ราคา ราคาขาวโพดอเมริกันช้ัน 2 ในตลาดชิคาโกป 2552/53 คาดวามีแนวโนมลดลงเน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจยังไมฟนตัว แมวาสหรัฐอเมริกา ใชขาวโพดทําเอทานอล คิดเปนรอยละ 32 ของผลผลิตทั้งหมด ซ่ึงเพ่ิมขึ้นจากปที่แลวท่ีใช รอยละ 30 ของผลผลิตทั้งหมด ประกอบกับความตองการใชของโลกมีมากข้ึน 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดวาใน ป 2552/53 พ้ืนที่ปลูกมี 6.954 ลานไรเพ่ิมขึ้นจากปที่แลวรอยละ 3.92 เน่ืองจากเกิดเพล้ียแปงสีชมพูระบาดในมันสําปะหลัง เกษตรกรบางรายตัดวงจรระบาดของเพล้ียและเปล่ียนมาปลูกขาวโพดแทน ประกอบกับปนี้ภาวะอากาศเอ้ืออํานวยตอการเพาะปลูก สงผลใหผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นเปน 640 กิโลกรัมและผลผลิตรวมมีปริมาณ

Page 30: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาวโพดเล้ียงสัตว

2929

4.449 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 0.79 และ 4.70 ตามลําดับ 2.2.2 การใชในประเทศ สําหรับ ป 2552/53 คาดวาความตองการใช ในประเทศมีประมาณ 3.89 ลานตันเพ่ิมขึ้นจากปที่แลวรอยละ 1.83 เน่ืองจากความตองการใชขาวโพดมีมากและราคาขาวโพดลดลงกวาปที่ผานมา ขณะท่ีราคามันสําปะหลังราคามีแนวโนมเพิ่มขึ้น โรงงานอาหารสัตวที่ใชมันสําปะหลังเมื่อปที่แลวไดเปล่ียนกลับมาใชขาวโพดตามเดิม 2.2.3 การสงออก/นําเขา การสงออก/นําเขา ในป 2552/53 คาดวามีปริมาณ 3 - 4 แสนตัน เน่ืองจากขาวโพดของประเทศเพ่ือนบานมีราคาถูก ทําใหมีการนําเขามาเพื่อสงออก เพราะความตองการในตลาดโลกมีมาก และไทยไดเปรียบเร่ืองระยะทางการขนสง นอกจากน้ีรัฐบาลไดระบายสต็อกท่ีคางจากปที่ผานมาเพื่อไมใหกระทบขาวโพดฤดูใหมที่ออกสูตลาด ทําใหผูสงออกสามารถแขงขันได ในตลาดโลก 2.2.4 ราคา ในป 2552/53 คาดวาราคามีแนวโนมลดลงจากปกอนตามราคาตลาดโลก แมวาความตองการใชของโลกจะมีมากกวาการผลิต แตเน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจยังไมฟนตัว และราคานํ้ามันดิบอยูในระดับ 70 -80 ดอลลารสหรัฐ ฯ /บารเรล ทําใหราคาขาวโพดโลกไมปรับตัวสูงข้ึน

ตารางท่ี 1 บัญชีสมดุลขาวโพดของโลก ปเพาะปลูก 2547/48-2552/53หนวย : ลานตัน

ป สต็อก

ผลผลิต ปการคา การใชขาวโพด สต็อก

ตนป นําเขา สงออก ของโลก ปลายป

2547/48 104.81 714.92 75.96 75.96 688.30 131.43

2548/49 131.43 698.79 82.59 82.59 705.77 124.45

2549/50 124.45 712.38 91.37 91.37 727.70 109.12

2550/51 109.12 791.87 98.22 98.22 770.72 130.27

2551/52 1/ 130.27 791.29 80.68 80.68 774.72 146.84

อัตราเพ่ิมรอยละ 2.52 3.33 2.98 2.98 3.30 2.71

2552/53 * 2/ 146.84 792.55 84.79 84.79 803.14 136.25

ผลตาง 1/ 2/ % 12.72 0.16 5.09 5.09 3.67 -7.21

หมายเหตุ : * คาดคะเน

ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเน เมื่อเดือนตุลาคม 2552

Page 31: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

3030

ตารางท่ี 2 พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไรของสหรัฐอเมริกา ปเพาะปลูก 2547/ 48-2552/53

ป พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตตอไร

(ลานไร) (ลานตัน) (กิโลกรัม)

2547/48 186.24 (29.80 m.ha.) 299.92 1,610 (10.10 ton/ha.)

2548/49 190.00 (30.40 m.ha.) 282.31 1,486 (9.29 ton/ha.)

2549/50 178.69 (28.59 m.ha.) 267.60 1,497 (9.36 ton/ha.)

2550/51 218.81 (35.01 m.ha.) 331.18 1,514 (9.46 ton/ha.)

2551/52 1/ 198.94 (31.83 m.ha.) 307.39 1,545 (9.66 ton/ha.)

อัตราเพ่ิมรอยละ 2.77 2.11 -0.64

2552/53 * 2/ 200.56 (32.09 m.ha.) 330.67 1,649 (10.30 ton/ha.)

ผลตาง 1/ 2/ % 3.33 7.57 6.73

หมายเหตุ : * คาดคะเนที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเน เมื่อเดือนตุลาคม 2552

ตารางท่ี 3 พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไร ปเพาะปลูก 2547/48-2552/53

ป พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตตอไร

(ลานไร) (ลานตัน) (กิโลกรัม)

2547/48 7.272 4.341 597

2548/49 6.906 4.094 593

2549/50 6.405 3.918 612

2550/51 6.364 3.890 612

2551/52 1/ 6.692 4.249 635

อัตราเพ่ิมรอยละ -2.45 -0.94 1.56

2552/53 * 2/ 6.954 4.449 640

ผลตาง 1/ 2/ % 3.92 4.70 0.79

หมายเหตุ : * คาดคะเนประจําเดือนกันยายน 2552ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 32: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ขาวโพดเล้ียงสัตว

3131

ตารางท่ี 4 การใชในประเทศ ปริมาณ และมูลคาการสงออก ปเพาะปลูก 2547/48-2552/53

การใชใน การสงออก2/ การนําเขา2/

ป ประเทศ1/ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา (ลานตัน) (ลานตัน) (ลานบาท) (ลานตัน) (ลานบาท)

2547/48 3.48 0.43 2,203.08 0.10 265.48

2548/49 3.57 0.10 593.71 0.11 318.01

2549/50 3.85 0.22 1,394.05 0.09 250.66

2550/51 3.96 0.07 575.43 0.25 828.22

2551/52 1/ 3.82 0.31 3,925.06 0.51 1,825.50

อัตราเพ่ิมรอยละ 2.94 -9.62 11.89 40.30 61.82

2552/53 * 2/ 3.89 0.30- 0.40 - 0.30 – 0.40 -

หมายเหตุ : * ประมาณการที่มา : 1/ สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร

ตารางท่ี 5 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ขายสงในตลาดกรุงเทพฯ สงออก เอฟ.โอ.บี. ราคาชิคาโก ป 2547/48-2551/52

ขายสงในตลาดกรุงเทพ

ป เกษตรกรขายได

อาหารสัตวรบัซือ้ ไซโลรับซื้อ สงออก ชิคาโก

(บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.)

(บาท/ตัน) (บาท/ตัน)

2547/48 4.59 5.30 5.06 5,531 3,351

2548/49 4.78 5.68 5.16 5,984 3,303

2549/50 5.45 7.01 6.53 7,311 4,674

2550/51 6.89 8.41 7.96 8,695 5,942

2551/52 7.05 8.18 6.61 8,314 5,837

อัตราเพ่ิมรอยละ 13.02 13.43 10.16 12.62 18.50

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 33: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

3232

3. ถั่วเหลือง 1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ป 2551/52 ประเทศผูผลิตถ่ัวเหลืองสําคัญของโลก คือ สหรัฐอเมริกาผลิตไดเพ่ิมขึ้น ขณะที่ผูผลิตในทวีปอเมริกาใต ไดแก บราซิล และอารเจนตินา ผลผลิตไดรับความเสียหายจากความแหงแลง สงผลใหผลผลิตรวมของโลก ป 2551/52 มีปริมาณ 210.64 ลานตัน ลดลงจากป 2550/51 ที่ผลิตได 221.13 ลานตัน หรือลดลงรอยละ 4.74 1.1.2 การตลาด 1) การบริโภค ในชวงป 2547/48-2550/51 ความตองการใชถ่ัวเหลืองเพ่ือสกัดนํ้ามันเพ่ิมขึ้น ประกอบกับการลดลงของผลผลิตตั้งแตป 2550/51 เปนตนมา ทําใหปริมาณสต็อกโลกลดลง ประกอบกับยุโรปผลิตพืชน้ํามันทดแทนที่มีราคาตํ่ากวาไดมากข้ึน เชน ทานตะวัน เรฟซีส สงผลใหราคาสินคาถ่ัวเหลือง โดยเปรียบเทียบสูงกวา เปนสาเหตุทําใหความตองการใชลดลงจาก 201.93 ลานตัน ในป 2550/51 เปน191.98 ลานตัน ในป 2551/52 หรือลดลงรอยละ 4.93 2) ราคา ชวงป 2547/48–2551/52 ราคาสงออกเมล็ดถ่ัวเหลืองในตลาดสําคัญของโลกเคล่ือนไหวระหวาง ตันละ 365-403 เหรียญสหรัฐ โดยป 2551/52 ราคาเมล็ดถ่ัวเหลืองสงออก (FOB) อารเจนตินาและบราซิลใกลเคียงกันที่ตันละ 392 และ 403 เหรียญสหรัฐฯ ลดลงจากป 2550/51 รอยละ 16.42 และรอยละ 14.62 ตามลําดับ ขณะที่ราคานําเขา (CIF) ตลาดรอตเตอรดัม ตันละ 550 เหรียญสหรัฐ ลดลงจากป 2550/51 รอยละ 23.45 3) การสงออก การคาถ่ัวเหลืองในตลาดโลก มีแหลงสงออกจากประเทศผูผลิตสําคัญในทวีปอเมริกาเหนือและใต 5 ประเทศ ไดแก บราซิล สหรัฐอเมริกา อารเจนตินา ปารากวัย และแคนนาดา มีสวนแบงตลาดรวมรอยละ 98 ของปริมาณสงออกทั้งหมด ในชวงป 2547/48-2551/52 การสงออกของโลกเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอป รอยละ 5.80 โดยป 2551/52 มีปริมาณ 76.93 ลานตัน ลดลงจาก 79.52 ลานตัน ของป 2550/51 รอยละ 3.26 4) การนําเขา ชวงป 2547/48 – 2551/52 การนําเขาเมล็ดถ่ัวเหลืองโลกเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 5.52 ป 2551/52 มีปริมาณนาํเขา 75.24 ลานตัน ลดลงจากป 2550/51 รอยละ 3.74 ประเทศนําเขาสําคัญ อยูในทวีปเอเชีย 7 ประเทศ ไดแก จีน ญี่ปุน ไตหวัน ไทย อินโดนีเซีย อียิปต และสาธารณรัฐประชาชนเกาหลี ปริมาณนําเขารวม 51.01 ลานตัน คิดเปนรอยละ 67.80 ของ

Page 34: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ถ่ัวเหลือง

3333

ปริมาณนําเขาของโลก จีนเปนผูนําเขามากที่สุด 40.70 ลานตัน หรือรอยละ 54.09 ของปริมาณนําเขาของโลก 5) สต็อก ชวงป 2547/48 – 2551/52 ประเทศผูผลิตรายใหญของโลกผลิตไดลดลงประกอบกับราคาในชวงป 2550/51 ปรับตัวสูงข้ึนสอดคลองกับราคาปโตรเลียม สงผลใหมีการปรับลดพ้ืนที่ปลูกถ่ัวเหลืองไปปลูกพืชพลังงานทดแทนอื่น เชน การเพ่ิมพื้นที่ปลูกขาวโพดในสหรัฐอเมริกา เปนสาเหตุทําใหประเทศผูผลิตเรงสงออกทํากําไรจากสวนตางราคา ทําใหสต็อกสะสมในชวง 5 ป โนมตัวลดลงเฉล่ียตอปรอยละ 2.43 โดยป 2551/52 มีสต็อกคงเหลือ 42.05 ลานตัน ลดลงจากป 2550/51 รอยละ 30.30 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ชวงป 2548-2552 พ้ืนที่เพาะปลูกถ่ัวเหลืองและผลผลิตลดลงตอเนื่องในอัตราเฉล่ียตอปรอยละ 4.23 และรอยละ 2.03 ตามลําดับ โดยป 2548 มีพ้ืนที่เพาะปลูก 0.938 ลานไร ผลผลิต 0.215 ลานตัน ผลผลิตเฉลี่ย 229 กิโลกรัมตอไร และป 2552 มีพ้ืนที่ปลูกถ่ัวเหลือง 0.801 ลานไร ผลผลิต 0.202 ลานตัน ผลผลิตเฉลี่ย 253 กิโลกรัมตอไร การลดลงของพ้ืนที่ปลูกถ่ัวเหลืองมีสาเหตุสําคัญ คือ 1) ขาดแคลนเมล็ดพันธุดี และ 2) ปลูกพืชอื่นที่ใหผลตอบแทนดีกวา 1.2.2 การตลาด 1) การบริโภค ชวงป 2548-2552 ความตองการใชเมล็ดถ่ัวเหลืองของประเทศมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 1.91 โดยเพ่ิมขึ้นจาก 1.82 ลานตัน ในป 2548 เปน 1.84 ลานตัน ในป 2552 การใชประโยชนมีหลายวัตถุประสงค ไดแก สกัดนํ้ามันรอยละ 69.35 แปรรูปผลิตภัณฑอาหารรอยละ 29.70 เมล็ดพันธุและสงออกรวมรอยละ 0.95 ของความตองการใชทั้งหมด 2) ราคา ราคาเมล็ดและน้ํามันถ่ัวเหลืองภายในประเทศ เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับราคาตลาดโลก ในชวงป 2548-2552 ราคามีความเคลื่อนไหว ดังนี้ • ราคาเมล็ดถ่ัวเหลืองคละเกรดท่ีเกษตรกรขายไดเฉล่ียเดือน ม.ค.-ต.ค. ป 2552 กิโลกรัมละ 14.16 บาท ลดลงจากป 2551 กิโลกรัมละ 2.74 บาท • ราคานําเขาเมล็ดถ่ัวเหลืองเฉลี่ยเดือน ม.ค.-ต.ค. ป 2552 ปรับตัวลดลงจากกิโลกรัมละ 18.70 บาท ของป 2551 เปนกิโลกรัมละ 16.59 บาท • ราคาขายสงนํ้ามันถ่ัวเหลืองบริสุทธิ์เฉล่ียเดือน ม.ค.-ต.ค. ป 2552 ปรับตัวลดลงจากกิโลกรัมละ 50.27 บาท ของป 2551 เปนกิโลกรัมละ 43.12 บาท 3) การสงออก การสงออกเมล็ดถ่ัวเหลืองของประเทศ มีปริมาณนอยมากเมื่อเปรียบเทียบ

Page 35: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

3434

กับความตองการใช ป 2552 คาดวาไทยสงออกได 1,200 ตัน ใกลเคียงกับป 2551 โดยมีประเทศคูคาอยูในทวีปเอเชีย ไดแก ฮองกง สิงคโปร อินโดนีเซีย เวียดนาม และมัลดีฟส เปนตน 4) การนําเขา ป 2548-2552 ผลผลิตภายในประเทศมีไมเพียงพอกับความตองการใชทําใหตองพึ่งพาการนําเขาเฉล่ียรอยละ 87 ของความตองการใชทั้งหมด โดยมีปริมาณนําเขาระหวาง 1.40-1.72 เฉล่ียปละ 1.58 ลานตัน มูลคา 21,927 ลานบาท แหลงนําเขาสําคัญ ไดแก บราซิล อารเจนตินา สหรัฐอเมริกา และประเทศเพ่ือนบาน

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต คาดวาประเทศผูผลิตสําคัญของโลก คือ สหรัฐอเมริกา บราซิล และอารเจนตินา ผลิตถ่ัวเหลืองไดเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมา รอยละ 19.56 สงผลใหผลผลิตโลกเพ่ิมขึ้นจาก 210.64 ลานตัน เปน 246.06 ลานตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 16.82 2.1.2 การตลาด 1) การบริโภค การสงเสริมให ใชเมล็ดถ่ัวเหลืองสกัดนํ้ามันภายในประเทศของผูผลิตรายใหญ เพ่ือสรางมูลคาเพ่ิมภายในประเทศ เชน จีน และอารเจนตินา ประกอบกับความตองการอุปโภคและบริโภคนํ้ามันถ่ัวเหลืองที่เพ่ิมขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจีน คาดวาความตองใชเมล็ดถ่ัวเหลืองสกัดนํ้ามันของโลกเพ่ิมขึ้นจาก 191.98 ลานตัน ในป 2551/52 เปน 201.02 ในป 2552/53 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 4.71 2) ราคา ถึงแมวาผลผลิตโลกจะเพ่ิมขึ้น แตการเพ่ิมปริมาณสต็อกสํารองไว ใช ในประเทศผูผลิตรายใหญ ขณะที่ความตองการใชของโลกท่ีมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก จะเปนปจจัยเสริมทําใหราคาตลาดโลกปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 14 เปนตันละ 419.33 เหรียญสหรัฐ หรือกิโลกรัมละ 14.07 บาท 3) การนําเขา การเร่ิมฟนตัวของเศรษฐกิจโลกในไตรมาส 4 ของป 2552 ประกอบกับจีนผูนําเขามากในลําดับแรกของโลกไมไดรับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่ามากนัก ยังมีความตองการนําเขาเพ่ือสกัดนํ้ามันใกลเคียงกับปที่ผานมา คาดวาการนําเขาเมล็ดถ่ัวเหลืองของโลก ป 2552/53 มีปริมาณ 76.14 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2551/52 รอยละ 1.21 4) การสงออก การเพ่ิมปริมาณสั่งซ้ือถ่ัวเหลืองจากสหรัฐอเมริกาในไตรมาสแรกของ

Page 36: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ถ่ัวเหลือง

3535

ป 2553 เพ่ือทดแทนการชะลอสงออกของประเทศบราซิลและอารเจนตินา โดยเฉพาะจากประเทศจีนที่มีปริมาณมากขึ้นเมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปที่ผานมา คาดวาป 2553 การสงออกของโลกมีปริมาณ 77.85 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 76.93 ลานตัน ในป 2552 5) สต็อก การเพ่ิมข้ึนของผลผลิตโลก และการเพ่ิมปริมาณสต็อกสํารองไว ใชสกัดนํ้ามันภายในประเทศผูผลิตรายใหญของโลก คาดวาส้ินป 2553 โลกมีสต็อกถ่ัวเหลือง 54.79 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 42.05 ลานตัน ในป 2552 รอยละ 30.30 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ปญหาการขาดแคลนเมล็ดพันธุดี และราคาพืชแขงขันดานพื้นที่ เชน ออยโรงงาน ปรับตัวสูงข้ึน เปนสาเหตุจูงใจใหเกษตรกรปรับลดพื้นที่ปลูกถ่ัวเหลืองอยางตอเนื่อง คาดวาพ้ืนที่ปลูกถ่ัวเหลืองของประเทศมี 0.783 ลานไร ผลผลิต 0.202 ลานตัน ใกลเคียงกับป 2552 เน่ืองจากผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นจากไรละ 253 กิโลกรัม ในป 2552 เปนไรละ 259 กิโลกรัม ในป 2553 2.2.2 การตลาด 1.) การบริโภค คาดวาความตองการใชของประเทศมีปริมาณประมาณ 1.88 ลานตัน เพ่ิมจากป 2551 รอยละ 2.71 ในจํานวนนี้เปนถ่ัวเหลืองนําเขารอยละ 89 และเปนผลิตในประเทศรอยละ 11 ของความตองการใชทั้งหมด 2.) ราคา ราคาถ่ัวเหลืองของไทยปรับตัวในทิศทางเดียวกับราคาตลาดโลก คาดวาราคาถ่ัวเหลืองคละเกรดเกษตรกรขายไดปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากป 2552 โดยเคลื่อนไหวอยูระหวางกิโลกรัมละ 13-17 บาท 3.) การสงออก ถ่ัวเหลืองไทยเปนสายพันธุธรรมชาติไมตัดแตงพันธุกรรม เปนที่ตองการของตลาดเพื่อการบริโภค แตเน่ืองจากผลผลิตมีไมเพียงพอกับความตองการ การสงออกมีปริมาณนอยและไมแนนอน คาดวาป 2553 มีปริมาณสงออก 1,500 ตัน 4.) การนําเขา การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในชวงไตรมาสท่ี 4 ของป 2552 และการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกในป 2553 เปนปจจัยหนุนใหความตองการบริโภคและการสงออกสินคาเน้ือสัตวเพ่ิมขึ้น สงผลใหความตองใชวัตถุดิบอาหารสัตวมีแนวโนมเพิ่มขึ้น คาดวาการนําเขาเมล็ดถ่ัวเหลืองป 2553 มีปริมาณ 1.68 ลานตัน เพ่ิมจากปกอนรอยละ 3.07

Page 37: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

3636

ตารางท่ี 1 สมดุลเมล็ดถ่ัวเหลืองโลก

หนวย : ลานเมตริกตัน

รายการ 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52 อัตราเพ่ิมเฉลีย่ คาดการณ ความแตกตาง

(รอยละตอป) 2552/53 (รอยละ)

1. ผลผลิต 215.76 220.67 237.11 221.13 210.64 -0.46 246.07 16.82

2. นําเขา 63.48 64.13 69.06 78.16 75.24 5.52 76.14 1.20

3. สงออก 64.79 63.80 71.31 79.52 76.93 5.80 77.85 1.20

4. สกัดนํ้ามัน 175.74 185.19 195.66 201.93 191.98 2.67 201.02 4.71

5. สต็อกส้ินป 47.43 53.21 62.89 52.91 42.05 -2.43 54.79 30.30

ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐ

ตารางท่ี 2 ราคาเมล็ดถ่ัวเหลืองตลาดโลก

หนวย : ดอลลารสหรัฐ/ตัน

ความแตกตาง

รายการ 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52 2550/51และ2551/52

(รอยละ)

ราคาเมล็ดถ่ัวเหลืองตลาดสําคัญ

1. สหรัฐอเมริกา1/ 214 202 264 452 365 -19.25

2. บราซิล (FOB) 232 228 279 472 403 -14.62

3. อารเจนตินา (FOB) 228 227 279 469 392 -16.42

4. รอตเตอรดัม (CIF) 277 261 335 550 421 -23.45

ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐ 1/ ถ่ัวเหลือง NO.1 รัฐอิลินอยส

ตารางท่ี 3 พ้ืนท่ีปลูก และผลผลิตถ่ัวเหลืองของประเทศไทย

อัตราเพ่ิม

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552 เฉลี่ยตอป 2553 สวนตาง

(รอยละ) (รอยละ)

1. พ้ืนที่ปลูก (ลานไร) 0.938 0.916 0.867 0.813 0.801 -4.23 0.783 -2.25

2. ผลผลิตตอไร (กก.) 229 240 244 250 253 2.43 259 2.37

3. ผลผลิตทั้งหมด (ลานตัน) 0.215 0.220 0.212 0.203 0.202 -2.03 0.202 0.00

Page 38: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ถ่ัวเหลือง

3737

ตารางท่ี 4 ราคาถ่ัวเหลืองและผลิตภัณฑของไทย

หนวย : บาท/กก.

อัตราเพ่ิม

2548 2549 2550 2551 2552

เฉลี่ยตอป

(ม.ค.-ต.ค.)

(รอยละ)

1. ราคาเมล็ดถ่ัวเหลืองเกษตรกรขายได 10.72 10.49 11.31 16.90 14.16 10.89

2. ราคานําเขา

- ทาเรือเกาะสีชัง 11.59 10.20 12.63 18.70 16.59 14.15

- ตลาดชิคาโก 9.05 8.25 11.02 15.08 13.11 14.39

3. ราคาขายสงน้ํามันถ่ัวเหลืองบริสุทธิ์ 1/ 29.74 29.98 33.74 50.27 43.12 13.43

หมายเหตุ : 1/ รวมภาษีมูลคาเพ่ิม ไมรวมภาชนะบรรจุ

ตารางท่ี 5 สมดุลเมล็ดถ่ัวเหลืองของประเทศไทย

อัตราเพ่ิม

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552 เฉลี่ยตอป 2553 สวนตาง

(รอยละ) (รอยละ)

1. ผลผลิตทั้งหมด (ลานตัน) 0.215 0.220 0.212 0.203 0.202 -2.03 0.202 0.00

2. นําเขา (ลานตัน) 1.61 1.40 1.54 1.72 1.63 2.33 1.68 3.07

3. สงออก (ตัน) 1,224 1,235 2,657 1,199 1200 -0.69 1,500 25.00

4. ความตองการใช(ลานตัน) 1.82 1.62 1.75 1.92 1.83 1.81 1.88 2.71

ตารางท่ี 6 ความตองการใชเมล็ดถ่ัวเหลืองของประเทศไทย ป 2548-2552หนวย : ตัน

อัตราเพ่ิม เฉลี่ย คาดการณ

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552 เฉลี่ยตอป 2548-2552 2553

(รอยละ) (รอยละ)

1.เมล็ดถ่ัวเหลือง 1,823,248 1,615,525 1,752,582 1,926,611 1,835,049 1.908 100.00 1,885,545

1.1 สกัดนํ้ามัน 1,208,266 1,249,409 1,234,622 1,271,716 1,244,744 0.775 69.35 1,308,278

1.2 บริโภค 596,870 348,378 499,695 639,067 575,061 5.467 29.70 561,678

1.3 ทําพันธุ 16,888 16,503 15,608 14,629 14,044 -4.776 0.87 14,089

1.4 สงออก 1,224 1,235 2,657 1,199 1,200 -0.689 0.08 1,500

Page 39: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 40: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กลุมพืชพลังงานทดแทน4. มันสําปะหลัง5. ออยโรงงาน6. ปาลมนํ้ามัน

Page 41: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 42: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

มันสําปะหลัง

4141

4. มันสําปะหลัง 1. สถานการณป 2552

1.1 ของโลก

1.1.1 การผลิต

ในชวงป 2547-2551 ผลผลิตของโลกขยายตัวในอัตรารอยละ 4.05 ตอป

เน่ืองจากประเทศผูผลิต คือ ไนจีเรีย คองโก กานา เวียดนาม และอินโดนีเซียไดขยายการผลิต

เพ่ิมขึ้น โดยผลผลิตปรับสูงข้ึนหลังจากกระทบภาวะแลงในชวงป 2547-2548 และความตองการ

พืชเพ่ือใชผลิตพลังงานทดแทน

สําหรับป 2552 ความตองการพลังงานทดแทนทําใหประเทศผูผลิตรายใหญยังขยาย

การผลิตเพ่ิมขึน้ ทัง้ไนจเีรีย บราซิล ไทย และจีน อยางไรก็ตามผลผลติของไทยลดลงเนือ่งจากกระทบภาวะ

แลง สําหรับกลุมประเทศแอฟริกา มนัสาํปะหลังยงัคงเปนพชือาหารหลักท่ีสําคญัตอความมัน่คงดานอาหาร

สวนในเอเชีย ทัง้อนิโดนเีซียและฟลปิปนสมนีโยบายสงเสริมการผลิตมนัสาํปะหลังเพ่ือพลงังานทดแทน

1.1.2 ดานการตลาด

(1) การใชในประเทศ

ในชวงท่ีผานมาสวนใหญจะบริโภคภายในประเทศ มีสวนแบงเพ่ือการคา

ประมาณรอยละ 13-17 ประเทศตางๆ ทั้งในทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต และคาริบเบียนบริโภค

ภายในประเทศเกือบทั้งหมด ในรูปหัวมันสดและในรูปผลิตภัณฑ เชน Gari Foufou ฯลฯ สําหรับ

ทวีปเอเชียสวนใหญจะมีการใชภายในประเทศเปนหลักเชนกัน ไดแก อินโดนีเซีย จีน เวียดนาม

เวนแตไทยมีการใช ในประเทศประมาณรอยละ 20-25 ของผลผลิตที่ผลิตได แตในชวง 2-3 ปที่

ผานมา ประเทศตางๆ เชน ไทย จีน อินโดนีเซีย ฟลิปปนส มีนโยบายสงเสริมการผลิตพลังงาน

ทดแทนเช้ือเพลิงจากฟอสซิลมากข้ึน ทําใหความตองการใชมันสําปะหลังขยายตัวมากข้ึน ประกอบ

กับทิศทางราคาสินคาธัญพืชและพืชน้ํามัน รวมท้ังขาวสาลี ขาวโพด และถ่ัวเหลือง ปรับตัวสูงข้ึน

ทําใหแตละประเทศหันมาใชวัตถุดิบที่ผลิตได ในประเทศทดแทนการนําเขามากข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่ง

การใชเพ่ืออุตสาหกรรมอาหารสัตว อยางไรก็ตามทิศทางอุตสาหกรรมเล้ียงสัตวมีแนวโนมหดตัวลง

ประกอบกับมีการใชกากเหลือจากการกล่ันเอทานอล (Dried Distilled Grains: DDGs) เปนวัตถุ

อาหารสัตวมากข้ึน ความตองการใชมันสําปะหลังเพ่ืออาหารสัตวจะลดลง

(2) การสงออก

ในชวงป 2546-2550 ปริมาณและมูลคาการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง

ของโลกขยายตัวในอัตรารอยละ 5.11 และ 19.12 ตอป ตามลําดับประเทศผูสงออกรายใหญ คือ

ไทย มีสวนแบงการตลาดประมาณรอยละ 72 รองลงมาไดแก เวียดนาม และอินโดนีเซีย มีสวนแบง

การตลาดรอยละ 16.24 และ 3.00 ตามลําดับ

Page 43: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

4242

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ในชวงป 2548-2552 พ้ืนที่เก็บเก่ียว ผลผลิต และผลผลิตตอไรมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 7.20 13.40 และ 5.77 ตามลําดับ เน่ืองจากราคาจูงใจใหเกษตรกรขยายพ้ืนที่ปลูกเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง ป 2550 ราคาธัญพืชในตลาดตางประเทศปรับตัวสูงข้ึนมากจากกระแสความตองการพลังงานทดแทนทําใหราคามันสําปะหลังพุงสูงข้ึนดวย ประกอบกับมีการใชพันธุดีกระจายไปท่ัวพ้ืนที่ปลูก นอกจากนี้สภาพอากาศที่เอื้ออํานวยและมีการปรับปรุงบํารุงดิน การดูแลรักษาท่ีดี จึงทําใหผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้น ป 2552 มีพ้ืนที่เก็บเก่ียว 8.29 ลานไร ผลผลิต 30.09 ลานตัน เทียบกับพื้นที่เก็บเก่ียว 7.40 ลานไร ผลผลิต 25.16 ลานตันเมื่อปที่ผานมา ปรากฏวาพ้ืนที่เก็บเก่ียวและผลผลิตเพ่ิมขึ้นรอยละ 12.03 และ19.59 ตามลําดับ เน่ืองจากสภาพอากาศเหมาะสมและราคาจูงใจ ทําใหเกษตรกรขยายพ้ืนที่ปลูก ประกอบกับมีการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลังโดยการรับจํานํา ทําใหเกษตรกรชะลอการขุดมันเพ่ือเขาคิวรวมโครงการ ผลผลิตตอไรจึงเพ่ิมขึ้นจาก 3.40 ตัน เปน 3.63 ตัน หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 6.76 แมวาจะไดรับผลกระทบจากการระบาดของเพล้ียแปงบางก็ตาม 1.2.2 ดานการตลาด (1) การใชในประเทศ ในชวงป 2548 - 2552 ความตองการใชมันสําปะหลังในประเทศมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 29.52 เน่ืองจากการใชมันเสนเพ่ือเปนสวนประกอบอาหารสัตวขยายตัวเพ่ิมขึ้นมาก เพราะผูประกอบการเล้ียงสัตวไดหันมาใชทดแทนขาวโพดซ่ึงมีราคาสูงข้ึน โดยเฉพาะระหวางป 2550-2551 สวนความตองการใชแปงมันสําปะหลังขยายตัวเชนกันเพราะอุตสาหกรรมตอเนื่อง เชน อาหาร กระดาษ สารความหวาน ฯลฯ ขยายตัว สําหรับความตองการเพ่ือผลิตเอทานอล ในป 2549 เร่ิมมีการใชมันสําปะหลัง เพ่ือผลิตเอทานอลเชิงพาณิชยเปนปแรก ปจจุบันมีโรงงานท่ีใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบดําเนินการผลิตแลว 5 โรง กําลังการผลิต 0.73 ลานลิตรตอวัน โดยใน 5 โรง เปนโรงงานท่ีใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบมันสําปะหลังเพียงอยางเดียว 3 โรง อีก 2 โรง ใชกากน้ําตาลและมันสําปะหลัง ในปนี้ราคาออยและกากน้ําตาลปรับตัวสูงข้ึนมาก โดยราคาออยสูงกวาพันบาทตอตัน จะทําใหมีความตองการใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบมากข้ึน ในป 2552 รัฐบาลไดดําเนินการแทรกแซงตลาดโดยการรับจํานํา ทําใหผลผลิตมันสําปะหลังเขาสูโครงการประมาณรอยละ 40 มีผูประกอบการลานมันจํานวนกวา 500 ลานและโรงแปงเกือบ 50 โรง เขารวมโครงการ ประกอบกับราคารับจํานําสูงกวาราคาตลาดมากทําใหปริมาณมันเสนเขาสูตลาดปกติลดลง การใชเพ่ือเปนอาหารสัตวรวมถึงการใชแปงในประเทศจึงลดลง ดานเอทานอลคาดวาจะมีการใชมันสําปะหลัง 1.6 ลานตัน และต้ังแตชวงปลายป 2552

Page 44: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

มันสําปะหลัง

4343

ถึงป 2553 จะมีโรงงานท่ีจะใชมันสําปะหลังทดแทนกากน้ําตาลและโรงงานท่ีใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบเพียงอยางเดียวทยอยเปดดําเนินการอีก 7 โรง กําลังการผลิตรวม 3.875 ลานลิตรตอวัน (2) ราคา ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาที่เกษตรกรขายได ณ ไรนา มีแนวโนมสูงข้ึนอัตรารอยละ 5.23 ตอป เน่ืองจากราคาสินคาพืชทดแทน เชน ขาวโพด ขาวสาลี ทั้งในและตางประเทศ มีราคาสูงข้ึนมากตั้งแตป 2550 ทําใหความตองการใชมันสําปะหลังทั้งในและตางประเทศขยายตัวมาก สงผลใหราคาสงออก (F.O.B) สูงข้ึน จึงสงผลตอเนื่องทําใหราคาท่ีเกษตรกรขายไดสูงตามไปดวย ป 2552 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาสงออกมันอัดเม็ด มันเสน และแปงมัน ปรับตัวลดลงจากปที่ผานมา ในอัตรารอยละ 27.46 19.50 21.74 และ 24.51 ตามลําดับ (3) การสงออก ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ปริมาณการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง ไดแก มันเสน มันอัดเม็ดและแปงมันสําปะหลังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 4.64 ลานตันในป 2548 เปน 6.66 ลานตันในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตรารอยละ 4.15 ตอป โดยปจจุบันผลผลิตธัญพืชของสหภาพยุโรปมีปริมาณมากขึ้น ทําใหความตองการมันอัดเม็ดของสหภาพยุโรปลดลง ไทยจึงหันไปหาตลาดใหมๆ ในเอเชียแทน ป 2552 คาดวาปริมาณการสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลัง 6.66 ลานตัน เพ่ิมข้ึนจากปที่ผานมาที่มีปริมาณการสงออก 4.75 ลานตัน โดยความตองการมันอัดเม็ดของตลาดสหภาพยุโรปยังมีปริมาณไมมาก สวนมันเสนเนื่องจากปที่ผานมาจีนมีนโยบายใชขาวโพดเล้ียงสัตวในประเทศแทนการนําเขามันสําปะหลัง ประกอบกับคาดวาผลผลิตขาวโพดเล้ียงสัตว ป 2552/53 ลดลง ปริมาณสต็อกขาวโพดเล้ียงสัตวของจีนจึงลดลง ทําใหจีนเร่ิมหันมานําเขามันเสนจากไทย และจีนยังคงเปนคูคารายใหญที่สุดของไทย ทั้งมันเสนและแปงมัน ตลาดหลักท่ีสําคัญ มันเสน ไดแก จีน มันอัดเม็ด ไดแก สเปน และเนเธอรแลนด แปงดิบ ไดแก จีน ไตหวัน และอินโดนีเซีย แปงแปรรูป ไดแก ญี่ปุน จีน และเนเธอรแลนด

2. แนวโนมป 2553 ของไทย 2.1 การผลิต แนวโนมป 2553 คาดวาจะมีพ้ืนที่เก็บเก่ียว 7.66 ลานไร ผลผลิต 25.03 ลานตัน และผลผลิตตอไร 3.27 ตัน เทียบกับพื้นที่เก็บเก่ียว 8.29 ลานไร ผลผลิต 30.09 ลานตัน และผลผลิตตอไร 3.63 ตัน ของปที่ผานมา ลดลงคิดเปนรอยละ 7.60 16.82 และ 9.92 ตามลําดับ

Page 45: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

4444

เน่ืองจากการระบาดของเพล้ียแปงในแปลงมันอายุนอย เกษตรกรไดไถมันทิ้งและปลูกขาวโพดแทนเพ่ือตัดวงจรเพล้ีย และปลูกออยแทนมันสําปะหลัง สําหรับแปลงมันสําปะหลังอายุ 4 เดือนขึ้นไปที่มีการระบาดของเพล้ียแปงผลผลิตตอไรลดลง 2.2 การตลาด (1) การใชในประเทศ ความตองการใชมันสําปะหลังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 9.01 ลานตันหัวมันสด ในป 2552 เปน 9.18 ลานตันหัวมันสด ในป 2553 โดยความตองการใชมันสําปะหลังเพ่ือผลิตอาหารสัตวไดปรับตัวสูงข้ึนมากตั้งแต 2 ปที่ผานมา ขณะที่ทิศทางราคามันสําปะหลังออนตัวลงเล็กนอยจากปกอน ทําใหการใช ในอาหารสัตวอยูในระดับสูงและจูงใจใชมันสําปะหลังเพ่ือผลิตเอทานอลขยายตัวมากกวาใชเปนไปตามนโยบายสงเสริมใหมีการใชเอทานอลผสมในนํ้ามันเบนซินเพ่ิมขึ้นจาก E

10 เปน E

20

(2) ราคาท่ีเกษตรกรขายได ป 2553 ผลผลิตมันสําปะหลังในประเทศลดลง และคาดวาราคาธัญพืช ทั้งขาวโพดเล้ียงสัตวและขาวสาลีในตลาดตางซ้ือขายลวงหนามีแนวโนมสูงข้ึน ทําใหคาดวาราคาผลิตภัณฑมันสําปะหลังสงออกจะปรับสูงข้ึน สงผลใหราคาที่เกษตรกรขายไดเพ่ิมสูงข้ึนดวย (3) การสงออก ป 2553 คาดวาการสงออกจะเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมา เน่ืองจากสถานการณเศรษฐกิจของประเทศคูคาดีข้ึน ประกอบกับราคาผลิตภัณฑมันสําปะหลังจูงใจ และภัยธรรมชาติที่เกิดข้ึนหลายประเทศ เชน ภัยแลงในจีนที่จะสงผลตอผลผลิตธัญพืช รวมถึงราคากากน้ําตาลที่ใชผลิตเอทานอลปรับตัวสูงข้ึนมาก จะทําใหมีความตองการใชมันสําปะหลังเพ่ือทดแทนมากขึ้น

ตารางท่ี 1 พ้ืนท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิต และผลผลิตตอไรของโลก ป 2547-2551

รายการ 2547 2548 2549 2550 2551

พ้ืนที่เก็บเก่ียว (ลานไร) 112.60 115.24 115.25 116.65 Na.

