36
ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา การศึกษาชนิด จํานวน และความหนาแนนของสัตวหนาดินในปาชายเลน ธรรมชาติเปรียบเทียบกับแปลงปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ในพื้นที่จังหวัดระนอง Comparison on Species Composition, Number and Density of Benthos in Natural and Plantation Mangrove in Ranong Province โอฬาร ฤกษรุจิพิมล OLAN RERKRUCHIPHIMON ตําแหนง นักวิชาการปาไม ระดับ 5 ขอประเมินเปนตําแหนง นักวิชาการปาไม ระดับ 6สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที4 (สุราษฎรธานี) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ..2551

การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา

การศึกษาชนิด จํานวน และความหนาแนนของสัตวหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติเปรียบเทียบกับแปลงปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ

ในพื้นที่จังหวัดระนอง

Comparison on Species Composition, Number and Density of Benthos in Natural and Plantation Mangrove in Ranong Province

โอฬาร ฤกษรุจิพิมล OLAN RERKRUCHIPHIMON

ตําแหนง นักวิชาการปาไม ระดับ 5 ขอประเมินเปนตําแหนง นักวิชาการปาไม ระดับ 6ว

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 4 (สุราษฎรธานี) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

พ.ศ.2551

Page 2: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

การศึกษาชนดิ จํานวน และความหนาแนนของสัตวหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติเปรียบเทยีบกับแปลงปลกูปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรตฯิ ในพื้นที่จังหวดัระนอง

โอฬาร ฤกษรุจิพิมล1/

บทคัดยอ

การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาจํานวน ชนิด ความหนาแนนและลักษณะการกระจายของสัตวหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติ ในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑล บานหาดทรายขาว อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง และในแปลงปลูกฟนฟูปา (FPT) อายุ 3 ป ตําบลราชกรูด อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง และศึกษาความสามารถในการชักนําประชาคมสัตวหนาดินของแปลงปลูกปาที่ปลูกไมชนิดเดียวที่อายุ 3 ป เก็บขอมูลในเดือนเมษายน 2547 ใน 3 แปลงตัวอยาง แปลงละ 3 จุดโดยสุม รวมท้ังหมด 9 จุด โดยใชตารางสี่ เหลี่ ยมขนาด 100X100 ซ.ม.2 เก็บตัวอยางสัตวหนาดินที่มองเห็นใสในถุงเก็บตัวอยาง แลวขุดดินในตารางสี่เหลี่ยม ลึกจากผิวดินประมาณ 15 ซ.ม. มารอนผานตะแกรงที่มีขนาดตา 0.5 ม.ม. ตัวอยางสัตวหนาดินทั้งหมดนํามาเก็บรักษาดวยเมทิลแอลกอฮอล ความเขมขน 30 เปอรเซ็นต เพื่อจําแนกชนิดและนับจํานวน

จาก 9 จุดตัวอยาง พบสัตวหนาดินรวม 23 ชนิด จํานวน 360 ตัว ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 40 ตัว/ม2กระจายอยูใน 4 ไฟลัม คือ อารโทโพดา มอลลัสกา แอนนิลิดา และไซพูนคูลา ปาชายเลนธรรมชาติมีคาความชุกชุมสูงที่สุดเทากับ 8.411 (18 ชนิด 3 ไฟลัม) ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 35 ตัว/ม2 และมีคาความสม่ําเสมอต่ําที่สุดเทากับ 0.507 จึงทําใหคาดรรชนีความหลากหลายคอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับแปลงปลูกปาอายุ 3 ป คือเทากับ 0.636 แปลงปลูกโกงกางใบเล็กมีคาความชุกชุมเทากับ 4.627 (11 ชนิด 4 ไฟลัม) ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 48 ตัว/ม2 ความสม่ําเสมอเทากับ 0.787 และคาดรรชนีความหลากหลายเทากับ 0.820 แปลงปลูกโปรงแดงพบสัตวหนาดินจํานวน 12 ชนิด ใน 4 ไฟลัม ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 37 ตัว/ม2 ความชุกชุมเทากับ 5.388 และคาความสม่ําเสมอสูงที่สุดเทากับ 0.841 จึงทําใหคาดรรชนีความหลากหลายสูงที่สุดเทากับ 0.908 ผลท่ีไดสนับสนุนทฤษฎีการรบกวนหรือความเครียดปานกลาง ปูกามดาบชนิด Uca spinnata เปนชนิดพันธุเดนในทั้ง 3 แปลงตัวอยาง หนอนถั่วพบเฉพาะในแปลงปลูกปา FPT สวนตัวออนของแมลงทุกชนิดพบ เฉพาะในแปลงปาธรรมชาติ

การศึกษาน้ีแสดงใหเห็นวาแปลงปลูกปาชายเลนที่มีพันธุไมเพียงชนิดเดียวมีศักยภาพเพียงพอในการชักนําใหเกิดประชาคมสัตวหนาดิน ท้ังในแงการกระจาย ความหนาแนนและดรรชนีความหลากหลาย ถึงแมวาความชุกชุมทางชนิดพันธุคอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับปาธรรมชาติ ซ่ึงอาจเพิ่มสูงขึ้นเมื่อไมปาชายเลนมีอายุมากขึ้น แตอยางไรก็ตามการพัฒนาและการเจริญเติบโตของพันธุไมปาชายเลนที่ปลูกในอนาคตอาจนํามาซ่ึงการพัฒนาลักษณะ จํานวนและองคประกอบของประชาคมสัตวหนาดินในบริเวณนั้น ท้ังนี้ขึ้นอยูกับแหลงที่อยูอาศัยและหลบภัย แหลงอาหารและการรบกวนในพื้นที่

คําหลัก: ปาชายเลน แปลงปลูกปาชายเลน สัตวหนาดิน ดรรชนีความหลากหลาย 1/ นักวิชาการปาไม 5 สวนฟนฟูและพัฒนาพืน้ที่อนุรักษ สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 4(สุราษฎรธานี)

Page 3: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

Comparison on Species Composition, Number and Density of Benthos in Natural and Plantation Mangrove in Ranong Province

Olan Rerkruchiphimon1/ Abstract

This study aims to survey species composition, numbers, distribution, and density of benthos in natural mangroves (Core Area -3 in Biosphere Reserved at Haad Sai Khao village) and 3-years old mangrove plantation (FPT), Ranong Province. Data were collected in April, 2004 within three sample plots with 3 replications and completely randomized method. Quadrate sampling of 1 x1 m2 was used and benthos found from soil surface were collected. For species classification and numbers of species in subsurface, soils taken from a quadrate with 15 cm depth were kept separately, then flitted and washed with 0.5 mm aluminum sieves. Each benthos species were registered and kept in 30% methyl alcohol.

From 9 stations, there were 360 benthoses found with average density of 40 benthos/m2 within 23 species of 4 Phylum; Artropoda, Mollusca, Annilida, and Sipuncula. In natural mangrove sample plots, species richness value was highest of 8.411 with 18 species in 3 phylum. The average density was 35 benthos/m2 but showed the lowest in evenness value and species diversity index of 0.507 and 0.63, respectively. In R. apiculata plantation, species richness value was 4.627 (11 species 4 phylum) with average density of 48 benthos/m2. The evenness and diversity index value were 0.787 and 0.820, respectively. In C. tagal plantation, 12 species of benthos from 4 phylum were found with average density of 37 benthos/m2. The species richness was 5.388, and were highest in evenness of 0.841 making highest in species diversity index with 0.908. Results supported the intermediate disturbance hypothesis. Uca spinnata was the dominant specie found in all 3 sample sites. Sipuncula spp. was found only in plantation sites while insect larvae were found only in natural site.

This study reveals that 3-yeas old mangrove plantations could induce fertile benthos community in term of distribution, density and diversity index. Even though species diversity was low compared to natural mangrove stand, it was expected that the diversity would be higher when the stand is getting older. Growth and development of mangrove stands could change the composition of benthos characteristics, depending on habitat, food source, and disturbed conditions. Key word: Mangroves, Plantation, Benthos, Species diversity index 1/ Technical Forest Official, Protected Areas Rehabitation and Development Division, Protect Area Administration Office 4 (Surat Thani)

Page 4: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษานี้สําเร็จลุลวงเปนอยางดี เพราะไดรับความอนุเคราะหจากสถานีวิจัยและพฒันาทรัพยากรปาชายเลนที่ 1 (ศูนยวจิัยปาชายเลนระนอง) ดร.วิจารณ มีผล เอื้อเฟอและอํานวยความสะดวกในการเก็บขอมูลในปาชายเลนธรรมชาติบริเวณเขตสงวนชีวมณฑล และตะแกรงรอนสัตวหนาดิน คุณสุภัทรา โพธิ์สิงห ชวยในการคัดแยกเบื้องตนและถายภาพสัตวหนาดนิ และคุณสุชาต ิ สงาอารียรักษ ศูนยวิจยัทางทะเลและชายฝงอาวไทยตอนบน ที่ใหความอนุเคราะหการสืบคนชื่อวทิยาศาสตร รวมถงึเจาหนาทีท่ี่มีสวนเกี่ยวของทกุทาน จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี ้

โอฬาร ฤกษรุจิพิมล เมษายน 2551

Page 5: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

(1)

สารบัญ

หนา บทคัดยอ (ก) Abstract (ข) กิตติกรรมประกาศ (ค) สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) คํานํา 1 วัตถุประสงค 2 การตรวจเอกสาร 2 วิธีการศึกษา 10 ผลและวิจารณ 16 สรุป 26 ขอเสนอแนะ 27 เอกสารและสิง่อางองิ 28

Page 6: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

(2)

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา

1 ชนิดของสัตวทะเลหนาดินที่พบในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท 17 2 สัตวหนาดินทีพ่บในแปลงปาชายเลนธรรมชาต ิ 22 3 สัตวหนาดินทีพ่บในแปลงปลูกปาโกงกางอายุ 3 ป 23 4 สัตวหนาดินทีพ่บในแปลงปลูกปาโปรงแดงอาย ุ3 ป 24

