1
ความแม่นยาของค่าประมาณพันธุกรรมจีโนมสาหรับอายุเมื่อให้ลูกตัวแรก และผลผลิตนานมในประชากรโคนมไทยหลากหลายพันธุAccuracy of G enomic - Polygenic Breeding Values for Age at First Calving and Milk Yield in Thai Multibreed Dairy Cattle Population ทวิรัตน์ ก้อนเครือ 1 , ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ 1 ,* , ธนาทิพย์ สุวรรณโสภี 1 และ เมาริซิโอ เอ เอลโซ 2 Tawirat Konkruea 1 , Skorn Koonawootrittriron 1 ,* , Thanathip Suwanasopee 1 and Mauricio A. Elzo 2 1 ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Chatuchak , Bangkok, 10900 [Animal Breeding and Genetic Consortium of Kasetsart University: ABG - KU] 2 Department of Animal Sciences, University of Florida, Gainesville, FL 32611 - 0910 , USA * Corresponding author: [email protected] อายุเมื่อให้ลูกตัวแรก (Age at first calving; AFC) และผลผลิตนานม (305d milk yield; MY) เป็นลักษณะ ที่มีความสาคัญในธุรกิจโคนม แต่มีการแสดงออกทางพันธุกรรมของลักษณะดังกล่าวตการคัดเลือกลักษณะเหล่านีจึง จาเป็นต้องใช้ค่าประมาณความสามารถทางพันธุกรรม (Estimated breeding value; EBV) ที่มีความแม่นยาสูง ดังนัวัตถุประสงค์ของการศึกษานีจึงมีเพื่อใช้ข้อมูลสนิปส์จีโนมร่วมกับข้อมูลพันธุ์ประวัติและข้อมูลผลผลิต ในการ ประมาณค่า EBV องค์ประกอบความแปรปรวน พารามิเตอร์ทางพันธุกรรม และความแม่นยาของค่า EBV โดยใช้ หุ่นจาลองทางพันธุกรรมจีโนม (Genomic-polygenic model; GPM) เปรียบเทียบกับหุ่นจาลองทางพันธุกรรมดังเดิม (Polygenic model; PM) สาหรับ AFC และ MY ของประชากรโคนมหลากหลายพันธุ์ เพื่อเพิ่มความแม่นยาและช่วย ในการตัดสินใจคัดเลือกโคนมในฟาร์ม จัดเก็บข้อมูล AFC จานวน 9,106 ข้อมูล และ MY จานวน 9,178 ข้อมูล จากโคนมที่ให้ผลผลิตครังแรก ระหว่างปี พ . . 2534 ถึง พ . . 2557 และรวบรวมพันธุประวัติโคนมจานวน 17,516 ตัว ( พ่อโค 1,331 ตัว และแม่โค 16,185 ตัว ) โดยโคนม 2,661 ตัว ที่มีข้อมูลพันธุ์ประวัติและ ผลผลิตครบสมบูรณ์ถูกเก็บตัวอย่างเลือดหรือนาเชือเพื่อ นามาสกัดดีเอ็นเอ และจีโนไทป์โดยใช้ชิปเชิงการค้า แล้ว พยากรณ์ข้อมูลจีโนมโคนมทุกตัวให้มีจานวน 80K (74,144 สนิปส์ ) ด้วยโปรแกรม Fimpute ความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วมของทังสอง ลักษณะถูกประมาณค่าด้วยวิธี AI-REML ในชุดโปรแกรม BLUPF90 โดยใช้ GPM แบบ Single-step และ PM ที่มี กลุ่มฟาร์ม - ปี - ฤดูกาล และเฮทเทอโรซีสเป็นปัจจัยกาหนด และพันธุกรรมแบบบวกสะสม ตัวสัตว์ และความคลาด เคลื่อนเป็นปัจจัยสุ่ม ซึ่งค่าประมาณของความแปรปรวน และความแปรปรวนร่วมถูกนามาใช้ในการประมาณค่า ความแม่นยาของ EBV อัตราพันธุกรรม สหสัมพันธ์ทาง พันธุกรรม และสหสัมพันธ์ของลักษณะปรากฏระหว่าง AFC และ MY ค่าประมาณขององค์ประกอบความแปรปรวน และอัตราพันธุกรรมของ AFC และ MY จาก GPM มีค่าสูง กว่า PM ในขณะที่ค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง AFC และ MY มีค่า ใกล้เคียงกัน ความแม่นยาของ EBV ที่ได้จาก GPM มีค่าสูงกว่า PM โดยเฉพาะความแม่นยาของ EBV สาหรับกลุ่มพ่อพันธุ์ที่ได้ จาก GPM มีค่าสูงกว่า PM มากกว่ากลุ่มแม่พันธุการใช้ข้อมูลจีโนมในการประมาณค่า EBV ด้วย GPM สามารถเพิ่มความแม่นยาสาหรับ AFC และ MY ซึ่งช่วยใน การตัดสินใจคัดเลือกประชากรโคนมไทยหลากหลายพันธุBauer, J., L. Vostrý, J. P ř ibyl, A. Svitáková, and L. Zavadilová. 