ผลผลิต (ลานตัน) 205.08 207.44 222.56 228.14 238.45

ผลผลิตตอไร (ตัน) 1.83 1.80 1.94 1.95 Na.

ที่มา : องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (F.A.O)

Page 46: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

มันสําปะหลัง

4545

ตารางท่ี 3 พ้ืนท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิต และผลผลิตตอไรของไทย ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552*

พ้ืนที่เก็บเก่ียว (ลานไร) 6.16 6.69 7.34 7.40 8.29

ผลผลิต (ลานตัน) 16.94 22.58 26.92 25.16 30.09

ผลผลิตตอไร (ตัน) 2.75 3.38 3.67 3.40 3.63

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

* ประมาณการ ณ เดือนพฤศจิกายน 2552

ตารางท่ี 2 ปริมาณและมูลคาสงออกผลิตภัณฑมันสําปะหลังของโลก ป 2547-2551

ปริมาณ : ตัน มูลคา : พันดอลลาร

ประเทศ

2546 2547 2548 2549 2550

ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา

1.ไทย* 4,756,367 432,738 6,132,570 579,578 4,040,781 552,479 5,884,283 816,707 5,802,291 941,074

2.เวียดนาม 632,006 52,795 749,666 66,879 534,049 61,348 1,040,655 120,410 1,316,557 166,341

3.อนิโดนเีซีย 32,311 4,910 448,915 61,419 341,643 44,842 148,636 19,062 243,286 43,084

4.บราซิล 18,606 6,083 11,997 6,474 15,548 7,333 15,333 7,014 16,625 9,769

5.จนี 12,796 10,960 15,024 13,194 16,831 15,126 16,779 14,752 17,110 14,177

6.ไนจเีรีย 2,195 140 75 37 1,247 179 794 180 1,673 337

7.อืน่ๆ 610,294 120,222 651,119 146,801 684,553 110,392 272,035 102,059 710,044 180,040

โลก 6,064,575 627,848 8,009,366 874,382 5,634,652 791,699 7,378,515 1,080,184 8,107,586 1,354,822

ที่มา : องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (F.A.O) (ไมรวมแปงแปรรูป)

* ขอมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ

Page 47: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

4646

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

ตารางท่ี 4 ราคา ป 2548-2552

หนวย : บาท/กก.

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552*

ราคาหัวมันสดที่เกษตรกรขายได 1.37 1.21 1.38 1.93 1.40

ราคาขายสงมันเสนตลาด กทม. 4.05 3.73 4.20 5.25 4.00

ราคาขายสงแปงมันตลาด กทม. 9.83 8.12 11.07 13.09 12.00

ราคาสงออกมันอัดเม็ด 4.38 4.09 4.32 5.59 4.50

ราคาสงออกมันเสน 4.30 4.12 4.30 5.75 4.50

ราคาสงออกแปงมัน 9.31 8.27 9.64 12.32 9.30

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

* ประมาณการ ณ เดือนพฤศจิกายน 2552

ตารางท่ี 5 ปริมาณและมูลคาการสงออกมันสําปะหลังและผลิตภัณฑ ป 2548-2552

ปริมาณ : ตัน มูลคา : ลานบาท

มนัอัดเม็ด มนัเสน

แปงมนัสําปะหลงั รวมผลติภัณฑ

ป แปงดบิ แปงแปรรปู

ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา

2548 0.258 838 2.773 11,938 1.013 9,396 0.595 10,717 4.639 32,889

2549 0.393 1,387 3.820 15,777 1.672 13,666 0.637 11,008 6.522 41,838

2550 1.651 7,196 2.680 11,136 1.471 13,995 0.736 12,917 6.538 45,244

2551 1.564 8,681 1.202 6,540 1.272 15,000 0.715 14,795 4.754 45,016

2552* 0.260 1,200 4.000 18,400 1.700 15,400 0.700 12,800 6.660 47,800

ที่มา : กรมศุลกากร

* ประมาณการ ณ เดือนพฤศจิกายน 2552

Page 48: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ออยโรงงาน

4747

5. ออยโรงงาน 1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต การผลิตนํา้ตาลของโลกปการผลิต 2551/52 โดยการประมาณการขององคการนํา้ตาลระหวางประเทศ (ตารางที่ 1) คาดวาผลผลิตนํ้าตาลของโลกจะผลิตไดปริมาณ 154.2 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ลดลงจาก 167.2 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ของป 2550/51 หรือรอยละ 7.8 เน่ืองจากการผลิตนํ้าตาลของประเทศผูผลิตรายสําคัญลดลง เชน อินเดีย ไทย ออสเตรเลีย และสหภาพยุโรปผลิตไดลดลง โดยเฉพาะอินเดียลดลงประมาณ 12.8 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) และสหภาพยุโรปลดลงอยางตอเนื่องตามโครงการปฏิรูปการผลิตนํ้าตาล แมวาการผลิตของบราซิลจะเพ่ิมขึ้นถึง 7.2 ลานตันก็ตาม 1.1.2 การตลาด (1) การบริโภค การบริโภคนํ้าตาลของโลกปการผลิต 2551/52 คาดวาจะมีปริมาณ 164.6 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) เพ่ิมขึ้นจาก 160.9 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ในปการผลิต 2550/51 หรือรอยละ 2.3 (ตารางที่ 1) ซ่ึงเปนผลจากการเพ่ิมขึ้นของการบริโภคในกลุมประเทศภูมิภาคเอเชียกลางและตะวันออกไกล เชน อียิปต อิหราน จีน อินเดีย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เปนตน (2) ราคา ราคาน้ําตาลในตลาดโลก ป 2551/52 มีราคาสูงกวาปที่ผานมา กลาวคือราคาน้ําตาลทรายดิบตลาดนิวยอรกเฉล่ีย 15.94 เซนตตอปอนด หรือกิโลกรัมละ 12.06 บาท (อัตราแลกเปล่ียน 34.31 บาท/เหรียญสหรัฐ) สวนปที่ผานมาราคา 13.67 เซนตตอปอนดหรือกิโลกรัมละ 10.00 บาท (อัตราแลกเปล่ียน 33.18 บาท/เหรียญสหรัฐ) (ตารางที่ 2) ซ่ึงเปนผลจากการผลิตนํ้าตาลของโลกจะผลิตไดนอยกวาความตองการ ทําใหตลาดนํ้าตาลในตลาดโลกมีความตึงตัว (3) การสงออก ปริมาณนํ้าตาลสําหรับสงออกของโลกปการผลิต 2551/52 มีปริมาณเพิ่มขึ้นเปน 50.90 ลานตันจากปริมาณ 48.2 ลานตันของปการผลิต 2550/51 (ตารางที่ 1) โดยจะมีการนําสต็อกนํ้าตาลที่สะสมมาตลอด 2 ปที่ผานมาสําหรับสงออก (4) การนําเขา การนําเขานํ้าตาลของโลกปการผลิต 2551/52 คาดวาจะเพ่ิมขึ้นเปน 51.0 ลานตัน จากปริมาณ 48.2 ลานตันของปการผลิต 2550/51 (ตารางที่ 1) เน่ืองจากประเทศผูนําเขามีความตองการนําเขาเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากกังวลเก่ียวกับปริมาณการผลิตนํ้าตาลของโลกกลับมาผลิตไดนอยกวาความตองการอีกคร้ัง

Page 49: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

4848

1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต (1) การผลิตออยโรงงาน พ้ืนที่ปลูกออยโรงงานป 2551/52 ลดลงเหลือ 6.0 ลานไร เน่ืองจากราคาออยในปที่ผานมาลดลงตํ่ากวาปที่ผานมาทําใหเกษตรกรลดพ้ืนที่ปลูกออยลง โดยปการผลิตที่ผานมาที่มีพ้ืนที่ปลูก 6.6 ลานไร หรือลดลงรอยละ 9.1 สวนผลผลิตตอไรคาดวาจะลดลงจากปที่ผานมาเล็กนอยเหลือ 11.1 ตัน จาก 11.2 ตันไร เน่ืองจากพื้นที่ปลูกบางพ้ืนที่ไดรับผลกระทบจากฝนท่ีทิ้งชวงนาน ปริมาณออยทั้งประเทศจึงมีปริมาณลดลงเหลือ 66.8 ลานตัน เทียบกับปริมาณ 73.5 ลานตันของปที่ผานมา หรือคิดเปนรอยละ 9.1(ตารางที่ 3) (2) การผลิตน้ําตาล ปริมาณนํ้าตาลที่ผลิตได ในป 2551/52 มีปริมาณทั้งส้ิน 7.2 ลานตัน (ตารางที่ 3) ลดลงจากปที่ผานมาที่ผลิตได 7.8 ลานตัน หรือลดลงรอยละ 7.7 ตามปริมาณออยที่ลดลง อยางไรก็ตามเนื่องจากความหวานของออยที่สูงกวาปที่ผานมาทําใหอัตราการแปรสภาพน้ําตาลดีกวาปที่ผานมา ทําใหปริมาณนํ้าตาลมีอัตราการลดลงนอยกวาการลดลงของปริมาณผลผลิตออย 1.2.2 การตลาด (1) การบริโภค การบริโภคนํ้าตาลภายในประเทศป 2552 คาดวาปริมาณจะใกลเคียงกับปที่ผานมาเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจของประเทศท่ีชะลอตัวลงตามภาวะเศรษฐกิจโลกสงผลใหความตองการใชนํ้าตาลของภาคอุตสาหกรรมและการบริโภคโดยตรงของประชาชนทรงตัว คณะกรรมการออยและน้ําตาลทรายไดกําหนดโควตาน้ําตาลสําหรับจําหนายภายในประเทศไว ใกลเคียงกับปการผลิตที่ผานมาคือ 1.9 ลานตัน (ตารางที่ 6) (2) ราคา ราคาออยท่ีเกษตรกรขายได ราคาออยที่เกษตรกรขายไดหนาโรงงาน (ราคาออยขั้นสุดทาย) ของปการผลิต 2551/52 อยูระหวางการพิจารณาของคณะกรรมการออยและนํ้าตาลทราย อยางไรก็ตามจากการที่ราคาน้ําตาลในตลาดโลกที่ปรับตัวเพ่ิมขึ้นมาโดยตลอดจะสงผลใหราคาน้ําตาลที่ขายไดจริงจะสูงกวาราคาท่ีใชประมาณราคาออยข้ันตนในตอนตนฤดูการผลิต ซ่ึงจะสงผลใหรายไดจากการจําหนายนํ้าตาลในตางประเทศสูงกวาการประมาณการไวตามไปดวย ดังนั้นราคาออยขั้นสุดทายของปการผลิต 2551/52 จะมีราคาสูงกวาราคาออยขั้นตนที่ราคาตันละ 830 บาท (ตารางที่ 4) ราคาสงออกน้ําตาล ราคาน้ําตาลทรายดิบสงออกป 2552 ตันละ 10,849 บาท (ม.ค.-ก.ย.) ซ่ึงสูงกวาปที่ผานมาที่มีราคาตันละ 8,607 บาท (ตารางที่ 5) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 26.0 สวนราคานํ้าตาลทรายขาวสงออกป 2552 ตันละ 12,657 บาท (ม.ค.-ก.ย.) ซ่ึงสูงกวาปที่ผานมาที่มีราคาตันละ 10,801 บาท (ตารางที่ 5) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 17.2 ตามราคานํ้าตาลในตลาดโลกที่ปรับตัวสูงข้ึน

Page 50: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ออยโรงงาน

4949

(3) การสงออก จากปริมาณนํ้าตาลที่ผลิตไดปการผลิต 2551/52 จํานวน 7.2 ลานตัน ถูกกันไวสําหรับบริโภคภายในประเทศจํานวน 1.9 ลานตัน ดังนั้นในป 2552 ปริมาณสงออกจะมีปริมาณเทากับ 5.3 ลานตัน ลดลงจากปที่ผานมาเล็กนอย (ตารางที่ 6) แตเน่ืองจากราคานํ้าตาลในตลาดโลกไดปรับตัวสูงข้ึนทําใหมูลคาการสงออกจะใกลเคียงกับปที่ผานมา คาดวามูลคาการสงออกจะประมาณ 62,000 ลานบาท (4) การนําเขา การนําเขานํ้าตาลป 2552 มีปริมาณเพียงเล็กนอย 388 ตัน มูลคา 15.7 ลานบาท (ตารางที่ 6) เน่ืองจากราคานํ้าตาลในตลาดโลกปรับตัวสูงข้ึน และอัตราภาษีทั้งในและนอกโควตาอยูในระดับที่คอนขางสูง ทําใหไมจูงใจใหมีการนําเขานํ้าตาลมากนัก นํ้าตาลที่นําเขาสวนใหญจะเปนนํ้าตาลชนิดพิเศษท่ีไมมีการผลิตภายในประเทศ

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ปการผลิต 2552/53 องคการน้ําตาลระหวางประเทศประมาณการผลผลิตนํ้าตาลของโลกวาจะมีปริมาณ 159.0 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) เพ่ิมจาก 154.2 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ของป 2551/52 หรือรอยละ 3.1 (ตารางที่ 1) ซ่ึงเปนผลจากการผลิตนํ้าตาลของประเทศผูผลิตรายสําคัญผลิตไดเพ่ิมขึ้น เชน ไทย จีน อินเดีย สหรัฐอเมริกา และเม็กซิโก 2.1.2 การตลาด (1) การบริโภค การบริโภคนํ้าตาลของโลกปการผลิต 2552/53 คาดวาจะมีปริมาณ 167.4 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) เพ่ิมขึ้นจาก 164.6 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ในปการผลิต 2551/52 (ตารางที่ 1) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.7 ซ่ึงเปนผลจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจของโลกทําใหอัตราการบริโภคนํ้าตาลของโลกเพ่ิมขึ้นไมมากนัก โดยการเพ่ิมขึ้นของการบริโภคยังคงเปนการเพ่ิมขึ้นของการบริโภคในกลุมประเทศเอเซีย เชน จีน อินเดีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย อียิปต และอิหราน เชนเดิม (2) ราคา ราคาน้ําตาลปการผลิต 2552/53 คาดวาราคาจะเพ่ิมขึ้นตอเนื่องจากปนี ้เน่ืองจากผลผลิตนํ้าตาลของโลกจะผลิตไดตํ่ากวาความตองการอีกเปนปที่ 2 ติดตอกันซ่ึงจะมีปริมาณถึง 8.4 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ซ่ึงจะทําใหสต็อกนํ้าตาลของโลกมีปริมาณลดลง และตลาดนํ้าตาลมีความตึงตัวมากข้ึน (3) การสงออก ปริมาณนํ้าตาลสําหรับสงออกของโลกปการผลิต 2552/53 คาดวาจะเพ่ิมขึ้นเปน 52.0 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) จากปริมาณ 50.9 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ของปการผลิต

Page 51: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

5050

2551/52 (ตารางที่ 1) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.8 ซ่ึงมีผลมาจากสต็อกนํ้าตาลภายในประเทศตางมีจํานวนนอยลงและประเทศผูผลิตที่สําคัญสามารถผลิตนํ้าตาลไดเพ่ิมขึ้น (4) การนําเขา การนําเขานํ้าตาลของโลกปการผลิต 2552/53 คาดวาจะเพ่ิมขึ้นเปน 51.9 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) จากปริมาณ 51.0 ลานตัน (นํ้าตาลทรายดิบ) ของปการผลิต 2551/52 (ตารางที่ 1) หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 1.8 ซ่ึงมีผลมาจากสต็อกนํ้าตาลภายในประเทศตางมีจํานวนนอยลง ทําใหมีความตองการนําเขานํ้าตาลมากข้ึน 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต (1) การผลิตออยโรงงาน พ้ืนที่ปลูกออยป 2552/53 คาดวาจะเพ่ิมขึ้นเปน 6.3 ลานไรจากปที่ผานมาที่มีพ้ืนที่ปลูก 6.0 ลานไร เน่ืองจากราคาออยที่กลับมาสูงข้ึนจะจูงใจใหมีการปลูกเพ่ิมขึ้น สวนผลผลิตตอไรคาดวาจะเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมาเล็กนอยเปน 11.4 ตันตอไร จาก 11.1 ตันตอไร เน่ืองจากราคาน้ําตาลในตลาดโลกที่เพ่ิมข้ึนประกอบกับราคาออยที่คอนขางสูงในปนี้ ทําใหเกษตรกรมีเงินทุนและแรงจูงใจใหมกีารดูแลรักษามากข้ึน คาดวาผลผลติทัง้ประเทศจะมีปริมาณเพิม่ขึน้จาก 66.8 ลานตนัของปที่ผานมาเปน 71.1 ลานตัน หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 6.4 (ตารางที่ 3) (2) การผลิตน้ําตาล จากการพยากรณวาผลผลิตออยจะมีปริมาณ 71.1 ลานตันดังกลาวขางตน คาดวาจะผลิตนํ้าตาลไดเพ่ิมขึ้นเปน 7.6 ลานตัน หรือรอยละ 5.6 จากปริมาณ 7.2 ลานตัน (ตารางที่ 3) 2.2.2 การตลาด (1) การบริโภค การบริโภคนํ้าตาลภายในประเทศป 2553 คาดวาปริมาณนํ้าตาลบริโภคภายในประเทศจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเปน 2.1 ลานตัน เมื่อเทียบกับ 1.9 ลานตันของปกอน (ตารางที่ 6) ทั้งนี้เน่ืองจากราคานํ้าตาลในตลาดตางประเทศสูงข้ึนทําใหผูผลิตสินคาเพ่ือการสงออกจะมีการหันมาใชนํ้าตาลภายในประเทศกันมากข้ึนเพ่ือลดตนทุนการผลิต (2) ราคา ราคาที่เกษตรกรขายได ณ หนาโรงงาน (ราคาออยขั้นตน) ของปการผลิต 2552/53 คาดวาราคาจะอยูในระดับที่สูงกวาราคาออยขั้นตน 830 บาท ของปนี้ เน่ืองจากราคานํ้าตาลในตลาดโลกที่ปรับตัวเพ่ิมขึ้นจนอยูในระดับ 22 เซนตตอปอนด ในชวงปลายปจะสงผลใหรายไดจากการสงออกเพ่ิมขึ้น (3) การสงออก ปริมาณนํ้าตาลที่จะสงออกในปการผลิต 2552/53 คาดวาจะสงออกไดปริมาณ 5.5 ลานตนั ซ่ึงเปนสวนเหลือจากการใชสําหรับบริโภคภายในประเทศจาํนวน 2.1 ลานตนั ซ่ึงเปนปริมาณทีม่ากกวาปทีผ่านมาเลก็นอย สวนมลูคาการสงออกใกลเคียงกับปทีผ่านมาคอืประมาณ 62,000 ลานบาท

Page 52: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ออยโรงงาน

5151

(4) การนําเขา ปริมาณการนําเขานํ้าตาลจะยังคงมีปริมาณไมมากนัก เน่ืองจากอัตราภาษีนําเขาภายใต WTO ยังคงเดิม สวนการนําเขาภายใตเขตเสรีอาเซียนคาดวาจะมีปริมาณไมมากนัก เน่ืองจากประเทศสมาชิกสวนใหญยังผลิตไมเพียงพอกับการบริโภคภายในประเทศ

ตารางท่ี 2 ราคาน้ําตาลทรายดิบตลาดนิวยอรก ป 2547/48 - 2551/52

ป 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52

เซ็นต/ปอนด 10.46 15.78 11.67 13.67 15.94

บาท/กิโลกรัม 9.23 13.13 8.84 10.00 12.06

ที่มา : Contract No 11-F.O.B ; New York Board of Trade

ตารางท่ี 3 พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตตอไร และผลผลิตน้ําตาล ป 2547/48 - 2552/53

ป พ้ืนท่ีเพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตตอไร ผลผลิตน้ําตาล

(ลานไร) (ลานตัน) (ตัน) (ลานตัน)

2547/48 6.70 49.60 7.40 5.20

2548/49 6.03 47.66 7.90 4.80

2549/50 6.31 64.37 10.19 6.70

2550/51 6.59 73.50 11.15 7.80

2551/52 6.02 66.78 11.09 7.20

อัตราเพ่ิม(%) -1.24 10.83 12.23 12.03

2552/53 6.26 71.11 11.35 7.62

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

: ผลผลิตนํ้าตาล จาก สํานักงานคณะกรรมการออยและนํ้าตาลทราย

ตารางท่ี 1 ผลผลิต การบริโภค สงออก และนําเขาน้ําตาลของโลก ป 2547/48 - 2552/53ลานตันนํ้าตาลทรายดิบ

ป ผลผลิต การบริโภค สงออก นําเขา

2547/48 140.8 146.9 48.1

2548/49 150.2 152.6 48.1

2549/50 166.1 156.9 48.9

2550/51 167.2 160.9 48.2 48.2

2551/52 154.2 164.6 50.9 51.0

อัตราเพ่ิม(%) 2.94 -2.85 1.17 5.8

2552/53 159.0 167.4 52.0 51.9

ที่มา : International Sugar Organization,september 2009

Page 53: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

5252

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

ตารางท่ี 4 ราคาออยท่ีเกษตรกรขายได ณ หนาโรงงาน ป 2547/48 - 2551/52

ป 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52*

บาท/ตัน 658 929 783 758 830

ที่มา : สํานักงานออยและนํ้าตาล

หมายเหตุ : * ป 2552 ราคาออยข้ันตน

ตารางท่ี 5 ราคาสงออกน้ําตาล ป 2547/48 – 2551/52

ป 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52*

นํ้าตาลทรายดิบ 8,535 11,603 8,691 8,607 10,849

นํ้าตาลทรายขาว 10,166 13,411 10,956 10,801 12,657

ที่มา : กรมศุลกากร

หมายเหตุ : * ตัวเลข ม.ค. - ก.ย.

ตารางท่ี 6 ปริมาณการใชในประเทศและการสงออกน้ําตาล ป 2548 - 2553

ป ใชภายในประเทศ สงออก นําเขา

(ลานตัน) (ลานตัน) (ตัน)

2548 2.00 3.00 4,429

2549 2.07 2.24 14,811

2550 2.01 4.43 81

2551 1.93 5.01 3,285

2552 1.90 5.30 388

อัตราเพ่ิม(%) -1.71 21.45 - 47.14

2553 2.10 5.52 Na.

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการออยและนํ้าตาลทราย

Page 54: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปาลมน้ํามัน

5353

6. ปาลมน้ํามัน 1. สถานการณป 2552

1.1 ของโลก

1.1.1 การผลิต

ในชวงป 2548–2552 ผลผลิตนํ้ามันปาลมของโลกเพ่ิมขึ้น ในอัตรารอยละ

6.30 ตอป โดยป 2552 ประเทศอินโดนีเซียเปนผูนําในการผลิต 19.50 ลานตัน มาเลเซีย 17.50

ลานตัน โดยทั้ง 2 ประเทศผลิตนํ้ามันปาลมไดรอยละ 86.90 ของผลผลิตนํ้ามันปาลมโลก สําหรับ

ประเทศไทยผลิตได 1.20 ลานตัน คิดเปนรอยละ 2.82 ของผลผลิตนํ้ามันปาลมโลก

1.1.2 ความตองการใช

ในชวงป 2548-2552 ความตองการใช มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ีย

รอยละ 6.34 ตอป โดยป 2552 ความตองการใชนํ้ามันปาลมมีประมาณ 41.60 ลานตัน เพ่ิมขึ้น

จาก 39.42 ลานตัน ในป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 5.54

1.1.3 การคา

ในชวงป 2548-2552 การสงออกนํ้ามันปาลมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 8.52

ตอป โดยป 2552 การสงออกนํ้ามันปาลมมีประมาณ 33.92 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 32.28 ลานตัน ใน

ป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 5.08 ประเทศผูสงออกสําคัญคือ มาเลเซีย 15.70 ลานตัน อินโดนีเซีย

14.65 ลานตัน ทั้งสองประเทศมีสวนแบงตลาดนํ้ามันปาลมของโลก รอยละ 89.48 ของปริมาณ

การสงออกโลก

สําหรับการนําเขานํ้ามันปาลมเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 8.41 ตอป โดย

ป 2552 การนําเขานํ้ามันปาลมมีประมาณ 33.29 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 30.67 ลานตัน ในป 2551

คิดเปนรอยละ 8.75 ประเทศผูนําเขาสําคัญคืออินเดีย 6.30 ลานตัน จีน 5.85 ลานตัน และกลุม

ประเทศ EU-27 4.90 ลานตัน

สวนสต็อกนํ้ามันปาลมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.21 ตอปโดยในป 2552

สต็อกนํ้ามันปาลมมีประมาณ 4.48 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 4.13 ลานตันในป 2551 คิดเปนรอยละ 7.81

1.1.4 ราคาในตลาดตางประเทศ

ภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงชะลอตัว ในขณะท่ีผลผลิตนํ้ามันปาลมโลกเพ่ิมขึ้น

ประกอบกับราคานํ้ามันเช้ือเพลิงปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง ทําใหราคาน้ํามันพืชทุกชนิดปรับตัว

ลดลงตามกลไกตลาด ในชวงป 2548–2552 ราคาน้ํามันปาลมดิบตลาดมาเลเซียเพ่ิมขึ้นในอัตรา

เฉล่ียรอยละ 17.09 ตอป โดยป 2552 ราคาน้ํามันปาลมดิบเฉลี่ยตันละ 2,253.43 ริงกิต (22.72

บาท/กก.) ลดลงจาก 2,841.33 ริงกิต (29.68 บาท/กก.) ในป 2551 คิดเปนรอยละ 20.69 และ

23.45 ตามลําดับ

Page 55: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

5454

ราคาน้ํามันปาลมดิบตลาดรอตเตอรดัมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยตอปรอยละ 17.23 โดยป 2552 ราคาน้ํามันปาลมดิบ เฉล่ียตันละ 660.91 ดอลลารสหรัฐฯ (22.99 บาท/กก.)ลดลงจาก 938.02 ดอลลารสหรัฐฯ (31.54 บาท/กก.) ในป 2551 คิดเปนรอยละ 29.54 และ 27.11 ตามลําดับ 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต พ้ืนที่ปลูกปาลมนํ้ามันมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง สงผลใหพ้ืนที่ใหผลและผลผลิตปาลมนํ้ามันในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) เพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 11.65 และรอยละ 15.12 ตอป ตามลําดับ โดยป 2552 พ้ืนที่ใหผล 3.20 ลานไร ผลผลิต 8.61 ลานตัน ผลผลิตตอไร 2,694 กิโลกรัม เทียบกับป 2551 พ้ืนที่ใหผล เพ่ิมขึ้นรอยละ 11.50 สวนผลผลิต และผลผลิตตอไร ลดลงรอยละ 7.02 และ 16.46 ตามลําดับ เน่ืองจากภาคใตซ่ึงเปนแหลงผลิตที่สําคัญประสบปญหาแลงชวงปลายป 2551 ตอเนื่องถึงตนป 2552 และปริมาณนํ้าฝนลดลงชวงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม 2552 ประกอบกับอุณหภูมิที่สูงข้ึน รวมท้ังปนี้การสะสมอาหารของตนปาลมลดลง จึงสงผลใหผลผลิตเฉลี่ยตอไรลดลง 1.2.2 การใชภายในประเทศ ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ความตองการใชนํ้ามันปาลมในประเทศมีแนวโนมเพิ่มข้ึนในอัตราเฉล่ียรอยละ 2.56 ตอป โดยในป 2552 ความตองการใชนํ้ามันเพ่ือการบริโภค 914,937 ตัน ลดลงจาก 989,061 ตัน ในป 2551 เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวขณะท่ีความตองการใชเพ่ือเปนวัตถุดิบผลิตไบโอดีเซลประมาณ 360,000 ตัน เพ่ิมขึ้นจาก 276,000 ตัน คิดเปนรอยละ 30.43 รวมเปนความตองการใชทั้งส้ิน 1,274 ,937 ตัน เพ่ิมขึ้นจาก 1,265,061 ตัน ในป 2551 รอยละ 0.73 1.2.3 การสงออก ในชวงป 2548 -2552 ปริมาณการสงออกนํ้ามันปาลมดิบมีแนวโนมลดลงในอัตรารอยละ 1.87 โดยปริมาณการสงออกในป 2552 (ม.ค.-ส.ค.) มีประมาณ 29,070 ตัน เทียบกับชวงเดียวกันของป 2551 ซ่ึงมี 202,906 ตัน ลดลงประมาณ 7 เทา เน่ืองจากรัฐบาลมีนโยบายใหชะลอการสงออก เพ่ือนําไปผลิตไบโอดีเซลเพ่ิมขึ้น สวนการนําเขานํ้ามันปาลมของไทยไมมีการนําเขาเน่ืองจากผลผลิตภายในประเทศมีเพียงพอ 1.2.4 ราคา ราคาผลปาลมนํ้ามันและน้ํามันปาลมปรับตัวลดลงในทิศทางเดียวกับราคานํ้ามันในตลาดโลก โดยราคามีความเคลื่อนไหว ดังนี้ • ราคาผลปาลมสดที่เกษตรกรขายไดป 2552 เฉล่ียกิโลกรัมละ 3.59 บาท เทียบกับป 2551 เฉล่ียกิโลกรัมละ 4.23 บาท ลดลงรอยละ 15.13

Page 56: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปาลมน้ํามัน

5555

• ราคาน้ํามันปาลมดิบขายสง กทม. ป 2552 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.39 บาท เทียบกับป 2551 เฉล่ียกิโลกรัมละ 28.96 บาท ลดลงรอยละ 15.78 • ราคาน้ํามันปาลมบริสุทธิ์ขายสง กทม. ป 2552 เฉล่ียกิโลกรัมละ 30.85 บาท เทียบกับป 2551 เฉล่ียกิโลกรัมละ 38.22 ลดลงรอยละ 19.28

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ป 2553 คาดวาการผลิตนํ้ามันปาลมจะขยายตัวเพ่ิมขึ้นจาก 42.58 ลานตันในป 2552 เปน 45.04 ลานตัน เน่ืองจากมาเลเซียยังคงใชนโยบายเพ่ิมผลผลิตนํ้ามันปาลมดิบโดยการปลูกปาลมพันธุดีใหผลผลิตตอไรสูงทดแทนในสวนปาลมเกาในอัตรารอยละ 5 ของพ้ืนที่ปลูกเดิมอยางตอเนื่อง อินโดนีเซียจัดทําแผนพัฒนาพื้นที่ปลูกปาลมนํ้ามันโดยปรับปรุงระบบการระบายน้ําและอบรมใหเกษตรกรมีการใชปุยใหเหมาะสมเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รวมท้ังผลผลิตนํ้ามันปาลมของไทยที่เพ่ิมขึ้น 2.1.2 ความตองการใช ป 2553 ดาดวาความตองการใชนํ้ามันปาลมมีประมาณ 43.98 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 41.60 ลานตัน ในป 2552 รอยละ 5.72 เน่ืองจากความตองการดานอาหารและดานพลังงานทดแทนเพ่ิมขึ้น โดยในดานอาหาร ปจจัยสําคัญในการกําหนดความตองการเพ่ิมขึ้นคือจํานวนประชากรและรายไดตอประชากรโลกท่ีเพ่ิมขึ้นจากการขยายพ้ืนที่ปลูกตามนโยบายรัฐบาล 2.1.3 การคา ป 2553 คาดวาการสงออกของโลกมี 35.09 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 33.92 ลานตันในป 2552 รอยละ 3.45 สวนการนําเขาคาดวามี 34.15 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 33.29 ลานตันในป 2552 รอยละ 2.58 สําหรับสต็อกคงเหลือคาดวาจะมีประมาณ 4.61 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 4.48 ลานตัน ในป 2552 รอยละ 2.90 เน่ืองจากผลผลิตเพ่ิมขึ้นในขณะที่ความตองการใกลเคียงกับปที่ผานมา 2.1.4 ราคาตลาดตางประเทศ ป 2553 คาดวาราคาน้ํามันปาลมในตลาดโลกจะมีแนวโนมลดลงอยูในระดับ เฉล่ียตันละ 2,000-2,200 ริงกิต เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจโลกยังคงชะลอตัวอยางตอเนื่อง และขณะเดียวกันประเทศผูผลิตที่สําคัญ คือมาเลเซียและอินโดนีเซียมีปริมาณผลผลิตนํ้ามันปาลมเพ่ิมขึ้นจากการขยายพ้ืนที่ปลูกปาลมนํ้ามัน สงผลทําใหปริมาณสต็อกนํ้ามันปาลมดิบคงเหลือมีปริมาณเพิ่มขึ้น