Page 7: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

(3)

สารบัญภาพ

ภาพที ่ หนา

1 บริเวณปาชายเลนธรรมชาต ิบานหาดทรายขาว (Core Area3) 10 2 แผนที่แสดงตาํแหนงแปลงปลูกปา FPT จังหวัดระนอง ระวาง 4728 IV เนื้อที่

บํารุงปา 406 ไร 11 3 บริเวณแปลงปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกยีรติ์ FPT 11 4 แปลงปลูกโปรงแดง อายุ 3 ป 12 5 แปลงปลูกปาโกงกาง อายุ 3 ป 12 6 ตัวอยางสัตวหนาดนิทีพ่บในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท 18-19 7 จํานวนชนิดของสัตวทะเลหนาดนิทีพ่บในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท 20 8 ความหนาแนนของสัตวหนาดินที่พบในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท 20 9 ลักษณะการกระจายของสัตวหนาดนิทีพ่บในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท 21

Page 8: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

การศึกษาชนิด จํานวน และความหนาแนนของสัตวหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติเปรียบเทียบกับแปลงปลูกปาชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ

ในพื้นที่จังหวัดระนอง

Comparison on Species Composition, Number and Density of Benthos in Natural and Plantation Mangrove in Ranong Province

คํานํา

เปนทีท่ราบกนัดีวาปาชายเลนเปนระบบนิเวศที่เชื่อมตอระหวางระบบนิเวศบนบกและระบบนเิวศในน้าํที่สําคัญยังเปนแหลงปองกนัคลื่นลม เกบ็กกัพลังงานแสงอาทิตย ดูดซับคารบอนไดออกไซดในอากาศเก็บกักไวในรูปของเนื้อไม พลงังาน และธาตุอาหารใหเกิดการหมุนเวยีนเปนวัฎจักรตางๆ ตอไป เชน วฎัจักรคารบอน ไนโตรเจน และหวงโซอาหาร เปนตน รวมทัง้เปนแหลงที่อยูอาศัย อนุบาลและเพาะพนัธุสัตวน้ํา การบุกรุกทาํลายปาชายเลนจงึสงผลกระทบตอระบบนิเวศอื่นๆที่เกีย่วของดวย ความเสื่อมโทรมของปาชายเลน นาํมาซึง่การลดลงของจํานวนและชนิดของสัตวน้าํ คุณภาพน้าํในลาํคลอง และมีผลกระทบตอวิถีชวีิตของชุมชนชายฝงอยางหลีกเลี่ยงไมได ดวยความตระหนกัถงึผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงมคีวามพยายามที่จะฟนฟูปาชายเลนในหลายๆลักษณะ เชน การปลูกปาชายเลนแบบประชาอาสาในวนัสําคัญและโอกาสตางๆ โครงการปลกูฟนฟูโดยภาครัฐและองคกรเอกชน จนกระทั่งเกิดมีโครงการการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัเนื่องในวโรกาสทรงครองราชยปที ่50 ซึ่งมีการปลูกปาทั่วประเทศทัง้ปาบกและปาชายเลน

จากสมมติฐานวา จาํนวน ชนิดและความหลากหลายของสัตวหนาดิน ข้ึนอยูกับความอุดมสมบูรณของปาชายเลน นอกจากนีสั้ตวหนาดนิบางชนิดยงัใชเปนดรรชนีบงชีถ้งึความอุดมสมบูรณของปาชายเลนและสภาพแวดลอมอีกดวย และเพื่อเปนการสนับสนุนวาการปลกูฟนฟูปาชายเลนไดเอื้ออํานวยประโยชนแกระบบนิเวศหลายประการ นอกเหนือจากพื้นที่ปาที่เพิม่ข้ึนแลวยังชวยเพิม่ความอุดมสมบูรณทั้งในดานจํานวนและชนิดของสัตวหนาดนิซึ่งเปนสวนหนึ่งของระบบนเิวศและหวงโซอาหารในฐานะผูบริโภคลําดับตนที่จะเจรญิเติบโตไปเปนอาหารของเคย หอย ปู ปลา และมนุษยซึ่งเปนผูบริโภคลําดับสุดทาย

Page 9: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

2

วัตถุประสงค

1. เพื่อศึกษาจํานวน ชนิด ความหนาแนนและลักษณะการกระจายของสัตวหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติ และในแปลงปลูกฟนฟูปาอายุ 3 ป (แปลงปลูกโปรงแดงและโกงกางใบเล็กอายุ 3 ป)

2. เพื่อศึกษาถึงความสามารถในการชักนําประชาคมสัตวหนาดินของแปลงปลูกปาที่ปลูกไมชนิดเดียว (Monoculture) ที่อายุ 3 ป

การตรวจเอกสาร

ลักษณะภูมิอากาศ

จังหวัดระนองตั้งอยูในเขตภูมิอากาศแบบฝนเมืองรอน (Tropical rain climate) ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวนัตกเฉียงใตระหวางเดือนพฤษภาคม ถงึเดอืนตุลาคม ซึง่จะทําใหมีฝนตกชุก และไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในระหวางเดือนพฤศจิกายนถงึเดือนกุมภาพันธ แตจะมีปริมาณน้ําฝนจะนอยเนื่องจากมีเทือกเขาภูเก็ตกั้นระหวางกลาง

ลักษณะทางสมุทรศาสตร

ชายฝงทะเลดานทิศตะวนัตกของประเทศไทยซึ่งติดกับทะเลอนัดามนั เกดิจากการจมตัว (Submerged) ของชายฝงทะเลอนัเนื่องมาจากการเกิดรอยเลื่อน (Faults) ตางๆ ในแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทร ทําใหเกิดพืน้ที่ดินเลนที่มีอาณาเขตกวางขวาง และไดรับอิทธิพลจากการทวมถงึของน้าํทะเลอยูเปนประจาํ โดยมกีารขึ้นลงของน้าํทะเลวันละ 2 คร้ัง หรือน้าํขึ้นน้ําลงเปนแบบน้าํคู (Semidiurnal tide)

ปาชายเลน

ความหมายของปาชายเลน

ปาชายเลน เปนกลุมของสงัคมพืชที่ข้ึนอยูในบริเวณที่เปนดินเลน หรือดินเลนปนทรายตามชายฝงทะเล ปากแมน้าํหรืออาว ทีม่ีระดับน้ําทะเลทวมถึง หรือเปนทีท่ราบกนัโดยทั่วไปวาเปนบริเวณพื้นทีน่้าํกรอยทัง้ในแถบโซนรอนและกึ่งโซนรอน ปาชายเลนเปนปาประเภทไมผลัดใบประกอบ ดวยพนัธุไมหลายชนิด ซึ่งพืชในปาชายเลนสามารถปรบัตัวทัง้ลักษณะภายนอกและภายในเพื่อใหเขากับปจจัยสภาวะแวดลอม

Page 10: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

3คุณคาและความสําคัญของปาชายเลน

ปาชายเลนเปนแหลงทรัพยากรสิ่งมชีีวิตทัง้พืชและสัตวที่มีประโยชนแกมนษุยหลายอยาง ทั้งในดานพลังงานและไมใชสอย อีกทั้งยังเปนแหลงผลิตอาหารโปรตีนที่สําคัญ เนื่องจากปาชายเลนเปนแหลงที่วางไข เปนแหลงที่อุดมไปดวยสารอินทรยีที่เปนอาหารของสิ่งมีชวีิต โดยเฉพาะอยางยิง่ใบไมที่รวงหลนในปาชายเลนจะเปนอาหารสําหรับสัตวจาํพวก ปู เคย หอย และของสัตวน้าํเศรษฐกิจนานาชนิด ปาชายเลนยังเปนที่อยูอาศยัของสัตวบกมากมายทั้งสตัวเลี้ยงลกูดวยนม เชน ลิง นก สัตวเลื้อยคลานสัตวสะเทนิน้ําสะเทนิบก และแมลง (สนิท, 2542)

ปาชายเลนยังเปนระบบนิเวศที่มีลักษณะโครงสรางพชืทีม่ีความพิเศษ เชน ตนโกงกางที่มีรากค้าํจุน ซึ่งจะมีประโยชนคือเปนแหลงสะสมอนิทรียวัตถุทีม่ีความสําคัญ เปนแหลงกักเก็บตะกอนและ ส่ิงปฏิกูลตางๆ ที่พัดพามาตามกระแสน้ํา และมีประโยชนในดานการอนุรักษพื้นที่ชายฝงทะเล ซึง่เปนแหลงกาํบงัภัยตามธรรมชาติ ปองกันมรสุมและยังทําใหแผนดินบริเวณชายฝงทะเลงอกขยายออกไปในทะเล ระบบนิเวศภายในปาชายเลนเปนระบบที่มีความสําคญัตอระบบนิเวศอื่นทีเ่กี่ยวของกันโดยเฉพาะความสําคัญในการักษากําลงัผลิตของประมงชายฝง ความสัมพันธระหวางปาชายเลนกับทรัพยากรประมงนัน้จะเปนความสัมพันธในรูปของหวงโซอาหารเปนสําคัญ โดยที่สัตวหนาดินจําพวกหอย ปูและไสเดือนทะเล (Polychaetes) จะมีบทบาทในการเปนผูบริโภคขั้นตน และกอใหเกิดหวงโซอาหารในลําดบัตอไป

