49
รูปแบบและขอกําหนดในการพิมพโครงงาน คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

รูปแบบและขอกําหนดในการพิมพโครงงาน

คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มหาวิทยาลยับูรพา วิทยาเขตสารสนเทศ จันทบุรี

Page 2: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

คํานํา

การจัดทําเอกสารประกอบโครงงานของนิสิต เปนสิ่งสําคัญ ซ่ึงจะใชเปนอางอิงประกอบการพัฒนาโครงงานในแตละสาขาวิชา ดังน้ันเพ่ือทําใหเกิดความถูกตองในรูปแบบของการจัดทําเอกสารและทาํใหโครงงานตางๆมีเอกสารในแนวทางเดียวกัน จึงมีความจาํเปนในการจัดทําเอกสารรูปแบบและขอกําหนดในการพิมพโครงงานขึ้น โดยทั้งน้ีขอใหนิสิตใชรูปแบบและการอางอิงตางๆที่มีอยูในเอกสารฉบับน้ีเปนแนวทางหลักในการพิมพเอกสารของตนเอง และหากเกิดความไมแนใจในบางกรณีของการพิมพเอกสาร ใหทําการสอบถามตออาจารยผูควบคุมรายวิชาอีกคร้ังหน่ึงเพื่อใหเอกสารเกิดความถูกตองตามหลักการและรูปแบบมากที่สุด

คณาจารย 31 มีนาคม 2549

Page 3: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

สารบัญ

หนา สวนประกอบของเอกสารโครงการ ๔ ขอกําหนดการพิมพโครงงาน ๔ การจัดหนาปกโครงงาน ๘ การจัดหนาอนุมัติ(ใบรับรองโครงงาน) ๑๒ การจัดหนาประกาศคุณูปการ ๑๔ การจัดหนาบทคัดยอ ๑๖ การจัดหนาสารบัญ ๒๐ การจัดหนาเน้ือหาโครงงาน ๒๖ การอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา แบบ ข ๓๓ การเขียนบรรณานุกรม แบบ ข ๓๖ การจัดหนาภาคผนวก ๔๔ การจัดหนาประวัติยอของผูทําโครงงาน ๔๘

Page 4: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

สวนประกอบของเอกสารโครงงาน ABCDEFGรูปแบบของโครงงานมีสวนประกอบ 3 สวน คือ สวนนํา สวนเนื้อหา และสวนประกอบตอนทาย แตละสวนมีรายละเอียดดังน้ี

สวนนํา สวนนําที่นิสิตตองจัดทําประกอบดวย หนาปกในภาษาไทย หนาปกในภาษาอังกฤษ หนาอนุมัติ(ใบรับรองโครงงาน) หนาประกาศคุณูปการ บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษอังกฤษ สารบัญ สารบัญตาราง(ถามี) สารบัญภาพประกอบ (ถามี) ตามลําดับ

สวนเน้ือหา เปนสวนที่เปนสาระสาํคัญของโครงงานประกอบดวยบทนํา ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ วิธีทําการทดลอง ผลการทดลอง สรุปผลและขอเสนอแนะ

สวนประกอบตอนทาย ประกอบดวย หนาบอกตอนบรรณานุกรม บรรณานุกรม หนาบอกตอนภาคผนวก ภาคผนวกตางๆ ประวัติยอของผูทําโครงงาน เรียงตามลําดับ

ขอกําหนดการพิมพโครงงาน 1. ตัวพิมพ พิมพดวยตัวพิมพสีดํา คมชัด โดยใชตัวอักษร Angsana UPC ใชขนาดตัวอักษร 3 ขนาดดังน้ี ขนาด 20 พอยท ตัวหนา ใชสําหรับ บทที่ ชื่อบท หนาบอกตอน ขนาด 18 พอยท ตัวหนา หัวขอสําคัญ พิมพชิดขอบซายของหนากระดาษ ขนาด 16 พอยท ตัวหนา ใชสําหรับหัวขอยอย ขนาด 16 พอยท ตัวปกติ ใชสําหรับเนื้อหา ยกเวน ตัวพิมพในภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ อาจใชตัวพิมพเล็กลงเพ่ือความเหมาะสมของการวางรูปกระดาษ การเวนบรรทัด ใหหางกัน 1 ชวงบรรทดั ดวยขนาดอักษร16 พอยท 2. กระดาษที่ใชพิมพ ใชกระดาษขาวไมมีเสนบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 หนาไมต่ํากวา 80 แกรม ใชพิมพเพียงหนาเดียว 3. การเวนท่ีวางริมขอบกระดาษ หัวกระดาษใหเวนไว 1.5 น้ิว ยกเวนหนาท่ีขึ้นบทใหม แตละบทใหเวน 2 น้ิว ขอบซายมือเวน 1.5 น้ิว ขอบขวามอืเวน 1 น้ิว ขอบลางเวน 1 น้ิว

Page 5: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

ตัวอยางการเวนขอบกระดาษ

2 น้ิว 1.5 น้ิว (สําหรับหนาขึ้นตนบทใหม)

1.5 น้ิว 1 น้ิว

1 น้ิว

ใสเลขหนา

1 น้ิว

1 น้ิว

Page 6: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

ABCDEFG4.ABการลําดับหนาและการพิมพเลขหนา การลําดับหนาในสวนนํา ใหใชตัวอักษรภาษาไทยเรียงตามลาํดับ โดยเร่ิมจาก - หนาปกในภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ไมตองพิมพลําดับหนา - หนาอนุมัติ(ในรับรองโครงงาน) ไมตองพิมพลําดับหนา - หนาประกาศคุณูปการ ไมตองพิมพลําดับหนา - หนาบทคัดยอภาษาไทย ใหเริ่มพิมพเลขหนาเปนหนา ง ABCDEFGสวนเนื้อหา และสวนประกอบตอนทาย ตั้งแตบทที่ 1 ไปจนจบตองใชเปนตัวเลข กํากับหนา ตามลําดับ โดยพิมพตัวเลขดานมุมขวา หางจากริมกระดาษสวนบนและสวนขอบขวา 1 น้ิว ABCDEFGหนาแรกของบทที่ หนาบอกตอนบรรณานุกรม หนาแรกของบรรณานุกรม หนาบอกตอน ภาคผนวก และหนาแรกของภาคผนวก ไมตองพิมพเลขกํากับหนา แตนับหนารวม ABCDEFG5.ABการเวนระยะในการพิมพ การยอหนาใหเวนระยะ 7 ชวงตัวอักษร เริ่มพิมพชวงตัวอักษร ที่ 8 หรือ กําหนด Tab ที่ 0.75 น้ิว

ขอความที่คัดลอกมา ไมเกิน 3 บรรทัด ใหพิมพตอไปในเนื้อหาโดยใสเครื่องหมาย อัญประกาศ (“…”) กํากับ ขอความที่คัดลอกยาวเกิน 3 บรรทัด ใหข้ึนยอหนาใหมทุกบรรทัด ไมตองใชเคร่ืองหมายอัญประกาศ ขอความที่คัดลอกมาตองการเวนบางสวนใหใชเคร่ืองหมายละขอความ (…) ทั้งน้ีขอความที่คัดลอกมาตองระบุแหลงอางอิง (ใชตามรูปแบบที่มหาวิทยาลัยกําหนด) ผูทําโครงงานอาจเพิ่มเติมขอความลงไปในขอความที่คัดลอกไดโดยใสขอความดังกลาวไวในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] ABCDEFGหากขอความที่ยกมาอางอิง มิใชขอความที่คัดลอกมาโดยตรง ไมตองใสเครื่องหมายอัญประกาศกํากับ แตตองระบุแหลงอางอิง ABCDEFG6.ABการแบงบทและหัวขอในบท

ABC6.1 บท เมื่อเริ่มบทใหมตองขึ้นหนาใหม พิมพคําวา “บทที ่…” ไวกลางหนากระดาษ เวนจากขอบกระดาษดานบน 2 น้ิว ชื่อบท พิมพกลางหนากระดาษในบรรทัดใหม โดยเวน 1 บรรทั 6.2 หัวขอสําคัญ ใหพิมพชิดขอบซาย ใชตัวอักษรขนาด 18 พอยท ตัวหนา ไมตองใส หมายเลขกํากับ และหางจากบรรทัดบน 1 บรรทัด(ขนาด 16 พอยท) หากไมพอใน 1 บรรทัด ใหพิมพบรรทัดถัดไปโดยชิดขอบซายเชนกัน ABC6.3 หัวขอยอย หัวขอยอยใหพิมพโดยยอหนาเขาไป 7 ชวงตัวอักษร พิมพที่ชวงตัวอักษรที่ 8 หรือกําหนด Tab ที่ 0.75 น้ิว ใชตัวอักษรขนาด 16 พอยทตัวหนา ถาไมมีการแบงหัวขอยอยลงไปอีกใหพิมพเน้ือหาในบรรทัดเดียวกับหัวขอยอย

Page 7: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

ABCDEFGการแบงหัวขอยอย ใหใชตัวเลขกํากับหัวขอ และแบงยอยโดยใชจุดทศนิยม และตัวเลขตามลําดับ เชน BBBBBBB1.BB มีเครื่องหมายมหัพภาค(.) หลังหัวขอยอย BBB1.1BB ไมตองใสเครื่องหมายมหัพภาค(.) BBB1.1.1BB BBB1.1.1.1BB BBBBBBB2.BB หรือ กําหนดระยะTab ที่ 0.75 , 1.1, 1.5 , 2 , 2.6 น้ิว เพียงอยางใดอยางหนึ่ง 1. หัวขอน้ีต้ัง Tab ที่ 0.75 น้ิว แลวเร่ิมพิมพขอความที่ 1.1 น้ิว 1.1 หัวขอน้ีตั้ง Tab ที่ 1.1 น้ิว แลวเริ่มพิมพขอความที่ 1.5 น้ิว 1.1.1 หัวขอน้ีตั้ง Tab ที่ 1.5 น้ิว แลวเริ่มพิมพขอความท่ี 2 น้ิว 1.1.1.1 หัวขอน้ีตั้ง Tab ท่ี 2 น้ิว แลวเริ่มพิมพขอความที่ 2.6น้ิว ABCDEFGในแตละบทไมจาํเปนตองแบงหัวขอเหมือนกัน บทสรุปอาจไมมีการแบงหัวขอยอยก็ได และการขึ้นบรรทัดใหมของหัวขอยอยสามารถเริ่มไดท่ีขอบกระดาษดานซาย ABCDEFG7. การพิมพตาราง ตารางแตละตารางตองมีหมายเลขพรอมช่ือตารางหรือคําอธิบาย ระหวางตัวเลขกับคําอธิบายเวน 2 ระยะตัวอักษร ช่ือตารางที่ยาวเกิน 1 บรรทัดใหขึ้นบรรทัดใหมใหตรงกับชื่อตาราง เสนตารางใชเสนเด่ียว แนวนอน เปนเสนชิดบนสุด 2 เสนและเสนทายตาราง ตารางที่ตอหนาถัดไป หัวตารางใช “ตารางที่…(ตอ)” การแปรผลตารางใหเวน 1 บรรทัดจากบรรทัดสุดทายของตาราง คําวา “ตารางที่” และเลขที่ตาราง ใหใชตัวหนา สําหรับขอมูลในตารางถาเปนตัวอกัษรจัดชิดซาย และตัวเลขจัดชิดขวา ตารางที่A12ABรายละเอียดของตารางปรมิาณการใชอาคาร { เวน 1 บรรทัดขนาด 16 พอยท} ช่ือฟลด ชนิดขอมูล ขนาด คีย รายละเอียด Quan_late Date PK แสดงวันที่ใหอาหารสัตวนํ้า Food_id Char 4 PK แสดงรหัสอาหาร อาหารเสริมที่ให Quan_Amount Number 10,5 PK แสดงปริมาณที่ตองใหในแตละตู