Page 57: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

5656

2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ป 2553 คาดวาพ้ืนที่เก็บเก่ียวมีประมาณ 3.53 ลานไร ผลผลิต 10.49 ลานตัน ผลผลิตเฉลี่ยตอไร 2,974 กิโลกรัม เพ่ิมขึ้นจากป 2552 คิดเปนรอยละ 10.31 รอยละ 21.84 และรอยละ 10.39 ตามลําดับ เน่ืองจากรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมใหเกษตรกรขยายพ้ืนที่ปลูกปาลมนํ้ามันในพ้ืนที่ที่มีศักยภาพเพ่ือทดแทนพลังงานอยางตอเนื่อง ประกอบกับราคาผลปาลมที่เพ่ิมขึ้นสงผลใหเกษตรกรมีการดูแลรักษาปาลมนํ้ามันดีข้ึนและสภาพดินฟาอากาศเอ้ืออํานวย 2.2.2 ความตองการใช ป 2553 คาดวาความตองการใชเพ่ือการบริโภคมีประมาณ 920,000 ตัน เพ่ือเปนวัตถุดิบผลิตไบโอดีเซล 460,000 ตัน รวมท้ังส้ิน 1,380,000 ตัน เพ่ิมขึ้นจาก 1,274,937 ตัน ในป 2552 คิดเปนรอยละ 8.24 2.2.3 ราคา ป 2553 คาดวาผลปาลมนํ้ามันและน้ํามันปาลมจะทรงตัวใกลเคียงกับป 2552 ในระดับไมตํ่ากวาราคากิโลกรัมละ 3.50 บาท ทั้งนี้เน่ืองจากการเปดเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) ที่ไทยตองลดภาษีการนําเขานํ้ามันปาลมเหลือรอยละ 0 ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2553 เปนตนไป

ตารางท่ี 1 บัญชีสมดุลน้ํามันปาลมโลก ป 2547/48-2582/53

หนวย : ลานตัน

ป ผลผลิต นําเขา สงออก ความตองการใช สต็อกคงเหลือ

2547/48 33.53 23.94 24.55 32.48 3.59

2548/49 35.83 26.45 27.21 34.97 3.87

2549/50 37.23 27.78 27.50 37.17 4.22

2550/51 40.94 30.67 32.28 39.42 4.13

2551/52 42.58 33.29 33.92 41.60 4.48

อัตราเพ่ิม (%) 6.30 8.41 8.52 6.34 5.21

2552/53 45.04 34.15 35.09 43.98 4.61

ที่มา : Oilseed : World Market and Trade, October 2009

Page 58: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปาลมน้ํามัน

5757

ตารางท่ี 2 อุปสงค อุปทาน น้ํามันปาลม รายประเทศ ป 2547/48-2551/52หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2547/48 2548/49 2549/50 2550/51 2551/52 รอยละ 2552/53

ผลผลิต

มาเลเซีย 15.19 15.49 15.29 17.57 17.50 41.10 18.50

อินโดนีเซีย 13.56 15.56 16.60 18.00 19.50 45.80 20.75

ไทย 0.82 0.78 1.17 1.05 1.20 2.82 1.30

อื่นๆ 3.96 4.00 4.17 4.32 4.38 10.28 4.49

รวม 33.53 35.83 37.23 40.94 42.58 100.00 45.04

นําเขา

จีน 4.36 4.98 5.14 5.22 5.85 17.57 6.00

EU-27 4.03 4.27 4.41 4.69 4.90 14.72 4.80

อินเดีย 3.52 2.90 3.80 4.95 6.30 18.92 6.40

ปากีสถาน 1.57 1.70 2.22 2.22 2.20 6.61 2.25

อื่นๆ 10.46 12.60 12.21 13.59 14.04 42.18 14.70

รวม 23.94 26.45 27.78 30.67 33.29 100.00 34.15

สงออก

มาเลเซีย 12.68 12.93 12.90 14.64 15.70 46.29 15.70

อินโดนีเซีย 9.63 11.70 11.42 13.97 14.65 43.19 15.58

อื่นๆ 2.24 2.58 3.18 3.67 3.57 10.52 3.81

รวม 24.55 27.21 27.50 32.28 33.92 100.00 35.09

การบริโภค

จีน 4.36 4.97 5.14 5.22 5.56 13.37 6.03

อินโดนีเซีย 4.02 4.26 4.54 4.66 4.88 11.73 5.01

EU-27 3.92 4.15 4.26 4.39 4.55 10.94 4.66

มาเลเซีย 2.66 2.93 3.11 2.90 3.15 7.57 3.44

อินเดีย 3.41 3.12 3.77 5.03 5.89 11.75 6.44

อื่นๆ 14.11 15.54 16.35 17.22 17.57 44.64 18.40

รวม 32.48 34.97 37.17 39.42 41.60 100.00 43.98

สต็อกคงเหลือ

มาเลเซีย 1.51 1.88 1.46 1.95 1.30 29.02 1.36

อินโดนีเซีย 1.05 0.70 1.36 0.75 0.75 16.74 0.93

อื่นๆ 1.03 1.29 1.40 1.43 2.43 54.24 2.32

รวม 3.59 3.87 4.22 4.13 4.48 100.00 4.61

ที่มา : Oilseed : World Market and Trade, October 2009

Page 59: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

5858

ตารางท่ี 3 ราคาน้ํามันปาลมดิบในตลาดโลก ป 2548 -2552

ป ตลาดมาเลเซีย ตลาดรอตเตอรดัม

ริงกิต/ตัน บาท/กก. ดอลลารสหรัฐ/ตัน บาท/กก.

2548 1,393.64 15.17 419.28 16.94

2549 1,533.48 16.23 475.30 18.01

2550 2,473.42 25.63 786.79 27.21

2551 2,841.33 29.68 938.02 31.54

2552 2,253.43 22.72 660.91 22.99

อัตราเพ่ิม(%) 17.09 15.16 17.23 12.42

ตารางท่ี 4 พ้ืนท่ียืนตน พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิตและผลผลิตตอไรปาลมนํ้ามันของไทย ป 2548-2553

ป พ้ืนท่ียืนตน พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต ผลผลิตตอไร

(ลานไร) (ลานไร) (ลานตัน) (กก./ไร)

2548 2.75 2.03 5.00 2,469

2549 2.95 2.37 6.72 2,828

2550 3.20 2.66 6.39 2,399

2551 3.63 2.87 9.26 3,225

2552 3.95 3.20 8.61 2,694

อัตราเพ่ิม (%) 9.76 11.65 15.12 3.11

2553* 4.33 3.53 10.49 2,974

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

หมายเหตุ : * ประมาณการ

Page 60: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปาลมน้ํามัน

5959

ตารางท่ี 5 บัญชีสมดุลน้ํามันปาลมดิบของไทย ป 2548-2553

หนวย : ตัน

สต็อก

ผลผลิต นําเขา รวม สงออก บริโภคภายใน (6) สต็อก

รวม

ป ตนป

ผลิตไบโอ ปลายป

(1) (2) (3) (4) (5) บริโภค ดีเซล (7) (8)

2548 151,122 783,953 - 935,075 - 821,406 - 113,669 935,075

2549 113,669 1,167,126 - 1,280,795 163,180 953,094 - 164,521 1,280,795

2550 164,521 1,051,089 - 1,215,610 219,700 844,812 62,182 88,916 1,215,610

2551 88,916 1,543,761 28,385 1,661,062 288,054 989,061 276,000 107,947 1,661,062

2552 107,947 1,463,529 - 1,571,476 50,000 914,937 360,000 246,539 1,571,476

อัตราเพ่ิม (%) -8.75 16.51 13.86 -1.87 2.56 2.10 13.83

2553 246,539 1,782,767 - 2,029,306 150,000 920,000 460,000 499,306 2,029,306

หมายเหตุ : 1. สต็อกผลผลิตตาม (1) (2) (7) เปนตัวเลขกรมการคาภายในที่โรงงานตองแจงตาม

ประกาศคณะกรรมการกลางท่ี 228

2. การนําเขา สงออกตาม (3) (5) เปนการนําเขาเฉพาะน้ํามันปาลมดิบ (หรือเทียบเทา)

3. ป 2552 และป 2553 ตัวเลขประมาณการโดยสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 6 ราคาปาลมนํ้ามันและน้ํามันปาลม ป 2548-2552

หนวย : บาท/กก.

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552

ผลปาลมสด 2.76 2.39 4.07 4.23 3.59

น้ํามันปาลมดิบ 16.89 15.77 24.45 28.96 24.39

น้ํามันปาลมบริสุทธ์ิ 22.02 20.01 29.25 38.22 30.85

ที่มา : สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

Page 61: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 62: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กลุมพืชสวน 7. ยางพารา 8. สับปะรด 9. ลําไย 10. ทุเรียน 11. มังคุด 12. เงาะ

Page 63: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 64: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ยางพารา

6363

7. ยางพารา 1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในป 2552 เน้ือที่ปลูกยางพาราของโลก 103.53 ลานไร เพ่ิมขึ้นจาก 100.65 ลานไร ของป 2551 รอยละ 2.86 ผลผลิตยางพาราของโลก 9.58 ลานตัน ลดลงจาก 9.88 ลานตัน ของปที่แลวรอยละ 1.82 เน่ืองจากแหลงผลิตยางพาราของบางประเทศ อาทิ อินเดีย อินโดนีเซีย เกิดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ประกอบกับในความรวมมือของประเทศผูผลิตรายใหญ 3 ประเทศไดแก ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซียใหจํากัดปริมาณการผลิตยางพาราเพ่ือใหสอดคลองกับความตองการของตลาด 1.1.2 การตลาด 1.1.2.1 ความตองการใชยางพารา ในป 2552 ความตองการใชยางพาราของโลก 9.678 ลานตัน ลดลงจาก 10.088 ลานตัน ของปที่แลวรอยละ 4.06 เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจโลกถดถอย โดยเฉพาะประเทศผู ใชยางพารารายใหญลดปริมาณการใชยางในอุตสาหกรรมตางๆ ลง ไดแก จีน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน เปนตน 1.1.2.2 ราคา ราคายางพาราในตลาดโลกลดลงจากปที่แลวโดยเฉพาะในรูปเงินตราตางประเทศลดลงในอัตราคอนขางสูง แตเมื่ออยูในรูปของเงินบาทไทยราคายางลดลงในอัตราท่ีนอยกวาเล็กนอย ทั้งนี้เน่ืองจากคาเงินบาทไทยป 2552 ออนคากวาป 2551 โดยราคายางพาราในตลาดตางๆ เปนดังนี้ ราคาซ้ือขายลวงหนาในตลาดสิงคโปร : SICOM ป 2552 ราคายางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 188.01 เซนตสหรัฐ ลดลงจากกิโลกรัมละ 258.56 เซนตสหรัฐของปที่แลวรอยละ 27 แตเมื่ออยูในรูปเงินบาท ราคายางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 63.86 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 85.28 บาทของปที่แลวรอยละ 25 ราคายางแทงเฉล่ียกิโลกรัมละ 174.41 เซนตสหรัฐ ลดลงจากกิโลกรัมละ 252.88 เซนตสหรัฐของปที่แลวรอยละ 31 แตเมื่ออยูในรูปเงินบาท ราคายางแทงเฉล่ียกิโลกรัมละ 57.55 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 83.38 บาทของปที่แลวรอยละ 30 ราคาซ้ือขายลวงหนาในตลาดโตเกียว : TOCOM ป 2552 ราคายางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 175.30 เยน ลดลงจากกิโลกรัมละ 269.29 เยนของปที่แลวรอยละ 35 แตเมื่ออยูในรูปเงินบาท ราคายางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 63.48 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 84.64 บาทของปที่แลวรอยละ 25

Page 65: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

6464

1.1.2.3 การสงออก ในป 2552 การสงออกยางพาราของโลก 6.737 ลานตัน ลดลงจาก 7.284 ลานตัน ของปที่แลวรอยละ 7.5 เน่ืองจากไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย มีแผนลดปริมาณการสงออกยางพารารอยละ 10 1.1.2.4 การนําเขา ในป 2552 การนําเขายางพาราโลก 6.401 ลานตัน ลดลงจาก 7.015 ลานตัน ของปที่แลวรอยละ 9 เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ความตองการใชยางพาราในประเทศผู ใชลดลง การนําเขาจึงลดลง 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ป 2552 เน้ือที่ปลูกยางพาราของไทย 17.410 ลานไร เน้ือที่กรีดยางได 11.51 ลานไร ผลผลิต 3.116 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากปที่แลวรอยละ 4.13, 1.23 และ 0.28 ตามลําดับ เน้ือที่ปลูก เน้ือที่กรีดยางได และผลผลิตเพ่ิมขึ้นเน่ืองจากราคายางพาราไดโนมสูงข้ึนอยางตอเนื่องจูงใจใหเกษตรกรขยายพ้ืนที่ปลูกเพ่ิมขึ้นอยางมีนัยสําคัญตั้งแตป 2545 เปนตนมาถึงปจจุบัน ซ่ึงตนยางพาราท่ีปลูกใหมไดทยอยเปดกรีดเพ่ิมขึ้นตั้งแตป 2551 ที่ผานมา สงผลใหผลผลิตยางพาราเพ่ิมขึ้น 1.2.2 การตลาด 1.2.2.1 ความตองการใชยาพาราในประเทศ ในป 2552 ไทยมีความตองการใชยางพาราในประเทศ 0.370 ลานตัน ลดลงจาก 0.398 ลานตัน ของปที่แลวรอยละ 7.03 เน่ืองจากไทยไดรับผลกระทบจากภาวะวิกฤตการเงินที่เกิดข้ึนในสหรัฐอเมริกา ซ่ึงเปนประเทศผูนําเขาสินคาอุปโภคบริโภครายใหญที่สุดของโลกตั้งแตป 2551 ตอเนื่องถึงป 2552 สงผลใหอุตสาหกรรมผลิตภัณฑยางในประเทศชะลอการใชยางพาราเปนวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑยาง ความตองการใชยางพาราในประเทศในรูปยางแผนรมควัน ยางแทง และน้ํายางขน ประมาณรอยละ 40.80, 33.96 และ 25.24 อุตสาหกรรมท่ีมีการใชยางมากที่สุด คือ อุตสาหกรรมยางลอ ซ่ึงประกอบดวยยางพาหนะ ยางรถจักรยาน/จักรยานยนต และยางหลอดอก 1.2.2.2 ราคา ราคายางพาราในประเทศลดลงจากปที่แลวตามภาวะราคาในตลาดโลก ราคาเกษตรกรขายไดและราคาประมูลตลาดกลางยางพารา ป 2552 ราคายางแผนดิบคุณภาพ 3 ที่เกษตรกรขายได ณ ไรนา เฉล่ียกิโลกรัมละ 55.19 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 76.52 บาท ของปที่แลวรอยละ 28 ราคาประมูลยางแผนดบิคณุภาพ 3 ณ ตลาดกลางยางพาราเฉล่ียกิโลกรัมละ 58.53 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 79.62 บาทของปที่แลวรอยละ 36

Page 66: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ยางพารา

6565

ราคาประมูลนํ้ายางสด ณ ตลาดกลางยางพาราเฉล่ียกิโลกรัมละ 55.64 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 75.28 บาทของปที่แลวรอยละ 26 ราคาประมูลตลาดกลางยางพาราและราคาสงออก ป 2552 ราคาประมูลยางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 60.82 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 82.34 บาทของปที่แลวรอยละ 26 ราคาสงออก F.O.B ยางแผนรมควันช้ัน 3 เฉล่ียกิโลกรัมละ 65.24 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 86.78 บาทของปที่แลวรอยละ 25 ราคาสงออก F.O.B ยางแทง เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 84.84 บาทของปที่แลวรอยละ 26 ราคาสงออก F.O.B นํ้ายางขนเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.61 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 57.86 บาทของปที่แลวรอยละ 23 1.2.2.3 การสงออก ในป 2552 ไทยสงออกยางพารา 2.70 ลานตัน เพ่ิมขึ้นเล็กนอยจาก 2.69 ลานตันของปที่แลวรอยละ 0.37 โดยสงออกในรูปยางแผนรมควัน 0.769 ลานตัน ยางแทง 0.991 ลานตัน นํ้ายางขน 0.504 ลานตัน และยางคอมพาวด 0.435 ลานตัน ประเทศคูคาที่สําคัญ ไดแก จีน มาเลเซีย ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และเกาหลีใต เปนตน สําหรับประเทศคูแขงที่สําคัญ ไดแก อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต คาดวาเน้ือที่ปลูกยางพาราของโลกเพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 3 ผลผลิตยางพาราเพ่ิมข้ึนรอยละ 2 เน่ืองจากราคายางพาราโนมสูงข้ึน สงผลใหประเทศผูผลิตตางเพ่ิมปริมาณการผลิตมากข้ึน ประกอบกับประเทศผูผลิตยางพารารายใหม อาทิ กัมพูชา ลาว พมา คาดวาจะเร่ิมทยอยเปดกรีดยางไดเพ่ิมขึ้น 2.1.2 การตลาด 2.1.2.1 ความตองการใชยางพารา คาดวาความตองการใชยางพาราของโลกจะเพ่ิมขึน้ตามภาวะเศรษฐกิจโลกที่คาดวาจะฟนตัวในอัตรารอยละ 3 ตอป สําหรับประเทศท่ีคาดวาจะมีการใชยางพาราเพ่ิมขึ้นมาก ไดแก จีน อินเดีย และเกาหลีใต เปนตน 2.1.2.2 ราคา คาดวาราคายางพาราในตลาดโลกจะเพิ่มสูงข้ึนตามความตองการใชยางพาราโลกท่ีเพ่ิมขึ้น แมวาปริมาณการผลิตโลกจะเพ่ิมขึ้นก็ตาม

Page 67: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

6666

2.1.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกยางพาราในตลาดโลกจะเพ่ิมสูงข้ึน ตามความตองการใชยางพาราโลกท่ีเพ่ิมขึ้น 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต คาดวาเน้ือที่กรีดยางไดของไทยประมาณ 11.994 ลานไร เพ่ิมขึ้นจาก 11.508 ลานไรของป 2552 รอยละ 4.22 ผลผลิตยางพาราประมาณ 3.326 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 6.88 เน่ืองจากเนื้อที่เปดกรีดยางไดทยอยเปดกรีดมากข้ึน และมีตนยางพาราท่ีอยูในชวงใหผลผลิตสูงเพ่ิมมากขึ้น ประกอบกับราคายางพาราโนมสูงข้ึน สงผลใหเกษตรกรดูแลและบํารุงรักษาตนยางพาราอยางดี 2.2.2 การตลาด 2.2.2.1 ความตองการใชยางพาราในประเทศ คาดวาจะมีการใชยางพาราในประเทศประมาณ 0.400 ลานตัน เพ่ิมข้ึนจาก 0.370 ลานตันของป 2551 รอยละ 8.11 เน่ืองจากนโยบายสนับสนุนการใชยางพาราในประเทศเพ่ิมขึ้น ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศเร่ิมหันมาลงทุนเพ่ิมขึ้นตามการคาดการณวาเศรษฐกิจไทยจะฟนตัวข้ึนในปนี้หลังจากเศรษฐกิจถดถอยจากวิกฤตการณการเงินเมื่อปที่ผานมา 2.2.2.2 ราคา คาดวาราคายางพาราในประเทศจะเพ่ิมสูงข้ึนตามภาวะราคาในตลาดโลก และตามนโยบายยกระดับยางพาราของภาครัฐ ไดแก การสนับสนุนใหสถาบันเกษตรกรแปรรูปผลผลิตเพ่ือเพิ่มมลูคา และการดึงซัพพลายออกจากตลาดเพื่อใหสอดคลองกับปริมาณความตองการของตลาด 2.2.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกยางพาราของไทยประมาณ 2.85 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 2.70 ลานตันของป 2552 รอยละ 5.56 เน่ืองจากคาดวาจีนจะนําเขายางพาราจากไทยเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะในรูปยางคอมปาวด ซ่ึงในชวง 3 ปที่ผานมา (ป 2550 – 2552) มีแนวโนมการสงออกเพ่ิมขึ้นถึงรอยละ 64.66 ตอป

Page 68: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ยางพารา

6767

ตารางท่ี 1 ผลผลิต ปริมาณการใชยาง การสงออก การนําเขา สต็อกของโลก

หนวย : ลานตัน

ป ผลผลิต ปริมาณการใช สงออก นําเขา สต็อก

2548 8.906 9.184 6.994 6.502 1.844

2549 9.698 9.709 7.593 6.830 1.833

2550 9.687 10.230 7.538 7.229 1.290

2551 9.877 10.088 7.284 7.015 1.079

2552 9.588 9.678 6.737 6.401 1.073

G.R. 1.67 1.44 -1.16 -0.05 -14.90

ที่มา : IRSG Vol.64 No. 1 -3 July - September 2009

ตารางท่ี 2 ความตองการใชยางพาราของประเทศผูใชท่ีสําคัญ

หนวย : ลานตัน

ป โลก จีน อเมริกา ญ่ีปุน อินเดีย EU

2548 9.184 2.266 1.159 0.857 0.789 1.255

2549 9.709 2.780 1.003 0.874 0.815 1.238

2550 10.230 2.892 1.018 0.887 0.851 1.312

2551 10.088 2.924 1.041 0.878 0.881 1.13

2552 9.678 3.228 0.855 704.000 0.875 0.830

อัตราการเติบโต(%) 1.44 7.88 -5.55 282.93 2.89 -8.77

ที่มา : IRSG Vol.64 No. 1 -3 July - September 2009

ตารางท่ี 3 การสงออกยางพาราของประเทศผูสงออกท่ีสําคัญ

หนวย : ลานตัน

ป โลก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม

2548 6.994 2.680 2.025 1.128 0.538

2549 7.593 2.830 2.287 1.131 0.680

2550 7.538 2.720 2.407 1.018 0.682

2551 7.284 2.690 2.296 0.917 0.620

2552 6.737 2.700 2.126 0.721 0.637

GR -1.16 -0.36 1.02 -10.46 2.48

ที่มา : IRSG Vol.64 No. 1 -3 July - September 2009

Page 69: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

6868

ตารางท่ี 5 พ้ืนท่ีปลูก ผลผลิต ผลผลิตตอไร ยางพาราของไทย

ป เน้ือท่ีปลูก ผลผลิต/ไร ผลผลิต

(ลานไร) (กก.) (ลานตัน)

2548 13.610 282 2.980

2549 14.354 282 3.070

2550 15.354 274 3.024

2551 16.717 278 3.167

2552 17.410 276 3.116

GR 6.66 -0.57 1.21

ที่มา : ศูนยสารสนเทศ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 6 การใชยางพาราในประเทศแยกตามชนิดของยาง

หนวย : ตัน

ป ยางแผนรมควัน ยางแทง น้ํายางขน อ่ืนๆ รวม

2548 82,425 129,224 92,676 30,324 334,649

2549 70,276 104,168 131,974 14,467 320,885

2550 96,308 116,292 149,659 11,400 373,659

2551 162,225 135,029 81,788 18,553 397,595

2552 150,960 125,652 76,112 17,265 370,000

GR 22.71 2.06 -8.35 -8.40 4.24

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

ตารางท่ี 4 ราคายางพาราในตลาดสิงคโปรและตลาดโตเกียว

ตลาดสิงคโปร ตลาดโตเกียว

ป ยางแผนรมควันช้ัน 3 ยางแทง ยางแผนรมควันช้ัน 3

US บาท US บาท เยน บาท

2548 149.23 60.02 138.90 56.63 168.51 61.61

2549 207.52 78.40 194.24 72.50 243.13 78.78

2550 226.34 77.70 215.48 73.95 269.45 78.24

2551 258.56 85.28 252.88 83.38 269.29 84.64

2552 188.01 63.86 174.41 57.55 175.30 63.48

GR 7.06 2.10 7.46 1.74 1.83 1.32

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

Page 70: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ยางพารา

6969

ตารางท่ี 7 การใชยางพาราในประเทศแยกตามประเภทอุตสาหกรรม

หนวย : ตัน

ป ยางลอ ถุงมือยาง ยางยืด ยางรัดของ อ่ืนๆ รวม

2548 171,948 57,658 43,752 25,412 35,879 334,649

2549 164,873 62,312 68,179 16,382 9,139 320,885

2550 206,694 54,808 72,193 17,232 22,732 373,659

2551 244,443 52,436 54,108 21,657 24,951 397,595

2552 227,476 48,766 50,320 20,128 23,310 370,000

GR 10.005 -4.949 0.487 -1.853 1.428 4.239

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

ตารางท่ี 8 การสงออกยางพาราในประเทศแยกตามชนิดยาง

หนวย : ลานตัน

ป ยางแผนรมควัน ยางแทง น้ํายางขน ยางคอมพาวด อ่ืน ๆ รวม

2548 0.924 1.147 0.469 0.060 0.080 2.68

2549 0.939 1.103 0.527 0.170 0.091 2.83

2550 0.867 0.878 0.532 0.161 0.280 2.72

2551 0.766 0.986 0.502 0.198 0.416 2.69

2552 0.769 0.990 0.503 0.435 0.003 2.70

GR -5.55 -3.98 0.92 50.90 -39.63 -0.36

ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางท่ี 9 การสงออกยางพาราของไทยไปยังประเทศคูคาท่ีสําคัญ

ป จีน สหรัฐอเมริกา ญ่ีปุน มาเลเซีย อ่ืนๆ รวม

2548 0.601 0.237 0.539 0.402 0.901 2.68

2549 0.778 0.207 0.492 0.436 0.917 2.83

2550 0.833 0.195 0.409 0.427 0.856 2.72

2551 0.836 0.215 0.386 0.415 0.838 2.69

2552 0.838 0.216 0.387 0.416 0.843 2.70

ที่มา : กรมศุลกากร

Page 71: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

7070

ตารางท่ี 10 ราคายางพาราท่ีเกษตรกรขายได ณ ไรนาและราคาประมูลตลาดกลางหาดใหญ

ป 2548 - 2552

หนวย : บาท/กก.

ป ราคาเกษตรกรขายได ณ ไรนา ราคาประมูล ณ ตลาดกลางยางพารา อ. หาดใหญ

ยางแผนดิบชั้น 3 ยางกอนคละ น้ํายางสด ยางแผนดิบ คุณภาพ 3 ยางแผนรมควัน น้ํายางสด

2548 52.19 27.77 50.29 55.59 57.23 52.95

2549 68.19 37.16 65.69 71.82 74.35 67.84

2550 68.92 35.84 66.21 72.24 74.45 68.23

2551 76.52 38.35 73.13 79.62 82.34 75.28

2552 55.19 27.36 52.57 58.53 60.82 55.64

GR 2.30 0.02 1.98 2.08 2.26 2.05

ที่มา : ศูนยสารสนเทศ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

ตารางท่ี 11 ราคายางพาราสงออก เอฟ.โอ.บี ป 2548 - 2552

หนวย : บาท/กก.

ป ยางแผนรมควันช้ัน 3 ยางแทง น้ํายางขน

2548 60.38 56.66 45.37

2549 79.50 75.43 56.98

2550 78.61 75.21 53.17

2551 86.78 84.84 57.86

2552 65.24 62.41 44.61

GR 2.45 3.16 -0.18

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

Page 72: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ยางพารา

7171

ตารางท่ี 12 ราคายางพาราซ้ือขายลวงหนาในตลาดสิงคโปรและโตเกียว ป 2552

หนวย : บาท/กก.

เดือน

ตลาดโตเกียว ตลาดสิงคโปร

ยางแผนรมควัน ยางแผนรมควัน ยางแทง

มกราคม 52.53 51.63 48.72

กุมภาพันธ 49.63 51.27 45.49

มีนาคม 49.47 51.11 45.65

เมษายน 55.65 56.82 51.88

พฤษภาคม 56.10 57.90 53.40

มิถุนายน 53.89 56.67 51.74

กรกฎาคม 58.43 59.33 53.99

สิงหาคม 68.72 69.70 62.45

กันยายน 70.66 72.88 70.06

ตุลาคม 80.62 78.06 75.09

พฤศจิกายน 83.00 81.00 80.52

ธันวาคม 83.00 80.00 79.86

ที่มา : สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร

Page 73: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

7272

8. สับปะรด 1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในชวง 5 ป (ป 2547-2551) ผลผลิตสับปะรดมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 7.06 โดยเพ่ิมขึ้นจาก 16.72 ลานตัน ในป 2547 เปน 21.50 ลานตัน ในป 2551 ประเทศบราซิลมีผลผลิตมากที่สุด 2.75 ลานตัน หรือรอยละ 12.79 ของผลผลิตโลก สําหรับไทยมีผลผลิต 2.28 ลานตัน หรือรอยละ 10.60 ของผลผลิตโลก สําหรับผลผลิตป 2552 คาดวาจะมีปริมาณใกลเคียงกับป 2551 เน่ืองจากเกษตรกรของประเทศผูผลิตที่สําคัญ ไดแก ไทย ฟลิปปนส และอินโดนีเซีย ไดมีการปรับเปล่ียนไปปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นแทน เชน ยางพารา 1.1.2 การตลาด 1) การสงออก (1) สับปะรดกระปอง ในชวง 3 ป (ป 2549-2551) ปริมาณการสงออกสับปะรดกระปองมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 2.29 คือเพ่ิมขึ้นจาก 1,316 พันตัน ในป 2549 เปน 1,377 พันตัน ในป 2551 โดยไทยเปนผูสงออกรายใหญของโลก ซ่ึงในป 2551 ไทยสงออกสับปะรดกระปอง 619 พันตัน หรือรอยละ 44.95 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด รองลงมา ไดแก ฟลิปปนส เคนยา อินโดนีเซีย และจีน สําหรับมูลคาการสงออกสับปะรดกระปองมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉล่ียตอปรอยละ 22.36 คือเพิ่มขึ้นจาก 776.96 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปน 1,163.22 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2551โดยในป 2551ไทยสงออกสับปะรดกระปองมูลคา 563.21 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือรอยละ 48.42 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด (2) น้ําสับปะรดเขมขน ในชวง 3 ป (ป 2549-2551) ปริมาณการสงออกมีอัตราเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยตอปรอยละ 13.20 คือเพ่ิมขึ้นจาก 341 พันตัน ในป 2549 เปน 437 พันตัน ในป 2551 โดยไทยเปนผูสงออกรายใหญ ซ่ึงในป 2551 ไทยสงออกปริมาณ 143 พันตัน หรือรอยละ32.72 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด รองลงมาไดแก เนเธอรแลนด ฟลิปปนส คอสตราริกา และแอฟริกาใต สําหรับมูลคาการสงออกนํ้าสับปะรดมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 20.05 คือเพิ่มขึ้นจาก 288.39 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปน 415.64 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 โดยในป 2551 ไทยสงออกนํ้าสับปะรดมูลคา 158.08 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือรอยละ 38.03 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด 2) ราคาสงออก (1) สับปะรดกระปอง ในชวง 3 ป (ป 2549-2551) ราคาสงออกสับปะรด

Page 74: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สับปะรด

7373

กระปองมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 17.03 คือเพิ่มขึ้นจากตันละ 617 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปนตันละ 845 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 (2) น้ําสับปะรดเขมขน ในชวง 3 ป (ป 2549-2551) ราคาสงออกนํ้าสับปะรดมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 4.49 คือเพ่ิมขึ้นจากตันละ 872 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปน ตันละ 952 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 3) การนําเขา (1) สับปะรดกระปอง ในชวง 3 ป (ป 2549-2551) ปริมาณการนําเขาสับปะรดกระปองมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 4.67 คือเพิ่มขึ้นจาก 1,246 พันตัน ในป 2549 เปน 1,365 พันตัน ในป 2551 โดยสหรัฐอเมริกาเปนผูนําเขารายใหญของโลก ซ่ึงในป 2551 สหรัฐอเมริกานําเขาสับปะรดกระปอง 409 พันตัน หรือรอยละ 29.96 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมดของโลก รองลงมา ไดแก เยอรมัน สเปน สหราชอาณาจักร และฝร่ังเศส ตามลําดับ สําหรับมูลคาการนําเขาสับปะรดกระปองมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 16.79 คือเพิ่มขึ้นจาก 933.86 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปน 1,273.71 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 โดยในป 2551 สหรัฐอเมริกานําเขาสับปะรดกระปอง มูลคา 351.62 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือรอยละ 27.61 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด (2) น้ําสับปะรดเขมขน ป 2551 ปริมาณการนําเขา 375 พันตัน เพ่ิมขึ้นจาก 353 พันตัน ในป 2550 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 6.23 โดยสหรัฐอเมริกาเปนผูนําเขารายใหญ ซ่ึงในป 2551 สหรัฐอเมริกานําเขาปริมาณ 84 พันตัน หรือรอยละ 22.40 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมด รองลงมาไดแก เยอรมัน สเปน รัสเซีย และอิตาลี สําหรับมูลคาการนําเขานํ้าสับปะรดมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 9.66 คือเพิ่มขึ้นจาก 393.08 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปน 472.71 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 โดยในป 2551 สหรัฐอเมริกานําเขานํ้าสับปะรด มูลคา 94.89 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือรอยละ 20.07 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด 4) ราคานําเขา (1) สับปะรดกระปอง ในชวง 3 ป (ป 2549-2551) ราคานําเขาสับปะรดกระปองมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 11.53 คือเพิ่มขึ้นจากตันละ 750 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 เปนตันละ 933 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2551 (2) น้ําสับปะรดเขมขน ป 2551 ราคานําเขานํ้าสับปะรดตันละ 1,260 เหรียญสหรัฐฯ เพ่ิมขึ้นจาก 1,149 เหรียญสหรัฐฯ ในป 2550 หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 9.66 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) เน้ือทีเ่ก็บเก่ียว ผลผลติ และผลผลิตตอไรมอีตัราลดลงเฉลีย่ตอปรอยละ 2.39 4.48 และ 2.13 ตามลาํดบั สําหรับในป 2552 เน้ือทีเ่ก็บเก่ียว 567 พันไร ผลผลติ 1.89 ลานตัน และผลผลิตตอไร 3.34 ตัน โดยพ้ืนที่ที่เก็บเก่ียวลดลงจากป 2551 รอยละ 2.58

Page 75: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

7474

เน่ืองจากแหลงผลิตที่สําคัญ ไดแก ประจวบคีรีขันธ หนองคาย ระยอง ชลบุรี และชุมพร ที่มีการปลูกสับปะรดแซมในสวนยางพารา ซ่ึงปจจุบันตนยางพาราโต อายุ 3 ป ข้ึนไปแลว จึงไมเหมาะกับการปลูกสับปะรด รวมท้ังป 2552 ราคาท่ีเกษตรกรขายไดเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 4.25 บาท ของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 10.59 1.2.2 การตลาด 1) การบริโภค ผลผลิตประมาณรอยละ 20-25 ของผลผลิตทั้งหมดจะบริโภคในประเทศในรูปผลสด สวนผลิตภัณฑสับปะรดแปรรูปจะสงออกเกือบทั้งหมด 2) ราคา 2.1) ราคาท่ีเกษตรกรขายได (1) สับปะรดโรงงาน ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) ราคาสับปะรดโรงงานท่ีเกษตรกรขายไดมีอัตราเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 3.69 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 4.70 บาท ในป 2552 (2) สับปะรดบริโภคสด ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) ราคาสับปะรดบริโภคสดที่เกษตรกรขายไดมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 9.73 คือเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.08 บาท ในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 6.50 บาท ในป 2552 ป 2552 ราคาท่ีเกษตรกรขายไดเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.92 บาท ของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 9.80 2.2) ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) ราคาขายสงสับปะรดบริโภคสดศรีราชาเบอร 1 มีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 11.64 คือเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.89 บาท ในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 12.50 บาท ในป 2552 ป 2552 ราคาสับปะรดบริโภคสดขายสงตลาดกรุงเทพฯ เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 12.21 บาท ของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 2.38 2.3) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี (1) สับปะรดกระปอง ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี มีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 7.83 คือเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.74 บาท ในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 31.11 บาท ในป 2552 ป 2552 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บ ีเพ่ิมขึน้จากกิโลกรัมละ 30.45 บาทของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 2.17 (2) น้ําสับปะรด ในชวง 5 ป (ป 2548-2552) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี มีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยตอปรอยละ 2.89 คือเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 37.72 บาท ในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 38.13 บาท ในป 2552