สัตวทะเลหนาดิน

ความหมายของสัตวทะเลหนาดิน

สัตวทะเลหนาดิน คือ สัตวทะเลทัง้ที่ไมมกีระดูกสันหลงั (Invertebrate) และมีกระดกูสันหลงั ที่อาศัยอยูบริเวณพื้นทะเลรวมทัง้พวกที่อาศัยอยูบนพืน้ดนิ (Epifauna) พวกที่ฝงตัวอยูในดิน (Infauna) และพวกทีห่ากนิบนพื้นทะเล เชนปลาตนี พวกที่อาศัยอยูบนพืน้ทะเลไดแก ปูแสม ปูกามดาบ หอยขี้นก หอยขี้กา และเคยดดีขัน สวนพวกที่ฝงตวัอยูในดิน ไดแก หอยแครง ไสเดือนทะเล (polycheate) และหนอนถัว่ การจาํแนกสัตวหนาดินสามารถจาํแนกตามชนิดและขนาด ซึ่งสัตวหนาดินที่สามารถมองเหน็ดวยตาเปลา มีขนาดตั้งแต 0.5 มิลลิเมตร จัดเปนพวกสัตวทะเลหนาดินขนาดใหญ (Macrofauna) สวนสตัวทะเลหนาดนิขนาดเลก็ (Meiofauna) ตองสองดวยกลองจุลทรรศนจึงจะสามารถมองเห็นได เชน พวกไสเดือนทะเล หนอนตัวกลม ซึ่งสัตวทะเลหนาดินขนาดเล็กจะสามารถพบไดเฉพาะผิวหนาดินลึกไมเกนิ 10 เซนติเมตร การแบงกลุมสัตวทะเลหนาดินในปาชายเลน สามารถแบงออกไดเปนกลุมที่อาศัยในปาชายเลนแบบถาวร (True resident) เชน ปูกามดาบ ปูแสม และปลาตีน สัตวกลุมนี้จะพบตลอดวงจรชวีิตของมันนบัต้ังแตเปนตัวออน จนถึงตวัเต็มวยัในปาชายเลน

Page 11: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

4องคประกอบของสัตวทะเลหนาดินในปาชายเลน

1. กลุมสัตวทะเลหนาดินขนาดเล็ก

สัตวทะเลหนาดินขนาดเลก็ในปาชายเลน (Meiofauna) เร่ิมตั้งแตพวกโปรโตซัวจนถึงสัตวทะเลหนาดินขนาดใหญ พบในปาชายเลนมีขนาดตั้งแต 63 - 1,000 ไมโครเมตร ประกอบดวยพวกไสเดือนตัวกลม หรือหนอนตัวกลม (Nematods) หนอนถั่ว (Sipunculids) โคพีพอด (Copepods) และไสเดือนทะเล (Polycheate) บทบาทของสตัวหนาดินขนาดเล็กสวนใหญเปนพวกกนิซากอนิทรียสารจึงชวยในการยอยอินทรยีสารและการหมุนเวยีนธาตุอาหาร หนอนตัวกลมเปนกลุมเดนของสัตวทะเลหนาดินขนาดเลก็ในปาชายเลนสามารถพบกระจายทั่วไปและพบจํานวนมาก ซึ่งสัตวกลุมนี้สามารถพบไดในดินตะกอนทุกลักษณะและสามารถทนอยูไดในดินที่มีออกซิเจนต่ํา นอกจากนี้ยังพบชนิดและความหนาแนนของสัตวกลุมนี้แตกตางกนัตามระดับความลกึและตามอายขุองปา พบวาความหนาแนนของสัตวทะเลหนาดินขนาดเลก็มแีนวโนมมากขึน้เมื่อปาชายเลนมีอายุมากขึ้น ความเค็ม ปริมาณอินทรียสารและลักษณะดนิตะกอนเปนปจจัยสิ่งแวดลอมที่สําคัญในการกาํหนดความหนาแนนและการกระจาย ของสัตวทะเลหนาดินกลุมนี ้(ณิฏฐารัตน และคณะ, 2540)

2.กลุมสัตวทะเลหนาดินขนาดใหญ

สัตวทะเลหนาดินขนาดใหญที่เปนกลุมเดนในปาชายเลน ไดแก ไสเดือนทะเล ครัสตาเซียน และหอย ไสเดือนทะเลเปนสัตวหนาดินกลุมเดนกลุมหนึ่งในปาชายเลน สัตวกลุมนี้มีขนาดเล็ก วงจรชีวิตสั้น พบปริมาณมากในปาชายเลนที่มกีารเปลี่ยนแปลงสภาพ เชน นาเคยราง เหมืองแรราง และปาเสื่อมโทรมที่มกีารบุกรุกแผวถางหรือไดรับผลกระทบจากน้ําเสียชุมชน การเสื่อมสภาพของปาชายเลน สงผลโดยตรงตอชนิดและปริมาณสัตวที่อาศัยอยูในบริเวณปาชายเลน จะมีเพยีงสัตวทะเลบางกลุมเทานั้นทีท่นตอการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม หอยสองฝาและหอยฝาเดียวมีบทบาทในการถายทอดพลงังานในระบบนเิวศปาชายเลนพบกระจายอยูตามบริเวณตางๆในปาชายเลน โดยขึ้นกับความสามารถ ในการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม และสัตวทะเลหนาดินกลุมสําคัญที่พบในปาชายเลนไดอีกกลุมหนึง่ คือ พวกครัสตาเซียน ซึ่งพบมากและมีความหลากหลาย โดยเฉพาะพวกเคย ปู เพรียง โคพีพอด ไอโซพอด และแอมฟพอด ซึ่งไอโซพอด และแอมฟพอด มีสวนในการยอยสลายอนิทรียสารในปาชายเลน เชนเดียวกับปูกามดาบและปูแสม ปูที่พบในปาชายเลนสามารถแบงเปน 2 กลุมใหญ คือ พวกที่ฝงตัวหรือขุดรูหรืออยูตามพืน้ดนิ ปูมีอิทธิพลตอโครงสรางและความอดุมสมบูรณของปาชายเลน ปูแสมหลายชนิดจะมีพฤติกรรมฝงใบไมไวในดนิซึ่งทําใหมีปริมาณอินทรียสารสะสมในบรเิวณปามากขึน้ (ณิฏฐารัตน และคณะ, 2540)

Page 12: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

5การจาํแนกสตัวหนาดินตามไฟลัมตางๆ

ไฟลมัแอนนลิิดา

มีสมาชกิมากกวา 10,000 ชนิด และชั้นที่สําคัญไดแก Class Polychaeta ซึ่งมีสมาชิกเปนพวกไสเดอืนทะเลหรือโพลีขีต (Polycheate) ซึ่งมีจํานวนมากและมีความหลากหลายทางชนิดสูง จะพบฝงตัวอยูในพืน้โคลน ทราย รวมทั้งสรางทอหรือฝงตัวถาวร ลักษณะเดนของไฟลัมนี ้ คือลําตัวจะมีลักษณะเปนปลอง และมรีะยางขางตัวที่เรียกวา พาราโปเดียม ซึง่เปนสวนที่มีขน เปนลกัษณะเดน สวนใหญจะกนิอาหารซากอนิทรียที่สะสมบนพืน้ หรือที่เรียกวาพวก deposit feeder

ไฟลมัมอลลสักา

เปนสิ่งมีชีวิตจาํพวกหอย ซึง่แบงเปนหอยสองฝาหรือหอยกาบคู (Bivalvia) มีลักษณะเดนคือ มีเปลอืกสองฝาประกบคลุมลําตัว เชื่อมติดดวยบานพับ พบกระจายทั่วไปในทะเลและชายฝง โดยเกาะติดกบัโขดหิน กอนหิน หรืออาศยัอิสระตามพืน้ทรายและโคลน หอยฝาเดียว มีลักษณะเดนคือ ลําตัวปกคลุมดวยเปลือกฝาเดียวทีม่ีรูปรางหลากหลาย ทั้งที่มีลักษณะเปนเกลียว (spiral) รูปกรวยคว่ําหรือแบน จะอาศัยอยูบนโขดหิน กอนหินหรือรอยแยกของหนิ หญาทะเล ปาชายเลน บนหาดเลนและหาดทราย ซึ่งสวนมากแพรกระจายอยางกวางขวางบนหาด

ไฟลมัอารโทรโปดา

สวนมากจะเปนกลุมของครสัตาเซีย ซึง่มสีมาชิกไดแก ปู (crab) เคย (shrimp) เคยมังกร (lobster) กั้ง (mantis shrimp) ไอโซพอด (Isopod) และแอมฟพอด (Amphipod) สัตวกลุมนี้มีความสาํคัญทางนิเวศวิทยาอยางมาก เนือ่งจากมีความหลากหลากทางชนิดสูง นอกจากนี้บางชนิดยังมีความสาํคัญทางเศรษฐกิจเนื่องจากเปนอาหารสําหรับมนุษย ครัสตาเชียนเปนกลุมที่มีความหลากหลาย ทางชนิดสงู ดังนัน้จึงมีความหลากหลายทางขนาดอยูในชวงกวาง

ไฟลมัเฮมิคอรดาตา

เปนพวกหนอนลูกโอก (Acorn worm) เปนพวกทีม่ีลักษณะลาํตัวมีเมือกหุมแบงออกเปน 3 สวนคืองวง (Proboscis) ปลอกคอ (collar) และลําตัว (Long trunk) พบตั้งแตเขตน้ําขึ้นน้าํลง มกีารดํารงชีวิตฝงตัวอยูใตโคลนและทราย บางชนดิมีลักษณะคลายทากเคลื่อนที่ตามผิวพื้นทะเล หรืออยูรวมเปนกลุม พวกที่ฝงตัวอยูใตพื้นอาศัยเนื้อนุมจะใชงวงในการเคลื่อนที ่ เปนพวกทีก่ินสารแขวนลอยและเศษซากอินทรียเปนอาหาร

Page 13: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

6สัตวทะเลหนาดินกลุมเดนในปาชายเลน

ปูกามดาบ

เปนปูขนาดเลก็ 4-5 เซนตเิมตร จัดอยูในไฟลัมอารโทรโพดา พบไดทั่วไปในปาชายเลน หาดเลน และหาดทราย ลักษณะเดนของปูกามดาบ คือ ปูตัวผูจะมีกามขนาดใหญเปนพิเศษขางหนึง่ มีสีขาวใชในการปองกนัตัวและใชโบกเรียกตัวเมียในชวงฤดูผสมพันธุ และมีกามขนาดเล็กซึ่งจะใชในการหาอาหาร สวนตัวเมยีมกีามขนาดเล็กทั้งสองขาง มีชื่อเรียกหลายชื่อ ตามแตละพื้นที่ เชน ปูผูแทน ปูเปยว ปูโนรา ลักษณะเดนอีกอยาง คือ ปูกามดาบจะมีสีสันสดใส และมีความหลากหลายสวยงาม เชน แดง สม ,เหลอืง ปูกามดาบจะกินพวกอินทรียสาร มีบทบาทในการถายทอดพลงังานในระบบนิเวศ ในประเทศไทยพบปูกามดาบประมาณ 12 - 13 ชนิด