2014. Approximation of reliability of single-step genomic breeding values for dairy cattle in the Czech Republic. Anim. Sci. Pap. Rep. 32: 301–306. Jattawa, D., M.A. Elzo, S. Koonawootrittriron, and T. Suwanasopee. 2015. Comparison of genetic evaluations for milk yield and fat yield using a polygenic model and three genomic-polygenic models with different sets of SNP genotypes in Thai multibreed dairy cattle. Livest. Sci. 181: 58-64. ความแปรปรวนของลักษณะ ปรากฏและความแปรปรวนร่วมของทังสองหุ่นจาลองมี ค่าใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม ความแปรปรวนทาง พันธุกรรมและความแปรปรวนร่วมของ AFC และ MY จาก GPM มีค่าสูงกว่า PM ในขณะเดียวกัน ความ แปรปรวนของสิ่งแวดล้อมและความแปรปรวนร่วมที่ได้ จาก GPM มีค่าตากว่า PM (Table 1) สหสัมพันธ์ระหว่าง AFC กับ MY จาก GPM คล้ายคลึงกับ PM ในขณะที่ อัตราพันธุกรรมที่ได้จาก GPM (AFC = 0.16 และ MY = 0.25) สูงกว่าที่ได้จาก PM (AFC = 0.15 และ MY = 0.16) (Table 2) อย่างไรก็ตาม อัตรา พันธุกรรมที่ประมาณได้มีค่าตา แสดงว่า การปรับปรุงพันธุสาหรับลักษณะเหล่านีจะช้า เนื่องจากมีความผันแปรจาก สภาพแวดล้อมมาก จาเป็นต้องปรับปรุงด้านอาหารและ การจัดการเพื่อให้โคนมสามารถแสดงความสามารถทาง พันธุกรรมได้ และต้องเก็บรวบรว ข้อมูลผลผลิตและพันธุประวัติที่ถูกต้องเพิ่มมากขึเพื่อเพิ่มความแม่นยาในการ ทานายค่าทางพันธุกรรม ความแม่นยาของค่า EBV ที่ได้จาก GPM (32.95% สาหรับ AFC และ 38.24% สาหรับ MY) มีค่าสูงกว่า PM (32.65% สาหรับ AFC และ 32.99% สาหรับ MY) ซึ่ง GPM ให้ค่าความแม่นยาเพิ่มขึน สาหรับ AFC เท่ากับ 0.31% และ 5.25% สาหรับ MY แต่ความแม่นยาทีเพิ่มขึนนีมีค่าตากว่าในประชากรโคนมอื่นๆ (23% ถึง 32%) อาจเป็นเพราะมีจานวนโคนมที่ถูกจีโนไทป์ (2,661 ตัว ) น้อยกว่าเมื่อเทียบกับประชากรโคนมในการศึกษาอื่น (5,335 ถึง 63,615 ตัว ) ดังนัน ค่าความแม่นยาของการ ประเมินพันธุกรรมจีโนมในประเทศไทยอาจมีแนวโน้ม เพิ่มขึน เนื่องจากโคนมจานวนมากจะถูกจีโนไทป์เพิ่มขึนใน อนาคต นอกจากนี การจีโนไทป์ในการศึกษานีได้ใช้ชิปของ โคเชิงการค้า ซึ่งอาจจะมีสนิปส์บางตาแหน่งที่ไม่มีอิทธิพล กับลักษณะดังกล่าวในประชากรโคนมนี ความแม่นยาของพ่อพันธุ์ที่ได้จาก GPM (31.35% สาหรับ AFC และ 36.25% สาหรับ MY) มีค่าสูงกว่า PM (28.37% สาหรับ AFC และ 28.80% สาหรับ MY) ในทานองเดียวกัน ความแม่นยาของ แม่พันธุ์ที่ได้จาก GPM (33.09% สาหรับ AFC และ 38.41% สาหรับ MY) มีค่าสูงกว่า PM (33.02% สาหรับ AFC และ 33.35% สาหรับ MY) แสดงให้เห็นว่า GPM ช่วยเพิ่มความแม่นยาและช่วยในการ ตัดสินใจคัดเลือกโคนมชันเลิศที่มีความสามารถทางพันธุกรรมที่ดีเด่น และเพิ่มความก้าวหน้าทางพันธุกรรมสาหรับลักษณะเหล่านี 0.31 % 5.25 % Table 1 Variance components for AFC and MY estimated using PM and GPM Table 2 Parameters for AFC and MY estimated with PM and GPM Pedigree Phenotyp e SNP Genome Accuracy G EBV

