15
เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator โปรแกรม Adobe Illustrator เป็นโปรแกรมกราฟิกชนิดหนึ่ง ที่มีความสามารถด้านการวาด ภาพลายเส้น หรือเวกเตอร์ โดยสามารถรวมภาพกราฟิกทั้งแบบเวกเตอร์และบิตแมพเข้าด้วยกัน ให้เป็นงานกราฟิกที่มีภาพ เส้นที่คมชัด และมีสีสันสวยงาม นอกจากนี้ยังสามารถสร้างภาพโดยเริ่มต้น จากหน้ากระดาษเปล่าๆ และวาดภาพลงไป ซึ ่งในโปรแกรม Illustrator จะมีเครื่องมือและอุปกรณ์ เตรียมไว้ให้เราใช้อย่างหลากหลาย เช่น ปากกา พู่กัน ดินสอ เพื่อให้เรานามาสร้างงาน โปรแกรม Adobe Illustrator นอกจากจะใช้วาดภาพลายเส้นแล้ว ยังสามารถนาไปสร้างงาน ต่างๆ ได้อีก เช่น งานโฆษณา โบว์ชัวร์ นามบัตร หนังสือ นิตยสาร โลโก้ สัญลักษณ์ ภาพการ์ตูน สิ่งพิมพ์ ภาพตกแต่งเว็บไซต์ สร้างลายเส้นสาหรับใช้ในงานโปรแกรมสามมิติ หรือโปรแกรมตกแต่ง ภาพอื่นๆ เป็นต้น หลังจากที่ติดตั้งโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 เรียบร้อยแล้วสามารถเรียกใช้โปรแกรม ได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี1. คลิกปุ่ม 2. คลิก All Program 3. เลือก Adobe Illustrator CS5 1.1 ความสามารถของโปรแกรม 1.2 การเรียกใช้โปรแกรม

เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator

โปรแกรม Adobe Illustrator เป็นโปรแกรมกราฟิกชนิดหนึ่ง ที่มีความสามารถด้านการวาดภาพลายเส้น หรือเวกเตอร์ โดยสามารถรวมภาพกราฟิกท้ังแบบเวกเตอร์และบิตแมพเข้าด้วยกัน ให้เป็นงานกราฟิกที่มีภาพ เส้นที่คมชัด และมีสีสันสวยงาม นอกจากนี้ยังสามารถสร้างภาพโดยเริ่มต้นจากหน้ากระดาษเปล่าๆ และวาดภาพลงไป ซ่ึงในโปรแกรม Illustrator จะมีเครื่องมือและอุปกรณ์เตรียมไว้ให้เราใช้อย่างหลากหลาย เช่น ปากกา พู่กัน ดินสอ เพ่ือให้เราน ามาสร้างงาน โปรแกรม Adobe Illustrator นอกจากจะใช้วาดภาพลายเส้นแล้ว ยังสามารถน าไปสร้างงานต่างๆ ได้อีก เช่น งานโฆษณา โบว์ชวัร์ นามบัตร หนังสือ นิตยสาร โลโก้ สัญลักษณ์ ภาพการ์ตูน สิ่งพิมพ์ ภาพตกแต่งเว็บไซต์ สร้างลายเส้นส าหรับใช้ในงานโปรแกรมสามมิติ หรือโปรแกรมตกแต่งภาพอ่ืนๆ เป็นต้น

หลังจากท่ีติดตั้งโปรแกรม Adobe Illustrator CS5 เรียบรอ้ยแล้วสามารถเรียกใช้โปรแกรมได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1. คลิกปุ่ม 2. คลิก All Program 3. เลือก Adobe Illustrator CS5

1.1 ความสามารถของโปรแกรม

1.2 การเรียกใช้โปรแกรม Illustrator

Page 2: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

ภาพ 1.1 วิธีการเรียกใช้โปรแกรม Adobe Illustrator

หลังจากท่ีเรียกใช้โปรแกรม หน้าจอแรกที่พบจะเป็นหน้าต่างการท างานทั้งหมด เรียกว่า “Workspace” ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆ ที่มีหน้าที่การใช้งานที่แตกต่างกันออกไป จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ Adobe Illustrator ดังภาพ 1.2