Page 8: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

ABCDEFG8.ABการพิมพภาพประกอบหรือแผนภูมิแผนที่ ใหใชหมายเลขกํากับเชนเดียวกับตาราง แตพิมพไวใตภาพโดยเวนระยะหาง 1 ชวงบรรทัด จากภาพ พรอมระบุแหลงอางอิง ABCDEFG9.ABการพิมพช่ือวิทยาศาสตรและภาษาตางประเทศ การพิมพชื่อวิทยาศาสตรของจุลชีพ พืช สัตว ตามประมวลนามศาสตรสากล (International Code of Nomenclature) พิมพโดยตัวเอน ช่ือวิทยาศาสตรเปนไปตาม binomial system คือประกอบดวย 2 คํา คําแรกเปนช่ือ Genus ขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญ คําหลังเปน Specific epithet เขียนหางจากคาํแรกเล็กนอย ขึ้นตนดวยตัวอักษรตัวเล็ก ทายช่ือเฉพาะทางวิทยาศาสตรมักเปนชื่อบุคคลแรกที่กําหนดชื่อและคําบรรยายของสิ่งมีชีวิตน้ันกํากับอยูดวย ชื่อบุคคลมักจะใชเฉพาะชื่อสกุลเทาน้ัน ถาเปนผูที่มีช่ือเสียงจะใชช่ือยอและบางครั้งก็มีผูกํากับชื่อ 2 คน ชื่อบุคคลพิมพดวยตัวตรงปกติ ตัวอยาง ABCDEFGพืช เชน Oruza nsative L. (ขาว) ABCDEFGสัตว เชน Crassostrea commerialis Iredale & Roughly (หอยนางรมปากจีบ) ABCDEFGคําที่เปนชื่อเฉพาะในภาษาตางประเทศ ใหเขียนทับศัพทเปนภาษาไทย และวงเล็บภาษาตางประเทศ กํากับในการกลาวถึงครั้งแรก คําศัพทภาษาอังกฤษที่ไดมีการบัญญัติศัพทไวแลวโดยราชบัณฑิตยสถานใหใชคําที่บัญญัติน้ัน พรอมกํากับดวยภาษาอังกฤษไวในวงเล็บ ในการกลาวถึงครั้งแรก โดยคําทั่วไปขึ้นตนดวยอักษรตัวเล็ก คําเฉพาะขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญ เชน เอเชียนเกมส (Asian Games) บทคัดยอ (abstract)

การจัดหนาปกโครงงาน ABCDEFG1.ABหนาปกเปนสวนหนาสุดของโครงงาน มีสวนประกอบ 3 สวนดังน้ี

ABC1.1 สวนบน เปนช่ือโครงงานโดยพิมพไวกลางหนากระดาษใหหางจากขอบบนของกระดาษประมาณ 2 น้ิว ใชตัวอักษร Angsana UPC ขนาด 20 พอยตตัวหนา หากช่ือโครงงานมีความยาวเกิน 52 ตัวอักษรใหใชบรรทัดถัดมาโดยจัดเปนรูปหนาจั่วลง ตัวอยาง การพัฒนาระบบงานสถานเลี้ยงสัตวน้ําเค็ม สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล ชลบุรี

มหาวิทยาลัยบูรพา

Page 9: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

ABCDEFGABC1.2 สวนกลาง ช่ือและนามสกุลของผูทําโครงงาน ใหพิมพไวก่ึงกลางระหวางสวนบนและสวนลาง โดยมิตองระบุคํานําหนาชื่อ ยกเวนแตมีผูมียศ หรือบรรดาศักด์ิจึงระบุ ใชตัวอักษร Angsana UPC ขนาด 18 พอยตตัวหนา ตัวอยาง

เมธาวี ศรีสุข

1.3 สวนลาง เขียนตามรูปแบบที่กําหนด โดยใหบรรทัดสุดทายของขอความสวนน้ีอยูเหนือขอบลางขึ้นมาประมาณ 1 น้ิว ใชตัวอักษร Angsana UPC ขนาด 18 พอยทตัวหนา

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี พ.ศ. …….

ลิขสิทธ์ิเปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

หมายเหต ุ ป พ.ศ.หมายถึงปที่สงโครงงาน

Page 10: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๐

ระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคล่ือนที่

ณัฐวุฒิ วิริยเสริมกุล

โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี พ.ศ. 25xx

ลิขสิทธ์ิเปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา เปนภาษาไทยเทานั้น

Angsana UPC size 18 ตัวหนา

ป พ.ศ.หมายถึงปท่ีสงโครงงาน

Page 11: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๑

WAP SITE DIRECTORY SEARCH ENGINE SYSTEM

NATTAVUT WIRIYASERMKUL

A PROJECT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE DEGREE BACHELOR OF SCIENCE

IN COMPUTER INFORMATION SYSTEM FACULTY OF SCIENCE AND ARTS BURAPHA UNIVERSITY

20xx

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

Angsana UPC size 18 ตัวหนา

ป ค.ศ.หมายถึงปที่สงโครงงาน

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 น้ิว

2 นิ้ว

ทั้งเอกสารตองเปนตัวพิมพใหญท้ังหมด

Page 12: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๒

การจัดหนาอนุมัติ(ใบรับรองโครงงาน)

ใบรับรองโครงงาน สาขาวิชา.............................................................................................

คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี

หัวขอโครงงาน ชื่อโครงงาน................................................................................ (Project Name…………………………………………………) ช่ือนิสิต ................................................................................. รหัสประจําตัว .................... อาจารยท่ีปรึกษา ................................................................................ อาจารยท่ีปรึกษารวม ......................................................................... วันท่ีสอบ ............................................ โครงงานนี้ไดผานการเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบโครงงาน ไดพิจารณาโครงงาน ฉบับน้ีแลว เห็นสมควรรับเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา..............................บัณฑิต สาขาวิชา..........................................................ของมหาวิทยาลับบูรพาได (เวน2บรรทัด ขนาด 14 พอยท ) ....................................................... ....................................................... (.....................................................) (.....................................................) ประธาน กรรมการ (เวน2บรรทัด ขนาด 14 พอยท ) …………………………………… (………………………………….) กรรมการ (เวน2บรรทัด ขนาด 14 พอยท ) ....................................................... (....................................................) หัวหนาภาควิชา / คณบดี วันที่อนุมัติ

Page 13: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๓

ใบรับรองโครงงาน สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร

คณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี

หัวขอโครงงาน ระบบการสรางรานคาออนไลนดวยตัวตนแบบ ( PUBLISHING ONLINE SHOP WITH TEMPLATE)

ช่ือนิสิต นายนพพล หงษสุวรรณ รหัสประจําตัว 43310135 อาจารยท่ีปรึกษา นางสาวสิริสุดา บวัทองเกื้อ อาจารยท่ีปรึกษารวม - วันท่ีสอบ GABCBXX มีนาคม XXXX AAAAAAAโครงงานนี้ไดผานการเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบโครงงาน ไดพิจารณาโครงงานฉบับน้ีแลว เห็นสมควรรับเปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร ของมหาวิทยาลัยบูรพาได

…………………………………… ( นางสาวธารารัตน พวงสุวรรณ )

ประธาน

……………………………………

( นางสาวอัครา โศภารักษ ) กรรมการ

…………………………………… ( นางสาวสิริสุดา บัวทองเกือ้ )

กรรมการ

…………………………………… (นายลัญจกร สัตยสงวน)

คณบดีคณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร ……………………………

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

Angsana UPC size 18 ตัวหนา

เวน 2 บรรทัด size 14

เวน 2 บรรทัด size 14

เวน 2 บรรทัด size 14

ขีดไวสําหรับลงวันท่ีอนุมัติจบ

หัวขอ Angsana UPC size 16 ตัวหนา เนื้อความ Angsana UPC size 16

กําหนด tab ที่ 1.5 นิ้ว และ 4 นิ้ว

Page 14: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๔

การจัดหนาประกาศคุณูปการ

ABCDEFGหนาประกาศคุณูปการ เปนสวนที่ผูทําโครงงานเขียนแสดงความขอบคุณผูใหความชวยเหลือในการทาํโครงงาน พรอมลงช่ือและนามสกุลของผูทําโครงงาน (ไมมีคํานําหนาชื่อ)

ประกาศคุณูปการ

ABCDEFG…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เมธาวี ศรีสุข

Page 15: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๕

ประกาศคุณูปการ

โครงงานนี้สําเร็จไดดวยดี เน่ืองดวยผูทําโครงงานไดรับความกรุณาจากอาจารยที่ปรึกษาโครงงาน อาจารยสิริสุดา บัวทองเกื้อ ที่กรุณาใหคําปรึกษา ตลอดจนการแกไขปรับปรุงขอบกพรองของโครงงานใหถูกตองและสมบูรณมากยิ่งขึ้น อาจารยไพฑูรย ศรีนิล ที่กรุณาใหความรู และคําแนะนําในทฤษฏีเร่ืองเวคเตอรโมเดล และคณาจารยคณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตรทุกทานที่กรุณาใหคําสั่งสอนในการทําการศึกษาตลอดมา AAAAAAAขอบคุณคุณชัยชนะ บําขุนทด, ชานนท มาลา, จีระ อุไรรัตน ,เพ่ือนๆ และนองๆ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี ทุกคนที่ใหกําลังใจและความหวงใย ตลอดจนใหความชวยเหลือที่ดีเสมอมา และสุดทายนี้ขอกราบขอบพระคุณคุณพอ คุณแม พ่ีสาว และนองสาว ที่คอยใหความชวยเหลือและสนับสนุนดานการศึกษา ทั้งใหความอบอุนและเปนกําลังใจอยางสม่ําเสมอตลอดมา จนทําใหโครงงานนี้เปนผลสําเร็จ