ความแม่นย าของค่าประมาณ ...animal.ifas.ufl.edu/elzo/presentations/regular/docs/2017...พ นธ กรรมท ประมาณได

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความแม่นย าของค่าประมาณ ...animal.ifas.ufl.edu/elzo/presentations/regular/docs/2017...พ นธ กรรมท ประมาณได

ความแม่นย าของค่าประมาณพันธุกรรมจีโนมส าหรับอายุเมื่อให้ลูกตัวแรกและผลผลิตน านมในประชากรโคนมไทยหลากหลายพันธุ์ Accuracy of Genomic-Polygenic Breeding Values for Age at First Calvingand Milk Yield in Thai Multibreed Dairy Cattle Populationทวิรัตน์ ก้อนเครือ1, ศกร คุณวุฒิฤทธิรณ1,*, ธนาทิพย์ สุวรรณโสภ1ี และ เมาริซิโอ เอ เอลโซ2

Tawirat Konkruea1, Skorn Koonawootrittriron1,*, Thanathip Suwanasopee1 and Mauricio A. Elzo21 ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจักร กรุงเทพฯ 10900Department of Animal Science, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Chatuchak, Bangkok, 10900[Animal Breeding and Genetic Consortium of Kasetsart University: ABG-KU]

2 Department of Animal Sciences, University of Florida, Gainesville, FL 32611-0910, USA* Corresponding author: [email protected]

อายุเมื่อให้ลูกตัวแรก (Age at first calving; AFC) และผลผลิตน านม (305d milk yield; MY) เป็นลักษณะที่มีความส าคัญในธุรกิจโคนม แต่มีการแสดงออกทางพันธุกรรมของลักษณะดังกล่าวต่ า การคดัเลือกลักษณะเหล่านี จึงจ าเป็นต้องใช้ค่าประมาณความสามารถทางพันธุกรรม (Estimated breeding value; EBV) ที่มีความแม่นย าสูงดังนั น วัตถุประสงค์ของการศึกษานี จึงมีเพื่อใช้ข้อมูลสนิปส์จีโนมร่วมกับข้อมูลพันธุ์ประวัติและข้อมูลผลผลิต ในการประมาณค่า EBV องค์ประกอบความแปรปรวน พารามิเตอร์ทางพันธุกรรม และความแม่นย าของค่า EBV โดยใช้หุ่นจ าลองทางพันธุกรรมจีโนม (Genomic-polygenic model; GPM) เปรียบเทียบกับหุ่นจ าลองทางพันธุกรรมดั งเดิม(Polygenic model; PM) ส าหรับ AFC และ MY ของประชากรโคนมหลากหลายพันธุ์ เพื่อเพิ่มความแม่นย าและช่วยในการตัดสินใจคัดเลือกโคนมในฟาร์ม

