19
เภสัชตํารับ เภสัชตํารับ Pharmacopoeia บทนํา (Introduction) เภสัชตํารับ (Pharmacopoeia) เปนหนังสือที่ระบุถึงสารที่ใชในการบําบัดรักษาโรค (medical substances) ขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวกับคุณภาพยา (quality specifications) ลักษณะทั่วไป (descriptions) วิธีการทดสอบ (method of testing) และเกณฑตัดสินหรือมาตรฐานของความบริสุทธิ(legal standards of purity) ตลอดจนคุณภาพและความแรง (quality and strength) นอกจากนั้นยังประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับตัว ยา โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวยานั้นๆ การทดสอบและหรือ/สูตรตํารับ ที่ไดรับการคัดเลือกจากสถาบันที่เปนทีรับรองของประเทศนั้นถือเปนมาตรฐานและเปนที่ยอมรับของแตละประเทศ ไดแก 1. เภสัชตํารับของประเทศไทย (Thai Pharmacopoeia : TP) รวมทั้งตํารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย 2. เภสัชตํารับสากล (International Pharmacopoeia : IP) 2. เภสัชตํารับของประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States Pharmacopoeia : USP) 3. เภสัชตํารับของประเทศอังกฤษ (Bitrish Pharmacopoeia : BP) 4. เภสัชตํารับของยุโรป (European Pharmacopoeia : Ph Eur) 5. เภสัชตํารับของประเทศญี่ปุ(The Pharmacopoeia of Japan) ตัวอยางของเภสัชตํารับที่ใชในประเทศไทย ไดแก Thai Pharmacopoeia, The United States Pharmacopoeia, The International Pharmacopoeia, British Pharmacopoeia, The National Formulary , The Pharmaceutical Codex ,Thai Herbal Pharmacopoeia สําหรับเภสัชตํารับทางสัตวแพทยที่มีใชใน ประเทศไทยไดแก British Veterinary Pharmacopoeia, Veterinary Pharmacy Formulary, The Veterinary Formulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เปนตน เภสัชตํารับแตละเลมจะใหขอมูลที่แตกตางกัน ดังนั้นเราควรจะทราบวาเภสัชตํารับแตละเลมใหขอมูล อะไรบาง เพื่อที่จะคนควาไดถูกตองวาควรจะใชเลมใดในการหาขอมูลที่ตองการ นอกจากเภสัชตํารับเหลานี้แลว ยังมีหนังสือที่ใชในการใหขอมูลทางดานยาอื่นๆ อีก เชน AMA Drug Evaluations, Drug, Facts and Comparision, Merk Manual of Diagnosis and Therapy , Remington’s Pharmaceutical Science, Matindale Extra Pharmacopoeia, The Merck Veterinary Manual, Directory Veterinary Animal Health Product และ Veterinary Drug Handbook เปนตน สวนประกอบของเภสัชตํารับ สวนแนะนําหนังสือ สวนแนะนําหนังสือประกอบดวยคํานํา (Preface) บทนํา (Introduction) ซึ่งอธิบาย หนาที่ของกรรมการที่จัดทําหนังสือและขอสังเกตทั่วไปสําหรับผูใชหนังสือ โมโนกราฟ (Monograph) - คือรายละเอียดของขอกําหนดตางๆ (specification) ของแตละตัวยาหรือตํารับ ยา รายละเอียดโมโนกราฟแบงออกเปน 2 สวนคือ สวนแรกเปนขอมูลทั่วไปของยาเพื่อใหผูใชหนังสือทราบ สวน ที่สองเปนขอกําหนดที่ตัวยานั้นๆ ตองมีหรืออยูในชวงที่กําหนด สวนแนบทายหรือภาคผนวก (Appendices/Index) – ประกอบดวยรายละเอียดของหัวขอตางๆ เพื่อใหผูใช หนังสือทราบหรือนําไปใชเพื่อทดสอบในหัวขอกําหนดตางๆ ตามโมโนกราฟ เชน วิธีทั่วไปในการทดสอบทาง

เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

เภสัชตํารับ Pharmacopoeia บทนํา (Introduction) เภสัชตํารับ (Pharmacopoeia) เปนหนังสือที่ระบุถึงสารที่ใชในการบําบัดรักษาโรค (medical substances) ขอกําหนดตางๆ ที่เกี่ยวกับคุณภาพยา (quality specifications) ลักษณะทั่วไป (descriptions) วิธีการทดสอบ (method of testing) และเกณฑตัดสินหรือมาตรฐานของความบริสุทธิ์ (legal standards of purity) ตลอดจนคุณภาพและความแรง (quality and strength) นอกจากนั้นยังประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับตัวยา โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวยานั้นๆ การทดสอบและหรือ/สูตรตํารับ ที่ไดรับการคัดเลือกจากสถาบันที่เปนที่รับรองของประเทศนั้นถือเปนมาตรฐานและเปนที่ยอมรับของแตละประเทศ ไดแก