1.3 ส่วนประกอบของ Adobe Illustrator

Page 3: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

ภาพ 2.2 ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Illustrator

ภาพ 1.2 ส่วนประกอบของโปรแกรม Adobe Illustrator

1. แถบเมนูค าสั่ง (Menu Bar) เป็นแถบเมนูที่ใช้เก็บค าสั่งหลักๆ ของโปรแกรมโดยแบ่งเมนูตามลักษณะงาน หากค าสั่งไหนมีรูป จะมีค าสั่งย่อยซ้อนอยู่ ซึ่งเราต้องเปิดเข้าไปเพ่ือเลือกค าสั่งภายในอีกครั้ง ค าสั่งในแถบเมนูมีท้ังหมด 9 กลุ่ม ดังนี้

File ท างานเก่ียวกับไฟล์ เช่น เปิด (Open), บันทึก (Save) Edit ปรับแต่งวัตถุ เช่น ย้อนกลับการท างาน (Undo/Redo) Object บริหารจัดการวัตถุ เช่น จัดกลุ่ม (Group), จัดล าดับ (Arrange) Type บริหารจัดการตัวอักษร เช่น เลือกตัวอักษร (Font) Select เลือกวัตถุแบบต่างๆ มักใช้ร่วมกับกล่องเครื่องมือ Effect ก าหนดลูกเล่นพิเศษในการตกแต่งวัตถุ View แสดงชิ้นงานในรูปแบบต่างๆ เช่น การขยาย/ย่อชิ้นงาน Window จัดการหน้าต่างที่ปรากฏบนหน้าจอของโปรแกรม Help รวบรวมวิธีการใช้งาน และค าแนะน าเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe Illustrator

แถบเมนูค าสั่ง (Menu bar) แถบปรับมุมมองการท างาน (Application bar)

คอนโทรลพาเนล (Control Panel)

กล่องเครื่องมือ (Toolbox)

พื้นที่เตรียมงาน (Scratch area)

กรอบจัดเก็บพาเนล (Dock Panel)

พาเนลควบคุม (Panel) พื้นที่ท างาน (Art board)

Page 4: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

2. กล่องเครื่องมือ (Toolbox) เป็นส่วนที่เก็บรวบรวมเครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง ปรับแต่ง และแก้ไขวัตถุ โดยเมื่อเปิดโปรแกรมข้ึนมาส่วนของกล่องเครื่องมือจะเป็นไอคอนหนึ่งแถวอยู่ในกรอบจัดเก็บ (Dock) ทางซ้าย เราสามารถคลิกเมาส์แล้วลากไปวางในต าแหน่งใดก็ได้บนหน้าจอ แบ่งกลุ่มเครื่องมือต่างๆ ในกล่องเครื่องมือได้ ดังต่อไปนี้

ภาพ 1.3 การแบ่งกลุ่มเครื่องมือในกล่องเครื่องมือ

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการเลือกวัตถ ุ

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการวาดและใสต่ัวอักษร

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการปรับแต่งวัตถุ

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการระบายสีวัตถุ

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการสร้างวัตถุแบบพิเศษ

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการมองช้ินงานในรูปแบบต่างๆ

กลุ่มค าสั่งในการเลือกสีพื้นและสีเส้นขอบของวัตถุ

กลุ่มค าสั่งเกี่ยวกับการแสดงหน้าจอของ Adobe Illustrator

Page 5: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

3. คอนโทรลพาเนล (Control Panel) เป็นแถบตัวเลือกส าหรับก าหนดค่าต่างๆ ของวัตถุ เพ่ืออ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ ให้สามารถก าหนดค่าสี ขนาด ต าแหน่ง และคุณสมบัติต่างๆ ของวัตถุที่เลือกได้ง่ายขึ้นจะปรากฏอยู่ด้านบนของหน้าต่างโปรแกรม 4. พ้ืนที่การท างาน (Art board) เป็นบริเวณท่ีเราใช้วางวัตถุเพ่ือสร้างชิ้นงาน เช่น แผ่นพับ นามบัตร หรืออ่ืนๆ ส่วนพื้นที่นอกเหนือจากนั้นเรียกว่า Scratch area เป็นบริเวณท่ีเราใช้วางวัตถุแต่ไม่ต้องการให้แสดงในชิ้นงาน ใช้เพื่อเตรียมงาน พักวัตถุเผื่อไว้ใช้ภายหลัง 5. พาเนลควบคุมการท างาน (Panel) เป็นหน้าต่างย่อยที่รวบรวมคุณสมบัติการท างานของเครื่องมือต่างๆ ให้เราเลือกปรับแต่งการใช้งานได้ง่ายๆ มีอยู่ทั้งหมด 34 พาเนล 1.4.1 การสร้างไฟล์งานใหม่