ณัฐวุฒิ วิริยเสริมกุล

1 นิ้ว

1 น้ิว 1.5 นิ้ว

2 นิ้ว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

Angsana UPC size 16 เวน 1 บรรทัด size 16 เย้ืองเขา 7 ตัวอักษร หรือ 0.75 นิ้ว

เวน 2 บรรทัด size 16

ลักษณะการเขียนประกาศคุณูปการ ควรเปนดังนี้ - ควรรวมกลุมของบุคคลตางๆไวดวยกัน ไมใชยอหนามากเกินไป อาทิเชน กลุมของคณาจารย และกรรมการสอบโครงงาน

กลุมของผูใหขอมูลในการทําโครงงาน กลุมของเพื่อนๆ พี่ๆ นองๆ กลุมของผูปกครอง บิดา มารดา ญาติพี่นอง

- ใชคําในภาษาการเขียนหนังสือ คือ เปนคําสุภาพ และเปนทางการ จากตัวอยางจะไดแบงออกเปน 3 กลุมคือ คณาจารย เพ่ือน และ ผูปกครอง ซ่ึงอาจมากนอยแลวแตความเหมาะสมในการเขียน

Page 16: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๖

การจัดหนาบทคัดยอ

ABCDEFGบทคัดยอ (abstract) เปนสวนที่สรุปสาระสําคัญของโครงงานอยางยอ ๆ ประกอบดวย จุดประสงคของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน อุปกรณและเครื่องมือที่ใชในการทําโครงงาน ระยะเวลาและขั้นตอนการทําโครงงานและประโยชนที่ไดรับ รูปแบบบทคัดยอ

[รูปแบบบทคัดยอ](18 Point) รหัสนิสิต : สาขาวิชา:...................................; ช่ือปริญญา........................ คําสําคัญ : ใหระบุคําสําคัญที่สามารถสืบคน ABCDEFGช่ือผูทําโครงงาน : ช่ือโครงงานภาษาไทย (ช่ือโครงงานภาษาอังกฤษ) อาจารยที่ปรึกษา : ช่ือ นามสกุล , วุฒิการศึกษา . เลขจํานวน หนา. ปที่สงโครงงาน { 1 ชวงบรรทัด } อักษรชุดตอไปเปน 16 Point ABCDEFGจุดประสงคของโครงงาน.................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ABCDEFGประโยชนที่ไดรับ............................................................................................................ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

หมายเหตุ : สวนหัวของบทคัดยอใชตัวพิมพใหญขนาด 18 Point ช่ือโครงงานภาษาอังกฤษใชตัวพิมพใหญ สวนเนื้อเร่ืองของบทคัดยอใชตัวพิมพขนาด 16 Point ตัวปกติ

Page 17: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๗

45310725A:AสาขาวิชาA:Aระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร;Aวท.บ.(ระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร) คําสําคัญA: การสืบคน/Aแว็พไซด/Aโทรศัพทเคลื่อนที่ ณัฐวุฒิAวิริยเสริมกุลA:Aระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคลื่อนที่ (WAP SITE DIRECTORY SEARCH ENGINE SYSTEM)Aอาจารยที่ปรึกษาA:A สิริสุดาAบัวทองเกื้อ,Aวท.ม.(เทคโนโลยีสารสนเทศ)A126 หนา.AปAพ.ศ.25xx. โครงงานนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือนําเทคโนโลยีสารสนเทศและเวคเตอรโมเดลเขามาชวยในการจัดทําระบบการคนหา แว็พไซด บนโทรศัพทมือถือแบบ ไดเรกทอรีเสิรชเอ็นจิน (directory search engine) และใช เวคเตอรโมเดลเขามาชวยในการจัดเรียงผลลัพธคําคนใหถูกตองมากยิ่งข้ึน ระบบแบงการทํางานออกเปน 2 สวน คือ สวนที่หน่ึง ผูใชท่ัวไป สามารถใชงานผานระบบโทรศัพทเคลื่อนที่เทาน้ัน โดยผูใชสามารถคนหาขอมูล ลงทะเบียน และแกไขขอมูล แว็พไซด ไดโปรแกรมสวนที่สองเปนสวนของผูดูแลระบบสามารถใชงานไดทั้งในสวนของโทรศัพทเคลื่อนที่ และผานเว็บไซดของระบบ โดยผูดูแลระบบสามารถบริหารจัดการขอมูลตางๆของระบบได เชน ขอมูลของ แว็พไซด ขอมูลกลุมของ แว็พไซด ขอมูลของผูใชงานระบบ เปนตน AAAAAAAประโยชนที่ไดรับจากระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดชวยอํานวยความสะดวกตอผูใชงานในการหาคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่ และทําใหผูใหบริการ แว็พไซด สามารถใหบริการขอมูลขาวสารไดมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน AAAAAAAเครื่องมือที่ใชในการพัฒนาระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่ ไดแก โปรแกรมการจําลองเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ซ่ึงใชในการทดสอบระบบ โปรแกรมจําลองเว็บเซฟเวอร ฐานขอมูล มายเอสคิวแอล 5.0 (MySQL 5.0) และทฤษฏีเวคเตอรโมเดลในการจัดเรียงลําดับผลลัพธในการคนหา ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา และพัฒนาระบบประมาณ 8 เดือน

1 น้ิว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

สวนหัวเปน Angsana UPC size 18

เยื้องเขา7ตัวอักษร หรือ0.75 นิ้ว

เวน 1 บรรทัด size 16 เนื้อหาบทคัดยอAngsana UPC size 16 เยื้องเขา7ตัวอักษร หรือ 0.75 น้ิว

ปที่สงโครงงาน

ใช / ในการแบงคํา

1 นิ้ว

1 น้ิว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 นิ้ว angsana UPC size 16 ง

Page 18: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๘

[รูปแบบบทคดัยอภาษาอังกฤษ] Stu.Code : MAJOR:……………; Degree(Discipline) KEYWORD : identify keywords such as dependent variables, population ABCDEFGResearcher’s name : Project title.………..Advisor(s) with degree earned. Number of page. Year. ABCDEFGResearch objectives and methodology..........………….....................................……….. ............................................................................................……………………………….........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................…............................................................................................................................................................................................. ABCDEFGResearch finding .....................................................………….…............................... ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ หมายเหตุ : สวนหัวของบทคัดยอใชตัวพิมพใหญขนาด 18 Point ช่ือโครงงานภาษาอังกฤษใชตัวพิมพใหญ สวนเนื้อเร่ืองของบทคัดยอใชตัวพิมพขนาด 16 Point ตัวปกติ

Page 19: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๑๙

45310725A: MAJORA:ACOMPUTER INFORMATION SYSTEM;AB.Sc. (COMPUTER INFORMATION SYSTEM) KEYWORDA:AWAP SITE/ADIRECTORY SEACH ENGINE/AMOBLIE PHONE NATTAVUTAWIRIYASERMKULA:AWAPASITEADIRECTORYA SEARCHAENGINEASYSTEM.AADVISORA:ASIRISUDAABUATHONGKUE,AM.Sc.(INFORMATION TECHNOLOGY)A126 P.A20xx. The Objective of this project is to create and develop WAP SITE DIRECTORY SEARCH ENGINE SYSTEM by using information technology and vector model theory. In addition, the result from WAP SITE DIRECTORY SEARCH ENGINE SYSTEM was sorted accurately by vector model theory. This system can work on WAP site in mobile phone and web site in computer. General consumer can use WAP site in mobile phone, for example, searching for WAP site, registration and editing WAP Site. Whereas system administrator can use both WAP site in mobile phone and web site in computer, for instant, management WAP site and its group. AAAAAAAThe advantage of WAP SITE DIRECTORY SEARCH ENGINE SYSTEM are to make convenience for consumers in searching WAP site in mobile phone and help WAP site service provider in presenting the information efficiently. AAAAAAAThe tools using in the development of WAP SITE DIRECTORY SEARCH ENGINE SYSTEM are Nokia Sires 40 Developer Platform 2.0 SDK 6230i used as model program of mobile phone for testing the system, jarkata-tomcat-5.0.16 used as model program of web server, MySQL 5.0 use as database, and vector model theory for sorting the searched results. The study and system development took approximately 8 months.

1 น้ิว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 น้ิว

สวนหัว Angsana UPC size 18 ตัวพิมพ ใหญทั้งหมด

เยื้องเขา7ตัวอักษร หรือ0.75 นิ้ว

เวน 1บรรทัด size 16 เนื้อหาบทคัดยอAngsana UPC size 16 เยื้องเขา7ตัวอักษร หรือ 0.75 น้ิว

กําหนดระยะชื่อสาขาตรงกับ Keyword

ปที่สงโครงงาน

ใช / ในการแบงคํา

1 น้ิว

1 น้ิว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 นิ้ว angsana UPC size 16 จ

Page 20: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๐

การจัดหนาสารบัญ

ABCDEFG สารบัญ เปนรายการที่แสดงสวนประกอบสําคัญทั้งหมดของโครงงานโดยเรียงตามลาํดับเลขหนา ประกอบดวย ABCDEFG - สารบัญ เปนการแสดงโครงสรางหนาทั้งหมดของเอกสารโครงงาน

- สารบัญตาราง(ถาม)ี เปนสวนที่แจงตําแหนงหนาของตารางทั้งหมดที่มีอยูในโครงงาน

- สารบัญภาพ (ถามี) เปนสวนที่แจงตําแหนงหนาของภาพที่มีอยูทั้งหมดในโครงงาน

Page 21: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๑

สารบัญ บทคัดยอภาษาไทย.................................................................................................................. บทคัดยอภาษาอังกฤษ............................................................................................................. สารบัญ.................................................................................................................................... สารบัญตาราง.......................................................................................................................... สารบัญภาพ............................................................................................................................. บทที่ AAA1.AAบทนํา..................................................................................................................... AAAAAAAความเปนมาของปญหา....................................................................................... แนวทางในการพัฒนา......................................................................................... วัตถุประสงคของโครงงาน................................................................................. ขอบเขตของโครงงาน......................................................................................... ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั................................................................................ AAA2.AAเอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของ............................................................................. วิวัฒนาการของเทคโนโลยีไรสาย....................................................................... ไวเลท แอพพลิเคชัน โปรโตคอล (wireless application protocol : WAP)......... เสริทเอ็นจิ้น (search engine).............................................................................. หลักการคนหาขอมูลที่ใชในระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคลื่อนที่. AAA3.AAวิธีการดําเนินการทดลอง....................................................................................... AAAAAAAการรับสงขอมูลระหวางเวปเซริฟเวอร (web server)กับอีมูเลเตอร(emulator).... การศึกษาและวิเคราะหระบบ............................................................................. ยูสเคสไดอะแกรม(use case diagram)................................................................ AAAAAAAคลาสไดอะแกรม(class diagram)........................................................................ AAAAAAAสเตทไดอะแกรม (State Diagram)...................................................................... AAAAAAAซีเควนซไดอะแกรม(Sequence Diagram)...........................................................