1. เภสัชตํารับของประเทศไทย (Thai Pharmacopoeia : TP) รวมทั้งตํารามาตรฐานยาสมุนไพรไทย 2. เภสัชตํารับสากล (International Pharmacopoeia : IP) 2. เภสัชตํารับของประเทศสหรัฐอเมริกา (The United States Pharmacopoeia : USP) 3. เภสัชตํารับของประเทศอังกฤษ (Bitrish Pharmacopoeia : BP) 4. เภสัชตํารับของยุโรป (European Pharmacopoeia : Ph Eur) 5. เภสัชตํารับของประเทศญี่ปุน (The Pharmacopoeia of Japan) ตัวอยางของเภสัชตํารับที่ใชในประเทศไทย ไดแก Thai Pharmacopoeia, The United States

Pharmacopoeia, The International Pharmacopoeia, British Pharmacopoeia, The National Formulary , The Pharmaceutical Codex ,Thai Herbal Pharmacopoeia สําหรับเภสัชตํารับทางสัตวแพทยที่มีใชในประเทศไทยไดแก British Veterinary Pharmacopoeia, Veterinary Pharmacy Formulary, The Veterinary Formulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เปนตน

เภสัชตํารับแตละเลมจะใหขอมูลที่แตกตางกัน ดังนั้นเราควรจะทราบวาเภสัชตํารับแตละเลมใหขอมูลอะไรบาง เพื่อที่จะคนควาไดถูกตองวาควรจะใชเลมใดในการหาขอมูลที่ตองการ นอกจากเภสัชตํารับเหลานี้แลว ยังมีหนังสือที่ใชในการใหขอมูลทางดานยาอื่นๆ อีก เชน AMA Drug Evaluations, Drug, Facts and Comparision, Merk Manual of Diagnosis and Therapy , Remington’s Pharmaceutical Science, Matindale Extra Pharmacopoeia, The Merck Veterinary Manual, Directory Veterinary Animal Health Product และ Veterinary Drug Handbook เปนตน

สวนประกอบของเภสัชตํารับ สวนแนะนําหนังสือ – สวนแนะนําหนังสือประกอบดวยคํานํา (Preface) บทนํา (Introduction) ซึ่งอธิบาย

หนาที่ของกรรมการที่จัดทําหนังสือและขอสังเกตทั่วไปสําหรับผูใชหนังสือ โมโนกราฟ (Monograph) - คือรายละเอียดของขอกําหนดตางๆ (specification) ของแตละตัวยาหรือตํารับยา รายละเอียดโมโนกราฟแบงออกเปน 2 สวนคือ สวนแรกเปนขอมูลทั่วไปของยาเพื่อใหผูใชหนังสือทราบ สวนที่สองเปนขอกําหนดที่ตัวยานั้นๆ ตองมีหรืออยูในชวงที่กําหนด สวนแนบทายหรือภาคผนวก (Appendices/Index) – ประกอบดวยรายละเอียดของหัวขอตางๆ เพื่อใหผูใชหนังสือทราบหรือนําไปใชเพื่อทดสอบในหัวขอกําหนดตางๆ ตามโมโนกราฟ เชน วิธีทั่วไปในการทดสอบทาง

Page 2: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

2

กายภาพ (Physical tests) ทางเคมี (Chemical tests) วิธีวิเคราะหหาปริมาณรีเอเจนตมาตรฐานและการเตรียม และเสปกตรัมการดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลตวิสสิเบิลและอินฟราเรด

ขอกําหนดในโมโนกราฟ ช่ือยา ตํารับยาหรือสาร (Title) - ประกอบดวยชื่อยาอยางเปนทางการ (Official name) ชื่อพองหรือชื่ออื่นๆ ที่นิยมใชเรียกยานั้น (Synnonyme or other names) ชื่อทางเคมี (Chemical name) สิทธิบัตรสารเคมีซึ่งเปนหมายเลขประจําตัวของสารเคมีที่จดทะเบรียนไว (CAS registry number) สูตรโครงสราง (Graphic formula) สูตรโมเลกุล (Molecular formula) และน้ําหนักโมเลกุล (Molecular weight) ในตํารามาตรฐานยาสมุนไพรไทยประกอบดวยชื่อภาษาไทย ภาษาลาติน ภาษาอังกฤษและชื่อพอง และแจงสวนที่ใชเปนยาของสมุนไพรนั้นๆ นอกจากนี้ยังบอกถึงการใชประโยชนทางยา (category) ดวย นิยาม (Definition) – เปนหัวขอที่ระบุถึง

ก. ยาหรือสารนั้นคืออะไร ถาไดจากธรรมชาติจะระบุถึงที่มา วงศ (family) สกุล (genus) และ ชนิด (species) ถาเปนสารประกอบจะระบุสวนผสม