Page 76: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สับปะรด

7575

ป 2552 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.65 บาท ของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 4.04

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ในชวงป 2552 ราคาสงออกสับปะรดกระปอง และน้ําสับปะรด อยูในเกณฑดี สงผลใหประเทศผูผลิตตางๆ จะสนับสนุนใหเกษตรกรทําการผลิตสับปะรดเพ่ือใชเปนวัตถุดิบเพ่ิม ทําใหคาดวาปริมาณผลผลิตสับปะรดโลกจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมา 2.1.2 การตลาด ประเทศผูนาํเขาสับปะรด โดยเฉพาะสหรัฐอเมรกิา สหภาพยุโรป และญ่ีปุน ซ่ึงเปนตลาดใหญของโลก อยูในชวงฟนฟูภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ดังนั้นคาดวาการสงออกสับปะรดของโลกในภาพรวมจะใกลเคียงกับปที่ผานมา อยางไรก็ตาม หากภาวะเศรษฐกิจของตลาดหลักฟนตัวโดยเร็ว ยอมจะมีโอกาสใหการสงออกมีการขยายตัวเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากสับปะรดเปนสินคาประเภทอาหาร 2.1.1 ราคา คาดวาราคาสงออกสับปะรดกระปอง และน้ําสับปะรดจะมีแนวโนมใกลเคียงกับปที่ผานมา 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ป 2552 ราคาสับปะรดที่เกษตรกรขายไดอยูในเกณฑดี กิโลกรัมละ 5-7 บาท จะเปนแรงจูงใจใหเกษตรกรขยายพ้ืนที่ปลูก และดูแลบํารุงรักษาตนสับปะรด ทําใหตนสับปะรดสมบูรณดี และหากสภาพอากาศเอ้ืออํานวย คาดวาปริมาณผลผลิตในป 2553 จะมีแนวโนมเพิ่มข้ึนจากปที่ผานมา 2.2.2 การสงออก การสงออกสับปะรดกระปอง และน้ําสับปะรด จะมีแนวโนมใกลเคียงกับปที่ผานมา เน่ืองจากตลาดตางประเทศยังชะลอการส่ังซ้ือ 2.2.3 ราคา 1) ราคาท่ีเกษตรกรขายได เน่ืองจากราคาสงออกทรงตัว หรือใกลเคียงกับปที่ผานมาสงผลใหราคาท่ีเกษตรกรขายไดจะใกลเคียงกับปที่ผานมา อยางไรก็ตาม ในชวงท่ีมีผลผลิตออกสูตลาดมาก และกระจุกตัว ราคาท่ีเกษตรกรขายไดจะปรับตัวลดลง 2) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี คาดวาราคาสงออกสับปะรดกระปอง และน้ําสับปะรดของไทยจะใกลเคียงกับปที่ผานมา

Page 77: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

7676

ตารางท่ี 3 ปริมาณและมูลคาการสงออกน้ําสับปะรดของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 – 2551

ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว

ประเทศ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา

(พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (%) (%)

ไทย 182 136.62 133 121.69 143 158.08 -11.36 7.57 เนเธอรแลนด 44 56.95 58 84.67 57 88.39 13.82 24.58 ฟลิปปนส - - 121 49.00 114 45.03 - - คอสตราริกา 34 24.76 27 20.31 44 35.48 13.76 19.71 แอฟริกาใต 15 12.47 15 12.53 15 15.46 0.00 11.35

อื่นๆ 66 57.59 59 71.39 64 73.20 -1.53 12.74

รวม 341 288.39 413 359.59 437 415.64 13.20 20.05

ที่มา : Trademap 2009

ตารางท่ี 1 ผลผลิตสับปะรดของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 – 2551 หนวย : ตัน

ประเทศ ป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 ป 2551* อัตราขยายตัว (%)

บราซิล 2.22 2.29 2.56 2.68 2.75 6.03 ไทย 2.10 2.18 2.71 2.19 2.28 1.70 ฟลิปปนส 1.76 1.79 1.83 2.02 2.00 3.84 อินโดนีเซีย 0.71 0.93 1.43 2.24 2.30 38.12 คอสตราริกา 1.08 1.23 1.56 1.97 2.00 18.57 อื่นๆ 8.85 9.06 9.12 9.81 10.17 3.64

รวม 16.72 17.48 19.21 20.91 21.50 7.06

ที่มา : FAO 2009หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

ตารางท่ี 2 ปริมาณและมูลคาการสงออกสับปะรดกระปองของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 - 2551

ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว

ประเทศ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา

(พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (%) (%)

ไทย 619 378.33 568 420.66 619 563.21 0.00 22.01 ฟลิปปนส 226 107.55 242 122.42 233 134.75 1.54 11.93 อินโดนีเซีย 187 100.55 91 57.99 221 170.50 8.71 30.22 เคนยา 56 42.13 71 55.81 94 75.09 29.56 33.50 จีน 65 34.25 81 46.87 77 62.61 8.84 35.20

อื่นๆ 163 114.15 174 133.10 133 157.06 -9.67 17.30

รวม 1,316 776.96 1,227 836.85 1,377 1,163.22 2.29 22.36

ที่มา : Trademap 2009

Page 78: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สับปะรด

7777

ตารางท่ี 5 ราคาสงออกน้ําสับปะรดของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 – 2551

หนวย : US $/ตัน

ประเทศ ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว (%)

ไทย 753 917 1,102 20.97 เนเธอรแลนด 1,307 1,464 1,538 8.48 ฟลิปปนส - 405 393 - คอสตาริกา 723 749 807 5.65 แอฟริกาใต 818 848 1,032 12.32

โลก 872 845 952 4.49

ที่มา : Trademap 2009

ตารางท่ี 6 ปริมาณและมูลคาการนําเขาสับปะรดกระปองของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 - 2551

ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว

ประเทศ ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา ปรมิาณ มลูคา

(พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (%) (%)

สหรัฐอเมริกา 365 305.21 351 295.75 409 351.62 5.86 7.33 เยอรมัน 125 95.01 119 92.59 129 122.16 1.59 13.39 สเปน 56 49.22 56 63.81 82 80.12 21.01 27.59 สหราชอาณาจกัร 57 49.32 48 46.18 46 57.30 -10.17 7.79 ฝร่ังเศส 62 34.34 50 36.69 39 52.10 -20.69 23.17 อื่นๆ 581 400.76 622 471.98 660 610.41 6.58 23.42

รวม 1,246 933.86 1,246 1,007.00 1,365 1,273.71 4.67 16.79

ที่มา : Trademap 2009

ตารางท่ี 4 ราคาสงออกสับปะรดกระปองของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 -2551

หนวย : US $/ตัน

ประเทศ ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว (%)

ไทย 611 740 911 22.08 ฟลิปปนส 476 505 578 10.19 อินโดนีเซีย 539 637 772 19.68 เคนยา 759 784 799 2.60 จีน 531 579 815 23.89

โลก 617 715 845 17.03

ที่มา : Trademap 2009

Page 79: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

7878

ตารางท่ี 7 ปริมาณและมูลคาการนําเขาน้ําสับปะรดของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 – 2551

ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว

ประเทศ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา

(พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (พันตัน) (ลานดอลลาร) (%) (%)

สหรัฐอเมริกา - 88.29 58 70.64 84 94.89 - 3.67 เยอรมัน 56 59.92 66 67.81 67 82.56 10.34 17.38 สเปน 29 31.04 32 31.79 28 36.36 6.95 8.23 รัสเซีย 25 34.47 27 37.37 22 35.14 -3.03 0.97 อิตาลี 22 23.68 23 25.44 23 29.17 7.08 10.99

อื่นๆ - 155.68 147 172.47 151 194.59 - 11.80

รวม - 393.08 353 405.52 375 472.71 - 9.66

ที่มา : Trademap 2009

ตารางท่ี 9 ราคานําเขาน้ําสับปะรดของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 – 2551

หนวย : US $/ตัน ประเทศ ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว (%)

สหรัฐอเมริกา - 1,211 1,123 - เยอรมัน 1,061 1,024 1,233 7.80 สเปน 1,065 1,004 1,292 10.14 รัสเซีย 1,378 1,401 1,607 7.99 อิตาลี 1,087 1,117 1,247 7.11

โลก - 1,149 1,260 -

ที่มา : Trademap 2009

ตารางท่ี 8 ราคานําเขาสับปะรดกระปองของประเทศท่ีสําคัญ ป 2549 - 2551

หนวย : US $/ตัน ประเทศ ป 2549 ป 2550 ป 2551 อัตราขยายตัว (%)

สหรัฐอเมริกา 835 842 860 1.49 เยอรมัน 759 780 949 11.82 สเปน 880 1135 971 5.04 สหราชอาณาจกัร 870 969 1240 19.39 ฝร่ังเศส 555 734 1343 55.56

โลก 750 808 933 11.53

ที่มา : Trademap 2009

Page 80: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

8080

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

ตารางท่ี 14 ราคาขายสงสับปะรดบริโภคสด ณ ตลาดกรุงเทพฯ ป 2548 - 2552

ป ราคา (บาท/กก.)

2548 8.89

2549 8.03

2550 10.55

2551 12.21

2552 12.50

อัตราขยายตัว (%) 11.64

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 15 ตนทุนการผลิตสับปะรดของไทย ป 2548 - 2552

ป ตนทุนการผลิต (บาท/กก.)

2548 2.58

2549 2.27

2550 2.61

2551 2.77

2552 3.53

อัตราขยายตัว(%) 8.61

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 13 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ป 2548 – 2552

หนวย : บาท/กิโลกรัม

ป สับปะรดโรงงาน สับปะรดบริโภคสด

2548 3.69 5.08

2549 2.45 3.83

2550 4.41 5.76

2551 4.25 5.92

2552 4.70 6.50

อัตราขยายตัว(%) 10.90 9.73

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 81: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ลําไย

8181

9. ลําไย 1. สถานการณป 2552 1.1 การผลิต ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) พ้ืนที่ปลูกลําไยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากพ้ืนที่ใหผล 820,985 ไร ในป 2548 เปนพื้นที่ใหผล 968,717 ไร ในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 4.46 ตอป ขณะท่ีผลผลิตและผลผลิตเฉลี่ยตอไรมีแนวโนมลดลงจาก 712,178 ตัน (867 กก./ไร) ในป 2548 เปน 598,872 ตัน (618 กก./ไร) ในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 3.30 และ 7.43 ตอป ตามลําดับ ทั้งนี้เน่ืองจากราคาลําไยไมจูงใจใหเกษตรกรลงทุนปลูก ทําใหเกษตรกรขาดการดูแลรักษาตนลําไย อีกท้ังมีสภาพอากาศที่แปรปรวนรัอนสลับหนาว จึงทําใหผลผลิตลดลง สําหรับในป 2552 พ้ืนที่ใหผลเพ่ิมขึ้นจาก 966,831 ไร ของป 2551 รอยละ 0.20 ผลผลิตเพ่ิมขึ้นจาก 476,930 ตันของป 2551 รอยละ 25.57 และผลผลิตตอไรเพ่ิมขึ้นจาก 493 กิโลกรัมตอไรของป 2551 รอยละ 25.35 1.2 การตลาด 1.2.1 การสงออก ไทยเปนผูสงออกลําไยรายใหญของโลก โดยตลาดหลักของไทยไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน อินโดนีเซีย และฮองกง การสงออกสวนใหญจะสงออกในรูปลําไยสดและลําไยอบแหงโดยในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ปริมาณการสงออกลําไยสดและผลิตภัณฑมีแนวโนมเพ่ิมสูงข้ึนจากปริมาณ 459,853 ตัน ในป 2548 เปนปริมาณ 734,992 ตัน ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 12.54 ตอป และมูลคามีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 4,992 ลานบาท ในป 2548 เปน 6,703 ลานบาทในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 8.19 ตอป สําหรับในป 2552 การสงออกลําไยสดและผลิตภัณฑมีปริมาณและมูลคาเพ่ิมขึ้นจาก 496,932 ตัน และ 5,051 ลานบาท ในป 2551 รอยละ 47.91 และ 32.71 ตามลําดับ เน่ืองจากผลผลิตเพ่ิมขึ้น ทั้งน้ีความตองการของตลาดจีนซ่ึงเปนตลาดเกาเพ่ิมขึ้นอยางมาก สวนตลาดใหมไดแก ตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใตก็เพ่ิมขึ้นเชนกัน 1.2.2 การใชภายในประเทศ ผลผลิตลําไยสวนใหญที่ใช ในประเทศจะอยูในรูปลําไยสด สวนการแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ เชนลําไยอบแหง ลําไยกระปองและลําไยแชแข็งที่ใช ในประเทศจะมีปริมาณไมมากนัก โดยในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ปริมาณความตองการบริโภคลําไยสดและผลิตภัณฑมีแนวโนมลดลงจากปริมาณ 100,000 ตัน ในป 2548 เปนปริมาณ 55,000 ตัน ในป 2552 หรือลดลงเฉลี่ยรอยละ 11.27 ตอป เน่ืองจากมีการผลักดันการสงออกเพ่ิมขึ้น สําหรับป 2552 ปริมาณความตองการบริโภคลําไยลดลงจาก 60,000 ตัน ในป 2551 รอยละ 8.33

Page 82: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

8282

1.3 ราคา 1.3.1 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ราคาลําไยสดที่เกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพ่ิมขึ้น โดยราคาลําไยสดชนิดดี (เกรด AA) ชนิดรอง (เกรด A) และชนิดคละมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 17.89 บาท 12.56 บาท และ 11.30 บาทในป 2548 เปนราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 29.31 บาท 26.84 บาท และ 17.63 บาท ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 14.57, 21.47 และ 15.00 ตอป ตามลําดับ สําหรับราคาลําไยอบแหงที่เกษตรกรขายได ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) เกรด AA เฉล่ียอยูที่กิโลกรัมละ 50.30 บาท เกรด A เฉล่ียกิโลกรัมละ 32.82 บาทและเกรด B เฉล่ียกิโลกรัมละ 19.15 บาท โดยราคาลําไยอบแหงที่เกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึน สําหรับในป 2552 ราคาลําไยสดชนิดดี (เกรด AA) และชนิดคละ มีราคาลดลงจากป 2551 โดยลดลงจากราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.01 บาท และ 18.61 บาท เปนราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 29.31 และ 17.63 บาท หรือลดลงเฉลี่ยรอยละ 2.33, 5.27 ตามลําดับ สวนราคาลําไยสดชนิดรอง (เกรด A) มีราคาเพ่ิมขึ้นเล็กนอยจากป 2551โดยเพ่ิมขึ้นจากราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 26.25 บาท เปนราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 26.84 หรือเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.25 1.3.2 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548-2552) ราคาสงออก F.O.B เฉล่ียของลําไยแชแข็ง มีแนวโนมเพิ่มข้ึนจาก 45,990 บาท/ตัน ในป 2548 เปน 59,400 บาท/ตัน ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นเฉล่ียรอยละ 3.12 ตอป ขณะที่ราคา F.O.B เฉล่ียลําไยสด ลําไยอบแหง และลําไยกระปอง มีแนวโนมลดลงจาก 16,440 บาท/ตัน 29,100 บาท/ตัน และ 35,180 บาท/ตัน ในป 2548 เปน 15,360 บาท/ตัน 18,440 บาท/ตัน และ 15,610 บาท/ตัน ในป 2552 ตามลําดับ หรือลดลงเฉลี่ยรอยละ 2.64, 8.94 และ 18.83 ตามลําดับ สําหรับป 2552 ราคาสงออก F.O.B เฉล่ียของลําไยแชแข็ง เพ่ิมขึ้นจากป 2551 รอยละ 21.10 ขณะที่ราคาสงออก F.O.B เฉลี่ยของลําไยสด ลําไยอบแหง และลําไยกระปอง ลดลงจากป 2551 รอยละ 1.09, 7.85 และ 30.65 ตามลําดับ

2. แนวโนมป 2553 2.1 การผลิต คาดวาพ้ืนที่ใหผลจะลดลงเล็กนอยจาก 968,717 ไร ในป 2552 เปน 967,292 ไร หรือลดลงรอยละ 0.15 สวนผลผลิตจะลดลงจาก 598,872 ตัน ในป 2552 เปน 549,422 ตัน หรือลดลงรอยละ 8.26 เน่ืองจากราคาที่เกษตรกรขายได ในปที่ผานมามีราคาตกต่ํา เกษตรกรจึงดูแลรักษาตนลําไยนอยลง 2.2 การสงออก คาดวาปริมาณการสงออกลําไยสดและผลิตภัณฑยังคงเติบโตตอไปได เน่ืองจาก

Page 83: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ลําไย

8383

เศรษฐกิจของจีนซ่ึงเปนตลาดหลักยังคงขยายตัว แตอยางไรก็ตามภาครัฐจําเปนตองเรงการสงเสริมสนับสนุนการตลาดเพ่ือขยายการสงออกในตลาดเดิม ไดแก จีน อินโดนีเซีย และตลาดใหม ไดแก อินเดีย ตะวันออกกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต 2.3 การใชภายในประเทศ คาดวาความตองการบริโภคลําไยมีประมาณ 50,000-55,000 ตัน ดังนั้นภาครัฐจึงควรใหการสงเสริมสนับสนุนและรณรงคโดยการประชาสัมพันธผานสื่อตางๆ ใหประชาชนหันมาบริโภคลําไยมากข้ึน 2.4 ราคา สําหรับป 2553 คาดวาราคาลําไยสดและลําไยอบแหงที่เกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นเล็กนอย เน่ืองจากคาดวาจะมีผลผลิตออกสูตลาดลดลงเมื่อเทียบกับปกอน

ตารางท่ี 1 พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต และผลผลิตตอไรลําไยป 2548-2552

ป พ้ืนท่ีใหผล (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลติตอไร (กิโลกรัม/ไร)

2548 820,985 712,178 867 2549 870,125 471,892 542 2550 939,029 495,457 528 2551 966,831 476,930 493 2552 968,717 598,872 618

2553* 967,292 549,422 568

อัตรารอยละ 4.46 - 3.30 -7.43

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 2 การบริโภคภายในประเทศและการสงออกลําไยสดและผลิตภัณฑป 2548-2552

ป ปริมาณการบริโภค การสงออก

ภายในประเทศ (ตัน) ปริมาณ (ตัน) มูลคา (ลานบาท)

2548 100,000 459,853 4,992 2549 60,000 389,677 4,144 2550 65,000 545,957 4,946 2551 60,000 496,932 5,051 2552* 55,000 734,992 6,703

อัตรารอยละ -11.27 12.54 8.19

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการที่มา : กรมศุลกากร

Page 84: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

8484

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

ตารางท่ี 3 ราคาท่ีเกษตรกรขายไดและราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ลําไย ป 2548-2552

ราคาท่ีเกษตรกรขายได (บาท/กก.) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บ ี(บาท/กก.)

ป ลําไยสด ลําไยสด ลําไยสด ลําไยสด ลําไย ลําไย ลําไย

ชนิดดี ชนิดรอง ชนิดคละ อบแหง กระปอง แชแข็ง

2548 17.89 12.56 11.30 16.44 29.10 35.18 45.99

2549 20.68 17.14 11.20 17.72 20.50 35.70 60.16

2550 20.18 16.06 10.08 15.18 17.89 36.19 59.48

2551 30.01 26.25 18.61 15.53 20.01 22.51 49.05

2552 29.31 26.84 17.63 15.36 18.44 15.61 59.40

อัตรารอยละ 14.57 21.47 15.00 -2.64 -8.94 -18.83 3.12

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกรมศุลกากร

ตารางท่ี 4 ตนทุนเฉลี่ยการผลิตลําไย ป 2547-2551

ป ตนทุนท้ังหมด (บาท/ไร)

2547 11,091.59

2548 11,208.33

2549 5,852.92

2550 6,367.20

2551 7,334.98

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 85: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ทุเรียน

8585

10. ทุเรียน 1. สถานการณป 2552 1.1 การผลิต ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) พ้ืนที่ใหผลมีแนวโนมลดลงจาก 716,809 ไร ในป 2548 เหลือพื้นที่ใหผล 628,244 ไรในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 3.07 ตอป ในขณะท่ีผลผลิตและผลผลิตตอไรมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจาก 650,960 ตัน ผลผลิตตอไร 908 กิโลกรัมในป 2548 เปนผลผลิต 661,665 ตัน และผลผลิตตอไร 1,053 กิโลกรัมในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.56 และ 3.75 ตอป ตามลําดับ สําหรับในป 2552 พ้ืนที่ใหผลลดลงจาก 667,437 ไรของป 2551 รอยละ 5.87 ในขณะที่ผลผลิตเพ่ิมขึ้นจาก 637,790 ตันของป 2551 รอยละ 3.74 1.2 การตลาด 1.2.1 การบริโภคภายในประเทศ ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การบริโภคภายในประเทศมีแนวโนมลดลงจากปริมาณ 497,058 ตันในป 2548 เหลือ 371,465 ตันในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 7.06 ตอป ซ่ึงการบริโภคสวนใหญกวารอยละ 80 ของผลผลิตทั้งหมดจะอยูในรูปผลสด ในป 2552 การบริโภคภายในประเทศลดลงจาก 397,525 ตันของป 2551 รอยละ 6.55 1.2.2 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาทุเรียนที่เกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นโดยทุเรียนพันธุหมอนทองคละเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 16.29 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 21.52 บาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.94 ตอป สวนราคาทุเรียนพันธุชะนีคละเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.29 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 12.89 บาทในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 12.58 ตอป ในป 2552 ราคาที่เกษตรกรขายไดทุเรียนพันธุหมอนทองคละและพันธุชะนีคละเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 19.37 บาท และ 11.78 บาท ของป 2551 รอยละ 11.09 และ 9.42 ตามลําดับ ทั้งนี้ เน่ืองจากความตองการทุเรียนเพ่ือสงออกเพ่ิมขึ้น สงผลใหราคาในประเทศปรับตัวสูงข้ึน 1.2.3 ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาขายสงทุเรียนพันธุหมอนทองมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 24.68 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 30.82 บาทในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 6.29 สวนพันธุชะนีมีแนวโนมลดลงจากกิโลกรัมละ 16.74 บาทในป 2548 เหลือกิโลกรัมละ 14.42 บาทในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 2.05 ตอปตามลําดับ

Page 86: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

8686

ในป 2552 ราคาทุเรียนพันธุหมอนทองและพันธุชะนีขายสงในตลาดกรุงเทพฯ ลดลงจากกิโลกรัมละ 33.11 บาท และ 20.57 บาทของป 2551 รอยละ 6.91 และ 29.89 ตามลําดับ 1.2.4 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ทุเรียนสด ทุเรียนแชแข็งและทุเรียนกวนมีแนวโนมลดลงจากกิโลกรัมละ 17.06, 26.74 และ 88.03 บาทในป 2548 เหลือกิโลกรัมละ 16.00, 26.00 และ 61.00 บาทในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 3.66, 1.14 และ 6.99 ตอป ตามลําดับ ในป 2552 ราคาสงออกทุเรียนสดและทุเรียนแชแข็งเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 15.94 บาท และ 25.60 บาทของป 2551 รอยละ 0.37 และ 1.56 ตามลําดับ สวนทุเรียนกวนลดลงจากกิโลกรัมละ 63.54 บาทของป 2551 รอยละ 3.99 1.2.5 การสงออก ไทยเปนผูผลิตและผูสงออกทุเรียนรายใหญของโลก โดยตลาดหลักของไทยไดแกสาธารณรัฐประชาชนจีน การสงออกสวนใหญจะสงออกในรูปทุเรียนสดประมาณรอยละ 90 ของการสงออกทั้งหมด โดยในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การสงออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 150,750 ตัน มูลคา 2,709 ลานบาทในป 2548 เปนปริมาณ 272,200 ตัน มูลคา 4,830 ลานบาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 16.23 และ 13.95 ตอป ตามลําดับ สําหรับในป 2552 การสงออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑเพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 222,559 ตัน มูลคา 3,824 ลานบาทของป 2551 รอยละ 22.30 และ 26.31 ตามลําดับ ซ่ึงรอยละ 90 เปนการสงออกทุเรียนสด โดยตลาดสงออกที่สําคัญ ไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน

2. แนวโนมป 2553 2.1 การผลิต ในป 2553 คาดวา จะมีพ้ืนที่ใหผล 621,924 ไร ผลผลิต 632,459 ตัน ลดลงจากป 2552 รอยละ 1.01 และ 4.41 ตามลําดับ 2.2 การตลาด 2.2.1 การบริโภคภายในประเทศ คาดวาการบริโภคภายในประเทศทุเรียนสดและผลิตภัณฑจะมีประมาณ 313,460 ตัน ลดลงจากปที่ผานมารอยละ 15.61 จากการท่ีคาดวาจะสามารถสงออกไดเพ่ิมมากขึ้น 2.2.2 ราคา คาดวาราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ และราคาสงออกเอฟ.โอ.บี จะใกลเคียงกับปที่ผานมา 2.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑจะเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 10

Page 87: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ทุเรียน

8787

หรือประมาณ 319,000 ตันสด โดยแยกเปนทุเรียนสด 250,000 ตัน ทุเรียนแชแข็ง 23,000 ตัน ผลิตภัณฑอื่นๆ (กวนและอบแหง) 46,000 ตัน เน่ืองจากความตองการทุเรียนสดและผลิตภัณฑของสาธารณรัฐประชาชนจีนซ่ึงเปนตลาดหลักยังคงเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่องโดยเฉพาะทุเรียนที่มีคุณภาพ

ตารางท่ี 1 พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต และผลผลิตตอไรทุเรียนป 2548-2553

ป พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต ผลผลิตตอไร

(ไร) (ตัน) (กิโลกรัม)

2548 719,809 650,960 908

2549 700,357 622,934 889

2550 683,044 750,683 1,099

2551 667,437 637,790 956

2552 628,244 661,665 1,053

อัตราเพ่ิมรอยละ -3.07 0.56 3.75

2553* 621,924 632,459 1,017

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

ตารางท่ี 2 การบริโภคภายในประเทศและการสงออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑป 2548-2552

ป การบริโภคภายในประเทศ การสงออก

(ตัน) ปริมาณ (ตัน) มูลคา (ลานบาท)

2548 497,058 150,750 2,709

2549 461,750 161,184 3,292

2550 521,229 177,221 3,978

2551 397,525 222,559 3,824

2552* 371,465 272,200 4,830

อัตราเพ่ิมรอยละ -7.06 16.23 13.95

ที่มา : จากการคํานวณ, กรมศุลกากร

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

Page 88: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

8888

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

ตารางท่ี 3 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาขายสงและราคาสงออก เอฟ.โอ.บ ีทุเรียน ป 2548-2552

หนวย : บาท/กก.

ป ราคาท่ีเกษตรกรขายได1/ ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ2/ ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี

หมอนทอง ชะนี หมอนทอง ชะนี ทุเรียนสด ทุเรียนแชแข็ง ทุเรียนกวน

2548 16.29 7.29 24.68 16.74 17.06 26.74 88.03

2549 18.97 11.26 28.06 18.78 20.36 27.16 62.99

2550 16.75 11.45 30.20 16.80 17.21 36.46 52.86

2551 19.37 11.78 33.11 20.57 15.94 25.60 63.54

2552 21.52 12.89 30.82 14.42 16.00* 26.00* 61.00*

อัตราเพ่ิมรอยละ 5.94 12.58 6.29 -2.05 -3.66 -1.46 -6.99

ที่มา : 1/ ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมการคาภายใน

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

Page 89: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

มังคุด

8989

11. มังคุด 1. สถานการณป 2552 1.1 การผลิต ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การผลิตมังคุดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากพ้ืนที่ใหผล 301,916 ไร และผลผลิต 209,003 ตันในป 2548 เปนพื้นที่ใหผล 399,438 ไร ผลผลิต 270,554 ตันในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 7.24 และ 7.11 ตอปตามลําดับ สวนผลผลิตตอไรมีแนวโนมลดลงจากไรละ 692 กิโลกรัม ในป 2548 เหลือไรละ 677 กิโลกรัมในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.14 ตอป สําหรับในป 2552 พ้ืนที่ใหผล และผลผลิตเพ่ิมขึ้นจาก 396,325 ไร ผลผลิต 175,274 ตันของป 2551 เพ่ิมขึ้นรอยละ 0.78 และ 54.36 ตามลําดับ 1.2 การตลาด 1.2.1 การบริโภคภายในประเทศ ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ความตองการบริโภคภายในประเทศมีแนวโนมลดลงจากปริมาณ 168,079 ตันในป 2548 เหลือ 159,254 ตันในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.18 ตอป จากการผลักดันสงออกเพ่ิมขึ้น ซ่ึงการบริโภคสวนใหญจะอยูในรูปผลสดกวารอยละ 85 ของผลผลิตทั้งหมด ในป 2552 การบริโภคภายในประเทศเพ่ิมขึ้นจาก 131,006 ตันของป 2551 รอยละ 21.56 เน่ืองจากสภาพภูมิประเทศไมเหมาะสมและปจจัยการผลิตมีราคาแพง ทําใหเกษตรกรไมดูแลรักษาเทาที่ควร ผลผลิตที่ไดไมไดคุณภาพเพื่อการสงออก 1.2.2 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคามังคุดคละที่เกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 11.46 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 16.31 บาทในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 2.40 ตอป ในป 2552 ราคาท่ีเกษตรกรขายไดมังคุดคละเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 12.19 บาทของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 33.79 1.2.3 ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาขายสงมังคุดคละมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.33 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 35.47 บาทในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.44 ตอป ในป 2552 ราคามังคุดคละขายสงในตลาดกรุงเทพฯ เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 32.03 บาทของป 2551 รอยละ 10.74 1.2.4 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี มังคุดสดมีแนวโนม

Page 90: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

9090

ลดลงจากกิโลกรัมละ 25.00 บาทในป 2548 เหลือกิโลกรัมละ 20.00 บาทในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.34 ตอป สวนราคาสงออกมังคุดแชแข็งมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 75.72 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 83.00 บาท ในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.21 ตอป ในป 2552 ราคาสงออกมงัคดุสดและมงัคดุแชแข็งลดลงจากกิโลกรัมละ 44.96 บาท และ 90.80 บาท ของป 2551 รอยละ 55.52 และ 8.59 ตามลําดับ 1.2.5 การสงออก ไทยเปนผูผลิตและผูสงออกมังคุดรายใหญของโลก โดยตลาดหลักของไทยไดแกสาธารณรัฐประชาชนจีน การสงออกสวนใหญจะสงออกในรูปมังคุดสดกวารอยละ 99 ของการสงออกทั้งหมด โดยในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การสงออกมังคุดสดและผลิตภัณฑมีแนวโนมเพิ่มข้ึนจากปริมาณ 40,924 ตัน มูลคา 734 ลานบาทในป 2548 เปนปริมาณ 111,300 ตัน มูลคา 1,725 ลานบาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 35.95 และ 30.91 ตอป ตามลําดับ สําหรับในป 2552 การสงออกมังคุดสดและผลิตภัณฑเพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 44,268 ตัน มูลคา 744 ลานบาทของป 2551 รอยละ 151.42 และ 131.85 ตามลําดับ โดยตลาดสงออกที่สําคัญยังคงเปนสาธารณรัฐประชาชนจีน

2. แนวโนมป 2553 2.1 การผลิต ในป 2553 คาดวาจะมีพ้ืนที่ใหผล 406,366 ไร ผลผลิต 284,714 ตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 1.73 และ 5.23 ตามลําดับ เน่ืองจากราคาในปที่ผานมาจูงใจใหเกษตรกรเพ่ิมการดูแลรักษา 2.2 การตลาด 2.2.1 การบริโภคภายในประเทศ คาดวาการบริโภคภายในประเทศมังคุดสดและผลิตภัณฑจะมีปริมาณ 164,714 ตัน เพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 3.43 จากการเพ่ิมขึ้นของผลผลิต 2.2.2 ราคา คาดวาราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ และราคาสงออกเอฟ.โอ.บี จะใกลเคียงกับปที่ผานมา 2.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกมังคุดสดและผลิตภัณฑจะเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 8 หรือมีปริมาณ 120,000 ตัน โดยแยกเปนมังคุดสด 80,000 ตัน และมังคุดแชแข็ง 40,000 ตัน เน่ืองจากการเพ่ิมขึ้นของผลผลิต ประกอบกับความตองการของตลาดยังคงมีอยางตอเนื่องโดยเฉพาะมังคุดคุณภาพดี

Page 91: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

มังคุด

9191

ตารางท่ี 3 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาขายสงและราคาสงออก เอฟ.โอ.บี มังคุด ป 2548-2552

หนวย : บาท/กก.