จัดเก็บข้อมูล AFC จ านวน 9,106 ข้อมูล และ MY จ านวน 9,178 ข้อมูล จากโคนมที่ให้ผลผลิตครั งแรก ระหว่างปี พ.ศ. 2534 ถึง พ.ศ. 2557 และรวบรวมพันธุ์ประวัติโคนมจ านวน 17,516 ตัว (พ่อโค 1,331 ตัว และแม่โค 16,185 ตัว) โดยโคนม 2,661 ตัว ที่มีข้อมูลพันธุ์ประวัติและผลผลิตครบสมบูรณ์ถูกเก็บตัวอย่างเลือดหรือน าเชื อเพื่อน ามาสกัดดีเอ็นเอ และจีโนไทป์โดยใช้ชิปเชิงการค้า แล้วพยากรณ์ข้อมูลจีโนมโคนมทุกตัวให้มีจ านวน 80K (74,144สนิปส์) ด้วยโปรแกรม Fimpute

ความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วมของทั งสองลักษณะถูกประมาณค่าด้วยวิธี AI-REML ในชุดโปรแกรม BLUPF90 โดยใช้ GPM แบบ Single-step และ PM ที่มีกลุ่มฟาร์ม-ปี-ฤดูกาล และเฮทเทอโรซีสเป็นปัจจัยก าหนด และพันธุกรรมแบบบวกสะสม ตัวสัตว์ และความคลาดเคลื่อนเป็นปัจจัยสุ่ม ซึ่งค่าประมาณของความแปรปรวนและความแปรปรวนร่วมถูกน ามาใช้ในการประมาณค่าความแม่นย าของ EBV อัตราพันธุกรรม สหสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และสหสัมพันธ์ของลักษณะปรากฏระหว่าง AFC และ MY

ค่าประมาณขององค์ประกอบความแปรปรวนและอัตราพันธุกรรมของ AFC และ MY จาก GPM มีค่าสูงกว่า PM ในขณะที่ค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง AFC และ MY มีค่าใกล้เคียงกัน

ความแม่นย าของ EBV ที่ได้จาก GPM มีค่าสูงกว่า PM โดยเฉพาะความแม่นย าของ EBV ส าหรับกลุ่มพ่อพันธุ์ที่ได้จาก GPM มีค่าสูงกว่า PM มากกว่ากลุ่มแม่พันธุ์

การใช้ข้อมูลจีโนมในการประมาณค่า EBV ด้วย GPM สามารถเพิ่มความแม่นย าส าหรับ AFC และ MY ซึ่งช่วยในการตัดสินใจคัดเลือกประชากรโคนมไทยหลากหลายพันธุ์

Bauer, J., L. Vostrý, J. Přibyl, A. Svitáková, and L. Zavadilová.2014. Approximation of reliability of single-step genomic breeding values for dairy cattle in the Czech Republic. Anim. Sci. Pap. Rep. 32: 301–306.

Jattawa, D., M.A. Elzo, S. Koonawootrittriron, and T. Suwanasopee. 2015. Comparison of genetic evaluations for milk yield and fat yield using a polygenic model and three genomic-polygenic models with different sets of SNP genotypes in Thai multibreed dairy cattle. Livest. Sci. 181: 58-64.