หนา ง จ ฉ ซ ฌ

1 1 2 3 3 4 5 5 7

14 18 23 23 23 26 30 32 37

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

2 นิ้ว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด size 16

ระยะตามตัวอักษร หรือ กําหนด tabที่ 0.3 , 0.6 และ 0.75 น้ิว

จัดโดยใชตาราง 2 คอลัมน แบงที่5.4 นิ้ว

1 นิ้ว

Page 22: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๒

สารบัญA(ตอ) บทท่ี AAA4.AAผลการทดลอง........................................................................................................ AAAAAAAผูใชทั่วไป........................................................................................................... AAAAAAAผูดูแลระบบ......................................................................................................... AAA5.AAสรุปและขอเสนอแนะ........................................................................................... AAAAAAAคุณสมบัติของระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคล่ือนที่....................... AAAAAAAปญหาที่พบในการพัฒนาระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคล่ือนที่...... AAAAAAAขอเสนอแนะในการพัฒนาระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคลื่อนที่.... บรรณานุกรม.......................................................................................................................... ภาคผนวก............................................................................................................................... AAAภาคผนวกAก.................................................................................................................. AAAภาคผนวกAข.................................................................................................................. AAAภาคผนวกAค.................................................................................................................. AAAภาคผนวกAง.................................................................................................................. ประวัติยอของผูทําโครงงาน....................................................................................................

หนา 41 41 52 59 59 59 60 61 63 64 67 72 99

126

1 น้ิว

1 น้ิว 1.5 นิ้ว

1.5 น้ิว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

จัดชดิขวา

เวน 1 บรรทัด size 16

ช 1 นิ้ว

1 นิ้ว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 น้ิว angsana UPC size 16

Page 23: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๓

สารบัญตาราง

ตารางที ่AAA3-1AAรายละเอียดตารางฐานขอมูล................................................................................. AAAก-1AAรายละเอียดของตารางแว็พไซด............................................................................ AAAก-2AAรายละเอียดของตารางสถานะ............................................................................... AAAก-3AAรายละเอียดของตารางที่เก็บคาความถี่ของคําในแตละแว็พไซด........................... AAAก-4AAรายละเอียดของตารางที่เก็บคาความถวง.............................................................. AAAก-5AAรายละเอียดของตารางผูดูแลระบบ....................................................................... AAAก-6AAรายละเอียดของตารางกลุมของแว็พไซดระดับที่ 0............................................... AAAก-7AAรายละเอียดของตารางกลุมของแว็พไซดระดับที่ 1............................................... AAAก-8AAรายละเอียดของตารางกลุมของแว็พไซดระดับที่ 2............................................... AAAก-9AAรายละเอียดของตารางกลุมของแว็พไซดระดับที่ 3............................................... AAAก-10 รายละเอียดของตารางกลุมของแว็พไซดระดับที่ 4..............................................

หนา 40 64 64 65 65 65 66 66 66 66 67

เวน 1 บรรทัด size 16

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

2 นิ้ว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

กําหนดระยะตัวอักษรแบบหนาสารบัญ หรือ กําหนด tabที่ 0.3 และ 0.75 นิ้ว

กําหนดเริ่มอักษรตองตรงกัน

Page 24: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๔

สารบัญภาพ

ภาพที่ AAA2-1AAววิัฒนาการเทคโนโลยีไรสาย............................................................................... AAA2-2AAโครงสรางการทํางานของแวป.............................................................................. AAA3-1AAยูสเครสไดอะแกรมเมนูของระบบคนหาขอมูลแวป............................................. AAA3-2AAยูสเคสไดอะแกรมของการใชงานในสวนแวพ็ไซด.............................................. AAA3-3AAยูสเคสไดอะแกรมของการใชงานในสวนผูใชงาน............................................... AAA3-4AAยูสเคสไดอะแกรมของการใชงานในสวนกลุม..................................................... AAA3-5AAคลาสไดอะแกรมของคนหาขอมูลแว็พไซด......................................................... AAA3-6AAเสตทไดอะแกรมของการคนหาแว็พไซด............................................................. AAA3-7AAเสตทไดอะแกรมของการจัดการกลุม................................................................... AAA3-8AAเสตทไดอะแกรมของการจัดการผูใช.................................................................... AAA3-9AAซีเควนไดอะแกรมของการคนหาแว็พไซด........................................................... AAA3-10 ซีเควนไดอะแกรมของการเพิ่มแว็พไซด.............................................................. AAA3-11 ซีเควนไดอะแกรมของการแกไขขอมูลแว็พไซด.................................................. AAA3-12 ซีเควนไดอะแกรมของการเปลี่ยนสถานะแว็พไซด.............................................. AAAง-1AAหนาจอเมนู และหนาจอการรับคําคนจากผูใช...................................................... AAAง-2AAหนาจอแสดงผลจากการสืบคน............................................................................. AAAง-3AAหนาจอแสดงรายละเอียดของแว็พไซด................................................................. AAAง-4AAหนาจอสําหรับเลือกกลุมของแว็พไซด ในกรณีที่ผูใชแจงยายกลุม....................... AAAง-5AAหนาจอยืนยันการแจงยายกลุม.............................................................................. AAAง-6AAหนาจอแสดงผลการแจงยายกลุม.......................................................................... AAAง-7AAหนาจอการแจงลบแว็พไซด.................................................................................. AAAง-8AAหนาจอการลงทะเบียนแว็พไซด........................................................................... AAAง-9AAหนาจอยืนยันการลงทะเบียนแว็พไซด.................................................................. AAAง-10 หนาจอแสดงรายงานผลการลงทะเบียนแว็พไซด................................................

หนา 5 8

26 27 28 29 30 33 35 36 37 39 39 40 99

100 101 102 102 103 103 104 105 106

กําหนดระยะตัวอักษรแบบหนาสารบัญ หรือ กําหนด tabที่ 0.3 และ 0.75 น้ิว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

2 นิ้ว

Angsana UPC size 20ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด size 16

กําหนดเริ่มอักษรตองตรงกัน

Page 25: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๕

สารบัญภาพA(ตอ) ภาพที่ AAAง-11 หนาจอการใชงานการปอนรหัสบัตรประชาชนในกรณีที่ลืมรหัสแว็พไซด หรือรหัสผานของผูใชงาน.................................................................................. AAAง-12 หนาจอแสดงรหัสแว็พไซดและรหัสผานสําหรับการแกไขขอมูล...................... AAAง-13 หนาจอการปอนรหัสแว็พไซดและรหัสผานในการแกไขขอมูล......................... AAAง-14 หนาจอการเลือกแกไขขอมูลแว็พไซดหรือเปลี่ยนรหัสผาน............................... AAAง-15 หนาจอการปอนขอมูลสําหรับการเปลี่ยนรหัสผาน............................................

หนา

106 107 107 108 108

เวน 1 บรรทัด size 16 Angsana UPC size 20 ตัวหนา

กําหนดเริ่มอักษรตองตรงกัน

1 น้ิว

1 น้ิว 1.5 น้ิว

1.5 นิ้ว ญ 1 นิ้ว

1 น้ิว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 นิ้ว angsana UPC size 16

Page 26: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๖

การจัดหนาเนื้อหาโครงงาน

โครงงานจะประกอบไปดวย 5 บทหลักๆ ไดแก - บทนํา - ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ - วิธีทําการทดลอง - ผลการทดลอง - สรุปผลและขอเสนอแนะ โดยที่ในหนาแรกของบทแตละบทใหเวน 2 น้ิวจากขอบกระดาษดานบน ในหนาถัดไปเวน 1.5 น้ิว บทที่ และช่ือของบท ใชตัวอักษร Angsana UPC ขนาด 20 พอยท ตัวหนา สําหรับหัวขอสําคัญใหชิดขอบกระดาษดานซาย ใชตัวอักษรขนาด 18 พอยท ตัวหนา สวนหัวขอยอยใชตัวอักษรขนาด 16 พอยท ตัวหนา และเนื้อหาทั่วไปใชตัวอักษรขนาด 16 พอยท และการเวนบรรทัด ใหหางกัน 1 ชวงบรรทัด ดวยขนาดอักษร16 พอยท

Page 27: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๗

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาของปญหา ปจจุบันโทรศัพทเคล่ือนที่ไดกลายเปนอุปกรณที่มีความจําเปนตอชีวิตประจําวันของคนเราเปนอยางมาก ไมใชเพียงแคการพูดคุย ติดตอส่ือสารเทาน้ัน แตมีการพัฒนาขีดความสามารถใหใชประโยชนไดหลากหลายมากยิ่งข้ึน เชน บริการขอมูลขาวสาร บริการความบันเทิง เปนตน บริการเสริมเหลาน้ีเองทําใหโทรศัพทเคล่ือนที่ในปจจุบัน สามารถทํางานไดใกลเคียงกับเครื่องคอมพิวเตอรมากข้ึน โทรศัพทเคล่ือนท่ีในปจจุบัน จึงมีการพัฒนาใหสามารถทํางานไดหลายอยาง เชน บริการสงขอความดวยตัวอักษร (message) ขอความภาพ (picture massage) ถายรูป ฟงวิทยุ ดูทีวีผานโทรศัพท (tv on mobile phone) รับ-สงจดหมายอิเลคทรอนิกส เลนเกมสผานเครือขาย ซ่ึงการใชงานอินเทอรเน็ตโดยอาศัยการเช่ือมตอดวยระบบจีพีอารเอส (General Packet Radio Service : GPRS ) ดวยเหตุน้ีเอง จึงเปนเหตุทําใหผูทําโครงงานสนใจในเรื่องการพัฒนาเว็บไซดบนโทรศัพทเคลื่อนที่ ซ่ึงเรียกวาแว็พไซด( Wireless Application Protocol site : WAP site ) โดยเปนแว็พไซดที่รับลงทะเบียน แว็พไซด อ่ืน เพ่ืออํานวยความสะดวกใหแกผูทองแว็พไซด ในการทอง แว็พไซด ที่สนใจได โดยใชระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่ สําหรับปญหาท่ีพบในปจจุบันน้ันไดแก 1.AAในปจจุบันมี แว็พไซด เกิดขึ้นมากมาย ทําใหผูทอง แว็พไซด ไมทราบ ยูอารแอล(URL) ในการคนหาขอมูล 2.AAระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่ ในปจจุบันยังมีไมมากนัก ทําใหเก็บขอมูลของ แว็พไซด ไดไมกวางขวาง อีกทั้งการคนหา และการจัดเรียงผลลัพธของ แว็พไซด ยังมีไมหลากหลาย 3.AA…………………………………………………………………………............. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด size 16 Angsana UPC size 20 ตัวหนา

ไมตองเวน บรรทัด

หัวขอสําคัญ Angsana UPC size 18 ตัวหนา ไมตองใสเลขขอ

* ขอสังเกต ทั้งเอกสารตองเขียนเปนภาษาไทย ทุกครั้งสําหรับคําภาษาอังกฤษ โดยในคําแรกที่เจอใหเขียนภาษาไทย ในวงเล็บภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็ก

แตถาเปนคํายอใหเขียนคําเต็มกอน โดยตัวอักษรตัวแรกของแตละคําเปนตัวพิมพใหญ แลวจึงตอดวยตัวยอท่ีเปนตัวพิมพใหญ จากนั้นตลอดเอกสารใหเขียนเปนภาษาไทย