ภาพกราฟิกจะประกอบด้วยการวาดชิ้นส่วนต่างๆ หลายๆ ชิ้น แต่ละชิ้นเรียกว่า อ็อบเจกต ์(Object) เมื่อน าอ็อบเจกต์มาประกอบรวมกันเป็นชิ้นงานเรียกว่า อาร์ตเวิร์ค (Artwork) และอาร์ตเวิร์คจะถูกสร้างบนพ้ืนที่การท างาน (Artboard) ซึ่งเปรียบเสมือนกับกระดาษวาดรูป โดยมีวิธีการสร้างดังนี้

1) คลิกค าสั่ง File --> New หรือกดปุ่ม Ctrl+N 2) ช่อง Name ให้ตั้งชื่อไฟล์ ถ้าไม่ตั้งตอนนี้ให้ตั้งตอนบันทึกไฟล์ก็ได้ 3) ช่อง New Document Profile ให้คลิกเลือกโปรไฟล์มาตรฐาน

ตามลักษณะของงาน เช่น ไฟล์เอกสารส าหรับงานพิมพ์ เลือก Print 4) ช่อง Number of Artboards ให้ใส่จ านวนหน้าที่ต้องการ 5) ช่อง Size ให้เลือกขนาดของอาร์ตบอร์ด 6) ที่ Orientation ให้เลือกแนวการวางอาร์ตบอร์ดเป็นแนวตั้ง หรือ แนวนอน

7) คลิก OK

1.4 การจัดการเกี่ยวกับไฟล์

Page 6: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

ภาพ 1.4 วิธีการสร้างไฟล์งานใหม่

1.4.2 การบันทึกไฟล์งาน ไฟล์งานที่สร้างจาก Adobe Illustrator จะถูกบันทึกไว้เป็นไฟล์นามสกุล .AI และวิธีการบันทึกไฟล์สามารถท าได้หลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้ ดังนี้ File --> Save บันทึกไฟล์ในชื่อเดิม File --> Save As บันทึกไฟล์ในชื่อใหม่ เปลี่ยน Folder ที่เก็บงาน หรือบันทึกในชนิดไฟล์ใหม่หลังจากใช้ค าสั่งนี้แล้วจะเป็นการท างานที่ไฟล์ใหม่ทันที File --> Save a Copy บันทึกไฟล์ในชื่อใหม่ เหมือน Save As แต่หลังจากบันทึก จะกลับมาท างานยังไฟล์ชื่อเดิมที่สั่งบันทึก File --> Save as Template บันทึกไฟล์เก็บไว้เป็นเทมเพลตที่มีนามสกุลเป็น .AIT File --> Save for Web & Devices บันทึกไฟล์เพ่ือน าไปใช้ในเว็บ File --> Save Selected Slices บันทึกบางส่วนของชิ้นงาน โดยแบ่งชิ้นงานเป็น ชิ้นเล็กๆ ด้วย Slice Tool

❸ ❹

Page 7: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

วิธีการบันทึกไฟล์

1) เลือกเมนูค าสั่ง File--> รูปแบบการบันทึกไฟล์ เช่น เลือก Save (Ctrl+S)