ป ราคาท่ีเกษตรกร ราคาขายสง ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี

ขายได1/ ตลาดกรุงเทพฯ2/ มังคุดสด มังคุดแชแข็ง

2548 11.46 27.33 25.00 75.72 2549 19.47 31.75 32.95 96.75 2550 9.84 19.79 41.63 82.91 2551 12.19 32.03 44.96 90.80 2552 16.31 35.47 20.00* 83.00* อัตราเพ่ิมรอยละ 2.40 5.44 -1.34 1.21

ที่มา : 1/ ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมการคาภายในหมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

ตารางท่ี 1 พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต และผลผลิตตอไรมังคุดป 2548-2553

ป พ้ืนท่ีใหผล (ไร) ผลผลิต (ตัน)

ผลผลิตตอไร

(กิโลกรัม)

2548 301,916 209,003 692 2549 344,635 147,709 429 2550 387,292 348,181 899 2551 396,325 175,274 442 2552 399,438 270,554 677 อัตราเพ่ิมรอยละ 7.24 7.11 - 0.14 2553* 406,366 284,714 701

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรหมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

ตารางท่ี 2 การบริโภคภายในประเทศและการสงออกมังคุดสดและผลิตภัณฑ ป 2548-2552

ป การบริโภคภายในประเทศ การสงออก

(ตัน) ปริมาณ (ตัน) มูลคา (ลานบาท)

2548 168,079 40,924 734 2549 132,533 15,176 278 2550 301,008 47,173 755 2551 131,006 44,268 744 2552* 159,254 111,300 1,725 อัตราเพ่ิมรอยละ - 1.18 35.95 30.91

ที่มา : จากการคํานวณ, กรมศุลกากร หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

Page 92: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

9292

12. เงาะ1. สถานการณป 2552 1.1 การผลิต ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การผลิตเงาะมีแนวโนมลดลงจากพื้นที่ใหผล 479,611 ไร ผลผลิต 518,377 ตัน ผลผลิตตอไร 1,081 กิโลกรัมในป 2548 เหลือพื้นที่ใหผล 362,061 ไร ผลผลิต 370,600 ตัน ผลผลิตตอไร 1,024 กิโลกรัมในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 6.82, 7.21 และ 0.41 ตอป ตามลําดับ สําหรับในป 2552 พ้ืนที่ใหผลและผลผลิตลดลงจาก 396,987 ไร ผลผลิต 404,053 ตัน ของป 2551 รอยละ 8.80 และ 8.30 ตามลําดับ 1.2 การตลาด 1.2.1 การบริโภคภายในประเทศ ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ความตองการบริโภคภายในประเทศมีแนวโนมลดลงจากปริมาณ 504,032 ตันในป 2548 เหลือเพียงปริมาณ 364,300 ตันในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 6.98 ตอป ซ่ึงการบริโภคสวนใหญจะอยูในรูปผลสด โดยในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การบริโภคภายในประเทศเฉล่ียรอยละ 95 ของผลผลิตทั้งหมด ในป 2552 การบริโภคภายในประเทศลดลงจาก 397,489 ตันของป 2551 รอยละ 8.35 เน่ืองจากผลผลิตลดลง รวมท้ังมีการสงออกเพ่ิมขึ้น 1.2.2 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาเงาะท่ีเกษตรกรขายไดมีแนวโนมเพ่ิมขึ้น โดยเงาะโรงเรียนคละเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.97 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 12.34 บาทในป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 3.74 สวนราคาเงาะสีชมพูคละเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 4.75 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 9.85 บาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 10.38 ตอป ในป 2552 ราคาท่ีเกษตรกรขายไดเงาะโรงเรียนคละ เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.50 บาท ของป 2551 รอยละ 29.89 และราคาเงาะสีชมพูคละเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.58 บาท ของป 2551 รอยละ 76.52 1.2.3 ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาขายสงเงาะโรงเรียนคละมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 16.29 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 17.84 บาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 2.12 ตอป ในป 2552 ราคาเงาะโรงเรียนคละขายสงในตลาดกรุงเทพฯ ลดลงจากกิโลกรัมละ 19.34 บาท ของป 2551 รอยละ 7.76

Page 93: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

เงาะ

9393

1.2.4 ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี เงาะกระปองและเงาะสอดไสสับปะรด มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 32.42 บาท และ 37.57 บาทในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 47.00 บาท และ 42.50 บาทในป 2552 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 17.12 และ 3.52 ตอปตามลําดับ สวนเงาะสดมีแนวโนมลดลงจากกิโลกรัมละ 15.52 บาท ในป 2548 เหลือเพียงกิโลกรัมละ 13.00 บาท ในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 10.91 ตอปเน่ืองจากการสงออกสวนใหญเปนการสงออกไปยังประเทศเพ่ือนบานตามแนวชายแดน โดยเฉพาะประเทศกัมพูชาซ่ึงผลผลิตจะอยูในเกรดคละ ในป 2552 ราคาสงออกเงาะสด เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 12.15 บาทของป 2551 หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 6.99 สวนราคาสงออกเงาะกระปอง และเงาะสอดไสฯ ลดลงจากกิโลกรัมละ 51.39 บาท และ 42.88 บาทของป 2551 หรือลดลงรอยละ 8.52 และ 0.88 ตามลําดับ 1.2.5 การสงออก ไทยเปนผูผลิตและผูสงออกเงาะรายใหญของโลก โดยในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) การสงออกเงาะสดและผลิตภัณฑ มีแนวโนมลดลงจากปริมาณ 12,886 ตัน มูลคา 404 ลานบาทในป 2548 เหลือปริมาณ 6,600 ตัน มูลคา 140 ลานบาทในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 14.98 และ 26.12 ตอปตามลําดับ สําหรับในป 2552 การสงออกเงาะสดและผลิตภัณฑลดลงจากปริมาณ 6,886 ตัน ของป 2551 หรือลดลงรอยละ 4.15 สวนมูลคา 127 ลานบาทของป 2551 หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 10.23 โดยตลาดสงออกที่สําคัญยังคงเปนประเทศในแถบเอเชีย

2. แนวโนมป 2553 2.1 การผลิต ในป 2553 คาดวาจะมีพ้ืนที่ใหผล 359,018 ไร ผลผลิต 355,600 ตัน ลดลงจากป 2552 รอยละ 0.84 และ 4.05 ตามลําดับ 2.2 การตลาด 2.2.1 การบริโภคภายในประเทศ คาดวาการบริโภคภายในประเทศเงาะสดและผลิตภัณฑจะมีปริมาณ 345,850 ตันหรือลดลงรอยละ 5.06 จากการลดลงของผลผลิต รวมท้ังผลักดันใหมีการสงออกเพ่ิมมากขึ้น 2.2.2 ราคา คาดวาราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาขายสงตลาดกรุงเทพฯ และราคาสงออกเอฟ.โอ.บี จะใกลเคียงกับปที่ผานมา 2.2.3 การสงออก คาดวาการสงออกเงาะสดและผลิตภัณฑจะเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมากวารอยละ 50

Page 94: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

9494

หรือประมาณ 9,800 ตันสด โดยแยกเปนเงาะสด 7,000 ตัน เงาะกระปอง 1,300 ตันและเงาะสอดไสสับปะรด 1,500 ตัน จากการเรงผลักดันการสงออกไปยังตลาดเดิมและตลาดใหม เชน ตะวันออกกลาง และการคาผานชายแดนกับประเทศเพ่ือนบาน

ตารางท่ี 1 พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต และผลผลิตตอไรเงาะป 2548-2553

ป พ้ืนท่ีใหผล ผลผลิต ผลผลิตตอไร

(ไร) (ตัน) (กิโลกรัม)

2548 479,611 518,377 1,081 2549 458,336 436,474 952 2550 423,804 489,296 1,151 2551 396,987 404,053 1,018 2552 362,061 370,600 1,024

อัตราเพ่ิมรอยละ -6.82 -7.21 -0.41

2553* 359,018 355,600 990

ที่มา : ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

ตารางท่ี 2 การบริโภคภายในประเทศและการสงออกเงาะสดและผลิตภัณฑป 2548-2552

ป การบริโภคภายในประเทศ การสงออก

(ตัน) ปริมาณ (ตัน) มูลคา (ลานบาท)

2548 504,032 12,886 404 2549 428,166 9,160 315 2550 485,534 4,272 131 2551 397,489 6,886 127 2552 364,300 6,600 140

อัตราเพ่ิมรอยละ -6.98 -14.98 -26.12

ที่มา : จากการคํานวณ ,กรมศุลกากร

หมายเหตุ : ป 2550 เงาะกระปอง รวมอยูในผลไมอื่นๆ บรรจุกระปอง

Page 95: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

เงาะ

9595

ตารางท่ี 3 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาขายสงและราคาสงออก เอฟ.โอ.บี เงาะ ป 2548-2552

หนวย : บาท/กก.

ป ราคาท่ีเกษตรกรขายได1/ ราคาขายสงเงาะโรงเรียน ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี

โรงเรียน สีชมพู ตลาดกรุงเทพฯ2/ เงาะสด เงาะกระปอง เงาะสอดไสฯ

2548 7.97 4.75 16.29 15.52 32.42 37.57

2549 15.77 8.94 18.81 27.04 32.24 38.83

2550 8.84 5.69 15.61 18.55 37.07

2551 9.50 5.58 19.34 12.15 51.39 42.88

2552 12.34 9.85 17.84 13.00 47.00 42.50

อัตราเพ่ิมรอยละ 3.74 10.38 2.12 - 10.91 17.12 3.52

ที่มา : 1/ ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมการคาภายใน

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ, ป 2550 เงาะกระปอง รวมอยูในผลไมอื่นๆ บรรจุกระปอง

Page 96: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 97: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กลุมปศุสัตวและประมง13. ไกเน้ือ14. ไกไข15. สุกร16. โคเน้ือ17. โคนม18. กุง 19. ปลาปน

Page 98: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน
Page 99: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ไกเน้ือ

9999

13. ไกเน้ือ1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในชวง 5 ป (2548-2552) การผลิตเนื้อไกของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 3.67 ตอป โดยประเทศรัสเซีย มีอัตราการขยายตัวสูงที่สุด คือรอยละ 18.29 (ตารางที่ 1) ซ่ึงสวนใหญเปนการผลิตเพ่ือทดแทนการนําเขา (โดยเฉพาะจากประเทศสหรัฐอเมริกา) และคาดวาแนวโนมยังคงเพ่ิมขึ้นอยางตอเนื่อง โดยป 2552 การผลิตเนื้อไกของโลกมีปริมาณ 71.71 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 71.43 ลานตัน ในป 2551 รอยละ 0.39 โดยสหรัฐอเมริกายังคงเปนผูผลิตรายใหญที่สุด คือ 15.98 ลานตัน รองลงมาไดแกประเทศจีน (12.10 ลานตัน) บราซิล (10.98 ลานตัน) และสหภาพยุโรป (8.62 ลานตัน) ตามลําดับ 1.1.2 การบริโภค ในชวง 5 ป (2548 – 2552) การบริโภคเน้ือไกของโลก มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉล่ียรอยละ 3.81 ตอป โดยในป 2552 การบริโภคไกเน้ือของโลกมีประมาณ 71.77 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 70.73 ลานตัน ในป 2551 รอยละ 1.47 สหรัฐอเมริกายังคงเปนประเทศท่ีมีการบริโภคเนื้อไกมากที่สุด คือ 13.06 ลานตัน รองลงมาไดแก จีน (12.22 ลานตัน) และ สหภาพยุโรป (8.61 ลานตัน) ตามลําดับ (ตารางที่ 2) 1.1.3 การสงออก ในชวง 5 ป (2548-2552) การสงออกเนื้อไกของโลกมีแนวโนมขยายตัวเพ่ิมขึ้นเฉล่ียรอยละ 6.30 ตอป จากการระบาดของโรคไขหวัดนกตั้งแตป 2546 ทําใหบราซิลซ่ึงเปนประเทศปลอดไขหวัดนก กาวข้ึนมาเปนผูสงออกอันดับ 1 ของโลกแทนสหรัฐอเมริกา รองลงมา คือ สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป โดยประเทศไทยเปนประเทศผูสงออกเนื้อไกเปนอันดับที่ 4 ของโลก และจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวในชวงท่ีผานมา ทําให ในป 2552 การสงออกเนื้อไกของโลกลดลงเปน 8.18 ลานตัน เมื่อเทียบกับปที่ผานมา คิดเปนรอยละ 2.79 โดยประเทศบราซิลมีปริมาณการสงออกสูงสุด คือ 3.15 ลานตัน รองลงมาไดแก สหรัฐอเมริกา (2.99 ลานตัน) สหภาพยุโรป (0.72 ลานตัน) และประเทศไทย (0.38 ลานตัน) ตามลําดับ (ตารางที่ 3) 1.1.4 การนําเขา ในชวง 5 ป (2548-2552) การนําเขาเน้ือไกของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 6.07 ตอป โดยประเทศรัสเซียเปนประเทศผูนําเขาเน้ือไกเปนอันดับ 1 ของโลก รองลงมาไดแก ญี่ปุน สหภาพยุโรป และจีน ตามลําดับ (ตารางที่ 4) โดยในป 2552 การนําเขาเน้ือไกของโลกมีปริมาณ 7.57 ลานตัน ลดลงจาก 7.80 ลานตัน ในป 2551 รอยละ 2.96 โดยรัสเซียนําเขาลดลงจากป 2551 รอยละ 26.23 และคาดวาการนําเขาจะมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ เน่ืองจาก

Page 100: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

100100

สามารถเพ่ิมผลผลิตภายในประเทศเพ่ือทดแทนการนําเขาและมีการจํากัดโควตาการนําเขา เชนเดียวกับประเทศญ่ีปุน จีน และสหภาพยุโรป โดยในป 2552 มีการนําเขาเน้ือไกลดลงจากปที่ผานมารอยละ 5.02, 7.27 และ 0.28 ตามลําดับ (ตารางที่ 4) 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ในชวง 5 ป (2548 -2552) การผลิตเนื้อไกของไทยเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.55 ตอป โดยในป 2552 มีการผลิตไกเน้ือ 890.67 ลานตัว ลดลงจาก 920.75 ลานตัวในป 2551 รอยละ 3.27 (ตารางที่ 5) อันเปนผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาลง จากวิกฤติทางการเงินของสหรัฐอเมริกา ตั้งแตชวงปลายป 2550 1.2.2 การบริโภค ในชวง 5 ป (2548-2552) การบริโภคเนื้อไกของไทยลดลงเฉลี่ยรอยละ 1.85 ตอป โดยในป 2552 จะมีปริมาณการบริโภคเนื้อไก 735,107 ตัน ลดลงจากป 2551 ที่บริโภค 774,621 ตัน รอยละ 5.10 (ตารางที่ 5) ซ่ึงเปนผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงและราคาเน้ือไกปรับตัวสูงข้ึน 1.2.3 การสงออก ในชวง 5 ป (2548 - 2552) การสงออกเนื้อไกและผลิตภัณฑของไทยมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 14.46 ตอป (ตารางที่ 5) เน่ืองจากปญหาการระบาดของโรคไขหวัดนกในป 2547 สงผลใหผูประกอบการตองปรับเปล่ียนรูปแบบของการสงออก จากไกสดมาเปนไกแปรรูป ทําใหการสงออกของไทยขยายตัวเพ่ิมขึ้นมาเปนลําดับ และป 2552 คาดวาประเทศไทยจะสามารถสงออกเน้ือไกไดรวม 385,000 ตัน คิดเปนมูลคา 50,166 ลานบาท ในจํานวนดังกลาวแบงออกเปนการสงออกไกสดแชแข็งจํานวน 24,448 ตัน คิดเปนมูลคา 1,491 ลานบาท และการสงออกเน้ือไกแปรรูปจํานวน 360,553 ตัน คิดเปนมูลคา 50,275 ลานบาท (ตารางที่ 6) ทั้งนี้ เน่ืองจากญี่ปุนขาดความมั่นใจในคุณภาพสินคาของจีน จึงนําเขาจากไทยเพ่ิมขึ้น กอปรกับผลจากความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุน (JTEPA) ทําใหภาษีนําเขาไกแปรรูปจากไทย ลดลงจากรอยละ 5.5 เหลือ รอยละ 5 รวมท้ังโควตาภาษีไกแปรรูปของสหภาพยุโรปท่ีไทยไดรับจํานวน 160,030 ตัน อัตราภาษีรอยละ 8 โดยตลาดสงออกหลักท่ีสําคัญคือ สหภาพยุโรป (รอยละ 49) ญี่ปุน (รอยละ 46) และประเทศอ่ืนๆ (รอยละ 5 ) 1.2.4 ราคา - ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคาเกษตรกรขายไดมแีนวโนมเพิม่ขึน้เฉลีย่รอยละ 2.55 ตอป เน่ืองจากการขยายตัวของการสงออก ซ่ึงประเทศคูคามีความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานของไกไทยเพ่ิมขึ้น โดยในป 2552 ราคาไกเน้ือที่เกษตรกรขายไดเฉล่ียกิโลกรัมละ 37.45 บาท

Page 101: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ไกเน้ือ

101101

เพ่ิมข้ึนจากกิโลกรัมละ 37.27 บาท ของป 2551 รอยละ 0.48 (ตารางที่ 7) ราคาไกเน้ือปรับตัวสูงข้ึนตามราคาอาหารสัตว ซ่ึงมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 70-80 ของตนทุนการผลิตทั้งหมด - ราคาสงออก ป 2552 ราคาสงออกไกสดแชแข็งเฉล่ียกิโลกรัมละ 61 บาท ซ่ึงปรับตัวเพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 57.58 บาท ในป 2551 รอยละ 5.94 สวนราคาสงออกเนื้อไกแปรรูปในป 2552 เฉล่ียกิโลกรัมละ 135 บาท ปรับตัวลดลงจากกิโลกรัมละ 139.66 บาท ในป 2551 รอยละ 3.34 เน่ืองจากมีการแขงขันสูงจากประเทศผูผลิตและสงออกรายใหญ คือ บราซิลที่มีตนทุนการผลิตตํ่ากวาจากการท่ีเปนแหลงวัตถุดิบอาหารสัตวที่สําคัญ

3. แนวโนม ป 2553 3.1 ของโลก 3.1.1 การผลิต ป 2553 การผลิตเนื้อไกของโลกคาดวาจะมีปริมาณ 73.74 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 71.71 ลานตัน ในป 2552 รอยละ 2.83 แตจากภาวะเศรษฐกิจที่ยังคงซบเซาอยางตอเนื่อง จึงคาดวาป 2553 ปริมาณการผลิตเนื้อไกของสหรัฐอเมริกาจะขยายตัวไมเกินรอยละ 3 หรือคิดเปน 16.22 ลานตัน (ตารางที่ 1) ทําใหปริมาณการผลิตเนื้อไกของโลกในป 2553 สวนใหญขยายตัวตามปริมาณการผลิตของประเทศบราซิลและประเทศจีน ซ่ึงคาดวามีการขยายตัวรอยละ 4 และ 3 ตามลําดับ 3.1.2 การบริโภค ป 2553 คาดวาการบริโภคเนื้อไกมีประมาณ 73.15 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 71.77 ลานตันในป 2552 รอยละ 1.92 ผูบริโภครายใหญที่สุดคือสหรัฐอเมริกา โดยคาดวาจะมีการบริโภคเพ่ิมขึ้นรอยละ 2.63 รองลงมาไดแก จีน (รอยละ 3.16) สหภาพยุโรป (รอยละ 0.35) และบราซิล (รอยละ 3.13) ตามลําดับ (ตารางที่ 2) 3.1.3 การสงออก ป 2553 การสงออกเนื้อไกของโลกจะขยายตัวเพ่ิมขึ้นเปน 8.34 ลานตัน (ตารางที่ 3) โดยประเทศสหรัฐอเมริกาและบราซิลยังคงเปนประเทศผูสงออกรายใหญของโลก มีปริมาณการสงออกรวมกันคิดเปนรอยละ 74 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด แตจากท่ีประเทศรัสเซีย และจีน ซ่ึงเดิมตองนําเขาเน้ือไกจากสหรัฐอเมริกา สามารถผลิตเนื้อไกทดแทนการนําเขาไดเพ่ิมขึ้น ทําให ในป 2553 คาดวาสหรัฐอเมริกาจะมีปริมาณการสงออก 2.9 ลานตัน ลดลงจากปที่ผานมารอยละ 5 และจากแผนการสงเสริมการขายท้ังในตลาดเกาและใหม (กลุมประเทศตะวันออกกลางและเอเชีย) ของประเทศบราซิล ทําให ในป 2553 การสงออกเนื้อไกของบราซิลจะมีปริมาณการสงออก 3.3 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมารอยละ 6

Page 102: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

102102

3.1.4 การนําเขา ป 2553 คาดวาการนําเขาเน้ือไกของโลก มีประมาณ 7.71 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 7.57 ลานตันในป 2552 รอยละ 6.85 (ตารางที่ 4) ประเทศผูนําเขาเน้ือไกอันดับตนๆ ของโลก ยังคงเปนประเทศรัสเซีย และสหภาพยุโรป แตปริมาณการนําเขาของประเทศดังกลาวมีแนวโนมลดลง โดยเฉพาะประเทศรัสเซียที่คาดวาจะนําเขาเน้ือไกลดลงจากป 2552 รอยละ 4.09 ดังนั้นในอนาคตอาจเปนไปไดวาการนําเขาเน้ือไกของโลกจะเปล่ียนเปนตลาดใหม 3.2 ของไทย 3.2.1 การผลิต ป 2553 คาดวาการผลิตจะเพ่ิมขึ้นสอดรับกับจํานวนประชากรและการสงออกที่ขยายตัวเพ่ิมขึ้น โดยในป 2553 คาดวาไทยจะสามารถผลิตไกเน้ือไดประมาณ 900.16 ลานตัว เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 1.07 (ตารางที่ 5) ปริมาณการผลิตเพ่ิมขึ้นไมมากนัก เน่ืองจากการสงออกอาจจะไดรับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว 3.2.2 การบริโภค ป 2553 คาดวาการบริโภคมีประมาณ 712,041 ตัน ลดลงจาก 735,106 ตัน ของป 2552 คิดเปนรอยละ 3.14 โดยการบริโภคในประเทศคิดเปนสัดสวนรอยละ 63 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด 3.2.3 การสงออก ในป 2553 คาดวาการสงออกไกเน้ือของไทยจะขยายตัวเพ่ิมขึ้นไมมากนัก จากตลาดสหภาพยุโรปท่ีเปนตลาดหลักของไทยมีการขยายตัวเกือบจะเต็มโควตา 160,033 ตัน แลวอาจจะเพิ่มขึ้นไดอีกเล็กนอย เพราะสวนท่ีเกินโควตาตองเสียภาษีในอัตราตันละ 1,024 ยูโร และผลจากความตกลงหุนสวนเศรษฐกิจ ไทย-ญี่ปุน (JTEPA) ซ่ึงมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2550 ทําใหอัตราภาษีนําเขาเน้ือไกจากไทยลดลงเหลือรอยละ 5 รวมท้ังซาอุดีอาระเบียไดออกประกาศยกเลิกมาตรการหามนําเขาช่ัวคราวเน้ือไก และผลิตภัณฑไกสดจากไทย (18 สิงหาคม 2551) ดังนั้นในป 2553 คาดวาการสงออกเน้ือไกและผลิตภัณฑ จะมีปริมาณ 420,000 ตัน คิดเปนมูลคา 56,700 ลานบาท ซ่ึงเพ่ิมขึ้นจาก 385,000 ตัน ในป 2552 รอยละ 9.09 (ตารางที่ 6) ตลาดสงออกหลัก 3 อันดับแรก ยังคงเปนสหภาพยุโรป (รอยละ 50) ญี่ปุน (รอยละ40) และตลาดอื่นๆ รวมกัน (รอยละ 10) เชน สิงคโปร เกาหลีใต แคนาดา และเวียดนาม 3.2.4 ราคา ป 2553 คาดวา ราคาไกเน้ือที่เกษตรกรขายไดและราคาสงออกไกแปรรูปจะมีแนวโนมลดลงเนื่องจากตนทุนการผลิตที่ลดลงจากวัตถุดิบอาหารสัตวสําคัญและนํ้ามันที่ราคาลดลง รวมท้ังการเกิดวิกฤตการเงินในสหรัฐอเมริกา ที่ลุกลามไปทั้งยุโรปและญ่ีปุน ซ่ึงสงผลตออัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของโลก และอํานาจซื้อของประชากร

Page 103: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ไกเน้ือ

103103

ตารางท่ี 1 ปริมาณการผลิตเน้ือไกของประเทศท่ีสําคัญ

หนวย : พันตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม (%) 25532/

สหรัฐอเมริกา 15,870 15,930 16,225 16,561 15,980 0.53 16,222

จีน 10,200 10,350 11,291 11,840 12,100 4.88 12,500

บราซิล 9,350 9,355 10,305 11,033 10,980 4.98 11,420

สหภาพยุโรป* 8,169 7,740 8,320 8,535 8,620 2.07 8,650

รัสเซีย 900 1,180 1,350 1,600 1,790 18.29 1,975

ไทย 950 1,100 1,050 1,170 1,200 5.43 1,250

ประเทศอ่ืนๆ 17,678 18,639 19,725 20,696 21,045 4.64 21,721

รวมท้ังหมด 63,117 64,294 68,266 71,435 71,715 3.67 73,738

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน และ * สหภาพยุโรป ตั้งแต 1 ม.ค. 2549

สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service.

Oct. 2009

ตารางท่ี 2 ปริมาณการบริโภคเน้ือไกของประเทศท่ีสําคัญ

หนวย : พันตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม (%) 25532/

สหรัฐอเมริกา 13,430 13,671 13,581 13,427 13,058 -0.74 13,402

จีน 10,087 10,371 11,415 11,954 12,220 5.40 12,606

สหภาพยุโรป* 8,082 7,655 8,358 8,504 8,610 2.34 8,640

ประเทศอ่ืนๆ 30,891 32,498 34,723 36,847 37,884 5.48 38,506

รวมท้ังหมด 62,490 64,195 68,077 70,732 71,772 3.81 73,154

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน และ * สหภาพยุโรป ตั้งแต 1 ม.ค. 2549

สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service.

Oct. 2009

Page 104: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

104104

ตารางท่ี 3 ปริมาณการสงออกเน้ือไกของประเทศท่ีสําคัญ

หนวย : พันตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม (%) 25532/

บราซิล 2,739 2,502 2,922 3,242 3,150 5.53 3,345

สหรัฐอเมริกา 2,360 2,361 2,678 3,157 2,997 7.99 2,858

สหภาพยุโรป* 696 690 635 743 720 1.43 720

ไทย 240 261 296 383 385 14.21 420

ประเทศอ่ืนๆ 796 744 854 893 931 5.08 996

รวมท้ังหมด 6,831 6,558 7,385 8,418 8,183 6.30 8,339

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน และ * สหภาพยุโรป ตั้งแต 1 ม.ค. 2549

สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural

Service. Oct. 2009

ตารางท่ี 4 ปริมาณการนําเขาเน้ือไกของประเทศท่ีสําคัญ

หนวย : พันตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม (%) 25532/

รัสเซีย 1,225 1,189 1,222 1,159 855 -7.18 820

ญี่ปุน 748 716 696 737 700 -1.03 680

จีน 219 343 482 399 370 12.75 360

สหภาพยุโรป* 609 605 673 712 710 4.81 710

ประเทศอ่ืนๆ 3,432 3,540 4,036 4,797 4,938 10.87 5,144

รวมท้ังหมด 6,233 6,393 7,109 7,804 7,573 6.07 7,714

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน และ * สหภาพยุโรป ตั้งแต 1 ม.ค. 2549

สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural

Service. Oct. 2009

Page 105: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ไกเน้ือ

105105

ตารางท่ี 6 ปริมาณสงออกไกสดแชแข็ง และเน้ือไกแปรรูป ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม (%)

ไกสดแชแข็ง ปริมาณ (ตัน) 626 4,937 18,547 23,323 24,448 143.09

มลูคา (ลานบาท) 23 181 897 1,343 1,491 180.77

เน้ือไก ปริมาณ (ตัน) 237,430 254,767 277,497 359,991 360,553 12.54

แปรรูป มลูคา (ลานบาท) 27,853 29,258 32,133 50,275 48,675 18.03

รวม

ปริมาณ (ตัน) 238,056 259,704 296,044 383,314 385,000 14.46

มลูคา (ลานบาท) 27,876 29,439 33,030 51,618 50,166 18.97

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางท่ี 7 ราคาท่ีเกษตรกรขายได และราคาสงออก ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม (%)

ราคาไกเน้ือที่เกษตรกรขายได (บาท/กก.) 35.89 31.55 33.67 37.27 37.45 2.55

ราคา ไกสดแชแข็ง (บาท/กก.) 37.16 36.72 48.38 57.58 61.00 15.50

สงออก เน้ือไกแปรรูป (บาท/กก.) 117.31 114.84 115.80 139.66 135.00 4.88

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 5 การผลิต การบริโภคและสงออกเน้ือไกของไทย ป 2547- 2553

ป ผลผลติ (ลานตัว) ผลผลิต (ตัน) บริโภค (ตัน)

สงออก (ตัน)

ไกสด ไกแปรรูป รวม

2548 817.24 1,027,761.02 789,705.02 626 237,430 238,056

2549 849.88 1,068,809.09 809,105.09 4,937 254,767 259,704

2550 879.98 1,106,662.85 810,618.85 18,547 277,497 296,044

2551 920.75 1,157,935.20 774,621.20 23,323 359,991 383,314

2552 890.67 1,120,106.59 735,106.59 24,448 360,553 385,000

อัตราเพ่ิม (%) 2.55 2.55 -1.85 143.09 12.54 14.46

2553* 900.16 1,132,041.22 712,041.22 26,670 393,330 420,000

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร

Page 106: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

106106

14. ไขไก1. สถานการณของไทย ป 2552 1.1 การผลิต ในชวง 5 ป (2548-2552) ผลผลิตไขไกขยายตัวในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.87 ตอป หลังจากภาวะการระบาดของโรคไขหวัดนก (Bird Flu) ในป 2547 ภาครัฐโดยกรมปศุสัตวไดมีการเขมงวดในการเล้ียงสัตวปกมากข้ึน ทําใหการเล้ียงไกไขมีการพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ทั้งวิธีการเล้ียงและขนาดฟารม เกษตรกร สวนใหญไดปรับเปลี่ยนการเล้ียงจากโรงเรือนระบบเปดเปนโรงเรือนระบบปดที่ควบคุมอุณหภูมิโดยระบบระเหยไอน้ําเย็น (Evaporative Cooling System หรือ EVAP) เพ่ือใหไดมาตรฐานฟารมตามที่กรมปศุสัตวกําหนด ทําใหการเล้ียงไกไขมีมาตรฐานฟารมมากข้ึน จากการประมาณการผลผลิตไขไกของศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในป 2552 มีผลผลิตไขไกจํานวน 9,902 ลานฟอง เพ่ิมขึ้นจากจํานวน 9,424 ลานฟอง ของป 2551 รอยละ 5.07 (ตารางที่ 1) ปจจุบันการเล้ียงไกไขมีการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับปรุงพันธุและวิธีการเล้ียง สงผลใหประสิทธิภาพการผลิตไขไกของแมไกไขยืนกรงเพ่ิมขึ้น โดยในป 2551 อัตราการใหไขของแมไกไขยืนกรง เฉล่ีย 288 ฟอง/ตัว/ป เพ่ิมขึ้นเปนเฉลี่ย 293 ฟอง/ตัว/ป ในป 2552 คิดเปนรอยละ 1.74 1.2 การตลาด 1.2.1 การบริโภค ผลผลิตไขไกรอยละ 96 ใชบริโภคภายในประเทศ การบริโภคไขไกเฉล่ียทั้งประเทศในชวง 5 ป (2548-2552) ขยายตัวในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.23 ตอป โดยป 2552 มีปริมาณการบริโภคไขไกเฉล่ีย 9,499 ลานฟอง เพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 8,948.97 ลานฟอง ของป 2551 รอยละ 6.15 และมีอัตราการบริโภค เฉล่ีย 142 ฟอง/คน/ป (ตารางที่ 1) ซ่ึงถือวานอยมากเมื่อเทียบกับประเทศจีน ญี่ปุน และไตหวัน ทั้งนี้เน่ืองจากขอจํากัดดานการบริโภคเพราะผูบริโภคยังกลัวเร่ืองคอเลสเตอรอล เพ่ือเพิ่มความตองการบริโภคภาครัฐมีมาตรการในการดําเนินการ เชน การรณรงคใหมีการบริโภคไขไกอยางตอเนื่อง โดยช้ีใหเห็นถึงผลดีและผลเสีย เพ่ือสรางความเขาใจที่ถูกตองเก่ียวกับคุณคาโภชนาการของไขไก และโครงการไขโรงเรียน เพ่ือเพิ่มความตองการบริโภคไขไกในเด็กนักเรียนเปนเฉลี่ย 3 ฟอง/คน/สัปดาห ซ่ึงคาดวาผลของการรณรงคจะทําใหการบริโภคเพ่ิมขึ้นเปน 147 ฟอง/คน/ป ในป 2553 และ 200 ฟอง/คน/ป ในป 2555 ตามยุทธศาสตรที่วางไว 1.2.2 ราคา - ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ป (2548 - 2552) ราคาไขไกทีเ่กษตรกรขายได เพ่ิมขึน้ในอตัราเฉล่ีย รอยละ 0.66 ตอป โดยในป 2552 ราคาไขไกที่เกษตรกรขายไดเฉล่ียฟองละ 2.36 บาท สูงข้ึนจาก

Page 107: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ไขไก

107107

ฟองละ 2.34 บาท ในป 2551 คิดเปน รอยละ 0.85 (ตารางที่ 4) เน่ืองจากในชวงตนปผลผลิตมีปริมาณมากทําใหเกิดปญหาราคาไขไกตกตํ่า เพราะจากสภาพอากาศท่ีเย็นลงเอื้ออํานวยตอผลผลิตไขไก ประกอบกับความตองการบริโภคชะลอตัว เน่ืองจากปญหาทางเศรษฐกิจและความไมสงบทาง การเมือง ทําใหจํานวนนักทองเที่ยวลดลง สงผลใหเกษตรกรไดรับความเดือดรอน คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไกไขและผลิตภัณฑ (Egg Board) ที่ตั้งข้ึนตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี มีอํานาจหนาที่ในการแกไขปญหาไขไกทั้งระบบ ซ่ึงในชวงเดือนมกราคม - กุมภาพันธ 2552 ไดมอบหมายใหกรมปศุสัตวขอความรวมมือเกษตรกรผูเล้ียงไกไขรายใหญที่เล้ียงตั้งแต 100,000 ตัว ข้ึนไปปลดแมไกไขยืนกรงอายุ 70 สัปดาหข้ึนไปกอนกําหนดจํานวน 2-4 ลานตัว เพ่ือลดปริมาณผลผลิต และภาคเอกชนโดยสมาคมผูผลิต ผูคาและสงออกไขไก ไดเรงระบายผลผลิตสวนเกินออกตางประเทศใหมากข้ึน ประกอบกับในชวงตนป 2552 Egg Board ไดมีมาตรการปรับลดพอ - แมพันธุนําเขาลงรอยละ 10 - 20 สงผลใหราคาไขไกเร่ิมปรับตัวสูงข้ึนในชวงเดือนเมษายนจนถึงเดือนสิงหาคม และเร่ิมออนตัวลงในเดือนกันยายน ตุลาคม ซ่ึงเปนไปตามฤดูกาล ประกอบกับสถานศึกษาตางๆ ปดภาคเรียนและเปนชวงเทศกาลถือศีลกินเจ ทําใหความตองการบริโภคลดลง - ราคาสงออก ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคาสงออกไขไกสดและผลิตภัณฑจากไขไก เพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 11.20 และ 0.61 ตอป ตามลําดับ โดยในป 2552 ราคาสงออกไขไกสดเฉลี่ยฟองละ 2.25 บาท ลดลงจากฟองละ 2.26 บาทในป 2551 คิดเปนรอยละ 0.44 สวนผลิตภัณฑจากไขไก ราคาสงออกเฉลี่ยตันละ 65,130 บาท ลดลงจากเฉลี่ยตันละ 68,002 บาท ในป 2551 คิดเปนรอยละ 4.22 (ตารางที่ 4) - ราคานําเขา ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคานําเขาผลิตภัณฑจากไขไก เพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 2.79 ตอป โดยในป 2552 ราคานําเขาผลิตภัณฑจากไขไกเฉลี่ยตันละ 249,930 บาท ลดลงจากตันละ 310,550 บาทในป 2551 คิดเปนรอยละ 19.52 (ตารางที่ 4) 1.2.3 การสงออก การสงออกไขไกแบงเปน 2 ชนิด คือสงออกไขไกสด และผลิตภัณฑจากไขไก ไดแก ไขเหลวรวม ไขแดงเหลว ไขผงรวม และไขขาวผง การสงออกไขไกสดในแตละปไมแนนอนขึน้อยูกับปริมาณผลผลติ เพราะการสงออกเปนเพียงการระบายผลผลิตสวนเกินเพ่ือรกัษาระดับราคาในประเทศเทานัน้ ปริมาณการสงออกไขไกสด คดิเปนรอยละ 4 ของปริมาณผลผลติทัง้หมด ตลาดสงออกทีสํ่าคญัคอื ฮองกง ซ่ึงมสัีดสวนการสงออก รอยละ 80-85 ของปริมาณการสงออกไขไกสดทั้งหมด ในชวง 5 ป (2548-2552) ปริมาณสงออกไขไกสดเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 36.55 ตอป สวนมูลคาเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 51.83 ตอป เน่ืองจากมีการขยายตลาดสงออกใหมๆ เพ่ิมขึ้น โดยในป 2552 การสงออกไขไกสดมีปริมาณ 350 ลานฟอง มูลคา 787.50 ลานบาท เมื่อเทียบกับป 2551 ซ่ึงสงออกปริมาณ 406.38 ลานฟอง มูลคา 920.06 ลานบาท ปริมาณและมูลคาลดลง รอยละ 13.87 และ 14.41 ตามลําดับ (ตารางที่ 2)

Page 108: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

108108

สวนการสงออกผลิตภัณฑจากไขไก ในชวง 5 ป (2548-2552) ปริมาณสงออกลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.40 ตอป แตมูลคาการสงออกเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.21 ตอป โดยในป 2552 มีการสงออกผลติภณัฑจากไขไกปริมาณ 2,627.35 ตนั มลูคา 171.12 ลานบาท เปรียบเทยีบกับป 2551 ซ่ึงสงออกปริมาณ 3,257.03 ตัน มูลคา 221.48 ลานบาท ปริมาณและมูลคาลดลงรอยละ 19.33 และ 22.74 ตามลําดับ ผลิตภัณฑที่สงออกไดมากที่สุดคือไขเหลวรวม ตลาดสงออกที่สําคัญคือ ญี่ปุน ซ่ึงมีสัดสวนการสงออกรอยละ 63.20 ของปริมาณการสงออกไขเหลวรวมท้ังหมด รองลงมาไดแก สหรัฐอเมรกิา ออสเตรเลยี และแคนาดา มสัีดสวนการสงออกรอยละ 20.39, 6.06 และ 4.43 ตามลาํดบั 1.2.4 การนําเขา สวนใหญเปนการนําเขาผลิตภัณฑจากไขไก ไดแก ไขแดงผง ไขขาวผง ไขผงรวม ไขแดงเหลว และไขเหลวรวม ในชวง 5 ป (2548 - 2552) ปริมาณการนําเขาผลิตภัณฑจากไขไกลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.88 ตอป แตมูลคาเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 4.17 โดยในป 2552 นําเขาผลิตภัณฑจากไขไกปริมาณ 1,306.97 ตัน มูลคา 325.93 ลานบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นจากจํานวน 1,295.99 ตัน สวนมูลคาลดลงจาก 402.48 ลานบาท ในป 2551 รอยละ 0.85 และ 19.01 ตามลําดับ (ตารางที่ 3) ผลิตภัณฑที่นําเขามากที่สุดคือ ไขขาวผง เพ่ือนํามาใชเปนสวนผสมของผลิตภัณฑอาหาร เชน ลูกช้ินปลา ซูริมิ และกุงชุบแปงทอด เปนตน มีการนําเขามากที่สุดจากประเทศฝร่ังเศส คิดเปนรอยละ 49.02 ของการนําเขาไขขาวผงท้ังหมด