ปูแสม

จัดอยูในไฟลมัอารโทรโพดา เปนกลุมปทูี่พบมากที่สุดในปาชายเลน ต้ังแตขนาดเล็กไปจนถึงขนาดโต โดยแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมที่คืบคลานละวิ่งไปมาในปาชายเลน ซึ่งจะหลบอยูตามรากไมจําพวกโกงกาง ไมถั่ว และแสม กลุมที่ 2 จะขุดรูอยูใหดิน หรือตามรากไมตางๆ ซึ่งรูจะแตกตางกันแลวแตชนดิ

แมหอบ

เปนสัตวกึง่ปูกึง่เคย ลําตัวมสีีแดงเขมอมน้าํตาล สวนหัวมีขนาดใหญ ขาเดิน 2 คูแรกมีขนาดใหญ ทําหนาที่ขุดรูและขนดินออกมากองคลายจอมปลวก มีหางคลายแมงปอง พบมากในปาชายเลนในบริเวณปาชายเลนจังหวัดจนัทบุรีและระนอง แมหอบจะสรางรูในลักษณะเหมือนจอมปลวก ซึ่งทาํใหกั้นทศิทางการขึ้นลงของน้าํทะเล ถามีรูของแมหอบมากจะเปนอุปสรรคตอการงอกของพนัธุไม

เคยทะเลและเคยชนิดอ่ืน

สัตวทะเลหนาดินกลุมนี ้ โดยเฉพาะเคยกลุาดํา เคยแชบวย จะเขามาอาศัยอยูในปาชายเลนเปนบางชวงเพื่อหาอาหาร ผสมพันธุ และอนบุาลตัวออน สัตวกลุมนี้จัดเปนสัตวที่อาศยัพึ่งพิงปาชายเลน

หอยเจดีย หอยจุบแจง

เปนหอยฝาเดยีว พบในปาชายเลน มีชื่อเรียกตามแตละพื้นทีท่ี่พบ เชน หอยดาแดง หอยจุบแจง จะเกาะอยูตามตนไม กิง่ และเคลื่อนที่ตามการขึ้นลงของน้ํา

Page 14: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

7ไสเดือนทะเล

เปนสัตวทะเลกลุมเดนในปาชายเลน จะมีขนาดเล็ก วงจรชวีิตสั้น สืบพันธุไดอยางรวดเร็ว ดํารงชีวิตโดยการกนิพวกอนิทรียสาร และสามารถกระจายตามพืน้ที่ไดเร็ว เนื่องจากตวัออนเปนแพลงกตอนสัตว พบมากในปาชายเลนที่มกีารเปลีย่นแปลงสภาพ เชน นาเคยราง เหมืองแรราง และปาเสื่อมโทรมทีก่ารบุกรุกแผวถาง หรือไดรับผลกระทบจากน้าํเสยีของชุมชน ไสเดือนทะเลเปนกลุมที่สามารถอยูไดในสภาวะทีม่ีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม

ความสาํคัญของสัตวหนาดินในปาชายเลน

สัตวทะเลหนาดินในปาชายเลนมีความสัมพันธกับการประมง ความอุดมสมบูรณของสัตวทะเลหนาดินเหลานีท้ําใหมีความสําคญัในแงเปนแหลงอาหารสําหรับสัตวหลายชนิดทั้งสัตวบกและสัตวน้ํา เชน ปลา ปูทะเล นก ลิงแสม สัตวเลื้อยคลาน และสัตวเลีย้งลูกดวยนมชนิดอื่นๆ นอกจากนีย้ังมีบทบาทในการยอยสลายอนิทรียสารและหมุนเวียนธาตอุาหารในปาชายเลน เชน ปูกามดาบ ปูแสม สัตวทะเลหนาดินขนาดเล็ก เชน พวกโปรโตซัวมีบทบาทในการยอยสลายอนิทรยีสาร ฝกและเมล็ดของตนไมในปาชายเลน สัตวทะเลหนาดินอีกกลุมที่มีบทบาทในการยอยสลายสารอินทรียหรือมีการเรงในการหมนุเวยีนธาตุอาหาร ไดแก พวกหนอนตัวกลม ไสเดือนทะเล และหนอนถั่ว นอกจากนี้สัตวหนาดนิขนาดใหญยังมีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของปาชายเลนเนื่องจากกิจกรรมตางๆ เชน การขดุรู และการกนิอาหาร (ณิฏฐารัตน และคณะ, 2540)

การกระจายของสัตวหนาดินในปาชายเลน

การแพรกระจายของสัตวหนาดินจะแตกตางกนัออกไปตามสภาพแวดลอมของแหลงที่อยูอาศัยของสัตวหนาดิน สนิท (2532) กลาววา การกระจายของสัตวหนาดินในปาชายเลนจะพบทัง้ลักษณะแนวราบ (Horizontal distribution) ซึง่มักจะแบงตามลักษณะของการแบงเขตของพืชในปาชายเลน และพบการกระจายตามแนวดิ่ง (Vertical distribution) นอกจากนี้ดินตะกอนและปริมาณอินทรียสาร เปนตัวการสําคัญในการกาํหนดชนิดและการกระจายของสัตวทะเลหนาดิน รวมทัง้ความเค็มและความลาดชันของหาดที่ควบคุมการหายใจของสัตวกลุมนี้ดวย

จําลอง (2542) ทาํการศึกษาสตัวหนาดนิขนาดใหญและการกระจายตัวของปูกามดาบ ในปาชายเลนบริเวณปากแมน้ําทาจีน จังหวัดสมทุรสาคร พบสัตวหนาดินขนาดใหญจํานวน 68 ชนิด โดยพบในบริเวณปาชายเลนตะวนัตกของปากแมน้าํจํานวน 49 ชนิด และบริเวณปาชายเลนฝงตะวันออกของแมน้ําพบจํานวน 39 ชนิด ประกอบดวยสตัวหนาดินขนาดใหญกลุมตางๆ 11 กลุม ไดแก ครัสตาเซียน (Crustaceans) หอยฝาเดียว (Gastropods) หอยสองฝา (Bivalves) ไสเดือนทะเล

Page 15: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

8(Polychaetes) หนอนถัว่ (Sipunculids) และปลา ซึง่จากการศึกษาพบวา สัตวที่เปนกลุมเดน ไดแก ครัสตาเซียน หอย และไสเดอืนทะเล

สัตวหนาดินเปนอาหารตามธรรมชาติของสัตวน้าํ ดังนัน้ในแหลงน้ําที่มีปริมาณของสัตวหนาดินสูงยอมมีผลผลิตสูง ซึ่งความชุกชุมของสัตวหนาดินจะขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม เชน คุณสมบัติน้ํา แรธาตุตางๆในบริเวณพืน้ทองน้าํ สัตวหนาดนิสวนใหญจะมีความชุกชุมมากในบริเวณที่น้าํสะอาดปราศจากสิง่เนาเสยี ยกเวนสัตวหนาดินบางชนิดเทานัน้ที่สามารถอาศัยในสภาพแวดลอมที่เนาเสียได

ปจจัยสิ่งแวดลอมที่เปนตวัควบคุมการกระจายของสัตวทะเลหนาดิน

1. การทวมถึงของน้ําทะเล (Tidal inundation ) และชวงน้ําขึน้น้ําลง

การทวมถงึของน้าํทะเลและชวงเวลาน้ําขึน้น้าํลง ซึ่งจะควบคุมความลึกของน้าํในดนิตลอดจนความเค็มในดินและน้ํา ซึ่งจะสงผลถึงชวงเวลาการหายใจและชวงเวลาหากนิของสัตวทะเลหนาดินในปาชายเลน ตลอดจนมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณอนิทรียวัตถุในดนิ โดยทาํใหปริมาณอินทรียวัตถุมมีากหรือนอยแตกตางกนัไปในแตละบริเวณตามระยะทางที่น้าํทะเลทวมถงึ สวนการเปลี่ยนแปลงความเค็มของน้ําเนื่องจากน้าํขึ้นน้าํลงจะมผีลตอสัตวหนาดินในการเคลื่อนยายหรืออาศัยอยูได ทําใหเกดิการเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากรของสตัวหนาดินบางชนิด (ไพเราะ, 2538)

2. โครงสรางและองคประกอบของชนิดพนัธุไม

โครงสรางและองคประกอบของชนิดพนัธุไมเปนตัวกําหนดความหลากหลายของทีอ่ยูอาศัยและความอุดมสมบูรณของอาหารทั้งในรูปเศษใบไมที่ตกทับถมเปนอนิทรียสารและใบไมที่จะเปนอาหารของปูและแมลงหลายชนิด นอกจากนี้ลักษณะรมเงา การแตกเรือนยอด ตลอดจนระบบรากของพันธุไมแตละชนิดจะมีผลตอการกระจายของสัตวทะเลหนาดิน

3. ลักษณะความรวนซุยและชนิดของดินตะกอน

ลักษณะความรวนซุยของดินตลอดจนชนิดของดินบริเวณปาชายเลนที่เกดิจากการทบัถมของตะกอนจากการกัดเซาะชายฝงจากแมน้ํา หรือการพงัทลายของดินบนภูเขาที่ไหลมาตามแมน้ําลําคลองและเกิดจากการตกตะกอนของสารแขวนลอยในมวลน้าํตลอดจนการสลายตวัของอินทรียวตัถุตามชวงระยะเวลาที่ทับถมตางๆกนั ลักษณะความรวนซุยของดินตลอดจนชนิดของดินเลนหรอืดินทรายนั้นจะควบคุมปริมาณออกซิเจนในดนิ ระดับน้ําใตดิน และปริมาณอินทรียสารที่อยูในดนิ