ข. พิกัดความแรงหรือความบริสุทธิ์ของยา (strength rubric หรือ limit of content) ซึ่งวิเคราะหดวย วิธีการวิเคราะหที่ระบุวาตองไมมากกวาเทาใด จะมีคามาตรฐานซึ่งระบุไวใน “ขอสังเกตทั่วไป” ลักษณะทั่วไป (Description) – หัวขอนี้อธิบายเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทั่วไปของสาร เชน ลักษณะ รูปราง สี กล่ิน และความสามารถในการดูดความชื้น ตํารามาตรฐานยาสมุนไพรไทยมีสวนเพิ่มเติมคือ การอธิบายเกี่ยวกับลักษณะทางมหภาค (Macroscopical) ซึ่งเปนลักษณะภายนอกเมื่อมองดวยตาเปลาหรือใชแวนขยาย และลักษณะทางจุลภาค (Microscopical) ซึ่งเปนลักษณะของเซลลและเนื้อเยื่อเมื่อมองผานกลองจุลทัศน ซึ่งเปนประโยชนในการตรวจวินิจฉัยตัวอยางสมุนไพร ความสามารถในการละลาย (Solubility) – ระบุถึงการละลายของสารในน้ํา หรือตัวทําละลายที่ใชโดยทั่วไปหรือตัวทําละลายอื่นที่เห็นวาเปนประโยชนหรือนําไปใชทํายาเตรียมสําหรับตัวยานั้นๆ อัตราการละลายระบุเปนการอธิบายเชิงพรรณา (descriptive term) การพิสูจนเอกลักษณของสาร (Identification) – เปนขอกําหนดในการพิสูจนเอกลักษณยาหรือสาร วายาหรือสารนั้นมีเอกลักษณตรงตามชื่อที่ระบุไวในฉลากหรือไม การตรวจสอบควรพิสูจนตามวิธีทดสอบที่กําหนดทุกหัวขอ วิธีที่ระบุในตํารายามีหลายวิธีเชน การหาจุดหลอมเหลว การทดสอบดวยเทคนิคอัลตราไวโอเลตสเปกโตรสโกป อินฟราเรดสเปกโตรสโกป โครมาโตกราฟผิวบาง และการทําปฏิกิยาเคมีกับรีเอเจนต อินฟาเรดสเปกโตรสโกปเปนวิธีที่มีความเฉพาะเจาะจงสูง สเปกตรัมของสารแตละชนิดชัดเจนและเปนลักษณะเฉพาะของสาร คุณสมบัติอื่นๆ เฉพาะตัว (Attributes of Quality) – เปนคุณสมบัติเฉพาะที่จําเปนตองระบุของสาร ทําใหทราบวาสารนั้นๆ มีความบริสุทธิ์เพียงใด ถาเปนวัตถุดิบทางยา ขอกําหนดที่ระบุไดแก จุดหลอมเหลวหรือจุดเดือด ความเปนกรด-ดาง ความถวงจําเพาะ คาดรรชนีหักเหของสาร ปริมาณน้ําในโมเลกุล ถาเปนยาเตรียมจะมีขอกําหนดเพิ่มเติมไปจากวัตถุดิบทางยา เพื่อเปนส่ิงยืนยันวายาเตรียมนั้นมีคุณภาพและมาตรฐานสูงพอ เชนยาเม็ดและยาแคปซูลตองมีขอกําหนดมาตรฐานของความสม่ําเสมอของตัวยาในแตละหนวย (Content Uniformity or Weight Variation) การแตกตัวและการละลาย (Distegration and Dissolution)