2. แนวโนมในป 2553 2.1 การผลิต ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ไดคาดคะเนผลผลิตไขไกจากปริมาณการนําเขาพอ-แมพันธุไกไข (Parent Stock) และปู-ยาพันธุไกไข (Grand Parent Stock) ในป 2552 และบางสวนในป 2551 คาดวาป 2553 จะมีผลผลิตไขไก 10,219 ลานฟอง เพ่ิมขึ้นจาก 9,902 ลานฟอง ในป 2552 รอยละ 3.20 ทั้งนี้เน่ืองจาก Egg Board ไดมีมติใหควบคุมปริมาณการนําเขาระดับปู-ยาพันธุ (GP) และ พอ-แมพันธุ (PS) ใหอยูในปริมาณที่เหมาะสมตั้งแตป 2552 ทําใหปริมาณผลผลิตไขไกเพ่ิมขึ้นไมมากนัก 2.2 การตลาด 2.2.1 การบริโภค ป 2553 คาดวาปริมาณการบริโภคจะใกลเคียงกับป 2552 หรือเพ่ิมขึ้นเล็กนอย เน่ืองจากในป 2553 ภาครัฐและภาคเอกชนมีโครงการท่ีจะรณรงคประชาสัมพันธเก่ียวกับการบริโภคไกไข เพ่ือใหผูบริโภคทุกเพศทุกวัย ไดเขาใจถึงคุณประโยชนในการบริโภคไขไกไดถูกตอง 2.2.2 ราคา ป 2553 คาดวาราคาไขไกที่เกษตรกรขายไดเฉล่ียทั้งประเทศจะคอนขางทรงตัวหรือปรับตัวสูงข้ึนเล็กนอย เมื่อเทียบกับป 2552 เน่ืองจากมาตรการตางๆ ของ Egg Board ไดกําหนดปริมาณการนําเขาพอ-แมพันธุ (PS) และขอความรวมมือปลดแมไกไขยืนกรงกอนกําหนด

Page 109: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ไขไก

109109

ทําใหปริมาณไขไกใกลเคียงกับการบริโภค และถาสามารถควบคุมปริมาณการผลิตไขไกไมใหเพ่ิมขึ้นจากภาวะในปจจุบัน รวมท้ังคาดวาในป 2553 เศรษฐกิจมีแนวโนมที่ดีข้ึนจะทําใหมีนักทองเที่ยวเพ่ิมมากขึ้น ถึงแมปริมาณผลผลิตจะเพ่ิมขึ้นก็จะไมสงผลกระทบใหเกิดปญหาผลผลิตลนตลาดจนทําใหเกษตรกรไดรับความเดือดรอนอีก 2.2.3 การสงออก ป 2553 คาดวาการสงออกไขไกสดและผลิตภัณฑจากไขไกจะทรงตัวหรือเพ่ิมข้ึนเล็กนอยในตลาดฮองกง ซ่ึงเปนตลาดหลักท่ีสําคัญของไทย มีจีนเปนประเทศคูแขงที่สําคัญ แมจีน จะประสบปญหาฮองกงตรวจพบสารเมลามีนเจือปนในอาหาร ไขไกปลอม และปญหาโรคระบาด แตฮองกงก็จะชะลอการนําเขาจากจีนชวงท่ีมีปญหาเทานั้น ในขณะท่ีผูบริโภคในฮองกงเช่ือมั่นใน

คุณภาพของไขไกไทย จึงยังตองการนําเขาไขไกสดจากไทยอยางสมํ่าเสมอ

ตารางท่ี 1 ปริมาณการผลิต การสงออก และการบริโภคไขไกของไทย ป 2548-2553

รายการ 2548 2549 2550 2551* 2552* อัตราเพ่ิม 2553**

ปริมาณการผลิต1/ (ลานฟอง) 7,812 8,555 8,990 9,424 9,902 5.87 10,219

ปริมาณสงออก2/ (ลานฟอง) 166.71 259.27 308.48 475.03 403 26.76 400

ปริมาณการบริโภค3/ 7,645.29 8,295.73 8,681.52 8,948.97 9,499 5.23 9,819

(ลานฟอง)

อัตราการบริโภค (ฟอง/คน/ป) 118 127 132 135 142 4.40 147

หมายเหตุ : * ขอมูลเบ้ืองตน

** ขอมูลคาดคะเน

ที่มา : 1/, 3/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

2/ กรมศุลกากร

ตารางท่ี 2 การสงออกไขไก และผลิตภัณฑ ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

ไขไกสด

ปริมาณ (ลานฟอง) 109.65 183.66 241.88 406.38 350 36.55

มูลคา : (ลานบาท) 178.88 273.86 543.12 920.06 787.50 51.83

ผลิตภัณฑไขไก

ปริมาณ (ตัน) 2,768.38 3,052.26 2,838.10 3,257.03 2,627.35 -0.40

มูลคา : ลานบาท 178.81 198.61 183.16 221.48 171.12 0.21

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

Page 110: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

110110

ตารางท่ี 3 การนําเขาผลิตภัณฑไขไก ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

ผลิตภัณฑไขไก

ปริมาณ (ตัน) 1,388.44 1,389.05 1.027.79 1,295.99 1,306.97 -1.88

มูลคา : ลานบาท 299.76 316.13 279.84 402.48 325.93 4.17

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

ตารางท่ี 4 ราคาไขไกท่ีเกษตรกรขายได ราคาสงออก และราคานําเขา ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

ราคาที่เกษตรกรขายได (บาท/ฟอง)1/ 2.47 2.00 2.06 2.34 2.36 0.66

ราคาสงออก2/

ไขไกสด (บาท/ฟอง) 1.63 1.49 3.10 2.26 2.25 11.20

ผลิตภัณฑจากไข (บาท/ตัน) 64,590 65,070 64,536 68,002 65,130 0.61

ราคานําเขา2/

ผลิตภัณฑจากไข (บาท/ตัน) 215,900 316,130 272,270 310,550 249,930 2.79

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : 1/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

2/ กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

Page 111: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สุกร

111111

15. สุกร1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ป 2552 การผลิตเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 100.24 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2551 ซ่ึงมีปริมาณ 98.53 ลานตัน รอยละ 1.73 แมวาในป 2550 จีนซ่ึงเปนประเทศผูผลิตเนื้อสุกรมากท่ีสุดประสบปญหาโรคระบาด (PRRS หรือ Blue ear disease) แตก็สามารถฟนตัวไดเร็วจากการสนับสนุนของรัฐบาล ประเทศท่ีผลิตเพ่ิมขึ้นมาก ไดแก จีน บราซิล และรัสเซีย สวนสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาผลิตลดลง 1.1.2 การตลาด (1) การบริโภค ป 2552 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 100.02 ลานตัน เพ่ิมข้ึนจากป 2551 ซ่ึงมีปริมาณ 98.36 ลานตัน รอยละ 1.69 ประเทศท่ีมีการบริโภคเนื้อสุกรมากท่ีสุดคือจีน รองลงมาไดแก สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา รัสเซีย และญ่ีปุน สวนอัตราการบริโภคเนื้อสุกรตอคน ฮองกงเปนประเทศท่ีมีอัตราการบริโภคสูงสุด โดยในป 2552 มีอัตราการบริโภคเฉลี่ยคนละ 65.1 กิโลกรัม รองลงมา ไดแก สหภาพยุโรป ไตหวัน และเบลารุส มีอัตราการบริโภคเฉลี่ยคนละ 42.3, 41.7 และ 41.4 กิโลกรัม ตามลําดับ (2) การสงออก ป 2552 การสงออกเนื้อสุกรมีปริมาณรวม 5.47 ลานตัน ลดลงจากป 2551 ซ่ึงมีปริมาณ 6.15 ลานตัน รอยละ 11.09 เน่ืองจากประเทศผูสงออกที่สําคัญคือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป สงออกลดลงรอยละ 10.86 และ 27.58 ตามลําดับ สวนจีนและบราซิลซ่ึงเปนประเทศคูแขงในตลาดสงออกเน้ือสุกรท่ีสําคัญของไทยคือ ฮองกง มีการสงออกเพ่ิมขึ้นรอยละ 3.14 และ 3.20 ตามลําดับ (3) การนําเขา ป 2552 การนําเขาเน้ือสุกรของประเทศผูนําเขาเน้ือสุกรท่ีสําคัญมีปริมาณรวม 5.32 ลานตัน ลดลงจากป 2551 ซ่ึงมีปริมาณ 5.91 ลานตัน รอยละ 10.01 เน่ืองจากประเทศผูนําเขาตางๆ สวนใหญนําเขาลดลง โดยเฉพาะรัสเซียและญ่ีปุนซ่ึงประเทศผูนําเขาอันดับ 2 และ 1 นําเขาลดลงรอยละ 28.77 และ 4.50 ตามลําดับ 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ป 2552 มีปริมาณการผลิตสุกร 11.756 ลานตัว ลดลงจาก 12.088 ลานตัวของป 2551 รอยละ 2.75 เน่ืองจากในป 2551 ตนทุนการผลิตสุกรสูงข้ึนมากจากราคาวัตถุดิบ

Page 112: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

112112

อาหารสัตวที่สูงข้ึน ทําใหผูเล้ียงสุกรประสบการขาดทุนและผูเล้ียงบางรายขาดสภาพคลองดานเงินทุนหมุนเวียนจึงปรับลดการผลิตลง 1.2.2 การตลาด (1) การบริโภค ป 2552 มีปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรประมาณ 0.86 ลานตัน ลดลงจาก 0.95 ลานตันของป 2551 รอยละ 9.45 เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวทําใหกําลังซ้ือของผูบริโภคลดลง ประกอบกับเนื้อสุกรมีราคาสูง สงผลใหความตองการบริโภคเนื้อสุกรลดลง โดยมีอัตราการบริโภคเฉลี่ยคนละ 13 กิโลกรัมตอป (นํ้าหนักซาก) (2) ราคา ป 2552 สุกรมีราคาเฉล่ียกิโลกรัมละ 57.20 บาท สูงข้ึนจากป 2551 ซ่ึงมีราคากิโลกรัมละ 53.32 บาท รอยละ 7.28 ซ่ึงเปนผลจากการปรับลดการผลิตเนื่องจากในป 2551 ผูเล้ียงสุกรประสบการขาดทุนและผูเล้ียงบางรายขาดสภาพคลองดานเงินทุนหมุนเวียนดังกลาวแลว (3) การสงออก การสงออกเน้ือสุกรและเน้ือสุกรแปรรูปมีปริมาณเพียงรอยละ 1 ของปริมาณการผลิตสุกร เน่ืองจากขอจํากัดจากโรคปากและเทาเปอย ป 2552 การสงออกเนื้อสุกรชําแหละมีปริมาณ 2,900 ตัน มูลคา 160 ลานบาท ลดลงจากป 2551 ซ่ึงสงออกปริมาณ 4,107 ตัน มูลคา 337.81 ลานบาท รอยละ 29.39 และ 52.64 ตามลําดับ สวนเน้ือสุกรแปรรูปสงออกปริมาณ 6,300 ตัน มูลคา 1,630 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากป 2551 ซ่ึงสงออกปริมาณ 5,810 ตัน มูลคา 1,507.08 ลานบาท รอยละ 8.43 และ 8.16 ตามลําดับ (4) การนําเขา สวนใหญเปนการนําเขาผลิตภัณฑเน้ือสุกร และสวนอื่นๆ ที่บริโภคไดของสุกรแชเย็นแชแข็ง (หนัง ตับ และเคร่ืองในอื่นๆ) ป 2552 นําเขาผลิตภัณฑเน้ือสุกรปริมาณ 206 ตัน มูลคา 37.50 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 121.1 ตัน มูลคา 33.17 ลานบาทของป 2551 รอยละ 70.11 และ 13.05 ตามลําดับ และนําเขาสวนอื่นๆ ที่บริโภคไดของสุกรปริมาณ 10,800 ตัน มูลคา 168 ลานบาท ลดลงจากปริมาณ 11,485 ตัน มูลคา 207.73 ลานบาทของป 2551 รอยละ 5.93 และ 19.13 ตามลําดับ โดยสวนใหญนําเขาตับจากเกาหลีใตและออสเตรเลีย และสวนอื่นๆ จากเบลเยียม เยอรมนี และเนเธอรแลนด

2. แนวโนมในป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ป 2553 คาดวาการผลิตเนื้อสุกรจะมีปริมาณรวม 101.88 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 1.64 เน่ืองจากคาดวาจีนซ่ึงเปนประเทศผูผลิตรายใหญจะผลิตเพ่ิมขึ้นรอยละ 3.71 และบราซิลผลิตเพ่ิมขึ้นรอยละ 4.03 แตสหรัฐอเมริกาจะผลิตลดลงรอยละ 2.50 จากผลของราคา

Page 113: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สุกร

113113

อาหารสัตวที่อยูในระดับสูงและราคาสุกรท่ีออนตัวลง รวมท้ังแคนาดาและสหภาพยุโรปซ่ึงคาดวาจะผลิตลดลงรอยละ 7.26 และ 0.45 ตามลําดับ 2.1.2 การตลาด (1) การบริโภค ป 2553 คาดวาการบริโภคเน้ือสุกรจะมีปริมาณรวม 101.87 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 1.84 ประเทศตางๆ สวนใหญจะมีการบริโภคเพ่ิมขึ้น นอกจากสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญ่ีปุนที่คาดวาจะมีการบริโภคลดลง โดยฮองกงยังคงเปนประเทศท่ีมีอัตราการบริโภคเนื้อสุกรตอคนสูงที่สุด คือเฉลี่ยคนละ 65.4 กิโลกรัมตอป (2) การสงออก ป 2553 คาดวาการสงออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 5.61 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 2.62 เน่ืองจากคาดวาสหรัฐอเมริกาซ่ึงเปนประเทศผูสงออกรายใหญจะสงออกไดเพ่ิมข้ึนรอยละ 6.94 จากผลของภาวะเศรษฐกิจโลกที่คาดวาจะดีข้ึน ประกอบกับคาเงินดอลลารที่ออนตัวลงจะเพ่ิมความสามารถในการแขงขันดานราคา สวนบราซิลจะสงออกเพ่ิมขึ้นรอยละ 8.53 เน่ืองจากตลาดใหมมีการขยายตัว (3) การนําเขา ป 2553 คาดวาจะมีปริมาณนําเขารวม 5.41 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 1.67 โดยคาดวาประเทศตางๆ สวนใหญจะนําเขาเพ่ิมขึ้น นอกจากจีนและยูเครน โดยประเทศท่ีคาดวาจะนําเขาเพ่ิมข้ึนมาก ไดแก แคนาดาและเกาหลีใต สําหรับฮองกงคาดวาจะนําเขาเน้ือสุกร 0.35 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 0.87 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ป 2553 ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาดวาจะมีปริมาณการผลิตสุกร 12.094 ลานตัว เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 2.88 เน่ืองจากในป 2552 ราคาสุกรสูงข้ึนเมื่อเปรียบเทียบกับป 2551 ประกอบกับตนทุนการผลิตลดลงจากราคาวัตถุดิบอาหารสัตวที่ลดลง ทําใหผูเล้ียงสุกรมีการขยายการผลิตเพ่ิมขึ้น 2.2.2 การตลาด (1) การบริโภค ป 2553 คาดวาปริมาณการบริโภคสุกรจะเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากการขยายการผลิตสุกรเพ่ิมข้ึนจะทําใหราคาลดลง ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่คาดวาจะดีข้ึน จะทําใหความตองการบริโภคเนื้อสุกรเพ่ิมขึ้น (2) ราคา ป 2553 คาดวาราคาสุกรท่ีเกษตรกรขายไดจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับป 2552 เน่ืองจากมีการขยายการผลิตเพ่ิมขึ้น จะทําใหมีปริมาณสุกรออกสูตลาดเพิ่มขึ้น สวนราคาสงออกเนื้อสุกรชําแหละและเน้ือสุกรแปรรูปคาดวาจะอยูในระดับเดิม

Page 114: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

114114

(3) การสงออก ป 2553 คาดวาการสงออกเน้ือสุกรชําแหละจะไมเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากจีนซ่ึงเปนคูแขงในตลาดฮองกงซ่ึงเปนตลาดหลักของไทยมีการผลิตเพ่ิมขึ้น สวนเน้ือสุกรแปรรูปการสงออกมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ตลาดหลักคือญี่ปุน คาดวาการสงออกเนื้อสุกรชําแหละและเน้ือสุกรแปรรูปจะมีปริมาณรวมไมเกิน 12,000 ตัน

ตารางท่ี 2 ปริมาณการบริโภคเน้ือสุกรของประเทศท่ีสําคัญ ป 2548-2553หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม 25532/

จีน 45,139 46,051 42,726 46,412 48,300 1.44 50,300 สหภาพยุโรป* 20,632 20,632 21,507 21,025 20,800 0.35 20,750 สหรัฐอเมริกา 8,660 8,643 8,965 8,806 8,925 0.79 8,557 รัสเซีย 2,486 2,639 2,803 3,112 2,954 5.23 3,039 ญี่ปุน 2,509 2,452 2,473 2,487 2,494 0.02 2,487

ประเทศอ่ืนๆ 14,622 15,425 15,960 16,515 16,549 3.21 16,734

รวม 94,048 95,842 94,434 98,357 100,022 1.50 101,867

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน * สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, October 2009

ตารางท่ี 1 ปริมาณการผลิตเน้ือสุกรของประเทศท่ีสําคัญ ป 2548-2553

หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม 25532/

จีน 45,553 46,505 42,878 46,205 48,500 1.20 50,300 สหภาพยุโรป* 21,676 21,791 22,858 22,596 22,000 0.66 21,900 สหรัฐอเมริกา 9,392 9,559 9,962 10,599 10,446 3.21 10,185 บราซิล 2,710 2,830 2,990 3,015 3,123 3.53 3,249 แคนาดา 1,765 1,748 1,746 1,786 1,790 0.50 1,660 รัสเซีย 1,735 1,805 1,910 2,060 2,205 6.31 2,290

ประเทศอ่ืนๆ 11,589 11,837 12,241 12,267 12,172 1.35 12,299

รวม 94,420 96,075 94,585 98,528 100,236 1.46 101,883

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน * สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, October 2009

Page 115: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สุกร

115115

ตารางท่ี 3 อัตราการบริโภคเน้ือสุกรตอคนของประเทศท่ีสําคัญ ป 2548-2553

หนวย : กิโลกรัมตอคน ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม 25532/

ฮองกง 59.6 60.4 61.5 65.0 65.1 2.53 65.4

สหภาพยุโรป* 42.2 42.1 43.9 42.8 42.3 0.21 42.2

ไตหวัน 41.6 40.7 40.5 41.2 41.7 0.17 41.8

จีน 34.6 35.0 32.3 34.9 36.1 0.82 37.3

เกาหลีใต 27.3 29.5 31.1 31.4 29.2 1.99 29.4

เบลารุส 36.6 40.8 39.1 44.9 41.4 3.48 43.2

ญี่ปุน 19. 7 19.2 19.4 19.5 19.6 0.05 19.6

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน * สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, October 2009

ตารางท่ี 4 ปริมาณสงออกเน้ือสุกรของประเทศท่ีสําคัญ ป 2548-2553

หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม 25532/

สหรัฐอเมริกา 1,209 1,359 1,425 2,117 1,887 14.27 2,018

สหภาพยุโรป * 1,143 1,284 1,286 1,726 1,250 4.86 1,200

แคนาดา 1,084 1,081 1,033 1,129 1,130 1.27 1,100

บราซิล 761 639 730 625 645 -3.47 700

จีน 502 544 350 223 230 -21.75 240

อื่นๆ 307 317 338 327 323 1.34 350

รวม 5,006 5,224 5,162 6,147 5,465 3.44 5,608

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน

* สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, October 2009

Page 116: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

116116

ตารางท่ี 5 ปริมาณนําเขาเน้ือสุกรของประเทศท่ีสําคัญ ป 2548-2553

หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 25521/ อัตราเพ่ิม 25532/

ญี่ปุน 1,314 1,154 1,210 1,267 1,210 -0.71 1,210 รัสเซีย 752 835 894 1,053 750 2.29 750 สหรัฐอเมริกา 464 449 439 377 373 -5.93 390 เกาหลีใต 345 410 447 430 375 2.17 400 เม็กซิโก 420 446 451 535 600 9.37 620 ฮองกง 263 277 302 346 345 7.95 348 อื่นๆ 1,182 1,350 1,344 1,907 1,670 10.92 1,694

รวม 4,740 4,921 5,087 5,915 5,323 4.25 5,412

หมายเหตุ : 1/ ขอมูลเบ้ืองตน 2/ ขอมูลคาดคะเน

* สมาชิกท้ังหมด 27 ประเทศ

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade, October 2009

ตารางท่ี 6 ปริมาณการผลิต การสงออก และการบริโภคสุกร ป 2548-2553

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม 2553**

ปริมาณการผลิต1/ (ลานตัว) 12.257 13.315 13.545 12.088 11.756 -1.79 12.094 (ลานตัน) 0.981 1.065 1.084 0.967 0.940 -1.80 0.968 ปริมาณสงออก2/ (ตัน) 8,043 7,197 8,368 9,917 9,200 6.07 12,000 ปริมาณการบริโภค3/ (ลานตัน) 0.954 0.998 1.110 0.952 0.862 -2.47

หมายเหตุ : * ขอมูลเบ้ืองตน

** ขอมูลคาดคะเน

ที่มา : 1/, 3/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2/ กรมศุลกากร

ตารางท่ี 7 การสงออกเน้ือสุกรชําแหละ และผลิตภัณฑเน้ือสุกร ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

เน้ือสุกรชําแหละ ปริมาณ (ตัน) 5,848 3,299 3,895 4,107 2,900 -11.16 มลูคา : ลานบาท 443.51 240.21 226.94 337.81 160 -15.62

เน้ือสุกรแปรรูป ปริมาณ (ตัน) 2,195 3,898 4,473 5,810 6,300 28.50 มลูคา : ลานบาท 476.17 797.69 746.72 1,507.08 1,630 36.31

รวม ปริมาณ (ตัน) 8,043 7,197 8,368 9,917 9,200 6.07 มลูคา : ลานบาท 919.68 1,037.90 973.66 1,844.89 1,790 21.01

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร

Page 117: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สุกร

117117

ตารางท่ี 8 การนําเขาผลิตภัณฑเน้ือสุกร และสวนอ่ืนๆ ท่ีบริโภคไดของสุกร (หนัง ตับ และ

เคร่ืองในอ่ืนๆ) ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

ผลิตภัณฑเน้ือสุกร

ปริมาณ (ตัน) 235.4 152.4 125.8 121.1 206 -4.85

มูลคา (ลานบาท) 29.85 44.33 45.41 33.17 37.50 1.68

สวนอื่นๆ ที่บริโภคไดของสุกร

ปริมาณ (ตัน) 9,501 10,956 9,495 11,485 10,800 3.08

มูลคา (ลานบาท) 63.93 80.18 162.80 207.73 168 33.43

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางท่ี 9 ราคาท่ีเกษตรกรขายได ราคาสงออก และราคานําเขา ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

ราคาสุกรท่ีเกษตรกรขายได (บาท/กก.) 49.55 47.07 38.35 53.32 57.20 4.20

ราคาสงออก (บาท/กก.)

เน้ือสุกรชําแหละ 75.84 72.81 58.26 82.25 55 -5.07

เน้ือสุกรแปรรูป 216.94 204.64 166.94 259.39 259 6.09

ราคานําเขา (บาท/กก.)

สวนอื่นๆ ที่บริโภคไดของสุกรรวม 6.73 7.32 17.15 18.09 15.56 29.45

ตับ 8.81 9.20 27.43 29.16 27.42 40.84

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 118: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

118118

16. โคเน้ือ1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา รายงานวาการผลิตเนื้อโคของประเทศตางๆ ทั่วโลกผลิตในชวง 5 ป (2548-2552) มีอัตราเพ่ิมเฉลี่ยรอยละ 0.27 ตอป (ตารางที่ 1) การผลิตเนื้อโคของโลก ในป 2552 มีปริมาณ 56.78 ลานตันนํ้าหนักซาก ลดลงจากปที่ผานมา ที่มีการผลิต 58.05 ลานตันฯ รอยละ 2.18 เน่ืองจากสหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยุโรป จีน มีการผลิตลดลง สงผลใหการผลิตเนื้อโคของโลกลดลง 1.1.2 การตลาด (1) การบริโภค กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมรกิา รายงานปริมาณการบริโภคเนือ้โคในประเทศตางๆ ทั่วโลก ระหวางป 2548-2552 มีการบริโภคเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.22 ตอป (ตารางที่ 2)ประเทศท่ีมีการบริโภคมากที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา รองลงมาคือ สหภาพยุโรป และบราซิล การบริโภคเน้ือโคในป 2552 มีปริมาณ 56.12 ลานตันฯ ลดลงจากป 2551 ที่มีการบริโภคปริมาณ 57.45 ลานตันฯ รอยละ 2.32 เน่ืองจากมีการผลิตลดลง สงผลใหการบริโภคเนื้อโคของโลกลดลงตามไปดวย (2) การสงออก กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา รายงานวา การสงออกเนื้อโคระหวางป 2548 - 2552 มีการลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.58 ตอป (ตารางที่ 3) โดยประเทศบราซิลมีการสงออกมากที่สุด รองลงมาคือ ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา ในป 2552 มีการสงออกเนื้อโค 7.11 ลานตันฯ ลดลงจากป 2551 ที่มีการสงออก 7.49 ลานตันฯ รอยละ 5.07 อันเนื่องมาจากบราซิล ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และนิวซีแลนดมีการสงออกลดลงจากผลผลิตที่ลดลง จึงสงผลใหการสงออกเน้ือโคของโลกลดลง (3) การนําเขา กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมรกิา รายงานการนําเขาเน้ือโคระหวางป 2548 -2552 วามีการนําเขาลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.93 ตอป (ตารางที่ 4) ในป 2552 มีการนําเขาเน้ือโค 6.44 ลานตันฯ ลดลงจากป 2551 ที่มีการนําเขา 6.93 ลานตันฯ รอยละ 7.06 เน่ืองจากเศรษฐกิจโลกเกิดภาวะซบเซา และรัสเซียซ่ึงเปนผูนําเขารายใหญมีการนําเขาลดลง 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ในชวง 5 ป (2548 -2552) การผลิตโคเนื้อของไทยมีอัตราเพ่ิมเฉลี่ยรอยละ 1.32 ตอป (ตารางที่ 5) สําหรับป 2552 มีปริมาณการผลิตโคเนื้อ 1.17 ลานตัว หรือคิดเปนเนื้อโค

Page 119: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคเน้ือ

119119

168.05 พันตันนํ้าหนักซาก ลดลงจากป 2551 ซ่ึงมีปริมาณการผลิต 1.19 ลานตัวหรือคิดเปนเนื้อโค 170.93 พันตันฯ รอยละ 1.68 เน่ืองจากการผลิตโคเนื้อในประเทศไมสามารถเพ่ิมขึ้นไดมากนัก จากราคาโคเน้ือที่มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง จึงไมจูงใจใหเกษตรกรเล้ียง ทําใหเกษตรกรบางสวนขายโคออกไปหรือเลิกเล้ียง 1.2.2 การตลาด (1) การบริโภคในประเทศ ในชวง 5 ป (2548- 2552) การบริโภคเนือ้โคของไทยมอีตัราเพ่ิมไมมากนกัเฉล่ียรอยละ 0.20 ตอป (ตารางที่ 5) สําหรับป 2552 คาดวาจะมีปริมาณการบริโภคเนื้อโค 1.25 ลานตัว หรือคิดเปนเนื้อโค 180.29 พันตันฯ โดยเพ่ิมขึ้นเล็กนอยจากป 2551 รอยละ 0.16 เน่ืองจากปญหาดานเศรษฐกิจ กําลังซ้ือของผูบริโภคเพ่ิมขึ้นไมมากนัก อีกท้ังความเช่ือดานศาสนาและการรักษาสุขภาพ สงผลใหการบริโภคอยูในวงจํากัด (2) ราคา - ราคาท่ีเกษตรกรขายได จากขอมูลสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคาโคมีชีวิต ที่เกษตรกรขายไดลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 3.19 ตอป (ตารางที่ 7) สําหรับป 2552 โคมีชีวิตที่เกษตรกรขายไดราคากิโลกรัมละ 43.44 บาท ลดลงจากป 2551 ซ่ึงมีราคากิโลกรัมละ 44.02 บาท รอยละ 1.32 เน่ืองจากตลาดโคเนื้อและเน้ือโคเกิดภาวะซบเซา จึงทําใหราคาโคเน้ือที่เกษตรกรขายไดลดลงอยางตอเนื่อง อีกท้ังภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซาสงผลใหผูบริโภคระมัดระวังการจับจายใชสอยมากข้ึน และมีสินคาอื่นทดแทน เชน เน้ือสุกร เน้ือไก เปนตน - ราคาสงออก ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคาสงออกโคมีชีวิตลดลงเฉลี่ยรอยละ 19.89 ตอป (ตารางที่ 7) สวนป 2552 ราคาสงออกโคมีชีวิตลดลงจากป 2551 สําหรับราคาสงออกเนื้อโคและผลิตภัณฑลดลงเฉลี่ยรอยละ 0.85 ตอป สวนป 2552 ราคาสงออกเนื้อโคและผลิตภัณฑลดลงจากป 2551 รอยละ 50.17 - ราคานําเขา ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคานําเขาโคมีชีวิต มีแนวโนมสูงข้ึนเฉลี่ย รอยละ 13.55 ตอป (ตารางที่ 7) สวนป 2552 ราคานําเขาโคมีชีวิตเพ่ิมขึ้นจากป 2551 รอยละ 9.47 สําหรับราคานําเขาเน้ือโคและผลิตภัณฑมีแนวโนมสูงข้ึนเฉล่ียรอยละ 14.90 ตอป โดยเน้ือที่นําเขาจะเปนเน้ือโคคุณภาพ ซ่ึงผลิตในประเทศไดไมเพียงพอกับความตองการ เพ่ือรองรับผูบริโภคในตลาดบน แตป 2552 ราคานําเขาเน้ือโคและผลิตภัณฑลดลงจากป 2551 รอยละ 7.54 (3) การสงออก ในชวง 5 ป (2548 – 2552) การสงออกโคมีชีวิตของไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉล่ีย 10.19 เทาตอป (ตารางที่ 6) โดยสวนใหญสงออกไปยังประเทศเพ่ือนบาน ไดแก มาเลเซีย

Page 120: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

120120

ลาว กัมพูชา ป 2552 การสงออกโคมีชีวิตมีปริมาณ 216,255 ตัว มูลคา 1,213.10 ลานบาท เทียบกับป 2551 ซ่ึงสงออกปริมาณ 93,986 ตัว มูลคา 642.75 ลานบาท คิดเปนปริมาณที่เพ่ิมขึ้น 1.30 เทา และมูลคาเพ่ิมขึ้นรอยละ 88.74 เน่ืองจากมีความตองการโคเน้ือคุณภาพดีจากไทย และราคาโคมีชีวิตในประเทศลดลงอยางตอเนื่อง สงผลใหมีการขยายตลาดไปยังประเทศเพ่ือนบาน ในชวง 5 ป (2548 – 2552) ปริมาณการสงออกเนื้อโคและผลิตภัณฑของไทยมีแนวโนมลดลงเฉลี่ยรอยละ 34.88 ตอป (ตารางที่ 6) เน่ืองจากเศรษฐกิจที่ซบเซาลง ทําใหความตองการเน้ือโคและผลิตภัณฑลดลง ป 2552 การสงออกเนื้อโคและผลิตภัณฑมีปริมาณ 145 ตัน มูลคา 11.61 ลานบาท เทียบกับป 2551 ซ่ึงสงออกปริมาณ 86.01 ตัน มูลคา 13.82 ลานบาท โดยปริมาณเพิ่มขึ้นรอยละ 68.56 แตมูลคาลดลงรอยละ 15.99 (4) การนําเขา ในชวง 5 ป (2548 – 2552) การนําเขาโคมีชีวิตของไทยมีแนวโนมลดลงเฉล่ียรอยละ 44.43 ตอป (ตารางที่ 6) โดยสวนใหญนําเขาจากประเทศพมา ป 2552 การนําเขาโคมีชีวิตมีปริมาณ 12,650 ตัว มูลคา 67.48 ลานบาท เทียบกับป 2551 ซ่ึงนําเขาปริมาณ 15,529 ตัว มูลคา 75.67 ลานบาท หรือลดลงรอยละ 18.54 และรอยละ 10.82 ตามลําดับ ในชวง 5 ป (2548 – 2552) ปริมาณการนําเขาเน้ือโคและผลิตภัณฑของไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 7.75 ตอป (ตารางที่ 6) โดยสวนใหญเปนการนําเขาจากประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด สวนผลิตภัณฑนําเขาจากประเทศนิวซีแลนด ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา ป 2552 การนําเขาเน้ือโคและผลิตภัณฑมีปริมาณ 1,942 ตัน มูลคา 371 ลานบาท เทียบกับป 2551 ซ่ึงนําเขาปริมาณ 1,863.55 ตัน มูลคา 384.65 ลานบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นรอยละ 4.21 แตมูลคาลดลงรอยละ 3.55

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ในป 2553 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดวาการผลิตเนื้อโคของโลกจะมีปริมาณ 56.41 ลานตนัฯ ลดลงจากป 2552 รอยละ 0.66 (ตารางที ่ 1) การผลิตเนือ้โคของโลกลดลงตอเนื่องจากปที่ผานมา ถึงแมวาปริมาณการผลิตของบราซิลและอินเดียยังคงสูงข้ึน แตคาดวาประเทศอารเจนตินา จีน และสหรัฐอเมริกาจะมีปริมาณการผลิตลดลงมากกวา จึงสงผลใหปริมาณการผลิตของโลกลดลง 2.1.2 การตลาด (1) การบริโภค ในป 2553 คาดวาจะมีการบริโภคเนื้อโคของโลก 55.97 ลานตันฯ ลดลงจากป 2552 รอยละ 0.26 (ตารางที่ 2) โดยประเทศท่ีมีการบริโภคมากที่สุดยังคงเปนสหรัฐอเมริกา