เยื้องเขา7ตัวอักษร หรือ 0.75 นิ้ว

Page 28: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๘

แนวทางในการพัฒนา แนวทางในการพัฒนาระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่น้ัน มีแนวทางในการพัฒนาตามขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) โดยมีขั้นตอนการดําเนินงานดังน้ี 1. รวบรวมและศกึษาขอมูล 1.1 ศึกษาเทคโนโลยีแว็พ(Wireless Application Protocol : WAP ) เพ่ือใชในการพัฒนาโครงงาน 1.2 ศึกษาโปรแกรมภาษาดับเบิลยูเอมแอล (Wireless Markup Language : WML) เพ่ือใชในการสราง แว็พไซด 1.3 ศึกษาโปรแกรมเอ็ม เกตเวย (m gateway) ซ่ึงทําหนาที่เปนแว็พ เกตเวย (WAP gateway) เพ่ือใชในการรับ-สงขอมูลในเครือขายอินเทอรเน็ต กับ เครือขายไรสาย 1.4 ศึกษาโปรแกรมอพาเชร ทอมแคท (apache tomcat) เพ่ือใชในการจําลอง เวป เซิฟเวอร (web server) 1.5 ศึกษาโปรแกรมจําลองเครื่องโทรศัพทในคอมพิวเตอร (emulator) 1.6 ศึกษาโปรแกรมภาษาเจเอสพี (Java Server Page : JSP) เพ่ือใชดึงขอมูล และประมวลผลแบบไดนามิค (dynamic) 1.7 ศึกษาโปรแกรมฐานขอมูล มายเอสคิวแอล (MySQL) เพ่ือใชในการเก็บขอมูลแว็พไซด ที่มาลงทะเบียนกับระบบ 1.8 ศึกษาการใชงานรวมกันระหวางภาษาดับเบิลยูเอมแอล และ เจเอสพี 2. การออกแบบลักษณะการทํางานของระบบ 2.1 นําขอมูลที่ไดจากการรวบรวมมาวิเคราะหเพ่ือศึกษา และออกแบบใหตรง กับความตองการของระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคล่ือนที่ 2.2 กําหนดลําดับขั้นตอนการทํางานของระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บน โทรศัพทเคลื่อนที่ 2.3 เลือกเคร่ืองมือที่ใชพัฒนาระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพท เคล่ือนที่ 2.4 ออกแบบในสวนของการติดตอกับผูใช 3.AAการพัฒนาระบบ 3.1 พัฒนาระบบที่ไดออกแบบไวเปนโปรแกรม

1 นิ้ว

1 น้ิว 1.5 น้ิว

1.5 นิ้ว หัวขอสําคัญ Angsana UPC size 18 ตวัหนา

BBBBBBB1.BB มีเครื่องหมายมหัพภาค(.) หลังหัวขอยอย BBB1.1BB ไมตองใสเครื่องหมายมหัพภาค(.) BBB1.1.1BB BBB1.1.1.1BB BBBBBBB2.BB หรือ กําหนด tab ดังนี้ 0.75 , 1.1 , 1.5 , 2 น้ิว

1 นิ้ว

1 น้ิว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 นิ้ว angsana UPC size 16

2

Page 29: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๒๙

3.2 ทําการตรวจสอบระบบในสวนที่กําลังพัฒนาอยู เพ่ือเปนการแกปญหา ของระบบขั้นตน

3.3 ทดสอบระบบที่ไดพัฒนาขึ้น โดยการทดลองใชระบบจรงิหลังจากที่ พัฒนาโปรแกรมแลว เพ่ือตรวจสอบหาขอผิดพลาดของระบบ เพ่ือทําการพัฒนา และปรับปรุงตอไป

วัตถุประสงคของโครงงาน 1. ระบบสามารถรับลงทะเบียนแว็พไซดและสืบคนขอมูลผานโทรศัพทเคลื่อนที่ได2. นําทฤษฏีเวคเตอรโมเดลมาใชในระบบการสืบคนขอมูล เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ

ในการคนหา และจัดเรียงลําดับผลลัพธตามความสัมพันธระหวางเอกสาร และชุดคําคน 3. ระบบสามารถคนหาขอมูล แว็พไซด ท่ีลงทะเบียนเรียบรอยแลวได

ขอบเขตของโครงงาน .............

3. ซอฟตแวรและฮารดแวรท่ีใชในการพัฒนาระบบ3.1 ซอฟตแวร

3.2.1 จากาตา ทอมแคท 5.0.16 (jakarta-tomcat-5.0.16) 3.2.2 เจทูเอสดีเค 1.4.0_02 (j2sdk 1.4.0_02) 3.2.3 มายเอสคิวแอล 4.0.17 (MySQL 4.0.17) 3.2.4 มายเอสคิวแอล ฟรอนท (MySQL- Front)

3.2 ฮารดแวร 3.3.1 จอแสดงผลขนาด 15 น้ิว 3.3.2 หนวยประมวลผลกลางความเร็ว 2.6 กิกะเฮิรท (GHz) 3.3.3 เมนบอรด 3.3.4 ฮารดดิสไดรความจุ 40 กิกะไบท (GB) 3.3.5 แรมขนาด 256 เมกะไบท (MB) 3.3.6 คียบอรดและเมาท 1 ชุด

4. ขอจํากัดของระบบ 4.1 รองรับโทรศัพทที่ใชระบบปฏิบัติการซิมเบยีน(symbian)รุน 40 ข้ึนไป มี

เวปบราวเซอร (web browser) ในเครื่องโทรศัพท และสามารถเชื่อมตอระบบเครือขายจีพีอารเอส ได

เวน 1 บรรทัด size 16 หัวขอสําคัญ Angsana UPC size 18 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด size 16 ตรงนี้ละการพิมพเนื้อหาปกติเอาไว

0.75 1.1 1.5 2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 น้ิว 3

Page 30: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๐

4.2 รูปแบบการแสดงผลขึ้นอยูกับรุน และยี่หอ ของโทรศัพทซ่ึงมีรูปแบบการแสดงผลไมเหมือนกัน

4.3 การคนหา และแสดงผลในรูปแบบภาษาไทย ขึ้นอยูกับการรองรับภาษาไทยในโทรศัพทและเวปบราวเซอร แตละรุน ซ่ึงใชการเขารหัสไมเหมือนกัน ซ่ึงหากตองการใหรองรับการแสดงผลภาษาไทย เคร่ืองโทรศัพทมือถือตองสามารถเขารหัสแบบวินโดร 874 (windows-874) ได

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ผูใชบริการสามารถหาขอมูล แว็พไซด ที่มาลงทะเบียนกับระบบได2. เพ่ือเผยแพร แว็พไซด ใหผูอื่นใชประโยชนไดอยางสูงสุด3. ขอมูล แว็พไซด งายตอการจัดการ และถูกจัดการอยางเปนระบบ4. การนําระบบนี้เขามาใช ทําใหผูใชสามารถใชงาน แว็พไซด ไดอยางสะดวกขึ้น

เน่ืองจากสามารถหา แว็พไซด ที่สนใจไดจากระบบคนหาขอมูล แว็พไซด บนโทรศัพทเคลื่อนที่

เวน 1 บรรทัด size 16

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 น้ิว 4

Page 31: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๑

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

แว็พ (สมภพAสกุลดี,A2543,Aหนา 25-26)

เปนรูปแบบหนึ่งของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตในเครือขายไรสาย (mobile internet) ซ่ึง แว็พ ไดนําแนวคิดเกี่ยวกับอินเทอรเน็ตแบบเดิมท่ีใชกันอยูในปจจุบัน มาดัดแปลงใหเหมาะสมกับการใชงานในเครือขายไรสาย เชน โทรศัพทมือถือ พอรคเก็ต พีซี, ปาลม, พีดีเอ ท่ีมีขอจํากัดในดานตางๆมากมาย ทั้งดานหนวยประมวลผล หนวยความจํา ดังน้ัน แว็พ จึงไดเกิดขึ้นมาเพ่ือใหอุปกรณเหลาน้ีสามารถใชงานอินเทอรเน็ตไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด

1. โครงสรางของ แว็พ เกตเวท เน่ืองจาก แว็พ เกตเวท เปนการเปลี่ยนรูปแบบขอมูลจากที่ไดรับมาใหเหมาะสม และตรงตามขอกําหนดของโปรโตคอลดับเบิลยูเอสพี (Wireless Session Protocol : WSP ) ดังน้ันโครงสรางของ แว็พ เกตเวท จึงมีทั้งโปรโตคอลแว็พ ซ่ึงประกอบดวย ดับเบิลยูเอสพี, ดับเบิลยูทีพี (Wireless Transaction Protocol : WTP), ดับเบิลยูทีแอลเอส ( Wireless Transport Layer Security : WTLS ), ดับเบิลยูดีพี (Wireless Datagram Protocol : WDP ) และโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี เน่ืองจากแว็พ เกตเวท เปนตัวกลางในการสื่อสารขอมูลระหวางเครือขายอินเทอรเน็ตกับเครือขายไรสาย จึงตองมีคุณสมบัติที่รองรับโปรโตคอลที่ใชงานในฝงลูกขาย (โทรศัพทมือถือ) และฝงแมขาย เม่ือมีการติดตอกับฝงแมขาย ตองอาศัยโปรโตคอลทีซีพี/ไอพี แตเม่ือมีการตดิตอกับฝงลูกขาย ซ่ึงเปนโทรศัพทมือถือตองอาศัยโปรโตคอลแว็พ ซ่ึงโครงสรางของ แว็พ เกตเวท แสดงไดดังรูป

2 น้ิว

1 น้ิว

1 น้ิว 1.5 น้ิว

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

เวน 1 บรรทัด size 16 หัวขอสําคัญ Angsana UPC size 18 ตัวหนา ไมตองใสเลขขอ

การอางอิง ถาหากอางอิงมาทั้งหมดบทความใหเขียนไวที่หัวขอใหญ แตหากอางอิงเฉพาะขอความใหเขียนไวหลังขอความนั้น โดยมีลักษณะ (ชื่อAชื่อสกุล,Aปที่พิมพ,Aหนา--)

Page 32: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๒

Billing data Subscriber data Compiler encoder/decoder Context manager

WSP WTP

WTLS HTTP WDP TCP/IP

ภาพที่A2-1Aโครงสรางของ แว็พ เกตเวท (สราวุธAออยศรีสกุล,A2544,Aหนา 60) ........................