Page 16: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

94. ความเค็มของน้ําและความเค็มในดิน

ความเค็มของน้ําและความเค็มในดินมีผลตอสัตว โดยความทนทานตอความเค็มของสัตวแตละชนดิจะแตกตางกนั ข้ึนอยูกับความสามารถในการควบคุมปริมาณเกลือที่มากเกนิไป ณิฏฐารัตน และ นงนารถ (2525) พบวา ความเค็มเปนปจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดตอจํานวนชนิดและประชากรของสัตวหนาดินขนาดใหญในบริเวณปาชายเลนอาวพงังา ความเค็มยังมคีวามสาํคัญในการกําหนดขอบเขตการกระจายของสัตวทะเลหนาดิน เชน ปูกามดาบ และปูแสมซึ่งจะมีความสามารถในการควบคุมน้าํและเกลือแรภายในตัว

5. อุณหภูม ิ

อุณหภูมิเปนปจจัยทีม่ีความสําคัญตอส่ิงมชีีวิตในแหลงน้าํทัง้ทางตรงและทางออม โดยปกติแลวอณุหภูมิของน้าํจะผนัแปรตามอุณหภูมิของอากาศ ฤดกูาล ระดับความสงูและสภาพภูมปิระเทศ ซึ่งการเปลีย่นแปลงของอุณหภูมิในน้าํมีผลตอความหนาแนนของสัตวหนาดิน(ไมตรีและจารุวรรณ ,2528)

6. ปริมาณออกซิเจนและปรมิาณซัลไฟดในดิน

ปริมาณออกซเิจนในปาชายเลนมักจะต่ําเนื่องจากเกิดกระบวนการยอยสลายอนิทรยีสาร สัตวในปาชายเลนจะตองผานระยะที่โผลพนน้ําในขณะทีน่้ําขึน้น้ําลง และระยะทีจ่มอยูใตน้ําในขณะที่น้าํขึ้น ซึง่ตองปรับเร่ืองการหายใจใหสามารถหายใจไดโดยใชออกซิเจนจากอากาศหรือใชออกซิเจนที่ละลายในน้าํ นอกจากปริมาณออกซิเจนต่ําแลวชัน้ดนิมักเปนสีดําของสารประกอบซัลไฟด สัตวทะเลหนาดินนอกจากจะปรับตัวใหสามารถหายใจไดในทีท่ี่มอีอกซิเจนต่าํแลวยังตองทนตอสารประกอบซัลไฟดดวย การที่สัตวจะทนทานไดในสภาพที่มีสารประกอบซัลไฟด ข้ึนอยูกับสภาพแวดลอมในแหลงที่อยูอาศัยของมนั สัตวจําพวกครัสตาเซียนโดยเฉพาะเคย เคยดีดขัน และปูจะสามารถทนตอสารประกอบซัลไฟดไดดี เนือ่งจากมีเปลือกหุมเปนสารประกอบพวกไคติน (Chitin)

Page 17: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

10วิธีการ

1. พื้นที่ดําเนนิการ

การศึกษาชนดิ จํานวน ความหนาแนนและการกระจายของสัตวหนาดิน ดําเนนิการในบริเวณปาชายเลนธรรมชาติ บานหาดทรายขาว (Core Area3) ในเขตสงวนชีวมณฑล ตําบลหงาว อําเภอเมืองระนอง จงัหวัดระนอง และแปลงปลูกปาโกงกาง (Rhizophora apiculata) อาย ุ 3 ป และแปลงปลูกโปรงแดง(Ceriops tagal) อายุ 3 ป ในบริเวณแปลงปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกยีรติ์ FPT ตําบลราชกรูด อําเภอเมอืงระนอง จงัหวัดระนอง

ภาพที่ 1 บริเวณปาชายเลนธรรมชาต ิบานหาดทรายขาว (Core Area3)

Page 18: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

11

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงตําแหนงแปลงปลูกปา FPT จังหวดัระนอง ระวาง 4728 IV เนือ้ที่บํารุงปา 406 ไร

ภาพที่ 3 บริเวณแปลงปลกูปาถาวรเฉลมิพระเกยีรติ์ FPT

Page 19: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

12

ภาพที่ 4 แปลงปลูกโปรงแดง อายุ 3 ป

ภาพที่ 5 แปลงปลูกปาโกงกาง อายุ 3 ป

2. อุปกรณ

ประกอบดวย

1. ตารางสี่เหลี่ยมนับสัตว (Quadrate Sampling) 2. ตะแกรงรอนขนาด 0.5 มิลลิเมตร

Page 20: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

133. กลอง Steriomicroscope 4. Petti dish (จานแยกตัวอยาง) 5. ขวดดองตัวอยาง 6. Forcept (คีมคีบ) 7. แอลกอฮอลล ความเขมขน 30 เปอรเซนต 8. ถุงพลาสติก

3. วิธีดําเนินการศึกษา

การสํารวจประชากรสัตวหนาดิน โดยทําการเก็บตัวอยางสัตวหนาดินในแปลงตัวอยาง 3 แปลง ไดแก แปลงปาชายเลนธรรมชาต ิแปลงปลกูโกงกางอายุ 3 ป และแปลงปลูกโปรงแดงอาย ุ3 ป ในแตละแปลงตัวอยางเก็บขอมูล 3 จุดโดยสุม รวมทั้ งหมด 9 จุด โดยใชตารางสี่ เหลี่ยมนับสัตว (Quadrat sampling) ขนาด 100 X100 เซนติเมตร2 วางสุมลงบนพืน้ดินในแตละบริเวณที่ศึกษา เก็บตัวอยางสัตวหนาดินที่มองเหน็ใสในถงุเก็บตัวอยาง แลวขุดดินในตารางสี่เหลีย่มนับสัตว ลึกจากผวิดินประมาณ 15 เซนติเมตร ใสถุงเก็บดนิ นาํดินมารอนผานตะแกรงที่มขีนาดตา 0.5 มิลลิเมตร และนําตัวอยางสัตวหนาดินทัง้หมด มาดองดวยเมททิลแอลกอฮอล ความเขมขน 30 เปอรเซ็นต หลงัจากนัน้นําตัวอยางสัตวหนาดนิมาจาํแนกชนิดและนับจาํนวนความหลากหลาย

4. ระยะเวลาการศึกษา

กุมภาพนัธ - เมษายน 2547

5. การวิเคราะหขอมูล

วิเคราะหขอมูล Shannon-Wiener Index, Species Richness, Evenness

5.1 คาดรรชนีความหลากหลายทางชนดิของแชนนอน-วายเนอร (Shannon-Wiener diversity index : H’) เปนดรรชนีที่ประกอบดวย ทั้งสวนที่เปน species richness และสวน evenness โดยมีสูตรดังนี ้

k H’ = - ∑ Pi (log Pi)

i = 1

Page 21: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

14

Pi คือ สัดสวนความหนาแนนของชนิดที่ i th ในสถานีนัน้ คํานวณไดจากสูตร

N คือ ผลรวมจํานวนตวัทัง้หมดของทุกชนิดทีพ่บในสถานนีั้น คํานวณไดจากสูตร ni คือ จาํนวนตัวของชนิดที่ i th k คือ จํานวนชนิดทีพ่บในแตละสถาน ี 5.2 Species richness (ความชกุชุมทางชนิด) เปนการวัดชนิดทัง้หมดทีพ่บอยูใน

ประชาคมนัน้ อาจพิจารณาอยางงาย ๆ ไดวาตวัอยางงใดที่มีจาํนวนชนิดของสตัวมากกวาใหถือวาตัวอยางนัน้มคีวามหลากหลายทางชนิดมากวา Species richness เปนคาที่พิจารณาอยางงาย ๆ จากจํานวนชนิดทัง้มดของสัตวที่พบในตัวอยาง(S) สวนใหญจํานวนชนดิมักขึ้นกับขนาดตัวอยางทีเ่ก็บในการสํารวจ ถาเก็บตัวอยางมากกม็ักจะพบจํานวนชนิดของตัวอยางสตัวมากขึน้ ดรรชนีที่ใชกนัทั่วไปคือ Margalef’s index ซึ่งสูตรประกอบกดวยจํานวนตวั (N) และจํานวนชนิด (S) ของตัวอยางสัตวทัง้หมดที่พบ โดยมีสูตรดังนี ้

S คือ คาจํานวนชนิดทัง้หมด N คือ คาจํานวนตัวทัง้หมด

Pi = ni N

k N = ∑ ni i = 1,…….,k i = 1

d = (S -1) Log N

Page 22: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

155.3 Equitability หรือนิยมเรียกวา evenness เปนคาแสดงใหเหน็ลักษณะการ

แพรกระจายของสิ่งมีชวีิตในประชาคม โดยพิจารณาจํานวนของสตัวแตละชนิดที่พบในตัวอยางหรือประชาคมนัน้ ๆ ตัวอยางเชน เมื่อมีตัวอยาง 2 ตัวอยาง ในแตละตัวอยางมีจาํนวนสตัวทั้งหมด 100 ตัว จากสัตวทั้งหมด 4 ชนิด ในทัง้ 2 ตัวอยาง ถาพิจารณาคาความชกุชมุทางชนิด (Species richness) จะมีคาเทากัน แตถาพิจารณาจํานวนตัวของสัตวแตละชนิดทีพ่บในตวัอยางจะเหน็วามีความแตกตางในตัวอยางทั้ง 2 โดยในตัวอยางแรกจะมีความหนาแนนเปน25,25,25, และ 25ของสัตวแตละชนิดตามลําดับ ในขณะที่ตัวอยางหลังจะมีความหนาแนนเปน 97,1,1และ1 ของสัตวแตละชนิดตามลําดับ ทําใหตัวอยางแรกมีคา evenness สูงกวา อาจสรุปไดวาตัวอยางแรกมีความหลากหลายทางชนิดมากกวาเนื่องจากมีคา evenness สูงกวาในขณะที่คาความเดน ตํ่า ซึง่ควรจําไวเสมอวาคาความเดนจะมีคาตรงขามกันกับคา evenness คาดรรชนีความสม่ําเสมอทางชนิดพันธุของพีลู (Pielou’s evenness : J’) H’ คือ คาดรรชนีความหลากหลายทางชนิด (Shannon-Wiener diversity index) H’ max คือ คาความหลากหลายทางชนดิที่มีคามากทีสุ่ดที่จะเปนไปไดเมื่อสัตวตัวอยางทกุชนิดมีความชุกชุมเทากนัหมด (= log S)