Page 121: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคเน้ือ

121121

12.16 ลานตันฯ รองลงมาคือ สหภาพยุโรป 8.28 ลานตันฯ และบราซิล 7.45 ลานตันฯ (2) การสงออก ป 2553 คาดวาจะมีการสงออกเนื้อโค 7.21 ลานตันฯ เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 1.35 (ตารางที่ 3) ในขณะท่ีความตองการบริโภคของโลกลดลง แตผูผลิตยังคงมีการสงออกเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะบราซิลคาดวาจะสงออกเพ่ิมขึ้นรอยละ 20 โดยสวนใหญจะสงไปยังอเมริกาใต (3) การนําเขา ป 2553 คาดวาจะมีการนําเขาเน้ือโคของโลก 6.66 ลานตันฯ เพ่ิมขึ้นจากป 2552 รอยละ 3.39 (ตารางที่ 4) เน่ืองจากเศรษฐกิจโลกมีการกระเต้ืองขึ้นอยางชาๆ โดยเฉพาะ เวเนซูเอลาที่มีการนําเขาเพ่ิมขึ้นกวารอยละ 60 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ป 2553 คาดวามีปริมาณการผลิต 1.159 ลานตัว ลดลงจากป 2551 รอยละ 0.75 เน่ืองจากเกษตรกรสวนใหญประสบปญหาทางเศรษฐกิจ ซ่ึงจําเปนตองขายโคออกไป อีกท้ังมีการเลิกเล้ียงเปนจํานวนมาก กอปรกับจํานวนแมโคลดลงจากสาเหตุที่มีการสงออกโคเนื้อจํานวนมาก จนตองนําแมโคและโคเล็กเขาโรงฆาเพ่ือบริโภคภายในประเทศ 2.2.2 การตลาด (1) การบริโภค โคที่ผลิตได ในประเทศจะใชบริโภคเกือบทั้งหมด และมีบางสวนที่ไดจากการนําเขามาโดยถูกตองตามกฎหมาย และลักลอบนําเขาทั้งในรูปของโคมีชีวิตและเน้ือโคชําแหละ ป 2553 คาดวาการบริโภคมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเล็กนอยตามการเพ่ิมของประชากร (2) ราคา - ราคาท่ีเกษตรกรขายได ป 2553 คาดวาราคาลดลงจากปที่ผานมา เน่ืองจากการบริโภคยังมีจํากัด ประกอบกับมีโคเน้ือและเน้ือโคนําเขา ทําใหราคาโคเน้ือและเน้ือโคภายในประเทศ ไมสามารถขยับสูงข้ึนได จากสภาพเศรษฐกิจและการเมืองที่ไมแนนอน - ราคาสงออก และราคานําเขา ป 2553 คาดวาราคาสงออกโคมีชีวิตสูงข้ึนจากป 2552 สวนราคาสงออกเนื้อโคและผลิตภัณฑใกลเคียงกับป 2552 สวนราคานําเขาโคมีชีวิต เน้ือโคและผลิตภัณฑคาดวาจะใกลเคียงจากป 2552 (3) การสงออก ป 2553 คาดวาการสงออกโคมีชีวิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากป 2552 เล็กนอย สวนการสงออกเนื้อโคและผลิตภัณฑมีแนวโนมลดลง (4) การนําเขา ป 2553 คาดวาการนําเขาโคมีชีวิต เน้ือโคและผลิตภัณฑ ลดลง จากป 2552 เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจและการเมืองที่ไมแนนอน ซ่ึงคาดวาจะสงผลตอจํานวนนักทองเที่ยว ประกอบกับความตองการของผูบริโภคยังคงทรงตัวหรือลดลง ทําใหการนําเขาลดลงเชนกัน

Page 122: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

122122

ตารางท่ี 1 ปริมาณการผลิตเน้ือโคของโลก ป 2548-2553หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม 2553**

(รอยละ)

สหรัฐอเมริกา 11,318 11,980 12,096 12,163 11,816 1.02 11,631 บราซิล 8,592 9,025 9,303 9,024 8,935 0.79 9,290 สหภาพยโุรป-27 8,090 8,150 8,188 8,090 8,000 -0.30 7,950 จีน 5,681 5,767 6,134 6,132 5,764 0.91 5,530 อารเจนตินา 3,200 3,100 3,300 3,150 3,200 0.16 2,800 อื่นๆ*** 19,402 19,514 19,338 19,491 19,067 -0.36 22,00 รวม 56,283 57,536 58,359 58,050 56,782 0.27 56,405

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agricultural Service. Oct. 2009 * ประมาณการ ** คาดคะเน

ตารางท่ี 2 ปริมาณการบริโภคเน้ือโคของโลก ป 2548-2553หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม 2553**

(รอยละ) สหรัฐอเมริกา 12,664 12,833 12,829 12,452 12,310 -0.87 12,158 สหภาพยโุรป-27 8,550 8,649 8,690 8,352 8,310 -0.92 8,280 บราซิล 6,795 6,969 7,144 7,252 7,410 2.15 7,445 จีน 5,614 5,692 6,065 6,080 5,751 1.15 5,530 อารเจนตินา 2,451 2,553 2,771 2,732 2,642 2.20 2,420 อื่นๆ*** 19,758 20,108 20,448 20,582 19,693 0.17 20,139 รวม 55,832 56,804 57,947 57,450 56,116 0.22 55,972

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agricultural Service. Oct. 2009

ตารางท่ี 3 ปริมาณการสงออกเน้ือโคของโลก ป 2548-2553หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราเพ่ิม

2553**

(รอยละ)

บราซิล 1,845 2,084 2,189 1,801 1,555 -4.76 1,870 ออสเตรเลีย 1,388 1,430 1,400 1,407 1,390 -0.13 1,350 สหรัฐอเมริกา 316 519 650 856 785 26.12 837 อินเดีย 617 681 678 672 675 1.68 700 นิวซีแลนด 577 530 496 533 525 -1.82 517 อื่นๆ *** 2,572 2,259 2,158 2,221 2,180 -3.42 1,932 รวม 7,315 7,503 7,571 7,490 7,110 -0.58 7,206

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agricultural Service. Oct. 2009 * ประมาณการ ** คาดคะเน

Page 123: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคเน้ือ

123123

ตารางท่ี 4 ปริมาณการนําเขาเน้ือโคของโลก ป 2548-2553

หนวย : พันตันนํ้าหนักซาก

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม 2553**

(รอยละ)

สหรัฐอเมริกา 1,632 1,399 1,384 1,151 1,254 -6.97 1,304

รัสเซีย 978 939 1,030 1,137 700 -4.66 780

ญี่ปุน 686 678 686 659 672 -0.69 678

สหภาพยุโรป-27 711 717 642 465 470 -11.85 490

เม็กซิโก 335 383 403 408 300 -1.56 335

อื่นๆ*** 2,451 2,720 3,082 3,108 3,043 5.82 3,070

รวม 6,793 6,836 7,227 6,928 6,439 -0.93 6,657

ที่มา : Livestock and Poultry : World Markets and Trade USDA Foreign Agricultural Service.

Oct. 2009

* ประมาณการ

** คาดคะเน

ตารางท่ี 5 ปรมิาณการผลิต การสงออก และการบริโภคโคเน้ือและเน้ือโคของไทย ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

การผลิต1/(ลานตัว) 1.103 1.166 1.197 1.187 1.167 1.32

(พันตันนํ้าหนักซาก) 158.80 167.92 172.41 170.93 168.05 1.32

สงออก2/ (พันตัน) 0.54 0.46 0.27 0.09 0.15 -34.25

นําเขา2/ (พันตัน) 1.29 2.01 1.92 1.87 1.94 7.72

การบริโภค1/ (ลานตัว) 1.242 1.245 1.247 1.250 1.252 0.20

(พันตันนํ้าหนักซาก) 178.85 179.28 179.57 180.00 180.29 0.20

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : 1/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร

Page 124: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

124124

ตารางท่ี 6 การนําเขา-สงออกโคมีชีวิต เน้ือโคและผลิตภัณฑของไทย ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

การสงออก

โคมีชีวิต

ปริมาณ (ตัว) 12 987 6,714 93,986 216,255 1,019.52

มูลคา (ลานบาท) 0.23 5.31 37.28 642.75 1,213.10 796.87

เน้ือโคและผลิตภัณฑ

ปริมาณ (ตัน) 538.17 455.27 267.54 86.01 145 -34.88

มูลคา (ลานบาท) 51.49 55.82 27.14 13.82 11.61 -35.44

การนําเขา

โคมีชีวิต

ปริมาณ (ตัว) 97,599 92,886 13,253 15,529 12,650 -44.43

มูลคา (ลานบาท) 405.79 209.13 63.25 75.67 67.48 -36.90

เนื้อโคและผลิตภัณฑ

ปริมาณ (ตัน) 1,287.66 2,006.62 1,921.09 1,863.55 1,942 7.75

มูลคา (ลานบาท) 153.67 264.96 329.01 384.65 371 23.81

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางท่ี 7 ราคาโคเน้ือท่ีเกษตรกรขายได และราคาสงออก-นําเขาโคมีชีวิต เน้ือโคและผลิตภัณฑ

ของไทย ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

ราคาท่ีเกษตรกรขายได1/ (บาท/กก.) 48.08 49.70 47.65 44.02 43.44 -3.19

ราคาสงออก2/

โคมีชีวิต (บาท/ตัว) 19,166.70 5,379.94 5,552.57 6,838.78 5,609.58 -19.89

เน้ือโคและผลิตภัณฑ (บาท/กก.) 95.68 122.61 101.44 160.68 80.07 -0.85

ราคานําเขา2/

โคมีชีวิต (บาท/ตัว) 4,157.73 2,251.47 4,772.50 4,872.82 5,334.39 13.55

เน้ือโคและผลิตภัณฑ (บาท/กก.) 119.34 132.04 171.26 206.63 191.04 14.90

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : 1/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ จากการคํานวณขอมูลในตารางที่ 6

Page 125: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคนม

125125

17. โคนม1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในชวงป 2548-2552 จํานวนโคนมในประเทศผูผลิตที่สําคัญของโลกมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 0.41 ตอป ซ่ึงในป 2552 ประมาณวาโคนมที่เล้ียงในประเทศผูผลิตที่สําคัญ มีจํานวนรวมกันประมาณ 127.73 ลานตัว เพ่ิมขึ้นจาก 127.26 ลานตัว ของป 2551 รอยละ 0.37 ประเทศท่ีมีการเล้ียงโคนมมากที่สุด คือประเทศอินเดีย มีโคนมถึง 38.50 ลานตัว ในชวงป 2548-2552 ผลผลิตนํ้านมดิบในประเทศผูผลิตที่สําคัญ มีอัตราเพ่ิมข้ึนเฉลี่ยรอยละ 2.32 ตอป โดยผลผลิตนํ้านมดิบในป 2552 ของประเทศผูผลิตที่สําคัญ คาดวามีจํานวนรวม 440.83 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 435.60 ลานตันของป 2551 รอยละ 1.20 ประเทศท่ีมีผลผลิตนํ้านมดิบสูงที่สุด ไดแก สหภาพยุโรป มีผลผลิตนํ้านมดิบรวม 134.30 ลานตัน อัตราการใหนมของแมโคในประเทศท่ีสําคัญในป 2552 สหรัฐอเมริกาเปนประเทศท่ีสามารถเล้ียงโคนมไดนํ้านมในอัตราเฉล่ียตอตัวสูงที่สุดคือ 9.28 ตันตอตัวตอป รองลงมาไดแก ญี่ปุน 9.26 ตันตอตัวตอป และแคนาดา 8.72 ตันตอตัวตอป ตามลําดับ ในชวงป 2548-2552 ปริมาณการผลิตนมผงขาดมันเนยในประเทศผูผลิตที่สําคัญ มีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.85 ตอป ประเทศท่ีผลิตนมผงขาดมันเนยสูงที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา จํานวน 0.836 ลานตัน 1.1.2 การตลาด (1) การบริโภค ในชวงป 2548-2552 การบริโภคนมของประเทศตางๆ รวมกันมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉล่ียรอยละ 0.59 ตอป ซ่ึงในป 2552 มีการบริโภค 164.42 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 162.42 ลานตัน ของป 2551 คิดเปน รอยละ 1.23 อินเดียเปนประเทศท่ีบริโภคนมสูงที่สุด คือ 45.03 ลานตันตอป การบริโภคนมผงขาดมันเนยในชวงป 2548-2552 มีอัตราเพ่ิมเฉลี่ยข้ึนเฉล่ียรอยละ 0.06 ซ่ึงในป 2552 มีการบริโภครวม 3.037 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 2.882 ลานตัน ของป 2551 รอยละ 5.38 ประเทศท่ีมีการบริโภคสูงสุดคือ สหรัฐอเมริกา บริโภค 0.537 ลานตัน (2) การสงออก-นําเขา ผลิตภัณฑนมสงออกที่สําคัญ ไดแก นมผงขาดมันเนย ในชวงป 2548-2552 การสงออกนมผงขาดมันเนยของประเทศท่ีสําคัญมีอัตราเพ่ิมขึ้นเล็กนอยเฉลี่ยรอยละ 0.71 ตอป ซ่ึงในป 2552 การสงออกของประเทศตางๆ รวม 0.996 ลานตัน ลดลงจาก 1.085 ลานตัน ของป 2551 รอยละ 8.20 ประเทศท่ีสงออกนมผงขาดมันเนยจํานวนสูงที่สุดซ่ึงจากสหรัฐอเมริกา ไปเปนนิวซีแลนด ซ่ึงสงออก 0.31 ลานตัน

Page 126: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

126126

ในชวงป 2548-2552 การนําเขานมผงขาดมันเนยของประเทศท่ีสําคัญมีอัตราเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.52 ตอป โดยในป 2552 ปริมาณนําเขาของประเทศตางๆ รวม 0.646 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 0.594 ลานตัน ของป 2551 รอยละ 8.75 ประเทศท่ีนําเขามากที่สุดคือ อินโดนีเซีย นําเขา 0.172 ลานตัน 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ในชวงป 2548-2552 จํานวนโคนมเพศเมียมีอัตราลดลงเฉลี่ยรอยละ 0.32 ตอป โดยในป 2552 (1 มกราคม) มจีาํนวน 498,286 ตวั เพ่ิมขึน้เลก็นอยจากป 2551 ซ่ึงมจีาํนวน 490,937 ตวั รอยละ 1.50 สวนผลผลิตนํ้านมดิบในชวงป 2548-2552 มีอัตราลดลงเฉลี่ยรอยละ 1.27 ตอป โดยป 2552 มีผลผลิต 840,070 ตัน เพ่ิมขึ้นจาก 786,186 ตัน ของป 2551 รอยละ 6.85 1.2.2 การตลาด (1) การบริโภค ในชวงป 2548-2552 การบริโภคนมพรอมดื่มมีอัตราเพ่ิมเฉลี่ยรอยละ 2.22 ตอป โดยในป 2552 มีปริมาณบริโภค 908,180 ตัน เพ่ิมขึ้นจาก 825,624 ตัน ของป 2551 รอยละ 10.00 (2) การสงออก-นําเขา ผลิตภัณฑนม ไทยมกีารสงออกผลติภณัฑนมหลายชนดิ แตสวนใหญเปนการ re-export สินคา สงออกสวนมากมสีภาพเปนครีมหรอืนมผงในรปูของเหลวหรือขนเตมินํา้ตาล เนยทีไ่ดจากนม นมผงขาด มันเนย นมขนหวาน นมเปรี้ยว โยเกิรต เปนตน และเปนการสงไปยังประเทศใกลเคียง เชน ลาว กัมพูชา พมา สิงคโปร ฮองกง และฟลิปปนส ในป 2552 ประมาณวาจะสงออกผลิตภัณฑนมทั้งหมด 98,960 ตัน มูลคา 4,337 ลานบาท ตํ่ากวาป 2551 ที่สงออก 99,530 ตัน มูลคา 4,501 ลานบาท รอยละ 0.36 และ 3.65 ตามลําดับ ประเทศไทยนําเขานมและผลิตภัณฑนมตางๆ ในแตละป เปนจํานวนกวาแสนตันมูลคากวาหมื่นลานบาท โดยมีนมผงขาดมันเนยเปนผลิตภัณฑนมนําเขาที่สําคัญ และยังคงมีสัดสวนการนําเขาสูงกวาผลิตภัณฑนมนําเขาอื่นๆ คือ ประมาณรอยละ 27 ของปริมาณนมและผลิตภัณฑนมนําเขาทั้งหมด ทั้งนี้เพราะสามารถนํามาใชประโยชนไดหลายอยาง เชน ผลิตนมพรอมดื่ม นมขน ขนมปง ไอศกรีม นมขนหวาน ลูกกวาด ช็อกโกแลต และอาหารสัตว เปนตน สําหรับป 2552 คาดวาจะนําเขาผลิตภัณฑนมทั้งหมด 135,260 ตัน มูลคา 8,302 ลานบาท ในจํานวนน้ีเปนนมผงขาดมันเนย 36,140 ตัน มูลคา 2,662 ลานบาท 1.2.3 ราคา ในป 2552 ราคาน้ํานมดิบที่เกษตรกรขายไดเฉล่ียกิโลกรัมละ 15.89 บาท ราคากลางรับซ้ือนํ้านมดิบหนาโรงงานเฉล่ียกิโลกรัมละ 16.50 บาท

Page 127: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคนม

127127

2. แนวโนมในป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ป 2553 คาดวาจํานวนโคนมและผลผลิตนํ้านมของโลกจะเพ่ิมขึ้นเพียงเล็กนอย เน่ืองจากประเทศผูผลิตที่สําคัญ เชน สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล สหภาพยุโรป รัสเซียและยูเครน มีแนวโนมการผลิตลดลง และอีกหลายประเทศยังมีการเล้ียงคอนขางคงที่ อีกท้ังภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่ผานมาสงผลตอเนื่องไปถึงป 2553 ซ่ึงจะทําใหความตองการบริโภคนมและผลิตภัณฑนมตางๆ ชะลอตัวตามภาวะเศรษฐกิจโลกดวย 2.1.2 การตลาด (1) การบริโภค ป 2553 คาดวาการบริโภคนํ้านมและผลิตภัณฑนมของโลกจะเพ่ิมขึ้นเล็กนอย ซ่ึงเปนแนวโนมเดียวกับผลผลิตนํ้านมและภาวะเศรษฐกิจของโลก (2) การสงออก-นําเขา คาดวาการสงออก-นําเขานมผงขาดมันเนยของโลกจะคอนขางคงที่ใกลเคียงกับป 2552 เน่ืองจากขณะนี้แทบทุกประเทศไดรับผลกระทบจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ทําใหผูบริโภคตองระมัดระวังการใชจายและใหความสําคัญกับการออมเพิ่มมากขึ้น เมื่อความตองการสินคาในประเทศไมเพ่ิมสงผลใหการคาระหวางประเทศ คาดวาจะไมเพ่ิมดวย 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต สําหรับประเทศไทย คาดวาจํานวนโคนมและผลผลิตนํ้านมดิบจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้น แตจะเพ่ิมโดยเกษตรกรรายใหญซ่ึงมีจํานวนเพ่ิมขึ้น สวนเกษตรกรรายเล็กมีแนวโนมจะลดลง 2.2.2 การตลาด (1) การบริโภค คาดวาการบริโภคนมพรอมดื่มจะเพ่ิมขึ้นมากกวาปที่ผานมา เน่ืองจากตลาดนมโรงเรียนซ่ึงเปนตลาดหลักไดปรับเพ่ิมจํานวนนักเรียนจากเดิมตั้งแตช้ันอนุบาล-ประถม 1 เปนช้ันอนุบาล-ประถม 6 สวนการบริโภคในตลาดนมพาณิชยยังคงใกลเคียงกับปที่ผานมา เน่ืองจากมีคูแขงที่เปนผลิตภัณฑเคร่ืองดื่มหลากหลายชนิด (2) การสงออก-การนําเขา ประเทศไทยคาดวาการสงออก-นําเขาจะมีปริมาณลดตํ่าลง ซ่ึงมีแนวโนมไปในทิศทางเดียวกับแนวโนมการสงออก-นําเขา ของโลก

Page 128: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

128128

ตารางท่ี 2 ปริมาณผลผลิตน้ํานมดิบในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552**

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

สหภาพยุโรป 134.67 132.21 132.60 134.35 134.30 0.10

สหรัฐอเมริกา 80.25 82.46 84.21 86.18 85.37 1.69

อินเดีย 37.52 41.00 42.89 44.10 45.14 4.53

จีน 27.53 31.93 35.25 36.70 38.63 8.51

รัสเซีย 32.00 31.10 32.20 32.50 32.83 0.96

บราซิล 24.25 25.23 26.75 28.89 30.34 6.01

อื่นๆ 73.81 74.91 73.94 72.88 74.22 -1.63

รวม 410.03 418.84 427.84 435.60 440.83 2.32

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

ตารางท่ี 1 จํานวนโคนมในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัว

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552** อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

อินเดีย 38.00 38.00 38.00 38.50 38.50 0.39

สหภาพยุโรป 25.35 24.94 24.18 23.95 23.90 -1.57

บราซิล 15.10 15.29 15.92 16.70 17.02 -1.44

รัสเซีย 10.40 9.90 9.91 9.82 9.71 -2.87

จีน 6.80 7.90 8.75 9.20 9.66 8.92

สหรัฐอเมริกา 9.05 9.14 9.19 9.31 9.20 0.51

อื่นๆ 21.07 20.75 20.09 19.78 19.74 -1.77

รวม 125.77 125.92 126.04 127.26 127.73 0.41

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

Page 129: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคนม

129129

ตารางท่ี 3 อัตราการใหนมของแมโค ในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ตัน/ตัว/ป

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552** อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

สหรัฐอเมริกา 8.87 9.05 9.16 9.25 9.28 1.13

ญี่ปุน 9.10 9.04 9.19 9.27 9.26 0.60

แคนาดา 7.32 7.89 8.25 8.40 8.42 3.48

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

ตารางท่ี 4 ปริมาณการบริโภคน้ํานมในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552**

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

อินเดีย 36.60 39.92 42.68 43.88 45.03 5.22

สหภาพยุโรป 34.93 34.08 33.33 33.67 33.68 -0.85

สหรัฐอเมริกา 27.22 27.51 27.53 27.67 27.79 0.47

จีน 12.50 13.81 14.82 15.30 15.97 6.10

บราซิล 13.40 13.75 10.17 10.67 11.23 -5.89

รัสเซีย 12.85 12.00 12.00 12.10 12.18 -0.98

อื่นๆ 21.61 22.50 19.95 19.13 18.54 -4.58

รวม 159.11 163.57 160.48 162.42 164.42 0.59

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

Page 130: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

130130

ตารางท่ี 5 ปริมาณการผลิตนมผงขาดมันเนยในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552** อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

สหรัฐอเมริกา 0.695 0.687 0.680 0.859 0.836 6.11

อินเดีย 0.256 0.295 0.320 0.345 0.370 9.34

นิวซีแลนด 0.225 0.247 0.304 0.265 0.310 7.37

เม็กซิโก 0.155 0.183 0.202 0.195 0.195 5.36

ญี่ปุน 0.187 0.180 0.173 0.170 0.175 -1.88

ออสเตรเลีย 0.206 0.221 0.205 0.177 0.200 -2.77

อื่นๆ 1.419 1.290 1.365 1.341 1.395 0.05

รวม 3.143 3.103 3.249 3.352 3.481 2.85

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

ตารางท่ี 6 ปริมาณการบริโภคนมผงขาดมันเนยในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552**

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

สหรัฐอเมริกา 0.572 0.437 0.400 0.404 0.537 -2.03

เม็กซิโก 0.311 0.296 0.313 0.358 0.360 4.95

อินเดีย 0.225 0.245 0.270 0.307 0.337 10.89

ญี่ปุน 0.197 0.200 0.204 0.185 0.190 -1.49

อินโดนีเซีย 0.121 0.132 0.145 0.156 0.167 8.45

อื่นๆ 1.634 1.546 1.465 1.472 1.446 -2.89

รวม 3.060 2.856 2.797 2.882 3.037 0.06

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

Page 131: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

โคนม

131131

ตารางท่ี 7 ปริมาณการสงออกนมผงขาดมันเนยในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552**

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

สหรัฐอเมริกา 0.277 0.287 0.255 0.391 0.200 -3.36 นิวซีแลนด 0.221 0.243 0.327 0.251 0.310 7.35 ออสเตรเลีย 0.141 0.189 0.175 0.120 0.170 -0.80 ยูเครน 0.057 0.064 0.057 0.040 0.030 -16.08 อินเดีย 0.040 0.050 0.040 0.038 0.038 -3.70

อื่นๆ 0.264 0.170 0.173 0.245 0.248 2.43

รวม 1.000 1.003 1.127 1.085 0.996 0.71

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

ตารางท่ี 8 ปริมาณการนําเขานมผงขาดมันเนยในประเทศท่ีสําคัญของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552**

อัตราเพ่ิม

(รอยละ)

อินโดนีเซีย 0.135 0.140 0.147 0.159 0.172 6.31 เม็กซิโก 0.155 0.113 0.111 0.163 0.165 5.04 ฟลิปปนส 0.087 0.095 0.098 0.085 0.095 0.65 จีน 0.055 0.062 0.040 0.054 0.065 1.98 รัสเซีย 0.070 0.045 0.050 0.055 0.060 -107

อื่นๆ 0.088 0.100 0.085 0.078 0.089 -2.23

รวม 0.590 0.555 0.560 0.594 0.646 2.52

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : http://www.fas.usda.gov/currwmt.asp

ตารางท่ี 9 จํานวนโคนมและผลผลิตน้ํานมดิบของไทย ป 2548-2552

รายการ 2548 2549 2550 2551 2552*

อัตราเพ่ิม 2553**

(รอยละ)

โคนมทั้งหมด ณ 1 ม.ค. (ตัว) 492,865 517,995 495,236 490,937 498,286 -0.32 499,500

แมโคนม ณ 1 ม.ค. (ตัว) 296,472 310,085 291,965 290,683 292,756 -0.89 199,700

ผลผลิตนํ้านมดิบ (ตัน) 842,611 888,221 822,211 786,186 840,070 -1.27 842,000

การบริโภคนมพรอมดื่ม (ตัน) 799,078 856,151 917,360 825,624 908,180 2.22 917,260

หมายเหตุ : * ประมาณการ ** คาดคะเน

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 132: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

132132

ตารางท่ี 12 ตนทุนการผลิตน้ํานมดิบ และราคา ป 2548-2552

ตนทุน ราคาเกษตรกรขายได

ราคา ราคา อัตราการใหนม ป น้ํานมดิบ

(บาท/กก.) หนาโรงงาน อาหารขน ของแมโค

(บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/กก.) (กก./ตัว/วัน) 2548 9.16 11.48 12.50 6.81 11.60 2549 10.60 11.50 12.50 7.11 10.65 2550* 12.31 12.55 12.50/13.75/14.50 7.82 9.93 2551* 13.48 14.56 14.50/18.00 9.15 11.05

2552** 12.60 15.89 18.00/16.50 8.30 12.00

หมายเหตุ : * มีการปรับราคากลางรับซ้ือนํ้านมหนาโรงงานระหวางป ** ประมาณการ

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 10 ปริมาณและมูลคานมและผลิตภัณฑนมสงออก ป 2548-2552

ป นมผงขาดมันเนย นมและผลิตภัณฑนม รวม

ตัน พันบาท ตัน พันบาท ตัน พันบาท 2548 279.57 44,133 145,467 4,900,232 145,747 4,944,365 2549 1,124 119,432 113,073 4,004,286 114,197 4,123,718 2550 1,548 81,630 85,772 3,528,099 87,320 3,609,729 2551 734 94,201 98,796 4,406,930 99,530 4,501,131 2552* 1,320 149,070 97,640 4,187,532 98,960 4,336,602 อัตราเพ่ิม

(รอยละ) 30.71 24.57 -8.90 -2.16 -8.71 -1.73

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร

ตารางท่ี 11 ปริมาณและมูลคานมและผลิตภัณฑนมนําเขา ป 2548-2552

ป นมผงขาดมันเนย นมและผลิตภัณฑนม รวม

ตัน พันบาท ตัน พันบาท ตัน พันบาท

2548 69,370 6,353,833 110,054 7,273,944 179,424 13,627,777 2549 67,380 5,592,232 117,262 7,597,851 184,642 13,190,083 2550 56,940 7,458,658 106,087 8,752,164 163,027 16,210,822 2551 60,665 7,597385 101,284 10,300,173 161,949 17,897,522 2552* 36,140 2,661,745 99,120 5,640,680 135,260 8,302,425 อัตราเพ่ิม

(รอยละ) -13.14 -13.36 -3.49 -2.02 -6.72 -6.63

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : กรมศุลกากร

Page 133: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กุง

133133

18. กุง1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในชวง 5 ป (2548-2552) ผลผลิตกุงทะเลจากการเพาะเล้ียงของโลกมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5.22 ตอป ในป 2552 ประมาณการวาจะมีปริมาณผลผลิตเทากับปที่ผานมา แมวาประเทศอินเดีย บังคลาเทศ เวียดนาม และฟลิปปนส ไดขยายการเล้ียงกุงเพ่ิมขึ้น แตประสบกับภัยธรรมชาติจากพายุไซโคลนและไตฝุนทําใหผลผลิตเสียหายบางสวน ในขณะท่ีประเทศไทย และจีน มีผลผลิตเพ่ิมขึ้นจากประสิทธิภาพการผลิตที่ดีข้ึน ไมมีโรคระบาดมากนัก ทําใหอัตรารอดของกุงอยูในเกณฑที่นาพอใจ 1.1.2 การสงออก ในชวง 5 ปที่ผานมา การสงออกผลิตภัณฑกุงในตลาดโลกมีแนวโนมลดลงทั้งปริมาณและมูลคาคิดเปนอัตราเฉล่ียรอยละ 7.07 และ 1.60 ตอป ตามลําดับ ในป 2552 คาดวาการสงออกผลิตภัณฑกุงในตลาดโลกจะมีปริมาณทั้งส้ิน 1.53 ลานตัน มูลคา 9,468 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา ซ่ึงลดลงทั้งปริมาณและมูลคาเมื่อเปรียบกับป 2551 คิดเปนรอยละ 21.49 และ 21.48 ตามลําดับ เน่ืองจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ที่เกิดข้ึนทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกาซ่ึงเปนผูบริโภคกุงที่สําคัญ ทําใหกําลังซ้ือของผูบริโภคลดลง ผูสงออกตองปรับราคาลงเพ่ือใหสามารถจําหนายไดและรักษาสวนแบงตลาดไว ประเทศท่ีสงออกเปนอันดับหนึ่งไดแก ไทย คิดเปนรอยละ 25.78 ของปริมาณการสงออกทั้งหมด รองลงมาไดแก จีน อินโดนีเซีย และอินเดีย คิดเปนรอยละ 13.98 รอยละ 8.99 และรอยละ 7.43 ตามลําดับ 1.1.3 การนําเขา กลุมประเทศและประเทศท่ีนําเขาผลิตภัณฑกุงที่สําคัญของโลกไดแก 1) สหภาพยุโรป ในชวง 5 ปที่ผานมา สหภาพยุโรปนําเขาผลิตภัณฑกุงมีแนวโนมเพิ่มข้ึนในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.44 ตอป โดยในป 2552 คาดวามีการนําเขากุงปริมาณ 585,854 ตัน ลดลงเล็กนอยจาก 596,807 ตัน ของปกอน คิดเปนรอยละ 1.83 โดยนําเขาจากเอกวาดอร คิดเปนรอยละ 13.20 ของปริมาณนําเขาทั้งหมด รองลงมาเปนกรีนแลนด อินเดีย และจีน คิดเปนรอยละ 12.95 รอยละ 10.80 และรอยละ 8.71 ตามลําดับ สําหรับการนําเขากุงจากไทยคิดเปนรอยละ 7.56 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมด ซ่ึงสวนใหญนําเขาเปนกุงสดแชเย็นแชแข็ง 2) สหรัฐอเมริกา การนําเขาผลิตภัณฑกุงของสหรัฐอเมริกาในชวง 5 ป มีปริมาณที่ใกลเคียงกันเกือบทุกป โดยแนวโนมการนําเขาเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยเพียงรอยละ 0.60 ตอป ในป 2552 แมวาสหรัฐอเมริกา กําลังประสบภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวแตก็คาดวาจะมีการนําเขากุงลดลงเพียงเล็กนอย คือจะมีการนําเขาประมาณ 559, 448 ตัน ลดลงคิดเปนรอยละ 0.07 โดยนําเขา

Page 134: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

134134

จากไทยมากเปนอันดับหนึ่ง คิดเปนรอยละ 31.61 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมด รองลงมานําเขาจาก อินโดนีเซีย เอกวาดอร และจีน คิดเปนรอยละ 16.09 รอยละ 13.65 และรอยละ 7.50 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมด ตามลําดับ 3) ญ่ีปุน ในชวง 5 ปที่ผานมา การนําเขาผลิตภัณฑกุงของญี่ปุนมีแนวโนมลดลงเฉลี่ยรอยละ 4.85 ตอป เน่ืองจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวลงประกอบกับการระบาดของไขหวัดสายพันธุใหม H5N1 ในป 2552 ทําใหประชากรไมออกนอกบานและนิยมรับประทานอาหารท่ีบานมากกวาในรานอาหารหรือภัตตาคาร การนําเขาผลิตภัณฑกุงสวนใหญจึงเปนประเภทอาหารปรุงแตงก่ึงสําเร็จรูปที่พรอมประกอบอาหารไดเองที่บาน โดยในป 2552 คาดวามีการนําเขา 196,066 ตัน ลดลงเล็กนอยจาก 196,626 ตัน ของปกอน คิดเปนรอยละ 0.28 โดยนําเขาจากอินโดนีเซียเปนอันดับหนึ่ง คิดเปนรอยละ 19.02 ของปริมาณการนําเขาทั้งหมด รองลงมาไดแก เวียดนาม ไทย และอินเดีย โดยมีสัดสวนการนําเขารอยละ 18.36 รอยละ 16.95 และรอยละ 11.84 ตามลําดับ 1.1.4 สถานการณสินคากุงของประเทศคูแขง 1) เวียดนาม เปนประเทศท่ีผลิตกุงกุลาดําเปนสวนใหญ ในป 2551 มีผลผลิตรวมประมาณ 380,000 ตัน เปนกุงจากการเพาะเล้ียง 140,000 ตัน แตเน่ืองจากราคากุงกุลาดําตองแขงขันกับกุงขาวแวนนาไมซ่ึงมีตนทุนตํ่ากวา ในป 2552 เวียดนามจึงมีการลดพ้ืนที่การเล้ียงกุงกุลาดําลง และเปล่ียนพื้นที่ไปผลิตกุงขาวแวนนาไม โดยรัฐบาลไดดําเนินการดานมาตรฐานการผลิตควบคูกันไปดวย เพ่ือเพิ่มปริมาณการผลิตและสามารถแขงขันดานราคาในตลาดโลกได อยางไรก็ตามเวียดนามยังคงสงออกกุงกุลาดําเปนสวนใหญ 2) อินโดนีเซีย เร่ิมมีการผลิตกุงขาวแวนนาไมในชวง 2-3 ปที่ผานมา โดยการรวมทนุกับภาคเอกชน ในลักษณะการผลิตแบบครบวงจรต้ังแตการผลิตพอ-แมพันธุ โรงเพาะฟก ฟารมผลิตกุง แปรรูปจนถึงการสงออก โดยในอนาคตวางแผนการผลิตใหมีผลผลิตเทียบเทาปริมาณการผลิตของไทย เน่ืองจากอินโดนีเซียมีพ้ืนที่ชายฝงทะเลจํานวนมากเหมาะแกการผลิตกุง ในป 2552 คาดวาจะมีผลผลิตกุงจากการเพาะเล้ียงทั้งส้ิน 300,000 ตัน 1.2 สถานการณของไทย 1.2.1 การผลิต ผลผลิตกุงทะเลท้ังหมดของไทยในชวง 5 ป (2548-2552) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉล่ียรอยละ 3.54 ตอป ผลผลิตสวนใหญประมาณรอยละ 88 ไดมาจากการเพาะเล้ียงที่เหลือเปนผลผลิตจากการจับจากธรรมชาติ ปจจุบันไทยมีเกษตรกรผูเล้ียงกุงจํานวน 32,000 ฟารม หรือ 30,610 ครัวเรือน และไดปรับเปลี่ยนการเล้ียงจากกุงกุลาดํามาเปนกุงขาวแวนนาไมมากถึงรอยละ 99 ของจํานวนผลผลิตกุงทั้งหมด เน่ืองจากกุงขาวแวนนาไมเล้ียงงาย มีโรคระบาดนอยและใหผลผลิตสูงเมื่อเทียบกับกุงกุลาดํา ในป 2552 ประมาณการผลผลิตกุงทะเลจากการเพาะเล้ียงมีปริมาณ 520,000 ตัน