ระยะเวลาการใชบริการ ฐานขอมูลผูใชบริการ เขารหัส-ถอดรหัส

เครือขายไรสาย เครือขายอินเทอรเน็ต

ตรงนี้ละการพิมพเนื้อหาปกติเอาไว

ตัวอยางการเขียนอางอิงเอกสาร ในที่นี้เปนการอางอิงภาพ

เวน 1 บรรทัด size 16 ใตภาพ เหนือบรรยายภาพ

ใหเริ่มจากชิดซาย คําวา ภาพที่ และเลขของภาพเปนตัวหนา สวนการบรรยายเปนตัวปกต ิ

ใตคําบรรยายจะเวนหรือไมเวนก็ไดแลวแตความเหมาะสม

เหนือภาพจะเวนหรือไมเวนก็ไดแลวแตความเหมาะสม

1 นิ้ว

1 นิ้ว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 นิ้ว angsana UPC size 16

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

กรณีคําอธิบายภาพยาวเกิดกวา 1 บรรทัด ใหมาข้ึนตนบรรทัดใหมตรงตําแหลงเริ่มการบรรยาย เชน ภาพทีA่ง-11Aหนาจอการใชงานการปอนรหัสบัตรประชาชนในกรณีที่ลืมรหัสแว็พไซด หรือ รหัสผาน

ของผูใชงาน

6

Page 33: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๓

การอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา แบบ ข

การเขียนการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา เปนการอางอิงที่รวมกันกับเนื้อหา สามารถเขียนชื่อผูแตงเปนสวนหนึ่งของเนื้อหาดวยก็ได หรือจะแยกไวในวงเล็บก็ได ตัวอยาง

หลักเกณฑการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหา แบบ ข 1. การอางอิงแบบแทรกในเนื้อหาใหใสขอมูลชื่อผูแตง ปที่พิมพ หนาที่อางอิงไวในวงเล็บ

(ช่ือAช่ือสกุล,Aปที่พิมพ,Aหนา--) ภาษาไทย(ช่ือสกุล,Aปที่พิมพ,Ap.--) ภาษาอังกฤษ

2. หลักเกณฑการลงชื่อผูแตง2.1 ผูแตงคนไทย

2.1.1 คํานําหนานาม ไดแก นาย นาง นางสาว ไมตองใส 2.1.2 ผูแตงที่มีฐานันดร บรรดาศักด์ิ ยศทางราชการตาํรวจ นักบวช

นําหนาชื่อ ใหคงไวโดยไมตองยายตําแหนง เชน พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร พระธรรมปฎก

2.1.3 ผูแตงที่มีตําแหนงทางวิชาการ หรือคําที่ระบุอาชีพนําหนา ไมตองระบุ เชน

ศาสตราจารย นายแพทยเกษม วัฒนชัย ลงวา เกษม วัฒนชัย

โปรแกรมจัดการความรูแตกตางจากโปรแกรมระบบสารสนเทศ โดยทั่วไปเพราะจะทําใหเห็นภาพของระบบงานไดชัดเจนขึ้น โดยมีการเชื่อมโยงกระบวนการทํางานในลักษณะ การไหลของการทาํงาน (workflow ) กับผลผลิต (output) ท่ีทําใหเกิดภาพรวมของการพัฒนาความรูในองคกร โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเคร่ืองมือสนับสนุนการพัฒนาระบบงานและการจัดการระบบสารสนเทศ ซ่ึงมีกระบวนการทํางานที่เปนระบบ คือมีการนําขอมูลเขา มีการประมวลผลขอมูลและการแสดงผล ซ่ึงผลที่ไดจากกระบวนการทํางานของแตละระบบจะเปนผลผลิตหรือความรูขององคกร (นํ้าทิพย วิภาวิน , 2547 , หนา 47 )

ดร.นํ้าทิพย วิภาวิน ( 2547 , หนา 98 ) กลาวถึงองคประกอบของการพัฒนาหองสมุดดิจิทัลมี 4 องคประกอบคือ เคร่ืองคอมพิวเตอรและอปุกรณ (hardware) โปรแกรมคอมพิวเตอร (software) บุคลากร (staff) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิทัล (collection)

Page 34: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๔

2.2 ผูแตงชาวตางประเทศใชเฉพาะชื่อสกุล หากอางอิงโดยเขียนชื่อผูแตงใน เน้ือหาใหเขียนเปนภาษาไทย และวงเล็บเปนภาษาอังกฤษ

Brain Newman ลงวา (Newman,A2003,Ap.41) Thomas Davenport ลงวา ดาเวนพอรต (Davenport,A2004,Ap.101) 2.3 ผูแตงที่เปนองคกร สมาคม หนวยงาน ใหลงช่ือผูแตงดวยหนวยงานนั้นๆ เชน

(มหาวิทยาลัยบูรพา,A2547,Aหนา 29-30) 2.4 ผูแตงที่มากกวา 1 คน แตไมเกิน 6 คนใหลงรายชื่อครบทุกคนตามที่ปรากฏใน

หนาปกใน โดยใชเคร่ืองหมายจุลภาค(,) คั่นระหวางแตละช่ือและใชคําวา “และ” หรือ “&” ค่ันระหวางคนรองสุดทายกับคนสุดทาย เชน

บุปผา เทวาหุดี,Aกมลา รุงอุทัย,Aสุภาภรณ สังขศิริ และ นิตยา พีรานนท เชอร่ี พันกรณ,Aอดิศักด์ิ นรินทรรัมย,Aรัตนา แซลุย,Aพลอยรุง ขวัญดี &

ทวีโชค บุญเขียว More,ABergman,ALang,AMartinAandATaylor 2.5 ผูแตงตั้งแต 7 คนขึ้นไป ลงช่ือผูแตงเฉพาะคนแรกและตามดวยคาํวา

“ และคณะ ” หรือ “ et al. ” สําหรับภาษาอังกฤษ เชน วัลลภ สวัสดิวัลลภ และคณะ Bowker et al.

3. การอางอิงผลงานของผูแตงคนเดียวกันหลายชื่อเร่ือง โดยท่ีแตละชื่อเรื่องพิมพปเดียวกัน ใหใสอักษร ก,ข,ค, . . . หรือ a,b,c, . . . ไวหลังปพิมพ โดยเรียงตามลําดับการอางอิง เลมใดอางเปนเลมแรกใสอักษร ก หรือ a อักษรเหลาน้ีจะตองปรากฏในบรรณานุกรมดวย

(นํ้าทิพย วิภาวิน,A2547ก,Aหนา43) (นํ้าทิพย วิภาวิน,A2547ข,Aหนา29) 4. การอางอิงแหลงรอง กรณีที่ไมสามารถคนหาสารสนเทศจากตนแหลงไดตองอางอิงจาก

แหลงรอง การเขียนอางอิงทําได 2 วิธี 4.1 การอางอิงโดยระบุแหลงรองกอน มีวิธีการอางอิงดังน้ี ใหระบุแหลงรองแลว

ตามดวยคําวา “อางอิงจาก” สําหรับวัสดุสารสนเทศที่เปนภาษาไทย และใช คําวา “citing” สําหรับวัสดุสารสนเทศภาษาอังกฤษ

(นํ้าทิพย วิภาวิน,A2547,Aหนา44 ; อางอิงจาก มนตรี จุฬาวฒันทล,A2537,A หนา70-73)

(MeCarty,A1999,Ap.23 ; citing Roger,A1979,Ap.41-42)

Page 35: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๕

4.2 การอางอิงโดยระบุสารสนเทศตนแหลงกอน โดยใชคําวา “อางถึงใน” สําหรับ วัสดุสารสนเทศภาษาไทย และ “cited in” สําหรับวัสดุสารสนเทศ ภาษาองักฤษ

(มนตรี จุฬาวัฒนทล,A2537,Aหนา70-73;อางถึงใน นํ้าทิพย วิภาวนิ,A2547,A หนา44 )

(Roger,A1997,Ap.41-42;cited in MeCarty,A1999,Ap.23) 5. การอางอิงบทความจากวารสารธีรยุทธ บุญมี. “Road map ประเทศไทย” มติชนสุดสัปดาห ปที่ 23 ฉบับที่ 1210

วันที่ 24-30 ตุลาคม 2546 หนา36-38 Gill Needham. “Information use by teachers in junior schools ”, Education Library

Bulletin No.24 p.30-43, 1981 จะอางอิงดังน้ี

(ธีรยุทธ บุญมี,A2546,Aหนา36-38) (Needham,A1981,Ap.30-43) 6. การอางอิงจากเว็บไซต ใหระบุเพียงผูแตงและปท่ีเผยแพร

Borghoff , U.M and fareschi, R. Information technology for knowledge management. <http://www.iicm.edu/jues.> (December 15,1998)

เขียนการอางอิงดังน้ี (Borghoff and Pareschi,A1998) 7. กรณีท่ีไมมีช่ือผูแตง ใหใชช่ือเรื่องแทนชื่อผูแตง

(มนุษยกับศาสนา,A2547,Aหนา55-56,58)8. หากไมมีปพิมพใหใชอักษรยอ ม.ป.ป (ไมปรากฏปทีพิ่มพ) สําหรับภาษาอังกฤษใช n.d.

(no date) (วีรวุธ มาฆะศิรานนท,Aม.ป.ป,Aหนา72-73) 9. รายชื่อวัสดุอางอิงทั้งหมดจะตองไปปรากฏอยูในบรรณานุกรม

Page 36: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๖

การเขียนบรรณานุกรมแบบ ข

รูปแบบบรรณานุกรมแบบ ข. จะใชกับการอางอิงแบบแทรกในเนื้อหาแบบ ข. สําหรับวัสดุสารสนเทศที่เปนภาษาไทย

สําหรับวัสดุสารสนเทศที่เปนภาษาอังกฤษ

ตัวอยาง พรทิพยAพิมลสินธุ.AA(2545).AAการวิจัยเพ่ือประชาสัมพันธ.AA(พิมพครั้งที่5).AAกรุงเทพฯ: AAAAAAAประกายพรึก. Ruggles,AR.AandAHoltshouse,AD.AA(1999).AAThe knowledge advantage.AA(2 nd ed.). AAAAAAAOxford:Capstone. หลักการลงรายการบรรณานุกรมแบบ ข.

1. พิมพคําวา “บรรณานุกรม” หรือ “BIBLIOGRAPHY” หากบทนิพนธเปนภาษาองักฤษ ไวกลางหนากระดาษ (เรียกวาหนาบอกตอน)

2. จากขอบบนลงมาประมาณ 2 น้ิว พิมพคําวา “บรรณานุกรม” (ใชตัวอักษรขนาด 20 พอยท)จากนั้นเวนบรรทัด 1 บรรทัดเริ่มเขียนขอมูลบรรณานุกรมโดยเรียงตามลําดับตัวอักษรของขอมูลบรรณานุกรมสวนแรก (ช่ือผูแตง) ตามแบบพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิต หากมีบรรณานุกรมภาษาอังกฤษใหเรียงตอจากภาษาไทย

3. เริ่มตนพิมพใหชิดขอบกระดาษที่เวนไวประมาณ 1.5น้ิว หากไมพอใน 1 บรรทัด ใหใชบรรทัดถัดไปโดยยอเขามา 7 ชวงตัวอักษร ขนาดตัวอักษรที่ใชคือ 16 พอยท

4. การลงชื่อผูแตง4.1 คํานําหนาชื่อ ตําแหนงทางวิชาการ คําระบุบอกอาชีพ ไมตองระบุ เชน ศาสตราจารย นายแพทยประเวศ วะสี ใหลงเปน ประเวศ วะสี

ช่ือAช่ือสกุล.AA(ปที่พิมพ).AAชื่อเร่ือง.AA(คร้ังที่พิมพ).AAเมืองที่พิมพ:สํานัก AAAAAAAพิมพ.