J’ = H’ H’ max

Page 23: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

16ผลการศึกษาและวิจารณผล

จากการศึกษาชนิด จาํนวน และความหนาแนนของสัตวทะเลหนาดินในแปลงปาชายเลนทั้ง 3 แปลง คือในบริเวณแปลงปาชายเลนธรรมชาติ แปลงปลกูโกงกางใบเลก็อาย ุ3 ป และแปลงปลูกโปรงแดงอายุ 3 ป เพื่อเปรียบเทียบความหลากหลายของสัตวทะเลหนาดิน ในสภาพพื้นทีป่าชายเลนที่มีความแตกตางกัน ซึ่งในการศึกษานี้ทาํการเก็บตัวอยางสัตวทะเลหนาดิน แปลงละ 3 ซ้ําการทดลอง รวมทัง้หมด 9 จุด พบสัตวหนาดินรวม 23 ชนิด จํานวน 360 ตัว ความหนาแนนเฉลีย่เทากับ 40 ตัวตอตารางเมตร กระจายอยูใน 4 ไฟลัม ไดแกไฟลัมอารโทโพดา 10 ชนิด (Order Decapoda 5 ชนิด ไดแกจําพวกเคยและปู Order Isopoda 1 ชนิด ไดแกแมลงสาบทะเล และ Order Insecta 4 ชนิด ไดแก ตัวออนแมลง 3 ชนิด และแมงมุม 1 ชนิด) ไฟลัมมอลลัสกา 9 ชนิด ไดแกจําพวกหอย ไฟลัมแอนนิลิดา 3 ชนิด ไดแก ไสเดอืนทะเล หนอนตะขาบและหนอน unknown 2 และไฟลัมไซพนูคูลา 1 ชนิด ไดแกหนอนถัว่ ในจาํนวนนี้มีเพียง 5 ชนิดที่พบในทัง้ 3 แปลงตัวอยาง และมี 7 ชนิดทีพ่บเฉพาะในแปลงปาชายเลนธรรมชาติ รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตัวอยางสัตวหนาดินที่พบหลังจากดองในแอลกอฮอลเพือ่แยกชนิดแลวนาํมาถายภาพภายใตกลอง Steriomicroscope ไดจํานวน 19 ชนิด อีก 4 ชนิด ไมอยูในสภาพทีถ่ายภาพได(ภาพที่ 6) สําหรับผลการศกึษาพบสัตวทะเลหนาดินแยกตามแปลงตัวอยางมีรายละเอียด ดังนี ้

1. ปาชายเลนธรรมชาติ (โกงกางใบเล็กเปนพนัธุไมเดน)

ชนิดของสัตวหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติ พบสัตวทะเลหนาดินทั้งหมด 18 ชนิด จาํนวน 105 ตัว ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 35 ตัวตอตารางเมตร (ภาพที่ 9) อยูในไฟลมัอารโทรโพดา โดยสวนใหญจะเปนพวกครัสตาเซียน พบทัง้หมด 5 ชนิด ไดแก ปูกามดาบ ปูแสม ปูลม ปูแมงมุม และเคย รองลงมาคือไฟลัมมอลลัสกา ซึง่สวนใหญเปนพวกหอยฝาเดียว (Gastropods) พบทัง้หมด 5 ชนิด และที่พบนอยที่สุด คือ ไฟลัมแอนนิลิดา พบ 2 ชนิด คาความสม่าํเสมอของชนดิพันธุ (Evenness) เทากับ 0.507 ซึ่งคอนขางต่ําแสดงใหเห็นวามีการกระจุกตัวของสตัวหนาดินบางชนิดในขณะที่สัตวหนาดินอีกหลายชนิดมีจํานวนตัวนอย ปูกามดาบ ปูลม หอยปากกระจาด และหอยฝาเดียวเปนชนิดพันธุเดน (dominant species) ในขณะทีช่นิดพนัธุอ่ืนๆ อีก 14 ชนิด พบเพยีงเลก็นอย คาความชกุชุมทางชนิดพันธุ (Species Richness) เทากบั 8.411 และคาดรรชนีความหลากหลาย (Shanon-Wiener index) เทากับ 0.636 รายละเอียดดังตารางที ่2 และภาพที ่9

Page 24: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

17ตารางที ่1 ชนิดของสัตวทะเลหนาดินที่พบในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท

ลําดับที ่ ชนิดสัตว ชื่อวิทยาศาสตร ปาชายเลน

ธรรมชาติ

แปลงปลูกโกงกางใบเล็กอายุ 3 ป

แปลงปลูกโปรงแดง อายุ 3 ป

1 ปูกามดาบ Uca spinnata / / / 2 ปูแสมกามสม Parasesarma plicatum / - / 3 ปูลม Ocypode ceratophthalma / / / 4 ปูแมงมุม Jonas distincta / - - 5 เคย Acetes vulgaris / / - 6 แมลงสาบทะเล Cyathura carinata / - / 7 หอยกะท ิ Nerita brimanica / - / 8 หอยกนั Geoina erosa / / / 9 หอยสีแดง Assiminea brevicula - / / 10 หอยเจดีย Turritella duplicata / / / 11 หอยจุบแจง Turritella terebra - - / 12 หอยกระสวย Mitra stictica - - / 13 หอยสองฝา unknown1 / / - 14 หอยฝาเดียว Littorina scutulata / / - 15 หอยปากกระจาด Nassarius sp. / - - 16 ไสเดือนทะเล Neris sp. / - - 17 หนอน unknown 2 / / / 18 หนอนถัว่ Sipunculus sp. - / / 19 หนอนตะขาบ unknown 3 - / - 20 แมงมุม unknown 4 / - - 21 ดวงตัวออน unknown 5 / - - 22 ตัวออนแมลง Dolochopodidae sp. / - - 23 หนอนดักแด unknown 6 / - -

Page 25: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

18

ปูกามดาบ (ตัวผู) Uca spinata (ตัวเมีย) Uca spinata ปูแสมกามสม Parasesarma plicatum

ปูลม Ocypode ceratophthalma ปูแมงมุม Jonas distincta เคย Acetes vulgaris

แมลงสาบทะเล Cyathura carinata หอยกะท ิNerita brimanica หอยกนั Geloina erosa

หอยสีแดง Assiminea brevicula หอยเจดีย Turritella duplicata หอยจุบแจง Turritella terebra

ภาพที่ 6 ตัวอยางสัตวหนาดินทีพ่บในปาชายเลนทัง้ 3 ประเภท

Page 26: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

19

หอยกระสวย Mitra stictica หอยฝาเดียว Ellobium auris-judae หอยปากกระจาด Nassarius sp.

ไสเดือนทะเล Neris sp. หนอนถัว่ Sipunculus sp. ตัวออนดวง (unknown 5)

ตัวออนแมลง Dolochopodidae sp. หนอนดักแด (unknown 6)

ภาพที่ 6 (ตอ)

Page 27: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

20

ภาพที่ 7 จํานวนชนิดของสัตวทะเลหนาดินที่พบในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท

ภาพที่ 8 ความหนาแนนของสัตวหนาดินที่พบในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท

18

12

11

0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

จํานวนชนิด

ปาชายเลนธรรมชาติ แปลงปลูกโปรงแดงอายุ 3 ป แปลงปลูกโกงกางใบเล็กอายุ 3 ป

35

48

36

0

5

10

15

20

25

30

35

40

45

50

ความหนาแนน(ตัว/ตารางเมตร)

ปาชายเลนธรรมชาติ แปลงปลูกโปรงแดงอายุ 3 ป แปลงปลูกโกงกางใบเล็กอายุ 3 ป

Page 28: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

21

0.507 0.841 0.787

8.411

5.388

4.627

0.636 0.908 0.82

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

Evenness (I’) Species richness (d) Shanon-Wiener index (H)

ปาชายเลนธรรมชาติ แปลงปลูกโปรงแดงอายุ 3 ป แปลงปลูกโกงกางใบเล็กอายุ 3 ป

ภาพที่ 9 ลักษณะการกระจายของสัตวหนาดินที่พบในปาชายเลนทั้ง 3 ประเภท

Page 29: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

22ตารางที ่2 สัตวหนาดินทีพ่บในแปลงปาชายเลนธรรมชาติ

จํานวนซ้ํา ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร

1 2 3 จํานวน

(ตัว) Phylum Family

1 ปูกามดาบ Uca spinnata 24 0 0 24 Artropoda Ocypodidae 2 ปูแสมกามสม Parasesarma plicatum 0 2 2 4 Artropoda Grapsidae 3 ปูลม Ocypode ceratophthalma 0 2 11 13 Artropoda Ocypodidae 4 ปูแมงมุม Jonas distincta 1 0 0 1 Artropoda Corystidae 5 เคย Acetes vulgaris 0 1 0 1 Artropoda Sergestidae 6 แมลงสาบทะเล Cyathura carinata 0 0 4 4 Artropoda Gnathiidae 7 หอยปากกระจาด Nassarius sp. 0 12 0 12 Mollusca Harpidae 8 หอยกะทิ Nerita brimanica 1 1 0 2 Mollusca Neritidae 9 หอยกัน Geoina erosa 5 3 0 8 Mollusca Psammobiidae 10 หอยเจดีย Turritella duplicata 0 5 0 5 Mollusca Turritellidae 11 หอยฝาเดียว Littorina scutulata 1 9 0 10 Mollusca Littorinidae 12 หอยสองฝา - 0 5 0 5 Mollusca - 13 ไสเดือนทะเล Neris sp. 1 4 0 5 Annilida Nereidae 14 หนอน - 0 0 1 1 Annilida - 15 แมงมุม - 0 0 1 1 Artropoda - 16 ดวง - 0 0 6 6 Artropoda - 17 แมลง Dolochopodidae sp. 0 0 2 2 Artropoda Eunicidae 18 หนอนดักแด - 0 0 1 1 Artropoda -