Page 3: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

3

การทดสอบการปนเปอน (Impurities) – เปนสารที่อาจปนมากับยาหรือสารในขั้นตอนตั้งแตเริ่มสังเคราะห การแยก การสกัดหรือเปนสารที่เกิดจากการเสื่อมของยา การเก็บรักษาไมถูกตอง ความชื้น ความรอนทําใหความคงตัวของยาไมดีและอาจกอใหเกิดอันตรายแกผูใชยา ถาสารปนเปอนเปนสารที่รูจักแนนอนแลวมีการควบคุมคุณภาพหลายวิธี เชน ใชเทคนิคทางโครมาโตกราฟและมีสารมาตรฐานเปรียบเทียบแตสารมาตรฐานเหลานี้หายากและราคาแพงหรือบางครั้งใหเทียบกับสารตัวนั้นเอง โดยกําหนดใหมีความเขมขนหรือปริมาณนอยกวาตัวมันเองกี่เทา การตรวจวเิคราะห (Assay) – เปนขอกําหนดที่สําคัญของตํารายา วิธีที่ดีตองมีความเฉพาะเจาะจงสําหรับตัวยาเพียงอยางเดียว มีความแนนอน เที่ยงตรงและแมนยํา วิธีการวิเคราะหมีมากมาย มีการปรับปรุงใหไดวิธีใหมๆ ที่ใหผลรวดเร็ว แมนยําอยูเสมอ โดยทั่วไปแบงเปน 3 วิธีใหญๆ ไดแก วิธีแรกคือการวิเคราะหโดยอาศัยปฏิกิยาทางเคมี (Chemical methods) เชนการไทเทรต สองคือการวิเคราะหโดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมีและเครื่องมือวิทยาศาสตร (Physiochemical method) เชน สเปกโตรโฟโตเมตรี โครมาโตกราฟฟ อิเล็กโตรโฟรี ซิส และวิธีที่สามคือการวิเคราะหโดยใชสัตวทดลองหรือใชจุลชีพ (Biological method) ความคงตัว (Stability) – เปนขอกําหนดที่มีอยูในโมโนกราฟของตํารายาประเทศไทย ระถึงสภาวะที่ทําใหยาแตละชนิดมีความคงตัวดีที่สุด การทํายาเตรียมมีความเปนกรด-ดางมากนอยอยางไร การเก็บรักษาควรเก็บในภาชนะและอุณหภูมิอยางไร ภาชนะบรรจุและการเก็บรักษา (Packing and Storage) – ระบุถึงภาชนะบรรจุที่ใชและสภาพการเก็บรักษายาแตละชนิด ที่ทั้งผูผลิตและผูใชควรปฏิบัติตาม เนื่องจากมีผลตอความคงตัวและการเสื่อมของยา ชนิดของภาชนะบรรจุที่ระบุในตํารายา การระบุฉลาก (Labelling) – เปนขอความเพิ่มเติมจากที่ระบุไวแลวใน “ขอสังเกตทั่วไป” เชน วันส้ินอายุของยา (Expiration date) ยาใชภายนอกเทานั้นหรือคําเตือนเกี่ยวกับอันตรายของยาและคําแนะนํา เชนแอมพิซิลลิน ยาปฏิชีนะกลุมเพนนิซิลลิน ก.ยาแอมพิซิลลินชนิดแคปซูล (Ampicillin Capsule) การเก็บรักษา : ควรเก็บในภาชนะที่แนนสนิท และอุณหภูมิไมเกิน 30 องศาเซลเซียส การระบุฉลากและคําแนะนําระบุปริมาณตัวยาในรูปปราศจากน้ํา (Anhydrous Ampicillin) และระบุวาเปนเกลือของน้ํา 3 โมเลกุล (trihydrate) หรืออยูในรูปปราศจากน้ํา ควรทานยานี้กอนอาหาร 1 ชั่วโมงหรือขณะทองวาง

ข. ยาแอมพิซิลลินชนิดแขวนตะกอนสําหรับรับประทาน (Ampicillin for oral Suapension) การเก็บรักษา : ควรเก็บในภาชนะที่แนนสนิท และอุณหภูมิไมเกิน 30 องศาเซลเซียส หลัง

ผสมน้ําแลว เก็บไวไดไมเกิน 7 วัน ที่อุณหภูมิหองและไมเกิน 14 วัน ในตูเย็นที่ไมใชชองแชแข็ง ทั้งนี้แลวแตการผลิตของแตละบริษัท การระบุฉลากและคําแนะนําควรทานยานี้กอนอาหาร 1 ชั่วโมงหรือขณะทองวาง ตัวอยางที่ 1 และ 2 เปนตัวอยางโมโนกราฟของยาลดน้ํามูกและแกแพแกคันคลอเฟนนิรามีนมาลีเอต (Chlorpheniramine maleate) ซึ่งเปนวัตถุดิบ (Raw materials) และที่อยูในรูปยาน้ําเชื้อม (Syrup) คัดจากเภสัชตํารับของประเทศสหรัฐอเมริกา ฉบับแกไขครั้งที่ 24 (USP 24-NF 19,2000) หนา 392 และ 394 ตามลําดับ

Page 4: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

4

ตัวอยางที่ 1 โมโนกราฟของยาลดน้ํามูกและแกแพคัน คลอเฟนนิรามีนมาลีเอต (Chlorpheniramine maleate) ซึ่งเปนวัตถุดิบ (Raw materials)

Page 5: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

5

ตัวอยางที่ 2 โมโนกราฟของยาลดน้ํามูกและแกแพคัน คลอเฟนนิรามีนมาลีเอต (Chlorpheniramine maleate) ที่อยูในรูปยาน้ําเชื่อม (Syrup)

Page 6: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

จุดประสงคของการคนขอมูลจากเภสัชตํารับและตําราขอมูลยา 1. ตองการทราบคุณสมบัติทางเคมี กายภาพ ฯลฯ ของสารเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานในการนํามาเตรียมยา

ในแตละตํารับไดอยางเหมาะสม 2. ตองการทราบประโยชนหรือหนาที่ของสารที่เปนสวนประกอบในตํารับยาหนึ่งๆ เพื่อนํามาเตรียมยาใน