ความแปรปรวนของลั กษณะปรากฏและความแปรปรวนร่วมของทั งสองหุ่นจ าลองมีค่าใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม ความแปรปรวนทางพันธุกรรมและความแปรปรวนร่วมของ AFC และ MYจาก GPM มีค่าสูงกว่า PM ในขณะเดียวกัน ความแปรปรวนของสิ่งแวดล้อมและความแปรปรวนร่วมที่ได้จาก GPM มีค่าต่ ากว่า PM (Table 1)

สหสัมพันธ์ระหว่าง AFC กับ MY จาก GPMคล้ายคลึงกับ PM ในขณะที่ อัตราพันธุกรรมที่ได้จาก GPM(AFC = 0.16 และ MY = 0.25) สูงกวา่ที่ได้จาก PM (AFC= 0.15 และ MY = 0.16) (Table 2) อย่างไรก็ตาม อัตราพันธุกรรมที่ประมาณได้มีค่าต่ า แสดงว่า การปรับปรุงพนัธุ์ส าหรับลักษณะเหล่านี จะช้า เนื่องจากมีความผันแปรจากสภาพแวดล้อมมาก จ าเป็นต้องปรับปรุงด้านอาหารและการจัดการเพื่อให้โคนมสามารถแสดงความสามารถทางพันธุกรรมได้ และต้องเก็บรวบรว ข้อมูลผลผลิตและพันธุ์ประวัติที่ถูกต้องเพิ่มมากขึ น เพื่อเพิ่มความแม่นย าในการท านายค่าทางพันธุกรรม

ความแม่นย าของค่า EBV ที่ ได้จาก GPM (32.95% ส าหรับ AFC และ 38.24% ส าหรับ MY) มีค่าสูงกว่า PM(32.65% ส าหรับ AFC และ 32.99% ส าหรับ MY) ซึ่ง GPM ให้ค่าความแม่นย าเพิ่มขึ น ส าหรับ AFC เท่ากับ 0.31% และ 5.25% ส าหรับ MY แต่ความแม่นย าที่เพิ่มขึ นนี มีค่าต่ ากว่าในประชากรโคนมอื่นๆ (23% ถึง 32%) อาจเป็นเพราะมีจ านวนโคนมที่ถูกจีโนไทป์ (2,661 ตัว) น้อยกว่าเมื่อเทียบกับประชากรโคนมในการศึกษาอื่น (5,335 ถึง 63,615 ตัว) ดังนั น ค่าความแม่นย าของการประเมินพันธุกรรมจีโนมในประเทศไทยอาจมีแนวโน้มเพิ่มขึ น เนื่องจากโคนมจ านวนมากจะถูกจีโนไทป์เพิ่มขึ นในอนาคต นอกจากนี การจีโนไทป์ในการศึกษานี ได้ใช้ชิปของโคเชิงการค้า ซึ่งอาจจะมีสนิปส์บางต าแหน่งที่ไม่มีอิทธิพลกับลักษณะดังกล่าวในประชากรโคนมนี

ความแม่นย าของพ่อพันธุ์ที่ได้จาก GPM (31.35% ส าหรับ AFC และ 36.25% ส าหรับ MY) มีค่าสูงกว่า PM (28.37% ส าหรับ AFC และ 28.80% ส าหรับ MY) ในท านองเดียวกัน ความแม่นย าของแม่พันธุ์ที่ได้จาก GPM (33.09% ส าหรับ AFC และ 38.41% ส าหรับ MY) มีค่าสูงกว่า PM (33.02% ส าหรับ AFC และ 33.35% ส าหรับMY) แสดงให้เห็นว่า GPM ช่วยเพิ่มความแม่นย าและช่วยในการตัดสินใจคัดเลือกโคนมชั นเลิศที่มีความสามารถทางพันธุกรรมที่ดีเด่น และเพิ่มความก้าวหน้าทางพันธุกรรมส าหรับลักษณะเหล่านี

0.31%5.25%

Table 1 Variance components for AFC and MY estimated using PM and GPM

Table 2 Parameters for AFC and MY estimated with PM and GPM

PedigreePhenotyp

e

SNP Genome

AccuracyGEBV