ช่ือสกุล,Aอักษรยอชื่อตนAอักษรยอชื่อกลาง.AA(ปที่พิมพ).AAช่ือเรื่อง.AA(คร้ังที่ AAAAAAAพิมพ).AAเมืองที่พิมพ:สํานักพิมพ.

Page 37: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๗

4.2 คํานําหนาชื่อที่แสดงฐานันดร บรรดาศักด์ิ ยศทางทหารและตาํรวจใหยายคํา นําหนาชื่อดังกลาวไวขางหลังชื่อ เชน

คึกฤทธิ์Aปราโมช,Aม.ร.ว อนุมานราชธน,Aพระยา ทักษิณAชินวัตร,Aพ.ต.ท. 4.3 สมณศักด์ิของพระสงฆใหคงไวตามปกติ พระธรรมปฏก 4.4 ผูแตงชาวตางประเทศ ใหใชช่ือสกุลข้ึนตนและใสเครื่องหมายจุลภาค (,) ตามดวยอกัษรตัวแรกของชื่อตน และอักษรตัวแรกของชื่อกลาง(ถามี) เชน Davenport,AT. Leith,AJ.AM. 4.5 ผูแตงใชนามแฝง ใหระบุช่ือแฝงนั้นเชนเดียวกับชื่อผูแตงปกติ ศศิวิมล.AA(2542).AAศศิวิมลทองเที่ยว.AA(พิมพคร้ังที่8).AAกรุงเทพฯ: AAAAAAAศรีสารา. 4.6 ผูแตงมากกวา 1 คน แตไมเกิน 6 คน ใหลงชื่อครบทุกคนโดยใชเคร่ืองหมาย

จุลภาค(,) คั่นระหวางแตละคน และใชคาํวา “ และ” หรือ “and” หรือ “&” ค่ันระหวางคนรองสุดทายกับคนสุดทาย

หากผูแตงเปนชาวตางประเทศ ผูแตงคนอ่ืนๆกลับเอาชื่อสกุลข้ึน เชนเดียวกับคนแรก

นฤมลAปราชญโยธิน,Aทวีศักด์ิAกออนันตกูลAและเปรมินAจินดาวิมล AAAAAAAเลิศ.AA(2536).AAธิซอรัสกับระบบสารสนเทศ.AAกรุงเทพฯ: กกกกกกกศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ. Gate,AB.AandAHemingway,AC.AA(1999).AABusiness@ the speed of

AAAAAAAthought.AALondon:Penguin Books. วัลลภAสวสัดิวัลลภ,AสุเวชAณ หนองคาย,AนารีรัตนAเทียมเมือง,Aเบจรัตน

AAAAAAAสีทองสุก,AชัยเลิศAปริสุทธกุลAและAอรุณีAทรงพัฒนา. AAAAAAA(2544).AAสารนิเทศเพื่อการคนควา.กก(พิมพคร้ังที่4ปรับปรุง

AAAAAAA และเพิ่มเติมใหม).กกนครปฐม:สถาบันราชภฎันครปฐม. 4.7 ผูแตงมากกวา 6 คน ใหลงช่ือผูแตงคนแรกเพียงคนเดียว และเขียนคําวา

“และคณะ” ตามหลังช่ือผูแตง และใช “et al.” สําหรับภาษาอังกฤษ

Page 38: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๘

เจนเนตรAมณีนาคAและคณะ.AA(2546).AAสรางองคกรอัจฉริยะในยุค AAAAAAAโลกาภวิฒัน.AAกรุงเทพฯ:ซัมซีสเท็ม.

Roger,AR.AJ.AAet al.AA(2003).AAData mining.AABoston:Addison Wasley. 4.8 วัสดุสารสนเทศที่ไมปรากฏชื่อผูแตง ใหใชชื่อเร่ืองแทนที่ช่ือผูแตง หลักเกณฑการทับศัพทภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาล ี AAAAAAAภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุน ภาษาอาหรับ ภาษามาลายู

AAAAAAAฉบับราชบัณฑิตยสถาน.AA(2535).AAกรุงเทพฯ:ราชบัณฑิตยสถาน. Anglo-American cataloging rules.AA(1988).A(2nd ed.)AAChicago:American AAAAAAALibrary Association.

4.9 วัสดุสารสนเทศที่แปลมาจากภาษาตางประเทศ ลงช่ือผูแตงเดิมและใสชื่อผู แปลไวหลังชื่อเรื่อง ดอทลิช,AเดวิดAแอลAและAไคโร,AปเตอรAซี.AA(2548).AAเกงไดก็ลมได

AAAAAAA(แปลจาก Why CEO’s fall โดย อมรรัตน ศรีสุรินทร)AAกรุงเทพฯ: AAAAAAAบี มีเดีย.

คูมืออานคน.AA(2547).AA(แปลจาก Reading people โดย วรรณคํา). AAAAAAAกรุงเทพฯ: ผูจัดการ. 4.10 วัสดุสารสนเทศที่มีเฉพาะชื่อบรรณาธิการ ใหใชช่ือบรรณาธิการลงใน

ตําแหนงผูแตงและระบ ุ“(บรรณาธิการ)” หรือ “(ผูรวบรวม)” หากเปน ภาษาองักฤษใช “(Ed.)” , “(Eds.)” หรือ “(Comp.)” , “(Comps.)”

นํ้าทิพยAวิภาวิน.AA(บรรณาธิการ)AA(2542).AAหองสมุดยุคใหมกับไอที. AAAAAAAกรุงเทพฯ:ซัมซีสเต็ม.

4.11 วัสดุสารสนเทศที่ผูแตงเปนหนวยงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม.AA(2536).AAการฝกอบรมอาสาสมัครกฎหมายเพื่อ AAAAAAAผูหญิงเลม 2.AAเชียงใหม:ศูนยสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร

กกกกกกกมหาวิทยาลัยเชียงใหม. 4.12 กรณีผูแตงคนเดียวกัน เรียงตามลําดับอักษรช่ือเร่ือง เขียนขอมูลเลมแรกให

สมบูรณ เลมถัดไปไมตองเขียนช่ือผูแตง แตใหขดีเสนยาวเทากับ 7 ตัวอักษร แทนการลงชื่อผูแตง

นํ้าทิพยAวิภาวิน.AA(2547).AAการจดัการความรูกับคลังความรู.AA AAAAAAAกรุงเทพฯ:ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Page 39: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๓๙

-------------.AA(2547).AAการใชหองสมุดยุคใหม.AA(พิมพครั้งที่ 2). AAAAAAAกรุงเทพฯ:ศูนยหนังสือจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

5. การลงชื่อเรื่องใหพิมพดวยตัวเอน หากเปนชื่อภาษาองักฤษ ใหตัวอักษรตัวแรกเปนตัวพิมพใหญ ตัวอักษรอื่นใชตัวพิมพเล็ก ยกเวนชื่อเฉพาะ

My one and only bath hour 6. การลงครั้งที่พิมพ ใหลงครั้งที่พิมพต้ังแตคร้ังที่ 2 เปนตนไป โดยไวหลังชื่อเร่ืองโดยใสไว

ในเครื่องหมายวงเล็บ สนิทAตั้งทวี.AA(2536).AAอานไทย.AA(พิมพคร้ังที่ 2).AAกรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร.

Lester,AJ.กD.AA(1990).AAWriting research papers.AA(6 th ed.)AAElenview,Ill.: AAAAAAAScott,ForesmanALittle.

7. การลงรายการเกี่ยวกับเมืองที่พิมพ สํานักพิมพ ตัวอยางกรมวิชาการ.AA(2529).AAการรณรงคเพ่ือสงเสริมนิสัยรักการอาน.AAกรุงเทพฯ:AAAAAAAกรมวิชาการ.ปาริชาตAิสถาปตานนท.AA(2545).AAระเบียบวิธีวิจัยการสื่อสาร.AAกรุงเทพฯ:AAAAAAAสํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.สมศักด์ิAภูวภิาควรรธน.AA(2544).AAเทคนิคการสงเสริมความคิดสรางสรรค.AAAAAAAกรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.

ชื่อสํานักพิมพใหลงแตช่ือ ไมตองเขียนคําวาสํานักพิมพ ยกเวน สํานักพิมพของมหาวิทยาลัยใหใสคําวา สํานักพิมพดวย หากมีแต “โรงพิมพ” ใหระบคุําวา “โรงพิมพ” หรือ “Press” ลงไปดวยเชน สงขลา:โรงพิมพไทยนํา

หากไมมีสํานักพิมพ หรือโรงพิมพ ใหระบุอักษรยอ “ม.ป.ท.” หรือ “n.p.” ไมปรากฏสถานที่พิมพ หรือ no place of publishing

9. หากไมมีปที่พิมพ ใหระบ “(ม.ป.ป)” (ไมปรากฏปทีพิ่มพ) สําหรับภาษาอังกฤษใช “(n.d.).”(no date)

10. การใชหนังสือรวมบทความนํามาใชอางอิงเพียงบางตอนนิธิมาAสังคหะ.AA(2542).AAระบบหองสมุดอัตโนมัติ.Aในน้ําทิพย วิธาวินAAAAAAA(บรรณาธิการ).AAหองสมุดยุคใหมกับไอที.AA(หนา 79- 88).AAกรุงเทพฯ:AAAAAAAซัมซีสเต็ม.Nonaka,AIAA(1998).AAThe knowledge creating company.Ain KnowledgeAAAAAAAmanagement.AA(p.214-221).AABpdypm,Ms:Harvast Business School

Page 40: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๐

AAAAAAAPress. 11. การใชสารสนเทศประเภทวารสาร

ชื่อผูเขียน.AA(ป,วัน,เดือน).ชื่อบทความ.AAชื่อวารสาร.ปที่หรือเลม(ฉบับที่),Aเลขหนา.รุงเรืองAล้ิมชูปฎิภาณ.AA(2545,ตุลาคม).Knowledge management:ทําไมตองมีการAAAAAAAบริหารจัดการองคความรู.AAE-economy.2(39),A22-29.

12. บรรณานุกรมสารสนเทศอิเลคทรอนิกส (บรรณานุกรมแบบ ข)12.1 สารสนเทศจากฐานขอมูลซีดีรอม

Petit,AC.AW.AA(1998,AMay 4).AJest how hot is it going to get?:scientists AAAAAAAponder new climate cluses.AAU.S New&World Report. AAAAAAA[CD-ROM].AA124(17),AA50-60.AAAvailableA:AEBSCO. AAAAAAAAcademic Abstracts Full Text, Disc1,Feburary 1997- June 1998,

AAAAAAAItem:512578. Youngwood,AS.AA(1992,AFebruary).AABook Publishers Proliferate in

AAAAAAAVermont.AVermont Business Magazine.AA[CD-ROM]. See 1,25. AAAAAAAAvailableA:AUMI,AFileA:ABusiness Dateline Ondise, ItemA:A AAAAAAA92-18178.