แตละตํารับไดอยางเหมาะสมและใชในการรักษาไดถูกตอง 3. ตองการทราบถึงเภสัชจนศาสตรของยาเพื่อที่จะนํามาใชประกอบการพิจารณาในการปรับปรุงเพื่อ

พัฒนายาใหไดรูปแบบที่เหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น 4. ตองการทราบถึงประโยชนในการรักษา วิธีการใช รูปแบบที่เหมาะสมที่จะนํามาใช ขนาดที่ใชในการ

รักษา อาการขางเคียง ปฏิกิริยาตอกันของยา ขอพึงระวังในการใชยาของผูปวย ฯลฯ

ประโยชนของการคนขอมูลจากเภสัชตํารับและตําราขอมูลยา 1. ทําใหทราบถึงองคประกอบ คุณสมบัติทางเคมี ทางกายภาพ ทางฟสิกส ของสวนประกอบที่นํามา

ประกอบในการปรุงยาและผลิตภัณฑ เพื่อเปนประโยชนในการเตรียมยา และเพื่อนํามาเปนพื้นฐานในการคนควาเพื่อปรับปรุงสูตรในการปรุงยาชนิดใหม

2. ประโยชนตอผูใชยาโดยตรง เพราะทําใหผูใชยาทราบคุณสมบัติของยา ประโยชน วิธีใชยา ขอควรระวังในการใชยา ลักษณะผลิตภัณฑยาที่ไดมาตรฐาน ผลขางเคียงในการใชยา การแกพิษเบื้องตนในการใชยาเกินขนาด

3. ในดานอุตสาหกรรมการผลิตยา ผูผลิตสามารถใชความรูในการเตรียมสารที่ใชผลิตยา การผลิตที่ตรงตามมาตรฐาน สวนประกอบของยา คุณสมบัติเฉพาะตัวของยามาผลิตยา

4. ประโยชนตอผูที่คนควาและวิจัยยา โดยสามารถนําความรูทางดานสวนประกอบ คุณสมบัติของยา การวิจัยและการทดสอบยาที่มีอยูเดิมนําไปเปนพื้นฐานในการวิจัยดานใหมๆ เกี่ยวกับยาตอไป

5. เปนประโยชนตอผูที่มีสวนเกี่ยวของในการเก็บรักษายาและผลิตภัณฑที่ผลิตไดจากยา ทําใหสามารถกระทําไดอยางถูกตอง ปลอดภัยและเหมาะสม

6. เปนประโยชนตอผูที่ตองการความรูเกี่ยวกับยาเพื่อนําไปประยุกตใชในดานอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของในการการรักษาโรค เชนผูประกอบการดานที่อยูอาศัยหลีกเลี่ยงการสรางบานในแหลงอุตสาหกรรมผลิตยาที่ผลิตยาอันตราย

7. ทําใหผูที่ใชยามีความรูเกี่ยวกับสภาวะที่ตัวยา สามารถออกฤทธิ์ไดอยางมีประสิทธิภาพของยา 8. เอื้อประโยชนตอผูที่ตองการคนควาหรือมีความรูในเรื่องเกี่ยวกับยา ในการคนควาขอมูลจาก เลมอื่นๆ

ไดอยางกวางขวางโดยศึกษาขอมูลไดจากสวนของ supplementary chapter เพื่อที่จะรวบรวมขอมูลใหไดจํานวนมากและเลือกขอมูลที่ดีที่สุดที่เปนประโยชนตอผูคนควา

Page 7: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

7

ขอมูลในเภสัชตํารับและขอมูลยาในหนังสือเลมอื่นๆ 1. British Pharmacopoeia

เปนเภสัชตํารับที่ใหขอมูลของสารที่ใชผลิตยาและผลิตภัณฑทางยาเกี่ยวกับ สูตรโมเลกุล (Molecule

formular) สูตรโครงสราง (Sructural formular) น้ําหนักโมเลกุล (Molecular weight) คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ( Physical and chemical characteristics) การจัดจําแนก (Identification) ความสามารถในการละลาย (Solubility) การวิเคราะห (Analysis) การเก็บรักษา (Storage)ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา (Actions) ประโยชนการนําไปใช (Uses) และรูปแบบยาที่เตรียมได (Preparations) นอกจากนั้นยังมีขอมูลในสวนของตํารับยาเตรียมในรูปแบบตางๆ ซึ่งจะบอกถึงสวนประกอบของยาเตรียม วิธีการเตรียมยา ประโยชนใช (Uses) และวิธีใช (Labelling) 2. The United States Pharmacopoeia

เปนเภสัชตํารับที่ใหขอมูลของสารที่ใชผลิตยาและผลิตภัณฑทางยาเกี่ยวกับสวนประกอบของโมเลกุล