Page 135: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กุง

135135

เพ่ิมขึ้นจาก 466,000 ตัน ในป 2551 คิดเปนรอยละ 11.59 เน่ืองจากสภาพภูมิอากาศเอ้ืออํานวยในชวงตนและกลางป และสามารถควบคุมโรคระบาดท่ีเกิดข้ึนได ทําใหผลผลิตไมไดรับความเสียหายมาก สําหรับตนทุนการผลิต กุงขาวแวนนาไมโนมตํ่าลง เฉล่ียอยูที่ 97.85 บาทตอกิโลกรัมเทียบกับกิโลกรัมละ 105.27 บาทของป 2551 ลดลงคิดเปนรอยละ 7.05 จากการท่ีราคาอาหารโนมตํ่าลงเล็กนอยและราคาน้ํามันลดลงในชวงคร่ึงแรกของปและโนมสูงข้ึนในชวงปลายป 1.2.2 การใชในประเทศ ผลผลิตกุงไทยประมาณรอยละ 85-90 ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคากุงเพ่ือการสงออก ที่เหลืออีกประมาณรอยละ 10-15 ใชบริโภคภายในประเทศ ในป 2552 คาดวามีการบริโภคภายในประเทศประมาณ 80,000 ตัน 1.2.3 การสงออก ในชวง 5 ป (2548-2552) การสงออกผลิตภัณฑกุงของไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลคาในอัตราเฉล่ียรอยละ 5.53 และรอยละ 2.43 ตอป ตามลําดับ การสงออกผลิตภัณฑกุงของไทย ป 2552 คาดวาจะมีปริมาณ 363,246 ตัน มูลคา 86,330.58 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 359,798 ตันและมูลคา 84,397 ลานบาท ของปกอนคิดเปนรอยละ 0.96 และรอยละ 2.29 ตามลําดับ การสงออกผลิตภัณฑกุงสวนใหญอยูในรูปกุงสดแชเย็นแชแข็ง คิดเปนรอยละ 50.69 ของมูลคาการสงออกทั้งหมด รองลงมาไดแก กุงปรุงแตง และกุงแหง ตามลําดับ ตลาดสงออกที่สําคัญไดแก สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สําหรับตลาดสหภาพยุโรปการสงออกกุงของไทยขยายตัวไดอยางมาก เน่ืองจากไทยไดรับคืนสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) จากสหภาพยุโรป 1.2.4 การนําเขา ในชวงป 2548-2552 การนําเขาผลิตภัณฑกุงของไทยมีแนวโนมลดลงทั้งปริมาณและมูลคาในอัตราเฉล่ียรอยละ 6.73 และรอยละ 6.90 ตอป ตามลําดับ ในป 2552 คาดวาการนําเขาผลิตภัณฑกุงประมาณ 16,841 ตัน มูลคา 2,081.33 ลานบาท ลดลงจากปกอนคิดเปนรอยละ 16.31 และรอยละ 36.04 ตามลําดับ ทั้งนี้เปนการนําเขากุงสดแชเย็นแชแข็งเพ่ือเปนวัตถุดิบในการแปรรูปสงออกเปนสวนใหญ คิดเปนรอยละ 92.36 ของมูลคาการนําเขาทั้งหมด รองลงมาเปนกุงปรุงแตงและกุงมีชีวิต ตามลําดับ 1.2.5 ราคา 1) ราคาท่ีเกษตรกรขายได ในชวง 5 ป (2548-2552) ราคากุงขาวแวนนาไมที่เกษตรกรขายได (ขนาด 61-70 ตัวตอกิโลกรัม) มีแนวโนมลดลงจากกิโลกรัมละ 122 บาท ในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 97.85 บาท ในป 2552 (เฉล่ีย ม.ค. - ต.ค.) ลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.15 ตอป และเม่ือเทียบป 2551 ราคาลดลงรอยละ 8.55 2) ราคาสงออก เอฟ.โอ.บี ในชวง 5 ป ราคาสงออกกุงสดแชเย็นแชแข็งมีแนวโนมลดลงจากกิโลกรัมละ 235.83 บาท ในป 2548 เปนกิโลกรัมละ 211.51 บาท ในป 2552 หรือลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 3.23 ตอปและเม่ือเทียบป 2551 ราคาสงออกลดลงรอยละ 1.79 ใน

Page 136: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

136136

ขณะที่ราคาสงออกในรูปดอลลารสหรัฐอเมริกา เพ่ิมขึ้นรอยละ 1.02 การท่ีราคาสงออกในรูปเงินบาทจะเพ่ิมหรือลดนั้น นอกจากจะข้ึนกับราคาในตลาดโลกแลวยังข้ึนกับอัตราแลกเปล่ียนเงินตราอีกดวย

2. แนวโนมป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต ป 2553 คาดวาปริมาณผลผลิตกุงจากการเพาะเล้ียงของโลกโดยรวมจะทรงตัวใกลเคียงกับป 2552 เน่ืองจากการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจทั่วโลก ทําใหผูบริโภคระมัดระวังเก่ียวกับคาใชจายมากข้ึน และสินคาอาหารประเภทกุงถือวามีราคาคอนขางสูงผูบริโภคอาจจะบริโภคนอยลงหรือซ้ือไปปรุงเองที่บานมากกวา ผูผลิตกุงจึงชะลอตัวการขยายการผลิต 2.1.2 การตลาด ป 2553 จากการท่ีคาดการณวาภาวะเศรษฐกิจจะชะลอตัวตอไป แมวาในบางประเทศจะเร่ิมดีข้ึนบาง จึงคาดวาจะทําใหประเทศผูนําเขาผลิตภัณฑกุง โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาลดการบริโภคลง 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิตและการใชในประเทศ ป 2553 คาดวาผลผลิตกุงของไทยและการใช ในประเทศจะใกลเคียงกับป 2552 2.2.2 การสงออกและการนําเขา แมวาการสงออกกุงของไทยจะยังคงตองเผชิญกับปญหาตางๆ เชน ขอกีดกันทางการคาของประเทศผูนําเขา เก่ียวกับมาตรฐานสินคา การพบสารตกคาง รวมท้ังปญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอยของประเทศ ผูนําเขาสําคัญ เชน สหรัฐอเมริกา ปญหาราคานํ้ามันที่สูงข้ึน เปนตนแตเน่ืองจากสินคากุงของไทยเปนสินคาที่มีคุณภาพมีความปลอดภัยในการบริโภคสูง เน่ืองจากภาครัฐโดยกรมประมงไดพยายามใหผลิตภัณฑกุงจากไทยสามารถเขาสูระบบตรวจสอบยอนกลับจนถึงระดับฟารมใหมากที่สุด ประกอบกับผูประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปกุงของไทยมีกระบวนการผลิตที่ทันสมัย ไดรับการรับรองมาตรฐานการผลิตทั้งในและตางประเทศ จึงเปนที่ยอมรับของผูบริโภค และไทยสามารถสงสินคาใหแกผูส่ังซ้ือไดทนัตอความตองการ เน่ืองจากมวัีตถุดบิในการผลิตตอเนือ่งทัง้ป สําหรับการนําเขาป 2553 คาดวาไทยจะนําเขาผลิตภัณฑกุงลดลง เน่ืองจากสามารถเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตกุงในประเทศไดดีข้ึน 2.2.3 ราคา สําหรับราคากุงที่เกษตรกรขายได ข้ึนอยูกับการแขงขันดานราคาของผูสงออกในตลาดโลก หากไมมีการตัดราคากันมากก็จะไมสงผลตอเกษตรกร ทั้งนี้ยังข้ึนอยูกับปริมาณผลผลิตกุงที่ออกสูตลาดแตละเดือนวาสอดคลองกับคําส่ังซ้ือจากตางประเทศหรือไม ซ่ึงหากไมมีเหตุการณผิดปกติ คาดวาราคาจะใกลเคียงกับป 2552

Page 137: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กุง

137137

ตารางท่ี 1 ผลผลิตกุงจากการเพาะเล้ียงของโลก ป 2548 - 2552

หนวย : ตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552*

อัตราการขยายตัว

(%)

ไทย 419,000 507,000 443,600 466,000 520,000 3.54 จีน 380,000 400,000 480,000 500,000 550,000 10.11 อินโดนีเซีย 230,000 260,000 285,000 300,000 300,000 6.98 เอกวาดอร 120,000 140,000 150,000 150,000 120,000 0.69 เวียดนาม 115,000 133,000 145,000 140,000 130,000 3.01 อินเดีย 100,000 103,000 110,000 120,000 130,000 7.01 บราซิล 55,000 50,000 60,000 50,000 50,000 10.12 อื่นๆ 283,000 330,000 433,400 374,000 300,000 2.45

รวมท้ังหมด 1,702,000 1,923,000 2,107,000 2,100,000 2,100,000 5.22

ที่มา : สมาคมกุงไทย

หมายเหตุ : * ตัวเลขประมาณการ

Page 138: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

138138

ตารางที่

2

ปริมาณ

และมูลคาการสงออกผลิตภัณ

ฑกุงในตลาดโลกแยกตามประเทศผูสงออก

ป 2

548

– 25

52

ปริมาณ

: ตัน

, มูลคา

: ลานดอลลารสหรัฐอเมริกา

ประเทศ

25

48

2549

25

50

2551

25

52*

อัตราการขยายตัว

(%)

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ไทย

28

3,00

6 1

,778

.83

34

6,96

5 2

,300

.45

35

6,10

2 2,55

1.17

35

9,56

9 2,53

9.77

39

5,03

9 2,64

0.70

7.28

9.30

จีน

224,55

4 1

,109

.78

27

0,11

0 1

,340

.49

25

9,01

5 1,27

9.28

24

1,10

6 1,38

2.51

21

4,15

2 1,23

5.65

-2

.06

2.49

อินโดนีเซีย

14

5,10

8

918.60

16

1,81

2 1

,086

.76

14

0,28

6 93

4.24

15

4,69

2 1,08

4.61

13

7,66

3 89

9.37

-1

.49

-0.44

อินเดีย

199,90

4

980.49

19

4,93

3 1

,028

.55

15

5,43

7 96

6.17

14

5,21

1 84

5.84

11

3,86

9 63

7.66

-1

3.24

-1

0.02

เอกวาดอร

93,725

46

5.61

11

7,84

2

591.11

12

8,74

5 61

9.32

12

2,95

1 67

2.60

85

,673

46

1.77

-1

.36

1.13

ประเทศอื่นๆ

1,19

6,18

9 5,08

3.51

98

6,52

5 5,54

1.87

89

3,83

9 5,37

9.83

92

7,95

2 5,53

2.52

58

5,67

1 3,59

2.02

-1

3.84

-6

.73

รวม

2,14

2,48

6 10

,336

.82

2,078

,187

11,88

9.23

1,933

,424

11,73

0.01

1,951

,481

12,05

7.85

1,532

,067

9,46

8.17

-7

.07

-1.60

ที่มา

: Wor

ld T

rade

Atla

s

หมายเหตุ

: * คาประมาณ

การ

Page 139: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กุง

139139

ตารางท่ี 3 ปริมาณการนําเขาผลิตภัณฑกุงของสหภาพยุโรป ป 2548–2552

หนวย : ตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552*

อัตราการขยายตัว

(%)

เอกวาดอร 43,778 55,983 64,875 75,024 77,357 -15.39 กรีนแลนด 81,671 83,959 84,375 77,232 75,848 -2.29 อินเดีย 41,745 51,060 53,179 57,544 63,252 9.97 จีน 34,980 40,783 41,016 38,207 51,020 7.14 ไทย 12,208 17,273 28,762 38,687 44,319 40.28 แคนาดา 38,031 41,102 62,167 32,956 39,228 -1.58 บังคลาเทศ 24,744 27,563 30,407 29,776 33,006 6.75 อินโดนีเซีย 26,544 26,228 26,474 28,388 26,837 1.02 เวียดนาม 17,684 19,444 17,916 29,193 23,579 10.32 ประเทศอ่ืนๆ 221,807 238,375 218,409 189,800 151,408 -9.44

รวม 543,192 601,770 627,580 596,807 585,854 1.44

ที่มา : World Trade Atlas

หมายเหตุ : * คาประมาณการ

ตารางท่ี 4 ปริมาณการนําเขาผลิตภัณฑกุงของสหรัฐอเมริกา ป 2548–2552

หนวย : ตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551* 2552*

อัตราการขยายตัว

(%)

ไทย 160,892 193,764 188,319 181,107 176,868 1.23 อินโดนีเซีย 52,641 58,729 59,069 83,402 90,031 15.30 เอกวาดอร 49,574 59,363 59,128 56,123 76,378 8.42 จีน 45,205 68,150 48,419 47,676 41,976 -4.93 เวียดนาม 42,949 37,078 39,299 47,310 36,872 -0.61 เม็กซิโก 28,095 35,378 40,558 34,462 27,789 -0.48 อินเดีย 35,699 27,277 20,776 14,523 20,943 -15.61 มาเลเซีย 17,191 20,349 22,833 28,755 17,424 3.80 ประเทศอ่ืนๆ 96,590 90,211 78,505 66,471 71,167 -8.76

รวม 528,836 590,299 556,936 559,829 559,448 0.60

ที่มา : Infofish Trade News

หมายเหตุ : * คาประมาณการ

Page 140: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

140140

ตารางท่ี 5 ปริมาณการนําเขาผลิตภัณฑกุงของญ่ีปุน ป 2548–2552

หนวย : ตัน

ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552* อัตราการขยายตัว

(%)

อินโดนีเซีย 45,574 43,665 37,080 37,421 37,297 -5.40 เวียดนาม 54,511 51,133 40,041 42,167 36,000 -9.72 ไทย 18,398 20,097 26,380 24,957 33,237 15.02 อินเดีย 26,309 28,546 27,025 24,007 23,229 -4.13 จีน 24,092 22,810 23,977 16,790 12,457 -15.00

ประเทศอ่ืนๆ 63,551 63,701 52,754 51,284 53,846 -5.34

รวม 232,435 229,952 207,257 196,626 196,066 -4.85

ที่มา : Infofish Trade News

หมายเหตุ : * หมายถึง คาประมาณการ

ตารางท่ี 6 ตนทุนและราคากุงเฉลี่ย ป 2548-2552

ตนทุนการเพาะเล้ียง ราคาเกษตรกรขายได ราคาตลาดกลาง

ราคาสงออก ราคาสงออก

(F.O.B) (F.O.B)

กุงขาว กุงขาว กุงขาว กุงแชเย็นแชแข็ง กุงแชเย็นแชแข็ง

(บาท/กก.) (ขนาด 61-70 ตัว/กก.) (ขนาด 70 ตัว/กก.)

(บาท/กก.) (ดอลลาร/กก.)

2548 94.37 122 119 235.83 5.89

2549 100.92 117 115 240.59 6.38

2550 96.09 100 101 219.26 6.38

2551 105.27 107 106 215.37 6.50

2552 * 97.85 102 101 211.51 6.14

อัตราการ

เปล่ียนแปลง 1.15 -4.38 -4.01 -3.23 1.02

ที่มา : สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร

หมายเหตุ : * คาประมาณการ

ตนทุนการเพาะเล้ียงกุงขาว (ขนาด 70 ตัว/กก.) ป 2552 เปนตนทุนเฉล่ียเดือน ม.ค.-ต.ค.

Page 141: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

กุง

141141

ตารางที่

7 ปริมาณ

และมูลคาการสงออกและนําเขาผลิตภัณ

ฑกุงของประเทศไทย

ป 2

548-

2552

ปริมาณ

: ตัน

, มูลคา

: ลานบาท

รายการ

25

48

2549

25

50

2551

25

52 *

อัตราการขยายตัว

(%)

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

ปริมาณ

มูลคา

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

ปริมาณ

มูลคา

สงออก

282,93

8 71

,595

.44

346,23

2 96

,534

.11

356,76

6 81

,858

.09

359,79

8 84

,397

.22

363,24

6 86

,330

.58

5.53

2.43

1. กุงสดแชเย็นแชแข็ง

15

7,967

37

,727.7

8 1

78,57

3 4

2,917

.42

195,5

20

42,52

6.71

197

,063

42,78

2.98

198,9

51

43,76

3.04

5.7

6 2.9

8

2. กุงปรุงแตง

12

1,053

33

,595.0

2 16

5,831

43

,152.6

3 15

8,303

38

,734.9

7 16

1,291

41

,283.7

7 16

2,836

42

,229.5

0 5.8

2 4.2

2

3. ผลติภณัฑกุ

งอืน่ๆ

69

8 15

8.04

1,818

45

7.26

1,240

32

3.99

783

169.6

4 79

1 17

3.52

-5.75

-7

.73

4. กุงมชีีวิต

**

1.16

10

6.80

1,702

27

2.42

661

160.8

3 66

7

164.5

2

- -

นําเขา

23,536

3,10

5.08

20

,676

2,98

9.27

15

,994

1,54

6.68

20

,123

3,25

4.34

16

,841

2,08

1.33

-6

.73

-6.90

1. กุงสดแชเย็นแชแข็ง

14

,773

3,025

.94

12,63

6 2,8

63.53

7,7

27

1,384

.00

10,90

6 3,0

06.05

9,1

27

1,922

.53

-10.5

1 -8

.23

2. กุงปรุงแตง

5,4

10

59.46

4,3

21

69.44

3,9

29

56.15

3,4

13

155.3

8 2,8

56

99.38

-1

4.05

20.11

3. ผลติภณัฑกุ

งอืน่ๆ

3,5

09

28.23

3,7

17

28.03

4,1

84

52.05

5,7

45

48.35

4,8

08

30.93

11

.24

7.55

4. กุงมชีีวิต

4

31.73

2

28.27

15

3 54

.49

59

44.56

50

28

.50

132.4

7 2.4

3

ที่มา

: กรมศุลกากร

หมายเหตุ

: * คาประมาณการ

** มีคานอยมาก

Page 142: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

142142

19. ปลาปน1. สถานการณป 2552 1.1 ของโลก 1.1.1 การผลิต ในชวง 5 ป (2548-2552) การผลิตปลาปนของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.96 ตอป ป 2552 คาดวาผลผลิตปลาปนของโลกมีปริมาณ 5.14 ลานตัน เพ่ิมขึ้นเล็กนอยจากปริมาณ 5.13 ลานตัน ของป 2551 คิดเปนรอยละ 0.19 ผลผลิตรอยละ 50.78 มาจากประเทศผูผลิตหลัก 5 ประเทศ คือ เปรู ชิลี เดนมารก นอรเวยและไอซแลนด ซ่ึงมีวัตถุดิบหลักเปนปลาแอนโชวีจากการทําประมง แตปจจุบันกระแสการอนุรักษส่ิงแวดลอมและการสรางความสมดุลในหวงโซอาหารมีมากข้ึน การจัดการทรัพยากรทางทะเล โดยการจัดสรรโควตาการจับปลาเร่ิมนํามาใช ในประเทศเปรู ดังนั้นเมื่อปริมาณการจับปลาถูกจํากัด การผลิตปลาปนจึงใชวัตถุดิบที่เปนเศษเหลือจากอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารจากปลาประมาณรอยละ 25 1.1.2 การตลาด 1) การบริโภค ในชวง 5 ป (2548-2552) การใชปลาปนของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 1.20 ตอป โดยป 2552 การใชปลาปนของโลกมีปริมาณ 5.25 ลานตัน ลดลงจาก 5.39 ลานตันของปที่ผานมารอยละ 2.5 เน่ืองจากปลาปนมีราคาสูงข้ึน ทําใหผูซ้ือเปลี่ยนไปใชโปรตีนจากเน้ือปน กระดูกปนและขนไกปนมาทดแทน เพราะมีราคาถูกกวาปลาปน โดยเฉพาะประเทศแถบตะวันออกไกล 2) ราคาปลาปนในตลาดโลก ในชวง 5 ป (2548 – 2552) ราคาปลาปนของโลกมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 6.21 ตอป โดยป 2552 ราคาปลาปนในตลาดโลกเฉล่ียตันละ 1,004.76 ดอลลารสหรัฐฯ เพ่ิมขึ้นจากตันละ 942.16 ดอลลารสหรัฐฯ ของปที่ผานมารอยละ 6.64 เน่ืองจากประเทศผูผลิตรายใหญของโลกคือ เปรูและชิลี ลดการผลิตลงจากการกําหนดโควตาการจับปลา และจีนซ่ึงเปนผูซ้ือรายใหญของโลก ส่ังซ้ือปลาปนลวงหนาเพราะปริมาณปลาปนที่ออกสูตลาดมีคอนขางนอยประกอบกับสต็อกปลาปนของจีนมีไมมาก อีกท้ังราคาน้ํามันสูงข้ึนอยางตอเนื่อง สงผลใหราคาปลาปนในตลาดโลกสูงข้ึนจากความตองการนําเขาของจีน 3) การสงออก ในชวง 5 ป (2548-2552) การสงออกปลาปนของโลกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.89 ตอป โดยในป 2552 มีการสงออกปริมาณ 2.78 ลานตัน เพ่ิมขึ้นจาก 2.73 ลานตัน ของป 2551 รอยละ 1.83 เน่ืองจากสต็อกปลาปนของจีนลดลงมากซึ่งตํ่าสุดในรอบหลายป ทําใหจีนตองการปลาปนสูงมาก ประเทศผูสงออกหลัก ไดแก เปรู ชิลี เดนมารก และนอรเวย

Page 143: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปลาปน

143143

4) การนําเขา ในชวง 5 ป (2548-2552) ที่ผานมาการนําเขาปลาปนของโลกมีแนวโนมเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.44 ตอป โดยป 2552 มีปริมาณนําเขาปลาปนปริมาณ 2.85 ลานตัน ลดลงจาก 2.98 ลานตัน ของป 2551 รอยละ 4.36 ประเทศผูนําเขาหลักคือ จีน ญี่ปุน เยอรมนีและไตหวัน 1.2 ของไทย 1.2.1 การผลิต ประเทศไทยผลิตปลาปนจากปลาตางๆ ที่คนไมนิยมบริโภคเรียกวา ปลาเปด รวมท้ังเศษท่ีเหลือจากการแปรรูปของโรงงานอาหารกระปองและโรงงานทําปลาบด (ซูริมิ) เชน หัว กาง ในชวง 5 ปที่ผานมา (ป 2548–2552) ผลผลิตปลาปนของไทยมีแนวโนมลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.94 ตอป เน่ืองจากปริมาณปลาที่จับได ในทะเลมีปริมาณนอยลงประกอบกับปญหาราคาน้ํามันเพ่ิมสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ทําใหเรือหยุดดําเนินกิจการ สําหรับผลผลิตปลาปนป 2552 คาดวามีปริมาณ 500 พันตัน เพ่ิมขึ้นจาก 426 พันตัน ของปที่ผานมา รอยละ 17.37 เน่ืองจาก ผูประกอบการธุรกิจประมงซ้ือปลาจากการทําประมงนอกนานนํ้าประเทศไทยจึงมีวัตถุดิบในการผลิตปลาปนเพ่ิมขึ้น 1.2.2 การตลาด 1) การบริโภค ความตองการใชปลาปนในชวง 5 ป (2548–2552) มีแนวโนมลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 0.24 ตอป เน่ืองจากมีการเล้ียงสัตวปกลดลงจากผลของไขหวัดนกและการเล้ียงสัตวอื่นๆ ลดลง สําหรับป 2552 มีความตองการใชปลาปนปริมาณ 523 พันตัน เพ่ิมขึ้นจาก 456 พันตัน ของป 2551 รอยละ 14.69 เน่ืองจากมีการใชปลาปนในอาหารสําหรับการเล้ียงปศุสัตวและสัตวนํ้าที่มีปริมาณการเล้ียงเพ่ิมขึ้น ปลาปนที่ผลิตได ในประเทศเปนปลาปนโปรตีนสูงกวา 60% เพียงรอยละ 25 ของผลผลิตปลาปนทั้งหมด จึงตองนําเขาบางสวนเพ่ือใช ในอุตสาหกรรมการเล้ียงปศุสัตวและการเพาะเล้ียงสัตวนํ้าที่ตองการโปรตีนจากสัตวสูง 2) ราคา ราคาปลาเปดที่เกษตรกรขายได ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) มีแนวโนมเพ่ิมขึ้นในอัตราเฉล่ียรอยละ 17.77 โดยปลาเปดป 2552 เฉล่ียกิโลกรัมละ 8.40 บาท เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 8.36 บาท ของป 2551 รอยละ 0.48 เน่ืองจากปริมาณปลาเปดในทองทะเลไทยลดลง ทําใหผูประกอบการธุรกิจประมงตองสั่งซ้ือจากตางประเทศและปลาจากการทําประมงนอกนานนํ้าประเทศไทย ประกอบกับราคานํ้ามันสูงข้ึนอยางตอเนื่องตนทุนในการทําประมงเพ่ิมขึ้น ทําใหวัตถุดิบที่จะนํามาผลิตปลาปนมีราคาสูงข้ึน การคาปลาปนของไทยจะกําหนดราคาตามชั้นคุณภาพโปรตีนและกล่ินของปลาปนประกอบกัน จากขอมูลของสมาคมผูผลิตปลาปนไทย ราคาปลาปนโปรตีนสูงกวา 60% ข้ึนไป ในชวง 5 ปที่ผานมา (2548-2552) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในอัตราเฉล่ีย รอยละ 7.98 ตอป โดยในป 2552 ราคาขายสงปลาปนโปรตีนสูงกวา 60% ข้ึนไป เฉล่ียราคา

Page 144: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

144144

กิโลกรัมละ 31.89 บาท เพ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.74 บาท ของป 2551 คิดเปนรอยละ 3.74 สวนปลาปนโปรตีนตํ่ากวา 60% เบอร 2 ราคามีแนวโนมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยในอัตรารอยละ 9.68 ตอป ราคาป 2552 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.89 บาท สูงกวากิโลกรัมละ 28.87 บาทของปกอนคิดเปนรอยละ 7.00 3) การสงออก การสงออกปลาปนในชวง 5 ป (2548-2552) ทั้งปริมาณและมูลคามีแนวโนมลดลงในอัตราเฉล่ียรอยละ 42.16 และรอยละ 39.15 ตามลําดับ โดยในป 2552 ไทยสงออกปลาปนปริมาณ 6.00 พันตัน มูลคา 200 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 5.57 พันตัน มูลคา 145.03 ลานบาท ของป 2551 คิดเปนรอยละ 7.72 และรอยละ 37.90 ตามลําดับ เน่ืองจากอินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย นําเขาปลาปนจากไทยเพ่ิมขึ้นจากปที่ผานมา โดยเฉพาะอินเดียนําเขาจากไทย 3.47 พันตัน มูลคา 119.28 ลานบาท ขณะที่ปที่ผานมาไมมีการนําเขา 4) การนําเขา การนําเขาปลาปนในชวง 5 ป ที่ผานมา (2548-2552) มีแนวโนมลดลงทั้งปริมาณและมูลคาเฉล่ียรอยละ 45.00 และรอยละ 24.36 ตามลําดับ โดยในป 2552 ไทยนําเขาปลาปนเปนปริมาณ 1.30 พันตัน มูลคา 39 ลานบาท เพ่ิมขึ้นจากปริมาณ 0.66 พันตัน มูลคา 29.00 ลานบาท ของป 2551 คิดเปนรอยละ 96.97 และรอยละ 25.64 ตามลําดับ เน่ืองจากโรงงานผลิตอาหารสัตวตองการปลาปนคุณภาพโปรตีนสูงกวา 60% เพ่ิมขึ้น โดยประเทศหลักท่ีไทยนําเขาปลาปน ไดแก ปากีสถาน เดนมารก อินเดีย 5) นโยบายและมาตรการการนําเขาของรัฐ การกํากับดูแลและการกําหนดมาตรการนําเขาปลาปนจะพิจารณาเปนปตอป โดยคณะกรรมการนโยบายอาหาร นอกจากนี้ปลาปนยังเปนสินคาควบคุมตามประกาศของกระทรวงพาณิชย การนําเขาปลาปนโปรตีน ตํ่ากวา 60% ตองขออนุญาตนําเขาจากกรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย แตในทางปฏิบัติไมอนุญาตใหนําเขา สําหรับการนําเขา ปลาปน ป 2552 นโยบายการนําเขาและอากรขาเขาเปนดังนี้ (1) นําเขาจากประเทศสมาชิก AFTA เสียอากรขาเขารอยละ 5 (2) นําเขาตามความตกลงการคาเสรี ไทย - ออสเตรเลีย อัตราอากรขาเขา รอยละ 3 (3) นําเขาตามความตกลงการคาเสรี ไทย - นิวซีแลนด อัตราอากรขาเขา รอยละ 6 (4) นาํเขาตามความตกลงการคาเสรี อาเซียน - จนี อตัราอากรขาเขารอยละ 5 (5) นําเขาตามความตกลงความรวมมือเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุน นําเขาระหวาง 1 ม.ค. - 31 มี.ค. 2552 อัตราอากรรอยละ 6.67 นําเขาระหวาง 1 เม.ย. - 31 ธ.ค. 2552 อัตราอากรรอยละ 5 (6) การนําเขาทั่วไป กําหนดอากรขาเขารอยละ 10 และอัตราอากรพิเศษอีก รอยละ 50 ของอากรนําเขา รวมเปนอากรนําเขาทั้งส้ินรอยละ 15

Page 145: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปลาปน

145145

2. แนวโนม ป 2553 2.1 ของโลก 2.1.1 การผลิต การผลิตปลาปนโลกป 2553 คาดวาจะผลิตได ใกลเคียงกับปที่ผานมาหรือลดลงเล็กนอย เน่ืองจากเปรูมีการจับปลาลดลงประกอบกับป 2553 อาจมีปรากฏการณ ELNINO เกิดข้ึนทําใหปริมาณปลาในทะเลลดลง 2.1.2 การบริโภค คาดวาความตองการใชปลาปนใกลเคียงกับปที่ผานมาหรือเพิ่มขึ้นเล็กนอยตามความตองการของภาคปศุสัตวและการเพาะเล้ียงสัตวนํ้าที่เพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะใน จีน ญี่ปุน และประเทศในกลุมสหภาพยุโรป 2.1.3 การสงออก คาดวาการสงออกของโลกอาจเพ่ิมขึ้นกวาปที่ผานมา เน่ืองจากความตองการใชปลาปนของจีน ซ่ึงเปนผูซ้ือรายใหญของโลก ยังมีตอเนื่องประกอบกับสต็อกปลาปนของจีนลดลง 2.2 ของไทย 2.2.1 การผลิต ป 2553 คาดวาการผลิตปลาปนของไทยมีปริมาณใกลเคียงกับปที่ผานมาหรือลดลงเล็กนอย เน่ืองจากวัตถุดิบปลาเปดจากทะเลไทยมีปริมาณลดลงประกอบกับแนวโนมราคานํ้ามันที่ปรับตัวสูงข้ึนตั้งแตชวงปลายป 2552 ทําใหมีจํานวนเรือประมงออกจับปลานอยลง 2.2.2 การตลาด 1) การใชในประเทศ ป 2553 คาดวาความตองการใชปลาปนในประเทศมีปริมาณใกลเคียงกับปที่ผานมาหรือเพิ่มขึ้นเล็กนอย เน่ืองจากมีการใชเล้ียงปศุสัตวและสัตวนํ้าเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะกุงทะเล 2) ราคา ป 2553 คาดวาราคาขายสงปลาปนจะเพ่ิมขึ้นจากการท่ีราคาน้ํามันโนมสูงข้ึน ตั้งแตชวงปลายป 2552 3) การสงออก ป 2553 คาดวาการสงออกปลาปนของไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้น จากการเปดเสรีตามความตกลง AFTA ซ่ึงอัตราภาษีเหลือรอยละ 0 เน่ืองจากการสงออกปลาปนของไทยสวนใหญเปนประเทศในแถบอาเซียน 4) การนําเขา ป 2553 คาดวาการนําเขาปลาปนของไทยมีปริมาณใกลเคียงกับปที่ผานมา เน่ืองจากไมมีการขยายการผลิตกุงกุลาดําและราคาปลาปนโปรตีนสูงกวา 60% โนมสูงข้ึน

Page 146: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

146146

ตารางท่ี 1 บัญชีสมดุลปลาปนของโลก ป 2548-2552

หนวย : ลานตัน

ป การผลิต การบริโภค สงออก นําเขา สต็อกตนป สต็อกปลายป

2548 4.94 5.14 2.73 2.94 0.15 0.15

2549 5.05 4.99 2.59 2.68 0.15 0.30

2550 5.18 5.33 2.84 3.01 0.30 0.32

2551 5.13 5.39 2.73 2.98 0.32 0.31

2552 * 5.14 5.25 2.78 2.85 0.31 0.28

อัตราการขยายตัว 0.96 1.20 0.89 0.44 24.73 13.67

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : FAS. USDA 8/20/2009

ตารางท่ี 2 ปริมาณผลผลิตปลาปนของไทย ป 2548-2552

ปริมาณ : พันตัน, มูลคา : ลานบาท

ป ผลผลิต ความตองการ สงออก3/ นําเขา3/

ปลาปน1/ ใชปลาปน2/ ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา

2548 473 547 26.41 630.95 3.98 75.50

2549 482 427 68.62 2,092.47 4.17 65.07

2550 523 468 41.32 1,227.62 3.53 103.26

2551 426 456 5.57 145.03 0.66 28.64

2552* 500 523 6.00 200.00 1.50 40.00

อัตราการขยายตัว -0.13 -0.24 -42.16 -39.15 -31.58 -18.87

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : 1/ สมาคมผูผลิตปลาปนไทย 2/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3/ กรมศุลกากร

Page 147: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

ปลาปน

147147

ตารางท่ี 3 ราคาปลาเปด ราคาขายสง กทม. และราคาปลาปนตลาดโลก ป 2548-2552

หนวย : บาท/กก.

ขายสงปลาปน กทม.2/ ตลาดโลก3/

ป ปลาเปด1/ ปลาปนโปรตีน โปรตีน ดอลลารสหรัฐ/ตัน

สูงกวา 60% ต่ํากวา 60% เบอร 2

2548 4.61 22.65 20.62 716.84

2549 5.41 28.29 25.73 1,013.75

2550 5.79 25.80 21.45 962.57

2551 8.36 30.74 28.87 942.16

2552* 8.40 31.89 30.89 1,004.76

อัตราการขยายตัว 17.77 7.98 9.68 6.21

หมายเหตุ : * ประมาณการ

ที่มา : 1/ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมการคาภายใน 3/ www.hammersmithltd.blogspot.com

Page 148: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรท่ีสําคัญและแนวโนม ป 2553

148148

Page 149: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สับปะรด

7979

ตารางท่ี 11 ปริมาณ มูลคา และราคาสงออกสับปะรดกระปองของไทย ป 2548 – 2552

ป ปริมาณ (ลานตัน) มูลคา (ลานบาท) ราคา (บาท/กิโลกรัม)

2548 0.49 12,121 24.74

2549 0.59 13,369 22.66

2550 0.52 13,273 25.52

2551 0.56 17,052 30.45

2552 0.45 14,000 31.11

อัตราขยายตัว(%) -2.20 5.46 7.83

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 12 ปริมาณ มูลคา และราคาสงออกน้ําสับปะรดของไทย ป 2548 - 2552

ป ปริมาณ (ลานตัน) มูลคา (ลานบาท) ราคา (บาท/กิโลกรัม)

2548 0.12 4,526 37.72

2549 0.18 5,068 28.16

2550 0.14 4,251 30.36

2551 0.15 5,497 36.65

2552 0.16 6,100 38.13

อัตราขยายตัว(%) 4.01 7.02 2.89

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางท่ี 10 เน้ือท่ีเก็บเก่ียว ผลผลิต ผลผลิตตอไร สับปะรดของไทย ป 2548 - 2552

ป พ้ืนท่ีเก็บเก่ียว (พันไร) ผลผลิต (ลานตัน) ผลผลิตตอไร (ตัน)

2548 614 2.18 3.56

2549 632 2.71 4.28

2550 590 2.19 3.70

2551 582 2.28 3.92

2552 567 1.89 3.34

อัตราขยายตัว(%) -2.39 -4.48 -2.13

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

Page 150: ¸ªถิติโคนม เกษตร2553.pdf · สถานการณ สินค าเกษตรท ี่สําคัญและแนวโน

สถานการณสินคาเกษตรที่สําคัญ

และแนวโนม ป 2553 ISBN 978-974-403-640-7

ISBN 978-974-403-640-7