กรรณิกาAอนุภัทร.AA(2537).AAพฤติกรรมการปองกันการติดเชื้อเอชไอวีของ AAAAAAAภรรยาผูเสพยาเสพติดทางหลอดเลือด.AA[ซีดีรอม].AAวิทยานิพนธ AAAAAAAปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ, AAAAAAAบัณฑิตวทิยาลัย,มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร.สาระสังเขปจากA: AAAAAAAฐานขอมูลวิทยานิพนธไทยเลม1,2540.

12.2 สารสนเทศจากฐานขอมูลออนไลน

Webb,AS.AL.AA(1992,AJanuary).AADealing with sexual harassment. Small AAAAAAABusiness Report. 17,11-14.AAAvailble:ABrs,File:ABI/INFORM

ผูแตง.AA(ปที่พิมพหรือผลิต,Aวันเดือน).AAชื่อเรื่อง.AA[ประเภทของสื่อ].AAรายละเอียด AAAAAAAทางการพิมพ(ถามี).AAเขาถึงไดจากA:Aแหลงสารสนเทศ

ผูแตง.AA(ปที่พิมพหรือผลิต,Aวันเดือน).AAชื่อเรื่อง.AAรายละเอียดทางการพิมพ(ถามี).AA AAAAAAAเขาถึงไดจาก:Aแหลงสารสนเทศ.AA(วันที่คนขอมูล:AวันAเดือนป).

Page 41: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๑

AAAAAAA,Item:00591201.AA(Access date:AMarchA1,1992). Gastwirth,AJ.AL.AA(1992,Feburary).AAStatistical reasoning in the legal

AAAAAAAsetting. American Statistician, 46(1),55. Abstract from : AAAAAAADIALOG(R), File 88 : Academic Index, Item: 11845066.AA

AAAAAAA(Access date:AMarch 1992). อํานวย สุธาเวชย.AA(2542,25-28 เมษายน).AAเพ่ือนคิดประกันชีวิต : ตัวแทน

AAAAAAAประกันชีวิตมีบทบาทสาํคัญอยางไร. ฐานเศรษฐกิจ, 19(1377).AA AAAAAAAเขาถึงไดจาก:A http://www.thainews.th.com/thai41/1337/ AAAAAAAsecton1.htmAA(วันที่คนขอมูล:A1Aพฤษภาคม 2542).

Project Gutenberg. AA(n.d.).AAAvailable:Aftp://mrcnext.cso.uniue.edu/etext. AAAAAAA(Access date : March 9,1999).

การควบคุมนํ้าหนักดวยผลิตภัณฑธรรมชาติ.AA(2542).AA เขาถึงไดจาก:A AAAAAAAhttp://www.geocities.com/HotSprings/Sauna/7666AA(วันที่คน

AAAAAAAขอมูล:A27A เมษายน 2542). การเรียงบรรณานุกรม เรียงไดหลายแบบดังน้ี

1. เรียงแยกภาษาไทยมากอนภาษาอังกฤษ ภายใตแตละภาษาเรียงตามลาํดับตัวอักษรชื่อของผูแตง

2. เรียงแยกตามประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ หากแตละประเภทมจีํานวนมากและภายใตแตละประเภทเรียงตามลําดับตัวอักษรโดยภาษาไทยมากอนภาษาอังกฤษ เชน

บรรณานุกรมหนังสือ บรรณานุกรมวารสาร บรรณานุกรมสารสนเทศอิเลคทรอนิกส

ท้ังน้ีกอนจะเปนหนาบรรณานุกรมตองมีหนาบอกตอนดวยโดยพิมพคําวา “บรรณานุกรม” ดวยตัวอักษรขนาด 20 พอยท ตัวหนา ไวก่ึงกลางของหนากระดาษ

Page 42: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๒

บรรณานุกรม Anasana upc size 20 ตัวหนา จัดก่ึงกลางหนากระดาษ

2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

Page 43: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๓

บรรณานุกรม

คลารก,Aจอหน.AB(2541).ABการเขียนโปรแกรมบนวินโดวสดวยไมโครซอฟตวิชัวลเบสิก 6.0 ABCDEFGภาคปฎิบัติA[ซีดีรอม].ABกรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น. พิภพAลลิตาภรณ.AB(2542).ABการจัดหาทําเลที่ต้ังและการวางผังโรงงานดวยโปรแกรม. ABCDEFGคอมพิวเตอรA[แผน ดิสก].ABกรุงเทพฯ:สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีปุน). สุธีรAกิจฉวี, Aหาญ เพ็ญแสงAและธารAีบางแกว.AB(2542).ABสวนประกอบเครื่องคอมพิวเตอร. ABCDEFG[ซีดีรอม].ABกรุงเทพฯ:เสริมวิทยอินฟอรเมชั่นเทคโนโลยี. Dye, Charbs.AB(1999).ABOracle distributed system.[Diskette].ABBeijng : O’Reilly.

หมายเลขหนา ในหนาแรกไมตองใส 2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

เวน 1 บรรทัด size 16

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

ช่ือAช่ือสกุล.AA(ปที่พิมพ).AAช่ือเร่ือง.AA(คร้ังที่พิมพ).AAเมืองที่พิมพ:สํานัก AAAAAAAพิมพ.

ชื่อเรื่องใชตัวเอียงเทาน้ัน เยื้องเขา7ตัวอักษร หรือ0.75 น้ิว

Page 44: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๔

การจัดหนาภาคผนวก

ABCDEFGภาคผนวก สวนที่เก่ียวของกับโครงงาน แตไมใชเน้ือหาของโครงงาน แตเปนสวนท่ีทําใหผูอานเขาใจในรายละเอียด การนําเสนอ ภาคผนวกตองมีหนาบอกตอน เชนเดียวกับหนาบอกตอนของบรรณานุกรม หากภาคผนวกมีหลายเรื่องควรเรียงและจดัตามลําดับตัวอักษร เชน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค

Page 45: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๕

ภาคผนวก

Anasana upc size 20 ตัวหนา จัดกึ่งกลางหนากระดาษ

2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1.5 นิ้ว

Page 46: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๖

ภาคผนวก ก สรุปรายชื่อตารางของระบบคนหาขอมูลแว็พไซดบนโทรศัพทเคล่ือนที่

ตารางที่Aก-1Aรายละเอียดของตารางแวพ็ไซด

ช่ือฟลด ชนิดขอมูล ความยาว คีย รายละเอียด Site_id Url Title Search_word Text Group_id Password Last_update Status_id Comment Group_update P_id Phone

Varchar Varchar Varchar Varchar Varchar Varchar Varchar Date Varchar Varchar Varchar Varchar Varchar

5 50 20 50

100 7

20

2 100

7 13 9

Pk รหัสแว็พไซด ยูอารแอล ของแว็พไซด หัวขอของแวพ็ไซด คําที่เก่ียวของกับแว็พไซด เน้ือหาภายในแว็พไซด รหัสกลุม รหัสผานของแว็พไซด วันที่แกไข แว็พไซด ลาสุด รหัสสถานะ รายละเอียดในการแจงลบ รหัสกลุมท่ีตองการเปลี่ยนใหม รหัสบัตรประชาชน หมายเลขโทรศัพท

หมายเลขหนา ในหนาแรกไมตองใส

2 น้ิว

เวน 1 บรรทัด size 16

Angsana UPC size 20 ตัวหนา

1 นิ้ว

1 นิ้ว 1 .5นิ้ว

เวน 1 บรรทัด size 16

ตัวอักษรชิดซาย ตัวเลขชิดขวา

Page 47: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๗

ตารางที่Aก-2Aรายละเอียดของตารางสถานะ

ช่ือฟลด ชนิดขอมูล ความยาว คีย รายละเอียด status_id status_name

Varchar Varchar

2 10

Pk รหัสสถานะ ชื่อสถานะ

ตารางที่Aก-3Aรายละเอียดของตารางที่เก็บคาความถ่ีของคําที่มีปรากฏในแตละ WAP Site ที่ทําการ คนหาคา

ช่ือฟลด ชนิดขอมูล ความยาว คีย รายละเอียด site_id word_id word_freq tf

Varchar Varchar int double

5 10

5

Pk รหัสของ แว็พไซด รหัสคํา จํานวนคาํที่ปรากฏ ความถ่ีของคาํ

ตารางที่Aก-4Aรายละเอียดของตารางที่เก็บคาความถวง

ช่ือฟลด ชนิดขอมูล ความยาว คีย รายละเอียด word_id word n max

Varchar Varchar int int

10 20

Pk รหัสของคํา คํา จํานวน แว็พไซดที่มีคําน้ี จํานวนคาํที่มากที่สุด

เวน 1 บรรทัด size 16

เวน 1 บรรทัด size 16

เวน 1 บรรทัด size 16

1 นิ้ว

1 น้ิว

หมายเลขหนาหางจากมุมมาอยางละ 1 น้ิว angsana UPC size 16

1 นิ้ว

1 น้ิว 1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

ถาหัวขอยาวกวา 1 บรรทัดให เอามาตอใหตรงกับเริ่มคําบรรยาย

64

Page 48: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๘

การจัดหนาประวัติยอของผูทําโครงงาน

ประวัติยอของผูทําโครงงาน เปนการเสนอประวัติโดยยอมีรายละเอียดเกี่ยวกับ ช่ือ นามสกุล พรอมคํานําหนา วนั เดือน ป และสถานที่เกิด วุฒิการศึกษา ตั้งแตระดับมัธยมศึกษาตอนปลายขึ้นไป สถานศึกษา พ.ศ. ที่สําเร็จการศึกษา รางวัลหรือทุนการศึกษาเฉพาะที่สําคัญ พรอมระบุปที่ไดรับตัวอยาง

Page 49: รูปแบบและข อกําหนดในการพิ โครงงานมพworawit/project2555/Project_format.pdf · การจัดหน าปกโครงงาน

๔๙

ประวัติยอของผูทําโครงงาน

ช่ือA-Aสกุล นายณัฐวุฒิ วริิยเสริมกุล วันAเดือนAปเกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2527 สถานที่เกิด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ประวตัิการศึกษา AAAระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนปทุมคงคา

เขตทวีวัฒนา จังหวัด กรุงเทพมหานคร AAAระดับปรญิญาตร ี วิทยาศาสตรบณัฑิต สาขาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี ปการศึกษา 2548

Anasana upc size 20 ตัวหนา

2 นิ้ว

1 นิ้ว

1 น้ิว 1.5 นิ้ว

เวน 1 บรรทัด size 16

ระยะ tab ที่ 2.5 น้ิว

สวนหัวขอ Anasana upc size 16 ตัวหนา

เนื้อความAnasana upc Size 16