สูตรโมเลกุล สูตรโครงสรางทางเคมี น้ําหนักโมเลกุล คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี คุณสมบัติและรูปแบบเฉพาะตัว การเตรียม คุณสมบัติและปริมาตรของการละลายในสารละลายชนิดตางๆ ประโยชน การใช ขอควรระวังและการแกพิษ การทดสอบคุณสมบัติของสาร และการทดสอบทางจุลชีววิทยา ชีววิทยา เคมีและทางฟสิกส เพื่อประโยชนตอการนําผลิตภัณฑทางมายาใชกับผูบริโภค นอกจากนั้นยังบอกถึงเทคนิคการเก็บรักษา ขอแนะนําในการผลิต การบรรจุ การระบุฉลากยาในทางอุตสาหกรรม

Page 8: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

8

3.The National Formulary

เปนเภสัชตํารับที่ใหขอมูลของสารที่ใชผลิตยาและผลิตภัณฑทางยาเกี่ยวกับสวนประกอบของโมเลกุล

สูตรโมเลกุล สูตรโครงสรางทางเคมี น้ําหนักโมเลกุล คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ลักษณะเมื่ออยูในรูปกรดหรือดาง กระบวนการในการปรุงยา คุณสมบัติทางเคมี เชน คา lodine number, สวนเหลือจากการเผาไหม, ชวงการหลอมเหลว คุณสมบัติทางฟสิกส เชน คา Refractive index ขอจํากัดของปริมาณจุลินทรียที่สามารถปนอยูในผลิตภัณฑ คุณสมบัติทางพฤกษศาสตร คําเตือนในการปรุงยาและคําเตือนในการใชผลิตภัณฑ ขอจํากัดของปริมาณตะกอนที่ปนเปอนใน substances ขอกําหนดเกี่ยวกับส่ิงที่ตองระบุที่ฉลากของผลิตภัณฑยา 4. The Pharmaceutical Codex

เปนเภสัชตํารับที่ใหขอมูลเกี่ยวกับ substances ที่ใชในการผลิตยาและผลิตภัณฑทางยาโดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการเตรียมยา, วิธีการใชยา, ขอควรระวังในการใชยา, องคประกอบของตัวยา ลักษณะทั่วไปของยาและผลิตภัณฑจากยา, คุณสมบัติ, ชื่อสามัญ, ชื่อวิทยาศาสตร คุณสมบัติทางกายภาพ, คุณสมบัติทางเคมี, คุณสมบัติฟสิกส น้ําหนักโมเลกุล จุดเดือด จุดหลอมเหลวขั้นตอนการพิสูจนสาร วิธีใชยา กระบวนการสังเคราะหยา กระบวนการออกฤทธิ์ของยา และการขับออกจากรางกาย ขอควรระวังในการใชยา ผลขางเคียงจากการใชยา วิธีการแกพิษจาก substances ประโยชนในการรักษาของยา สารที่ทดสอบคุณสมบัติของยา คุณสมบัติของยาและกระบวนการทางเภสัชจนศาสตรของยา

Page 9: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

9

5. Remington’s Pharmaceutical Science

เปนเภสัชตํารับที่มีขอมูลของสารที่ใชผลิตยา ชื่อสามัญ สูตรเคมี น้ําหนักโมเลกุล คุณสมบัติทางเคมี

เชน ความสามารถในการละลายในตัวทําละลายชนิดตาง ๆ กรรมวิธีทําใหสารบริสุทธิ์ วิธีใชยาในแตละกรณีของโรค ขอควรระวังในการใชยาและผลขางเคียงจากการใชยา วิธีการเก็บรักษา โรคตางๆ อาการของโรค และวิธีใชยา 6.Martindale Extra Pharmacopoeia

เปนเภสัชตํารับที่ใหขอมูลเกี่ยวกับ ตัวยอและสัญลักษณที่ใชในอุตสาหกรรมยาและวิทยาศาสตร หนวย

มาตรฐานในระบบ S.I. คา pKa ขอสาร ที่ใชผลิตยาและยา ณ อุณหภูมิตางๆ การหาคาพื้นผิวของรางกายโดยใชตารางมาตรฐานที่มีการคํานวณจากคาน้ําหนักและสวนสูง ตารางแสดงคาน้ําหนักของอะตอม ใช C =12 เปนมาตรฐานในการคํานวณ ชวง monograph ซึ่งมีรายละเอียดของสาร ที่ใชผลิตยาและตัวยาเกี่ยวกับช่ือสามัญ สูตรเคมี น้ําหนักโมเลกุล คุณสมบัติทางเคมี เชน ความสามารถในการละลายในตัวทําละลายชนิดตาง ๆ กรรมวิธีทําใหสารบริสุทธิ์ วิธีใชยาในแตละกรณีของโรค ขอควรระวังในการใชยาและผลขางเคียงจากการใชยา ขอควรระวังในการปรุงยา ผลิตภัณฑทางยาที่หามผลิตรวมกัน วิธีการเก็บรักษาชวง Supplementary Drugs and Other substance มีเนื้อหาเกี่ยวกับยา และสารที่ใชในการผลิตยาเกี่ยวนิยาม, คุณสมบัติวิธีการใช ผูผลิตยา สูตรเคมี น้ําหนักโมเลกุล โรคตางๆ อาการของโรค วิธีใชยา การรักษาและผลขางเคียงของยา