รวม 33 44 28 105 Evenness (J’) 0.507

Species richness (d) 8.411 Shannon-Wiener index (H’) 0.636

Page 30: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

232. แปลงปลูกโกงกางใบเลก็อายุ 3 ป

พบสัตวหนาดนิทั้งหมด 11 ชนิด จํานวน 145 ตัว ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 48 ตัวตอตารางเมตร (ภาพที ่ 8) สัตวหนาดินกลุมที่พบ คือ สัตวหนาดินในไฟลัมมอลลัสกา พบ 5 ชนิด ไดแก หอยฝาเดียว หอยสีแดง หอยเจดีย หอยกนั และหอยสองฝา รองลงมาคือ ไฟลัมอารโทรโพดา พบ 3 ชนิด ไดแก ปูกามดาบ ปูลม และเคย ไฟลัมแอนนิลิดา พบ 2 ชนิด และที่พบนอยที่สุด คือ ไฟลัมไซพูนคูลา พบ 1 ชนิด ความสม่ําเสมอของชนิดพนัธุเทากับ 0.787 แสดงใหเหน็วามีการกระจายของชนิดพันธุและจํานวนตวัคอนขางสม่ําเสมอ ชนิดพนัธุเดนของสัตวหนาดินไดแก ปูกามดาบ หอยเจดีย และหนอน ตามลําดับ ความชุกชมุทางชนิดพนัธุเทากับ 4.627 และคาดรรชนีความหลากหลาย (Shanon-Wiener index) เทากับ 0.820 (ตารางที ่3 และภาพที ่9)

ตารางที ่3 สัตวหนาดินทีพ่บในแปลงปลกูปาโกงกางอายุ 3 ป

จํานวนซ้ํา ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร

1 2 3 จํานวน

(ตัว) Phylum Family

1 ปูกามดาบ Uca spinnata 20 16 19 55 Artropoda Ocypodidae 2 ปูลม Ocypode ceratophthalma 3 0 0 3 Artropoda Ocypodidae 3 เคย Acetes vulgaris 0 1 0 1 Artropoda Sergestidae 4 หอยฝาเดียว Littorina scutulata 0 1 0 1 Mollusca Littorinidae 5 หอยสีแดง Assiminea brevicula 4 5 4 13 Mollusca - 6 หอยเจดีย Turritella duplicata 5 10 5 20 Mollusca Turritellidae 7 หอยกนั Geoina erosa 0 1 1 2 Mollusca Psammobiidae 8 หอยสองฝา - 1 1 11 13 Mollusca - 9 หนอน - 3 12 3 18 Annilida - 10 หนอนตะขาบ - 2 2 2 6 Annilida - 11 หนอนถั่ว Sipunculus sp. 5 3 5 13 Sipuncula Capitellidae

รวม 43 52 50 145 Evenness (J’) 0.787 Species richness (d) 4.627 Shannon-Wiener index (H’) 0.820

Page 31: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

243. แปลงปลูกโปรงแดงอาย ุ3 ป

พบสัตวหนาดินจํานวน 12 ชนิด จาํนวน 110 ตัว ความหนาแนนเฉลี่ยเทากับ 37 ตัวตอตารางเมตร (ภาพที่ 8) พบสัตวหนาดินในไฟลัมมอลลัสกามากที่สุด 6 ชนิด ไดแก หอยกะทิ หอยสีแดง หอยเจดีย หอยจุบแจง หอยกระสวย และหอยกนั รองลงมาคือไฟลัมอารโทรโพดาพบ 4 ชนดิ ไดแก ปูกามดาบ ปูแสม ปูลม และแมลงสาบทะเล และที่พบนอยที่สุดคือสัตวหนาดินในไฟลัมไซพนูคูลาและไฟลมัแอนนิลิดา พบไฟลมัละ 1 ชนิด คาความสม่ําเสมอทางชนิดพนัธุ เทากับ 0.841 ปูกามดาบ ปูลม และหอยกัน เปนชนิดพนัธุเดน สวนสัตวหนาดินชนิดอืน่มีการกระจายตัวคอนขางสม่ําเสมอ ความชกุชุมของชนิดพันธุเทากับ 5.388 และคาดรรชนีความหลากหลายของชนิดพนัธุเทากับ 0.908 (ตารางที ่ 4และภาพที ่9)

ตารางที ่4 สัตวหนาดินทีพ่บในแปลงปลูกปาโปรงแดง อายุ 3 ป

จํานวนซ้ํา ลําดับที่ ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร

1 2 3

จํานวน(ตัว) Phylum Family

1 ปูกามดาบ Uca spinnata 7 19 9 35 Artropoda Ocypodidae 2 ปูแสมกามสม Parasesarma plicatum 6 0 1 7 Artropoda Grapsidae 3 ปูลม Ocypode ceratophthalma 15 0 0 15 Artropoda Ocypodidae 4 แมลงสาบทะเล Cyathura carinata 0 1 0 1 Artropoda Gmathiidae 5 หอยกะทิ Nerita brimanica 0 0 4 4 Mollusca Neritidae 6 หอยสีแดง Assiminea brevicula 2 0 0 2 Mollusca - 7 หอยเจดีย Turritella duplicata 0 6 5 11 Mollusca Turritellidae 8 หอยจุบแจง Turritella terebra 0 0 6 6 Mollusca Turritellidae 9 หอยกระสวย Mitra stictica 0 0 1 1 Mollusca Mitridae 10 หอยกัน Geoina erosa 0 0 13 13 Mollusca Psammobiidae 11 หนอน - 1 4 0 5 Annilida - 12 หนอนถั่ว Sipunculus sp. 0 4 6 10 Sipuncula Capitellidae

รวม 31 34 45 110 Evenness (J’) 0.841 Species richness (d) 5.388 Shannon-Wiener index (H’) 0.908

Page 32: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

25แปลงปาชายเลนธรรมชาติ มีความหลากหลายทางชนิดพันธุของสัตวหนาดินมากที่สุด 18 ชนิด สําหรับแปลงปลูกปาอายุ 3 ป มีจํานวนชนิดใกลเคียงกันคือ 11 ชนิด และ12 ชนิด(ภาพที่ 7) ในแปลงปลูกโกงกางใบเล็กและโปรงแดง ตามลําดับ ซึ่งปูกามดาบชนิด Uca spinnata เปนสัตวหนาดินชนิดพันธุเดนในทั้ง 3 แปลงตัวอยาง ในขณะที่หนอนถั่วซึ่งอยูในไฟลัมไซพูนคูลา (Sipuncula) พบเฉพาะในแปลงปลูกปา FPT ไมพบในปาชายเลนธรรมชาติ ซึ่งธรรมชาติของหนอนถั่วชอบฝงตัวอาศัยอยูในพื้นทรายหรือกรวด หรือในเปลือกหอยที่วางเปลา ซึ่งในแปลงปลูกปามีลักษณะเปนดินทรายไมมีเศษซากพืชทับถมบนพื้นซึ่งตรงกับลักษณะของถิ่นที่อยูของหนอนถั่ว ขณะที่ในแปลงปาชายเลนธรรมชาติมีลักษณะเปนดินเลนปนทรายและมีการทับถมของเศษซากพืชคอนขางมาก ในทางกลับกันไมพบตัวออนของแมลงในออเดอรอินเซกตา (Order Insecta) ในแปลงปลูกปา (FPT) พบเฉพาะในปาชายเลนธรรมชาติ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากในปาชายเลนธรรมชาติมีความหลากหลายของชนิดพันธุพืชที่อาจเปนพืชอาหารและพื้นปายังสามารถเปนแหลงที่อยูอาศัยของตัวออนของแมลงเหลานั้น ในขณะที่แปลงปลูกปาชายเลนอายุ 3 ป ที่เปนแปลงปลูกพืชชนิดเดียว และพื้นแปลงปลูกที่มีลักษณะคอนขางสะอาด มีการทับถมของเศษซากพืชนอย

ในปจจุบันมีการกลาวถึงทฤษฎีการรบกวนหรือความเครียดปานกลาง(Intermediate Disturbance Hypothesis) เสนอแนะไววาภายใตสภาพที่มีการรบกวนนอยที่สุดประชาคมจะมีความหลากหลายทางชนิดลดลง เนื่องจากการแขงขันเพื่อกําจัดซึ่งกันและกันออกจากประชาคม แตเมื่อสภาพบริเวณนั้นเริ่มมีการรบกวนหรือมีความเครียดเพิ่มข้ึนเล็กนอยการแขงขันจะลดนอยลงทําใหความหลากหลายทางชนิดเริ่มมีคาสูงขึ้น และเมื่อสภาพความเครียดหรอืการรบกวนเพิ่มข้ึนเรื่อยๆ ชนดิของสิ่งมีชีวิตในประชาคมนั้นจะคอยๆถูกกําจัดออกไปโดยความเครียดหรือการรบกวนนั้น ทําใหความหลากหลายทางชนิดต่ําลงอีก ดังนั้น การสรุปผลคาความหลากหลายทางชนิดจะชัดเจนขึ้นเมื่อมีการศึกษาเปรียบเทียบระหวางจุดและเปรียบเทียบกับขอมูลในอดีตหรือระหวางชวงเวลาของบริเวณนั้นๆ (จิตติมา, 2544) จากการศึกษานี้อาจกลาวไดวาแปลงปาชายเลนธรรมชาติที่ศึกษาอยูในบริเวณเขตสงวนชีวมณฑล (Biosphere Reserved) ที่มีการรบกวนคอนขางนอยจึงอาจสงผลใหมีสัตวบางชนิดเปนจํานวนมากในขณะที่สัตวหนาดินอีกหลายชนิดลดจํานวนและการกระจายลง (จากทฤษฎีขางตน) ทําใหคาดรรชนีความหลากหลายต่ํากวาในแปลงปลูกปา FPT