2) ช่อง Save in ให้ก าหนดต าแหน่งของโฟล์เดอร์ที่ใช้เก็บไฟล์ที่จะบันทึก

ภาพ 1.5 วิธีการบันทึกไฟล์

3) ในช่อง File Name พิมพ์ชื่อไฟล์ที่จะบันทึกลงไป ในช่อง Save as type

4) เลือกชนิดของไฟล์ที่จะน าไปใช้งาน ในที่นี้เลือกเป็น .Ai

5) คลิกปุ่ม Save

6) หากต้องการบันทึกเป็นเวอร์ชั่นเก่าให้คลิกเลือกเปลี่ยนเวอร์ชั่น แล้วกดปุ่ม OK

❸ ❹

Page 8: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

ภาพ 1.6 วิธีการบันทึกไฟล์แบบเปลี่ยนเวอร์ชั่น ประเภทของไฟล์ที่บันทึก Adobe Illustrator (*.AI) เปน็ฟอร์แมตหรือนามสกุลของโปรแกรม Adobe Illustrator ซึ่งไฟล์ที่ได้จะมีความสมบูรณ์ท่ีสุด สามารถน าไปใช้งานร่วมกับโปรแกรมอ่ืนๆ ของ Adobe เช่น Flash, Photoshop Adobe PDF (*.PDF) เป็นฟอร์แมตหรือนามสกุลมาตรฐานที่นิยมใช้ส าหรับแลกเปลี่ยนไฟล์ทางเว็บไซต์โดยจะเป็นเอกสารบนเว็บและสิ่งพิมพ์ เช่น ใบสมัครงาน เปิดดูได้ด้วยโปรแกรม Adobe Reader Adobe Template (*.AIT) เป็นไฟล์เทมเพลตหรือไฟล์แม่แบบ ซึ่งบันทึกเพ่ือไปใช้เป็นเทมเพลทในการท างานครั้งต่อไป เช่น นามบัตร ใบประกาศนียบัตร เป็นต้น SVG (*.SVG) เป็นฟอร์แมตหรือนามสกุลมาตรฐานของไฟล์แบบเวคเตอร์ที่สามารถใช้กับเว็บเพจ ซึ่งจะท าให้ภาพที่แสดงบนเว็บมีความคมชัดกว่าไฟล์ .JPG หรือ .GIF SVG Compressed (*.SVGZ) เป็นไฟล์ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ .SVG แต่จะถูก บีบอัดข้อมูลท าให้ได้ไฟล์ที่มีขนาดเล็กเพ่ือให้แสดงบนเว็บเพจได้รวดเร็วมากข้ึน

คลิกเปลี่ยนเวอร์ชั่นที่นี ่

Page 9: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

1.4.3 การเปิดไฟล์งาน หากต้องการเปิดไฟล์เก่าที่บันทึกไว้แล้วขึ้นมา เพ่ือปรับปรุงหรือแก้ไข สามารถท าได้ ดังนี้

1) เลือกเมนูค าสั่ง File --> Open หรือกดปุ่ม Ctrl+O 2) เลือกโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ไว้ 3) เลือกไฟล์อาร์ตเวิร์ค 4) กดปุ่ม Open

ภาพ 1.7 วิธีการเปิดไฟล์งานที่สร้างไว้

1.5.1 การก าหนดมุมมอง

เราสามารถก าหนดมุมมองของหน้าต่างโปรแกรมเพ่ือให้เหมาะสมและสะดวกต่อ การท างาน โดยคลิกกลุ่มเครื่องมือScreen Mode จาก Toolbox หรือกดคีย์ F เพ่ือสลับ ทีละมุมมอง ดังนี้

1.5 มมุมองการท างาน

Page 10: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

Normal Screen Mode แสดงส่วนประกอบทุกอย่างเหมือนกับที่เปิดโปรแกรมครั้งแรก Full Screen Mode with Menu Bar แสดงวินโดว์เต็มหน้าจอ ไม่แสดง ไตเติลบาร์ของโปรแกรมและทาสก์บาร์ของ Windows Full Screen Mode เหมือนกับ Full Screen Mode with Menu Bar แต่ไม่แสดงเมนูบาร์ 1.5.2 การย่อ/ขยายการมอง 1) ย่อ/ขยายด้วยเครื่องมือ Zoom - คลิก เมื่อเลื่อนตัวชี้เมาส์ ไปที่อาร์ตบอร์ดตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยน เป็นรูป คลิกบนอาร์ตบอร์ดเพ่ือขยายการมอง - หากต้องการย่อให้กดคีย ์Alt ค้างไว้ ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป คลิกบนอาร์ตบอร์ดเพ่ือย่อการมอง 2) ย่อ/ขยายด้วยการกดคีย์ลัด เป็นการซูมภาพอย่างรวดเร็ว โดยกดคีย์ต่างๆ ดังนี้ - ขยายการมอง โดยกดคีย์ Ctrl และคีย์ + - ย่อการมอง โดยกดคีย์ Ctrl และคีย์ – - แสดงให้พอดีกับวินโดว์ โดยกดคีย ์Ctrl และคีย์ 0 (เลขศูนย์) - แสดงภาพขนาดเท่าจริง (100%) โดยกดคีย ์Ctrl และ คีย์ 1 3) ย่อ/ขยายด้วยพาเนล Navigator - เปิดพาเนล Navigator โดยคลิกค าสั่ง Window --> Navigator - กดเลื่อนเพื่อย่อขยายที่ Zoom Slider ด้านล่าง