Page 10: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

10

7. The International Pharmacopoeia

เปนเภสัชตํารับที่ใหขอมูลของสารที่ใชผลิตยาและผลิตภัณฑทางยาเกี่ยวกับสวนประกอบของโมเลกุล

สูตรโมเลกุล สูตรโครงสราง สูตรทางเคมี น้ําหนักโมเลกุล คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี คุณสมบัติและรูปแบบเฉพาะตัว การเตรียม คุณสมบัติและปริมาตรของการละลายในสารละลายชนิดตางๆ ประโยชน การแบงประเภทของยา การเก็บรักษา การเขียนฉลาก การทดสอบคุณสมบัติของสาร ขอมูลสารที่ใชปรุงแตงยา

8.Veterinary Drug Handbook

เปนหนังสือที่ใหขอมูลเกี่ยวกับตัวยาสําคัญที่ออกฤทธิ์ในการรักษาโรคตางๆ ในตํารับยาตางๆ โดยแต

ละตัวยานั้นจะบอกถึง ลักษณะทางเคมี (Chemistry) การเก็บรักษา/ความคงตัว/ความเขากันไดของยากับสารอื่น(Storage/Stability/Compatibility) เภสัชวิทยา (Pharmacology) การนําไปใช/ขอแนะนํา (Uses/Indications) เภสัชจลนศาสตร (Pharmcokinetics) ขอควรคํานึงในการใชยาในสัตวปวย/ขอควรระวังในการใชยาในสัตวปวย/การใชยาอยางถูกวิธีและปลอดภัย (Contraindications/Precautions/Reproductive Safety) อาการขางเคียง (Adverse effects/Warnings) การใชยาเกินขนาด/พิษเฉียบ พลัน (Overdose/ Acute Toxicity) ปฏิกิริยาตอกันของยา (Drug Interactions) ยาที่ไปยับยั้งการทํางานของเอนไซม P-450 ขนาดยาที่ใช (Doses) Monitering paramiters และรูปแบบยา (Dosage Forms/ Preparations/FDA Approval/ witholding times)

Page 11: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

11

9. The Merk Veterinary Manual เปนหนังสือที่ใหขอมูลเกี่ยวกับลักษณะของโรคตางๆ ที่เกิดกับสัตว การวินิจฉัยโรค การระบาดของโรค

การปองกัน ควบคุมและรักษาโรคตางๆ จุดประสงคเพื่อใหนําไปใชประโยชนในการทําใหสัตวตางๆ เกิดการมีสุขภาพที่ดี ปลอดโรค 10. Directory Veterinary Animal Health Product

เปนหนังสือคูมือยาสัตวที่แบงออกเปนหมวดหมู ในแตละหมวดจะมีชนิดยาที่บอกชื่อทางการคาและ

ในแตละชนิดจะบอกถึงเลขทะเบียน สวนประกอบ สรรพคุณ วิธีการใช ขนาดบรรจุ ผูผลิตและผูจําหนาย โดยแบงหมวดหมูยาออกเปน หมวดวัคซีน ยาปฏิชีวนะ ยาตานจุลชีพ ยาถายพยาธิ ยากันบิด ยาฆาเชื้อ ยาฆาแมลง ยาอาหารเสริม สารเรงการเจริญเติบโต สารปรุงแตง สารถนอมคุณภาพอาหารสัตว วิตามิน แรธาตุ ฮอรโมน ยาออกฤทธิ์ตอระบบประสาท สารเสริมปฏิชีวนะ เอนไซม สารชวยเสริมการยอย เปนตน 10. Thai Veterinary Biology Index

เปนหนังสือที่ใหขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑยาสําหรับสัตวที่มีใชในประเทศไทยซึ่งแบงออกเปนผลิตภัณฑ

สําหรับสัตวสปชีสตางๆ เชน สัตวปก (Avian), สุกร(Swine), สัตวส่ีกระเพาะ (Ruminant), สุนัข (Canine), แมว (Feine) และ มา (Equine) เปนตน ในแตละผลิตภัณฑจะบอกเกี่ยวกับ สารที่มีฤทธิ์ในการรักษา (Active

Page 12: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

12

Ingradients), ขอบงใช (Indications), วิธีการบริหารยา (Route of adminstration), ขนาดที่ใชในการรักษา (Dosage), ขอควรระวังในการใชยา (Precautions), ชวงเวลาที่ถอนยา (Withdrawal time), การเก็บรักษา (Storage), ขนาดบรรจุ(How Supplied) และบริษัทผูผลิต (Importer)

11. The Veterinary Formulary

เปนหนังสือที่ใหรายละเอียดเกี่ยวกับยา (Drugs)และ รูปแบบยา (Preparations) ที่ใชรักษาโรคตางๆ ที่