Page 33: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

26สรุปผลการศึกษา

จากการศึกษาชนิดปริมาณและความหลากหลายของสัตวทะเลหนาดินในปาชายเลนธรรมชาติ และแปลงปลูกปาชายเลน โดยทําการศึกษาในพื้นที่ปาชายเลน 3 แปลง คือ แปลงปาชายเลนธรรมชาติ แปลงปลูกโกงกางใบเลก็ (Rhizophora apiculata) อายุ 3 ป และแปลงปลูกโปรงแดง (Ceriops tagal) อายุ 3 ป สรุปผลการศึกษาไดดังนี ้

แปลงปาชายเลนธรรมชาติ มีความหลากหลายทางชนิดพันธุของสัตวหนาดินมากที่สุด 18 ชนิด สําหรับแปลงปลูกปาอายุ 3 ป มีจํานวนชนิดใกลเคียงกันคือ 11 ชนิด และ12 ชนิด ในแปลงปลูกโกงกางใบเล็กและโปรงแดง ตามลําดับ ซึ่งปูกามดาบชนิด Uca spinnata เปนสัตวหนาดินชนิดพันธุเดนในทั้ง 3 แปลงตัวอยาง ในขณะที่หนอนถั่วซึ่งอยูในไฟลัมไซพูนคูลา (Sipuncula) พบเฉพาะในแปลงปลูกปา FPT ไมพบในปาชายเลนธรรมชาติ ในทางกลับกันไมพบตัวออนของแมลงในออเดอร อินเซกตา (Order Insecta) ในแปลงปลูกปา (FPT) พบเฉพาะในปาชายเลนธรรมชาติ

แปลงตัวอยางที่ศึกษาทั้ง 3 แปลงมีคาดรรชนีความสม่ําเสมอ (Evenness) อยูระหวาง 0.507-0.841 ในปาชายเลนธรรมชาติและในแปลงปลูกโปรงแดงอายุ 3 ป ตามลําดับ กลาวไดวาปาชายเลนธรรมชาติบริเวณบานหาดทรายขาว ตําบลหงาว อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง มีความสม่ําเสมอของสัตวหนาดินนอยกวาในแปลงปลูกปา (FPT) อายุ 3 ป ในทองที่ตําบลราชกรูด อําเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง ในขณะที่มีคาดรรชนีความชุกชุม (Species richness) มากที่สุดเทากับ 8.411 เมื่อเปรียบเทียบกับแปลงปลูกปา FPT ซึ่งมีคาเทากับ 5.388 และ 4.627 ในแปลงปลูกโปรงแดงและโกงกางใบเล็ก ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาจากคาดรรชนีความหลากหลาย (Shanon-Wiener Diversity Index) ซึ่งเปนดรรชนีที่ประกอบดวยทั้งสวนที่เปนคา Species richness และ Evenness พบวา ในแปลงปลูกโปรงแดงมีคามากที่สุดเทากับ 0.908 รองลงมาเปนแปลงปลูกโกงกางใบเล็กมีคาเทากับ 0.841 และในแปลงปาชายเลนธรรมชาติมีคานอยที่สุดเทากับ 0.636 ทั้งนี้เปนผลมาจากคาความสม่ําเสมอ (Evenness) ซึ่งในปาชายเลนธรรมชาติมีคาคอนขางต่ํา

อยางไรก็ตามการปลูกฟนฟูปาชายเลนที่ปลูกพันธุไมเพียงชนิดเดียว (Monoculture) แสดงใหเห็นถึงศักยภาพในการชักนํา (Induced) ใหเกิดความสมบูรณของระบบนิเวศที่เกี่ยวของได ตัวอยางเชนในการศึกษานี้แสดงใหเห็นถึงความเกี่ยวเนื่องที่มีความสัมพันธแบบเกื้อกูลกันอยางนอย 1 ดานกลาวคือลักษณะประชาคมสัตวหนาดิน ทั้งในแงการกระจายหรือความสม่ําเสมอ ความหนาแนนและดรรชนีความหลากหลาย ถึงแมวาความชุกชุมทางชนิดพันธุคอนขางต่ําเมื่อเปรียบเทียบกับ ปาธรรมชาติ ซึ่งอาจเพิ่มสูงขึ้นเมื่อไมปาชายเลนมีอายุมากขึ้น แตอยางไรก็ตามการพัฒนาและการเจริญเติบโตของพันธุไมปาชายเลนที่ปลูกในอนาคตอาจนํามาซึ่งการพัฒนาของประชาคมสัตวหนาดิน

Page 34: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

27ในบริเวณนั้น ทั้งนี้ข้ึนอยูกับแหลงที่อยูอาศัย หลบภัย แหลงอาหารและความเครียดหรือการรบกวนในพื้นที่

ขอเสนอแนะ

1. การศึกษานี้แสดงใหเหน็วา ปาชายเลนทัง้ทีเ่ปนปาธรรมชาติและแปลงปลูกปา เปนพืน้ทีท่ี่มีความสาํคัญ โดยเปนพื้นที่อยูอาศัยของสตัวนานาชนิดรวมถึงสัตวหนาดิน ที่มสีวนในการควบคุมสมดุลของหวงโซอาหาร ดังนัน้ ระบบนิเวศปาชายเลนและระบบนิเวศชายฝงจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองไดรับการอนุรักษและใชประโยชนอยางถูกตองและจริงจัง เพื่อเปนการรักษาสภาพโดยรวม

2. การศึกษานีดํ้าเนนิการในชวงเดือนเมษายน ซึง่เปนฤดูรอน ชนิด จาํนวน และความหนาแนนที่ไดจึงเปนเพียงตัวแทนเฉพาะฤดู การเก็บขอมูลในฤดูฝนและฤดูหนาวในรอบป อาจไดผลการศึกษาที่แตกตางไป ซ่ึงสามารถใชเปนตัวแทนที่ครอบคลุมและอางอิงไดดีกวา และเพื่อเปนการเปรยีบเทียบระหวางชวงเวลา ซึ่งขอมูลทีไ่ดทําใหทราบถึงสภาวะความเครียดหรือการถูกรบกวนในบริเวณนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อติดตามและสามารถแกไขปญหาไดอยางทนัทวงทีเมื่อเกิดสภาวะวิกฤต

Page 35: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

28เอกสารและสิ่งอางอิง

จิตติมา อายุตตะกะ. 2544. การศกึษาเบื้องตนประชาคมสิ่งมีชีวติพื้นทะเล. สํานักพิมพมหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

จําลอง โตออน, นิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์, อัจฉราภรณ เปยมสมบูรณ และประภาพร วิถีสวัสด์ิ. 2541. ชนิด และการกระจายของปูในบริเวณปาชายเลนปากแมน้าํทาจนี จังหวัดสมุทรสาคร. การสัมมนาระบบนิเวศปาชายเลนแหงชาติคร้ังที่ 12. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาต.ิ

จันทมิา ไตรบัญญัติกุล. 2545. ชนิด ปรมิาณ และการกระจายของสัตวหนาดินและแพลงกตอนในปาชายเลนธรรมชาติบริเวณโครงการวิจัยและพฒันาสิ่งแวดลอมแหลมผกัเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดาํริ. วทิยานพินธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

จําลอง โตออน. 2542. สตัวทะเลหนาดินขนาดใหญและการกระจายของปกูามดาบในปาชายเลนบริเวณปากแมน้าํทาจนี จังหวัดสมทุรสาคร. วทิยานพินธปริญญาโท, จฬุาลงกรณมหาวิทยาลยั.

ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ์ และคณะ. 2546. คูมือวิธกีารประเมินแบบรวดเรว็เพื่อการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่แวดลอมพืน้ที่ชายฝงทะเล:ระบบนิเวศปาชายเลน.

ปยนนัท ศรีสุชาติ. 2524. ชนิด ปริมาณและการกระจายของสัตวหนาดิน บรเิวณปาชายเลน อ.ขลงุ จ.จันทบุรี. วิทยานพินธปริญญาโท, มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร.

บพิธ จารุพันธุ และนันทพร จารุพันธุ. 2546. สัตวไมมีกระดูกสันหลังแอนเนลดิาถึงโพรโทคอรดาทา. สํานกัพิมพมหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพฯ

ปกรณ ประเสริฐวงษ, หรรษา จนัทรแสง และ ณิฏฐารัตน ปภาวสิทธิ.์ 2535. การเปลี่ยนแปลง โครงสราง ชมุนุมสิ่งมชีีวติสัตวทะเลหนาดินหลังการทําเหมืองแรในทะเล. สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยศรนีครินทรวิโรฒ วทิยาเขตบางแสน. 15 หนา.

วันวิวาห วิชิตวรคุณ. 2544. สัตวทะเลหนาดินขนาดใหญบริเวณบานคลองโคน จ. สมุทรสงคราม. วทิยานพินธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

Page 36: การศึกษาชน ิด จํานวน และความหนาแน นของส ัตว หน าดินในป า ...app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00496/C00496-2.pdfการศึกษาชน

29สุชาติ สวางอารียรักษ และประจวบ โมฆรัตน. 2542. การศึกษาประชาคมสัตวพื้นทะเลขนาด

ใหญบริเวณ อาวสะปา จงัหวัดภูเก็ต. วารสารการประมง ปที ่52 (ฉบับที่ 3). 211-240.

สุวราภรณ กันทรวิชัย. 2542. วิธีมาตรฐานในการศึกษาสัตวพื้นทองน้ําพวกไมมีกระดูกสันหลัง. ภาควิชาเทคโนโลยีการประมง มหาวทิยาลัยแมโจ.