ภาพ 1.8 การย่อ/ขยายด้วยพาเนล Navigator

Zoom Slider

Page 11: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

1.5.3 เลื่อนดูภาพด้วยเครื่องมือ Hand Tool หากเราซูมขยายภาพทีม่ีขนาดใหญ่เกินกว่าวินโดว์ ท าให้บางส่วนของภาพถูกซ่อนไว้ ต้องใช้เครื่องมือ จับภาพและเลื่อนดูซึ่งจะมีความสะดวกมากกว่าใช้ Scroll Bar เลื่อนด ูมีวิธีเลื่อนดูภาพดังนี้ - คลิกท่ี เลื่อนไปที่อาร์ตบอร์ด ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปมือ ให้กดเมาส์ค้างไว้ แล้วเลื่อนดูภาพในส่วนที่ต้องการ 1.6.1 แถบไม้บรรทัด ไม้บรรทัดช่วยให้เราสามารถวัดและก าหนดต าแหน่งของอ็อบเจกต์ต่างๆ ได้แม่นย า เราสามารถแสดงไม้บรรทัดได้โดยคลิกขวาบนอาร์ตบอร์ด แล้วเลือกค าสั่ง Show Rulers หรือกดคีย์ Ctrl+ R หลังจากแสดงไม้บรรทัดแล้วเราสามารถเปลี่ยนหน่วยวัดของไม้บรรทัดได้ โดยคลิกขวาบนแถบไม้บรรทัดแล้วเลือกหน่วยวัดที่ต้องการเปลี่ยน ดังภาพ 1.9

ภาพ 1.9 วิธีเปลี่ยนหน่วยวัดบนไม้บรรทัด 2.6.2 เส้นกริด เส้นไกด ์และสมาร์ทไกด์ - เส้นกริด คือ ตารางสมมติที่ช่วยในการวาด แสดงโดยคลิกขวาบนอาร์ตบอร์ดแล้วเลือก Show Grid ในทางกลับกันหากต้องการซ่อนเส้นกริด ให้คลิกขวาบนอาร์ตบอร์ดแล้วเลือก Hide Grid ดังภาพ 1.10

1.6 การวัดระยะ

Page 12: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

ภาพ 1.10 วิธีแสดง/ซ่อนเส้นกริด

- เส้นไกด ์คือ เส้นที่ช่วยบอกต าแหน่งเพ่ือจัดวางอ็อบเจกต์ แต่เราสามารถสร้างและจัดวางต าแหน่งต่างๆ ได้เองทั้งแนวตั้งและแนวนอน สร้างเส้นไกด์โดยการคลิกลากเมาส์ออกจากไม้บรรทัดตามแนวตั้งและแนวนอน - สมาร์ทไกด ์เป็นเส้นไกด์ท่ีปรากฏขึ้นเองโดยอัตโนมัติ 2.6.3 การใช้งานเครื่องมือวัด Measure tool สามารถวัดระยะทาง และมุมจากต าแหน่ง 2 ต าแหน่งได้โดยการใช้เครื่องมือวัด ซึ่งท าหน้าที่เหมือนไม้บรรทัดวัดระยะทาง และไม้โปรแทกเตอร์วัดมุม เราจะใช้งานควบคู่กับพาเนล Info เพ่ือดูค่าของระยะทาง และมุมที่วัดได้ โดยมีวิธีการดังนี้ - คลิกเลือก Measure tool - คลิกลากเมาส์ระหว่างจุดเริ่มต้น และจุดปลายที่ต้องการวัด

Page 13: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

ภาพ 1.11 การวัดระยะทางและมุม

ความรู้เพิ่มเติม การท างาน หากเราท างานผิดพลาดและต้องการเรียกค าสั่งเก่าก่อนหน้ากลับคืนเราสามารถยกเลิกหรือท าซ้ าค าสั่งได้ ดังนี้