เกิดกับสัตวทั้ง Endoparasite, Extoparasite และโรคที่เกิดกับระบบตางๆ (Systemic organs) นอกจากนั้นยังมีขอแนะนําเกี่ยวกับขอกําหนดในการใชยา (Guidance on Prescribing) ในสัตวสปชีสตางๆ ในสวนของภาคผนวก (Appendices) จะบอกถึง ปฏิกิริยาระหวางยา (Drug Interactions), ความเขากันไดและเขากันไปไมไดระหวางยาที่ใชรักษารวมกันหรือพรอมกัน (Drug Compatibilities and Incompatibilities), หนวยและการแปลงหนวย(Conversion and Units), น้ําหนักของสัตว (Weights of Animals)และการคํานวณขนาดของยาที่ใชในสัตวโดยคิดจากน้ําหนักสัตว (Dosage Estimation from Body-weight) 12.Formulation of Veterinary Dosage Forms

เปนหนังสือที่ใหขอมูลเกี่ยวกับความรูพื้นฐานตางๆ ในการเตรียมตํารับยาสําหรับสัตว เชน ความรู

พื้นฐานสําหรับการเลือกรูปแบบยาในสัตว อุปกรณหรือเครื่องมือที่ใชในการชวยนํายาเขาสูรางกายสัตว รูปแบบยาที่ใชในสัตว ขอมูลเกี่ยวกับการใหยาสัตวโดยผสมในอาหารหรือน้ําดื่ม ความคงตัวของยาสัตวในรูปแบบตางๆ และ

Page 13: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

13

การกําจัดยา

Page 14: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

14

14.Veterinary Pharmacy Formulary

เปนหนังสือเกี่ยวกับตํารับยาที่ใชในสัตวเล็ก (Small animals) และสัตวใหญ (Large animals) โดยแต

ละตํารับยามีรายละเอียดเกี่ยวกับประโยชนที่นําไปใช (Uses), ขนาดที่ใชในสัตวแตละสปชีส (Dose), อาการขางเคียง (Side Effects)และ ปฏิกิริยากันระหวางยาที่ใชรวมกัน (Drug Interactions)

***********************************

Page 15: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

15

เอกสารอางอิง References

อัจฉรา อุทิศวรรณกุล (2533) รูปแบบเภสัชภัณฑ ภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุธี เวคะวากยานนท และวัชรี คุณกิตติ (2541) เทคนิคการตั้งตํารับยาเตรียม ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม

คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. วัชรี คุณกิตติ (2542) เทคนิคการตั้งตํารับยาสัตว ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม คณะเภสัชศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน. Ansel, HC. (1990) The Prescription in Remington’s Pharmaceutical Sciences.18th ed. Pensylvania : Mack Publishiing Company. Biodinger, J. (1983) Formulation of veterinary Dosage Forms, NY:Marcel Dekker British National Formulary. 1999. British Medical Association Royal Pharmaceutical Society of Great Britain. The International Sciences. 16 th ed. 1980. Mack publishing company. Easton, Pensylvania. Plumb D.C. 1994. Veterinary Drug Handbook. 2nd ed. Iowa. The Merck Veterinary Manual. 7 th ed. 1991. USA. British Pharmacopoeia 1993. VolI 1993. London. The Extra Pharmacopoeia. 27 th ed. 1997. London. British Pharmacopoeia. 1968. London. British Pharmacopoeia Codex. 1968. London. The United States Pharmacopoeia. 17 th ed. 1965. New york. British Pharmacopoeia 1980. Volume II. 1980. Lodon Thai Veterinary Biological Index. Firat edition. Food and Drug Administration Thailand 2001. Thailand. Formulation of Veterinary Dosage forms.Volume 17. 1983. New York. Veterinary Pharmacy Formulary. 2 nd ed. 1988. USA The Veterinary Formulary . Fifth edition. 2001. London

Page 16: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

16

สารบัญ

หนา บทนํา 1 สวนประกอบของเภสัชตํารับ 1 ขอกําหนดโมโนกราฟ 2 จุดประสงคของการคนขอมูลจากเภสัชตํารับ 6 ประโยชนของการคนขอมูลจากเภสัชตํารับ 6 ขอมูลในเภสัชตํารับและขอมูลยาในหนังสือเลมอื่นๆ 7-13 เอกสารอางอิง 14

Page 17: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

17

713 321 เภสัชกรรมทางสัตวแพทย (Veterinary Pharmacy)

จรีรัตน เอี่ยมสะอาด ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวทิยาลัยขอนแกน

Page 18: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

18

Page 19: เภสัชตํารับ PharmacopoeiaE0%C0%CA%D1%AA%B5%D3%C3%D1%BA.pdfFormulary, Formulation of Veterinary Dosage forms และ Thai Veterinary Biological เป นต

เภสัชตํารับ

19