: ย้อนการท างานกลับไป 1 ขั้น หรือยกเลิกค าสั่งหลังสุดที่ท าไป 1 ค าสั่ง โดยเลือกเมนู Edit --> Undo หรือกดคีย ์Ctrl+Z

: ท าซ้ าการกระท า หรือค าสั่งที่ถูกยกเลิกไป โดยเลือกเมนู Edit --> Redo หรือกดคีย์ Shift+Ctrl+Z

โปรแกรม Adobe Illustrator เป็นโปรแกรมกราฟิกท่ีมีความสามารถด้านการวาดภาพลายเส้น หรือเวกเตอร์ ใช้สร้างงานโฆษณา โบว์ชัวร์ นามบัตร หนังสือ นิตยสาร โลโก้ สญัลักษณ์ ภาพการ์ตูน สิ่งพิมพ์ ภาพตกแต่งเว็บไซต์ ส่วนประกอบของหน้าจอ Adobe Illustrator ประกอบด้วย แถบเมนูค าสั่ง (Menu Bar), กล่องเครื่องมือ (Toolbox), คอนโทรลพาเนล (Control Panel), พ้ืนที่การท างาน (Art board) และพาเนลควบคุมการท างาน (Panel) การสร้างไฟล์งานใหม่ท าได้โดย คลิกค าสั่ง File --> New หรือกดปุ่ม Ctrl+N

ระยะทางที่วัดได้ มุมท่ีวัดได้

พิกัดจุดเริ่มต้นในการวัดค่า

ระยะทางในแกนนอนและแกนตั้ง

สรุป

Page 14: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

การบันทึกไฟล์งานมีหลายวิธี เช่น บันทึกไฟล์ในชื่อเดิม คลิกค าสั่ง File --> Save บันทกึไฟล์ในชื่อใหม่ คลิกค าสั่ง File --> Save As หรือกดปุ่ม Ctrl+S การเปิดไฟล์งาน เลือกค าสั่ง File --> Open หรือกดปุ่ม Ctrl+O การก าหนดมุมมองของหน้าต่างโปรแกรม ให้คลิกกลุ่มเครื่องมือ Screen Mode จาก Toolbox หรือกดคีย์ F เพ่ือสลับทีละมุมมอง ส าหรับการย่อ/ขยายการมองจะใช้เครื่องมือ Zoom Tool และถ้าต้องการวัดระยะให้ใช้เครื่องมือวัด Measure Tool

เพ่ือนๆ เราต้องท าแบบฝึกหดัท่ี 1.1

และ 1.2 ก่อนนะครับ

Page 15: เริ่มต้นกับ Adobe Illustrator · จึงต้องท าความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของหน้าจอ

บรรณานุกรม

ชลมารค พันธุ์สมบัติ. (2550). คู่มือการใช้งาน ILLUSTRATOR CS3 (ฉบับเรียนลัดเป็นเร็ว). กรุงเทพฯ : ซัสเซส มีเดีย. ดนุพล กิ่งสุคนธ์. (2551). วาดภาพและสร้างงานกราฟิกด้วย Illustrator CS3 ฉบับปรับปรุงใหม่ 2008-2009. กรุงเทพฯ : ไอดีซีฯ. บุญญาดา ช้อนขุนทด. (2552). วาดภาพกราฟิกด้วย Illustrator CS4. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น. บุญญาดา ช้อนขุนทด และคณะ. (2553). Insight Illustrator CS5 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น. ปิยะ นากสงค์. (2555). การใช้โปรแกรมกราฟิกลายเส้นด้วย Illustrator เวอร์ชั่น CS4. กรุงเทพฯ : ซัสเซส มีเดีย. ภัททิรา เหลืองวิลาศ. (2552). ออกแบบและสร้างงานกราฟิกด้วย Illustrator CS4. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. วสันต์ พึ่งพูลผล. (2554). คู่มือ Illustrator CS4 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : ไอดีซีฯ. วันชัย แซ่เตีย. (2554). Illustrator CS5 จากมือใหม่..สู่มือเซียน. กรุงเทพฯ : ซอฟท์เพรส. สกล ค าปันนา. (2554). เริ่มต้นสร้างงานกราฟิกเวคเตอร์ด้วย IllustratorCS5. กรุงเทพฯ : ซัสเซส มีเดีย. อ าภา กุลธรรมโยธิน. (2549). การใช้โปรแกรมกราฟิกส์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมอาชีวศึกษา.