13
ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีท่ 9 ประจำ�ปี 2553 1 แนวทางการออกแบบอาคารเรียนเพอเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรูกรณีศึกษา: อาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.ดร.ชูพงษ์ ทองคำ�สมุทร ส�ข�วิช�เทคโนโลยีอ�ค�ร คณะสถ�ปัตยกรรมศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยขอนแก่น บทคัดย่อ การออกแบบอาคารเรียนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้นั้นมีความสำาคัญเป็นอย่างมากทั้งนี้เนื่องจากการศึกษาเป็น รากฐานที่สำาคัญของการพัฒนาประเทศ สภาพแวดล้อมภายในอาคารเรียนเป็นปัจจัยที่มีความสำาคัญต่อกระบวนการเรียนรูดังนั้นแนวทางการออกแบบอาคารเรียนนี้จึงมีเป้าหมายในการเสริมสร้างสภาวะน่าสบายในอาคารทั้งในส่วนของความสบายทาง ด้านอุณหภูมิและความรู้สึกร้อนหนาว ความสบายทางด้านแสงสว่างและการมองเห็นที่เหมาะสม และความสบายทางด้านคุณภาพ เสียงภายในอาคาร ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ต้องคำานึงถึงในการออกแบบอาคารเรียน บทความนี้แสดงให้เห็นถึงแนวทางการออกแบบ อาคารกรณีศึกษาได้แก่ อาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ ท่ได้มีการออกแบบโดยคำานึงถึงอิทธิพลของตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหล่านั้น เพื่อให้สามารถออกแบบอาคารเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการได้อย่าง บูรณาการ Abstract The design of educational building that enhances learning process is important because education is the root of our country’s development. Environmental condition of classroom is very significant for learning process thus, the objectives of design guidelines for educational building are, improvement of thermal comfort, lighting and visual comfort, and acoustical comfort that are the main factors. This article shows the design guidelines on case study: The 40th Year Anniversary of Demonstration School Building that realized on the influential factors and the relation of them in order to finishing the goal with integration process. คำ�สำ�คัญ: ความสบายทางกาย, กระบวนการเรียนรู้, การออกแบบอาคาร, อาคารเรียน Keywords: Thermal Comfort, Learning Process, Building Design, Educational Building บทนำ� ความรู้ของคนในชาติเป็นปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดความ เจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ แต่ทว่าความรู้นั้นจะเกิดขึ้นได้ก็ ต่อเมื่อมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านทางกระบวนการเรียนรู้ทีมีความเหมาะสม โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการเรียนรูนั้นสามารถแบ่งออกได้สามปัจจัยใหญ่ ๆ ด้วยกันได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน และสภาพแวดล้อมในการเรียนรูถึงแม้ว่าผู้สอนและผู้เรียนจะมีความพร้อมเช่นไรก็ตาม สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ที่ไม่มีความเหมาะสมนั้นจะส่งผลใน ด้านลบต่อกระบวนการเรียนรู้ให้ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ดังนั้น การออกแบบหรือการปรับปรุงสภาพแวดล้อมซึ่งได้แก่ห้องเรียน สำาหรับการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสมนั้น จะสามารถ เสริมให้กระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งนับว่า เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 1

แนวทางการออกแบบอาคารเรียนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้

กรณีศึกษา: อาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

อ.ดร.ชูพงษ์ ทองคำ�สมุทร

ส�ข�วิช�เทคโนโลยีอ�ค�ร

คณะสถ�ปัตยกรรมศ�สตร์ มห�วิทย�ลัยขอนแก่น

บทคัดย่อ

การออกแบบอาคารเรียนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้นั้นมีความสำาคัญเป็นอย่างมากทั้งนี้เนื่องจากการศึกษาเป็น

รากฐานที่สำาคัญของการพัฒนาประเทศสภาพแวดล้อมภายในอาคารเรียนเป็นปัจจัยที่มีความสำาคัญต่อกระบวนการเรียนรู้

ดงันัน้แนวทางการออกแบบอาคารเรยีนนีจ้งึมเีปา้หมายในการเสรมิสรา้งสภาวะนา่สบายในอาคารทัง้ในสว่นของความสบายทาง

ดา้นอณุหภมูแิละความรูส้กึรอ้นหนาวความสบายทางดา้นแสงสวา่งและการมองเหน็ทีเ่หมาะสมและความสบายทางดา้นคณุภาพ

เสยีงภายในอาคารซึง่เปน็ปจัจยัหลกัทีต่อ้งคำานงึถงึในการออกแบบอาคารเรยีนบทความนีแ้สดงใหเ้หน็ถงึแนวทางการออกแบบ

อาคารกรณีศึกษาได้แก่อาคาร40ปีสาธิตศึกษาศาสตร์ที่ได้มีการออกแบบโดยคำานึงถึงอิทธิพลของตัวแปรต่างๆที่เกี่ยวข้อง

รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหล่านั้น เพื่อให้สามารถออกแบบอาคารเรียนให้บรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการได้อย่าง

บูรณาการ

Abstract

Thedesignofeducationalbuildingthatenhanceslearningprocessisimportantbecauseeducationistheroot

ofourcountry’sdevelopment.Environmentalconditionofclassroomisverysignificantforlearningprocessthus,the

objectivesofdesignguidelinesforeducationalbuildingare,improvementofthermalcomfort,lightingandvisual

comfort,andacousticalcomfortthatarethemainfactors.Thisarticleshowsthedesignguidelinesoncasestudy:

The40thYearAnniversaryofDemonstrationSchoolBuildingthatrealizedontheinfluentialfactorsandtherelation

oftheminordertofinishingthegoalwithintegrationprocess.

คำ�สำ�คัญ: ความสบายทางกาย,กระบวนการเรียนรู้,การออกแบบอาคาร,อาคารเรียน

Keywords: ThermalComfort,LearningProcess,BuildingDesign,EducationalBuilding

บทนำ�

ความรู้ของคนในชาติเป็นปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดความ

เจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ แต่ทว่าความรู้นั้นจะเกิดขึ้นได้ก็

ต่อเมื่อมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านทางกระบวนการเรียนรู้ที่

มีความเหมาะสม โดยปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการเรียนรู้

นั้นสามารถแบ่งออกได้สามปัจจัยใหญ่ๆด้วยกันได้แก่ ผู้สอน

ผู้เรียนและสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้

ถงึแมว้า่ผูส้อนและผูเ้รยีนจะมคีวามพรอ้มเชน่ไรกต็าม

สภาพแวดลอ้มในการเรยีนรูท้ีไ่มม่คีวามเหมาะสมนัน้จะสง่ผลใน

ด้านลบต่อกระบวนการเรียนรู้ให้ไม่เป็นไปตามที่ต้องการดังนั้น

การออกแบบหรือการปรับปรุงสภาพแวดล้อมซึ่งได้แก่ห้องเรียน

สำาหรับการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสมนั้น จะสามารถ

เสริมให้กระบวนการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งนับว่า

เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

Page 2: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 25532

แนวท�งก�รออกแบบ

การออกแบบสภาพแวดล้อมภายในอาคารเรียนให้มี

ความเหมาะสมในการเรียนรู้นั้น สามารถแบ่งออกได้เป็นสอง

ส่วนหลักที่สำาคัญได้แก่

1. ก�รเสริมสร้�งคว�มสบ�ยท�งด้�นก�ยภ�พ

(สุธีวันโล่ห์สุวรรณ,2551)สามารถแบ่งออกได้ดังต่อไปนี้

• ความสบายทางด้านอุณหภูมิร้อนหนาวที่มีความ

เหมาะสม(ThermalComfort)

• ความสบายทางด้านความสว่างและการมองเห็นที่มีความเหมาะสม(LightingandVisualComfort)

• ความสบายทางด้านคุณภาพเสียงภายในอาคารที่มีความเหมาะสม(AcousticalComfort)

โดยแนวทางการออกแบบนั้นจะมุ่งในการสร้าง

เสริมความสบายในด้านต่าง ๆ โดยใช้ประโยชน์จากต้นทุน

ทางธรรมชาติให้มากที่สุด และใช้พลังงานไฟฟ้าให้น้อยที่สุด

นอกจากนี้ยังต้องคำานึงถึงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนใน

รูปแบบต่าง ๆ ให้มีความหลากหลายและสอดคล้องกับเนื้อหา

ของการเรียนการสอนอีกด้วย

2. ก�รเสรมิสร�้งองคค์ว�มรูด้ว้ยตวัสถ�ปตัยกรรม

เปรียบเสมือนกับว่า ‘อาคารคือครูคนหนึ่ง’ ที่สามารถ

ให้ความรู้ต่อผู้เรียนได้ คือการออกแบบอาคารด้วยองค์ความรู้

ทางวิทยาศาสตร์ทำาให้ปรากฏการณ์ต่าง ๆที่เกิดขึ้นในอาคาร

จะสามารถถูกรับรู้โดยประสาทสัมผัสและแปรเปลี่ยนเป็นการ

เรียนรู้ด้วยประสบการณ์ของนักเรียนเอง

ลักษณะของโครงก�ร

โครงการก่อสร้างอาคารเรียน40ปีสาธิตศึกษาศาสตร์

คณะศกึษาศาสตร์มหาวทิยาลยัขอนแกน่เปน็โครงการกอ่สรา้ง

อาคารเรียนสำาหรับใช้ในการเรียนการสอนความรู้วิทยาศาสตร์

ภาษา และคอมพิวเตอร์ ในระดับประถมศึกษาตั้งอยู่ภายใน

พืน้ทีข่องโรงเรยีนสาธติแหง่มหาวทิยาลยัขอนแกน่แผนกประถม

ศึกษา อยู่ทางด้านหลังของอาคารเรียนเดิมคืออาคาร “แก้ว

กระเบา”ซึ่งเป็นอาคารเรียนสูงสามชั้นวางอาคารตามแนวแกน

ของทิศตะวันตกและตะวันออกดังภาพที่1ต่อไปนี้

ภาพที่ 1 แสดงผังบริเวณของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์โดยรวม

Page 3: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 3

พื้นที่สำาหรับการก่อสร้างอาคารหลังนี้ นับว่ามีความ

เหมาะสมเนื่องจากว่าพื้นที่อาคารมีลักษณะหันด้านแคบไปทาง

ทศิตะวนัตกและตะวนัออกทำาใหก้ารจดัพืน้ทีใ่ชส้อยอาคารจงึมี

ลักษณะเป็นห้องเรียนที่เชื่อมต่อด้วยระเบียงยาวทำาให้สามารถ

ลดปรมิาณความรอ้นทีจ่ะผา่นเขา้มาในอาคารไดเ้ปน็อยา่งดีทัง้นี้

เนื่องจากจังหวัดขอนแก่นอยู่ในพื้นที่ซีกโลกเหนือบนละติจูดที่

16องศาแสงอาทิตย์ทางด้านทิศตะวันตกและทิศตะวันออกจะ

มีอิทธิพลต่อความร้อนที่จะส่งผ่านเข้ามาในอาคารได้เป็นอย่าง

มาก(ชูพงษ์ทองคำาสมุทร,2551)นอกจากนี้การวางผังอาคาร

ในลักษณะนี้ยังสามารถใช้ประโยชน์จากกระแสลมธรรมชาติที่

พัดมาจากทางทิศใต้ในฤดูร้อนและฤดูฝนได้อีกด้วย ในกรณีที่

กระแสลมธรรมชาตมิอีณุหภมูแิละความชืน้พอเหมาะตอ่การนำา

มาใช้ภายในอาคาร

การวางผังอาคารมีการพิจารณาถึงระบบทางเดินที่

มีหลังคาคลุมเดิม ให้อาคารสามารถเข้าถึงได้โดยอาศัยการ

เชื่อมต่อกับระบบทางเดินเหล่านี้ รวมไปถึงการลดพื้นที่สะสม

ความร้อน เช่นลานคอนกรีต เน้นการใช้ร่มเงาจากต้นไม้ เพื่อ

เป็นการปรับภูมิอากาศรอบอาคารให้มีอุณหภูมิตำ่าลง(Microcli

mateModification) ทั้งนี้เพื่อต้องการให้สภาพอากาศมีค่า

ใกล้เคียงกับสภาวะน่าสบายของมนุษย์1ให้มากที่สุด

ก�รจัดพื้นที่ใช้สอยของอ�ค�ร

ในการจัดพื้นที่ใช้สอยของอาคารมีการใช้ระเบียง

สำาหรับการเชื่อมต่อพื้นที่ส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยมีลักษณะ

เป็น SingleCorridor เพื่อให้สามารถนำากระแสลมและแสง

ธรรมชาติมาใช้ได้อย่างเต็มที่ ส่วนทางด้านทิศตะวันตกและ

ตะวันออกที่มีปริมาณความร้อนจากแสงอาทิตย์มากก็จะมีการ

ใช้โถงบันไดห้องเก็บของและห้องนำ้ามาเป็นเขตป้องกันความ

ร้อน (BufferZone) ให้กับส่วนห้องเรียนห้องพักอาจารย์และ

ห้องประชุมโดยพื้นที่ส่วนต่างๆ ของอาคารสามารถแบ่งออกได้

ดังต่อไปนี้

1อยู่ในช่วงอุณหภูมิ 22-27 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 20-75 เปอร์เซ็นต์ (Olgyay, 1962)

ภาพที่ 2 แสดงผังพื้นของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ ในชั้นที่ 1

Page 4: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 25534

ภาพที่ 3 แสดงผังพื้นของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ ในชั้นที่ 2

ภาพที่ 4 แสดงผังพื้นของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ ในชั้นที่ 3

ภาพที่ 5 แสดงผังพื้นของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ ในชั้นที่ 4

ภาพที่ 6 แสดงผังพื้นของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์ ในชั้นดาดฟ้าอาคาร

Page 5: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 5

• ชั้นที่ 1 ประกอบด้วย กลุ่มของห้องปฏิบัติการ

วิทยาศาสตร์ ห้องพักอาจารย์ ห้องพยาบาลห้องแผงควบคุม

ไฟฟ้าหลักและห้องนำ้าห้องส้วม

• ชัน้ที ่2 ประกอบดว้ยกลุม่ของหอ้งปฏบิตักิารทาง

ภาษาหอ้งพกัอาจารย์หอ้งพยาบาลหอ้งแผงควบคมุไฟฟา้ยอ่ย

และห้องนำ้าห้องส้วม

• ชัน้ที ่3ประกอบดว้ยกลุม่ของหอ้งปฏบิตักิารทาง

ภาษากลุม่ของหอ้งปฏบิตักิารคอมพวิเตอร์หอ้งพกัอาจารย์หอ้ง

พยาบาลห้องแผงควบคุมไฟฟ้าย่อยและห้องนำ้าห้องส้วม

• ชั้นที่ 4 ประกอบด้วย กลุ่มของห้องเรียนเอนก

ประสงคท์ีส่ามารถปรบัการใชง้านไดใ้นอนาคตควบคมุไฟฟา้ยอ่ย

และห้องนำ้าห้องส้วม

• ชั้นด�ดฟ้� ประกอบด้วยพื้นที่เอนกประสงค์

(กิจกรรมดูดาว)พื้นที่ถังเก็บนำ้าและเครื่องสูบนำ้า

การจัดวางพื้นที่ใช้สอย จะพิจารณาแยกตามความ

จำาเป็นในการใช้งาน ลำาดับของการเข้าถึง และการรวมกลุ่ม

กิจกรรมที่มีความคล้ายคลึงกันเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดความ

สะดวกต่อการใช้งาน ส่วนรูปลักษณ์ของอาคารนั้นจะเน้น

ลกัษณะอาคารทีม่คีวามเรยีบงา่ยตรงไปตรงมางา่ยตอ่การบำารงุ

รักษาและเสริมสร้างเอกลักษณ์ของทางสถาบันดังภาพที่7

ภาพที่ 7 แสดงทัศนียภาพบริเวณทางเข้าด้านหน้าของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์

ภาพที่ 8 แสดงรูปตัดตามยาวของอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์

Page 6: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 25536

แนวท�งเสริมสร้�งคว�มสบ�ยท�งด้�นอุณหภูมิ

ร้อนหน�วที่มีคว�มเหม�ะสม (Thermal Comfort)

จากที่ได้กล่าวไปแล้วว่าพื้นที่อาคารนั้นมีลักษณะผังที่

มดีา้นแคบอยูใ่นแนวทศิตะวนัตกและตะวนัออกทำาใหอ้าคารจงึ

ต้องมีลักษณะที่สอดคล้องกับรูปร่างของพื้นที่ โดยหันด้านสกัด

ไปในทศิทางดงักลา่วซึง่เปน็รปูแบบการวางอาคารทีส่ามารถลด

ความร้อนที่จะถ่ายเทเข้าสู่อาคารจากทิศทางที่มีความร้อนสูง

เมื่อพิจารณาการวางผังอาคารจะพบว่า มีการใช้

ระเบียงสัญจรให้อยู่ทางทิศใต้ของอาคารเป็นหลัก เนื่องจาก

ระเบียงนี้สามารถใช้เป็นแผงกันแดด (Fin) ในแนวนอน เพื่อ

ป้องกันรังสีตรงจากดวงอาทิตย์ (Direct Sun) ซึ่งในระยะ

เวลาหนึ่งปี การโคจรของดวงอาทิตย์ในพื้นที่นี้จะโคจรอ้อมใต้

ประมาณ8เดือนอ้อมเหนือประมาณ4เดือน(ชูพงษ์ทองคำา

สมุทร,2551)(ดังภาพประกอบที่9)ทำาให้รังสีอาทิตย์ส่วนใหญ่

มาจากทางทศิทางดงักลา่วนีเ้ปน็หลกันอกจากนีร้ะเบยีงสำาหรบั

สัญจรยังมีหน้าที่เป็นเสมือนครีบเพื่อดักเอากระแสลมธรรมชาติ

มาใชใ้นเวลาทีอ่ณุหภมูอิากาศและความชืน้เหมาะสมไดอ้กีดว้ย

นอกจากนีช้อ่งเปดิของผนงัทางดา้นทศิเหนอืสามารถรบัแสงจาก

ทางดา้นทศิเหนอืทีเ่ปน็แสงเยน็หรอืแสงกระจาย(DiffuseLight)

ทีม่ปีรมิาณความรอ้นนอ้ยกวา่รงัสตีรงจากดวงอาทติย์และมคีา่

ประสิทธิผลของแสง2สูงกว่าแหล่งกำาเนิดแสงชนิดอื่น

ภาพที่ 9 แสดงเส้นทางการโคจรของดวงอาทิตย์ที่จะนำามาพิจารณาในการออกแบบแผงกันแดดของอาคาร

เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในภูมิอากาศ

รอ้นชืน้ดงันัน้การปอ้งกนัความรอ้นจากภายนอกอาคารจงึมสีว่น

สำาคัญอย่างยิ่งในการเสริมสร้างสภาวะน่าสบาย โดยสามารถ

แบ่งออกได้เป็นหัวข้อต่างๆได้แก่

• การจัดภูมิทัศน์รอบอาคารให้เกิดความร่มรื่น

โดยการใช้ ต้นไม้ เนินดินและพืชพันธุ์ธรรมชาติเพื่อทำาให้เกิด

รม่เงาและเกดิการดดูความรอ้นโดยรอบเพือ่ใชใ้นการสงัเคราะห์

แสงของพืช ลดการใช้วัสดุที่มีการสะสมความร้อนมาก เช่น

ลานคอนกรีตสำาหรับจอดรถเป็นต้น(Robinette,1977)

• การใชแ้ผงกนัแดดทีม่ปีระสทิธภิาพในการปอ้งกนัแสงแดดตรงจากดวงอาทิตย์ในช่วงเวลาที่มีการเรียนการสอน

ตัง้แตช่ว่งเวลา8:30ถงึ16:30น.โดยใชท้ศิทางการโคจรของดวง

อาทิตย์ในวันวิกฤตได้แก่วันที่21ธันวาคมในฤดูหนาวและ21

มถินุายนในฤดรูอ้นมาคำานวณโดยการใชโ้ปรแกรมคอมพวิเตอร์

ในการประมวลผล

2ค่าประสิทธิผลของแสงหรือ Luminous Efficacy คืออัตราส่วนระหว่างปริมาณแสงที่ได้ทั้งหมดจากแหล่งกำาเนิด มีหน่วยเป็นลูเมน (Lumen) กับพลังงาน

ไฟฟ้าที่ให้ไปมีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) (Stein and Reynolds, 1992)

Page 7: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 7

• การเลือกใช้วัสดุที่มีค่าการต้านทานความร้อน(R-Value)มากกวา่ผนงักอ่อฐิฉาบปนูประมาณ2เทา่ไดแ้กผ่นงั

อฐิมวลเบาในสว่นของผนงัภายนอกของอาคารสว่นผนงัภายใน

ใช้ระบบผนังก่ออิฐฉาบปูนปกติเพื่อการป้องกันเสียงรบกวน

ระหว่างห้องเรียน3และผนังเบาในส่วนของห้องพักอาจารย์และ

ห้องนำ้าห้องส้วม

• การจัดการก่อสร้างอาคารให้มีส่วนยื่นได้แก่ส่วนระเบียงและกันสาดนอกจากจะมีประโยชน์ในการป้องกัน

แสงดังที่ได้กล่าวไปแล้วยังใช้สำาหรับการติดตั้งแผงกันแดด

และยังเป็นพื้นที่สำาหรับวางส่วนระบายความร้อนของเครื่อง

ปรับอากาศ (CondensingUnit) ได้ด้วย โดยการจัดให้แผง

กันแดดมีการบดบังอุปกรณ์ดังกล่าวไว้เพื่อความสวยงามและ

เพื่อประสิทธิภาพในการระบายความร้อนสูงที่สุด แต่สามารถ

ซ่อมบำารุงได้ง่าย

• ในส่วนของหลังคาอาคารมีสองส่วนได้แก่ส่วนที่เปน็หลงัคาคอนกรตีสำาหรบัใชง้านพืน้ชัน้ดาดฟา้ไดอ้อกแบบให้

มีการติดตั้งฉนวนใยแก้วความหนา6นิ้วเพื่อป้องกันความร้อน

จากหลงัคาอกีสว่นหนึง่ไดแ้ก่หลงัคารปูแบบแบบปกีผเีสือ้ทีน่ำา

มาใชเ้พือ่ทีจ่ะลดปรมิาณความรอ้นใตห้ลงัคาโดยอาศยัความเรว็

ลมเพือ่พาความรอ้นจากวสัดแุละชอ่งใตห้ลงัคาออกไปแตย่งัคง

มกีารตดิตัง้ฉนวนใยแกว้ไวเ้หนอืฝา้เพดานเพือ่ปอ้งกนัความรอ้น

ถ่ายเทเข้าสู่อาคารอีกชั้นหนึ่ง

• การนำากระแสลมธรรมชาติมาใช้งานนั้นสามารถนำามาใช้ได้ในสองส่วนคือส่วนที่เกี่ยวข้องกับการระบายอากาศ

ใต้หลังคาดังที่ได้กล่าวไปแล้วอีกส่วนหนึ่งคือการนำากระแสลม

มาพดัผา่นรา่งกายโดยตรงทีส่ามารถนำามาใชไ้ดใ้นกรณทีีส่ภาพ

อากาศมีความเหมาะสมคือไม่ร้อน-ไม่หนาวและไม่ชื้น-ไม่แห้ง

จนเกินไป (Robinette, 1977) ซึ่งการออกแบบวางผังอาคาร

รปูแบบทีว่างตามแนวแกนทศิตะวนัตกและตะวนัออกนีส้ามารถ

ใช้ประโยชน์จากกระแสลมธรรมชาติได้เป็นอย่างดีเนื่องจากลม

ประจำาของพืน้ทีจ่ะพดัมาจากทางทศิใตเ้ปน็หลกัดงัการทดสอบ

โดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ดังภาพที่11และ12ต่อไปนี้

ภาพที่ 10 แสดงการปอ้งกนัรงัสตีรงจากดวงอาทติยโ์ดยการใชแ้ผงบงัแดดทีส่ามารถบงัแดดไดต้ลอดชว่งเวลาของการใชง้าน โดยการพจิารณามมุเอยีงของ

แสงที่มากที่สุดในวันวิกฤต

3เนื่องจากผังก่ออิฐฉาบปูนปกติมีค่าการป้องกันเสียง (Sound Transmission Class: STC) ประมาณ 45-50 สามารถนำามาใช้ในการป้องกันเสียงผ่าน

ระหว่างห้องเรียนได้ หากมีการออกแบบการใช้งานร่วมกับวัสดุดูดซับเสียงที่มีความเหมาะสม

ภาพที่ 11 แสดงภาพการจำาลองการไหลของกระแสลมผ่านตัวอาคาร

Page 8: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 25538

• ในการเสรมิสรา้งสภาวะนา่สบายสว่นของอณุหภมูิ

ร้อนหนาวนั้นต้องมีการพิจารณาถึงสภาพอากาศที่มีความ

แตกต่างกันออกไปในแต่ละฤดูกาลดังนี้

• ในฤดูร้อนที่อุณหภูมิอากาศมีค่าสูง ความชื้นในอากาศสูง การใช้เครื่องปรับอากาศนับว่ามีความจำาเป็นต่อการ

เสริมสร้างสภาวะน่าสบายในอาคารทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมการ

เรียนการสอนเป็นกิจกรรมที่ต้องมีการควบคุมสภาพอากาศ

ภายในสูง (สุนทร บุญญาธิการ, 2545) ดังนั้นในฤดูร้อนที่

ภาพที่ 12 แสดงภาพการจำาลองการไหลของกระแสลมผา่นบรเิวณหลงัคา

รูปทรงปีกผีเสื้อ

อุณหภูมิอากาศมีค่าเฉลี่ยประมาณ36องศาเซลเซียสแผงบัง

แดดของอาคารจะทำาหน้าที่ป้องกันรังสีตรงจากดวงอาทิตย์ที่จะ

สอ่งเขา้มาทางทศิเหนอืของอาคาร(สว่นหนึง่ถกูบดบงัดว้ยอาคาร

ข้างเคียง) ส่วนของผนังทึบและผนังโปร่งแสงจึงไม่ถูกกระทบ

จากรังสีอาทิตย์ เกิดการนำาความร้อนผ่านกรอบอาคารน้อยลง

และทำาใหผ้วิภายในของผนงัมอีณุหภมูติำา่ลงกระแสลมทีพ่ดัมา

จากทางทศิใตจ้ะพดัผา่นชอ่งวา่งใตห้ลงัคาเพือ่พาเอาความรอ้น

ออกไปส่วนอาคารในชั้นบนจะเป็นส่วนป้องกันความร้อนให้กับ

ชั้นล่าง เมื่อผนวกกับการปรับอากาศก็จะสามารถสร้างสภาวะ

น่าสบายในส่วนของอุณหภูมิภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(ภาพที่13)

• ในฤดฝูนทีอ่ณุหภมูอิากาศมคีา่ไมส่งูเทา่กบัในฤดูร้อน เราสามารถนำากระแสลมธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ในการ

พัดผ่านร่างกายเพื่อเสริมสร้างสภาวะน่าสบายได้ โดยในกรณีที่

อุณหภูมิอากาศภายนอกมีค่าประมาณ27-30 องศาเซลเซียส

สามารถใช้ความเร็วลมประมาณ 5-10 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

เพื่อทำาให้เกิดความรู้สึกเย็นลงได้4 ในขณะที่หลังปีกผีเสื้อก็ยัง

สามารถใช้เพื่อการระบายความร้อนใต้หลังคาได้อย่างเป็นปกติ

(ภาพที่14)

ภาพที่ 13 แสดงการบูรณาการการออกแบบเพื่อเสริมสร้างความสบายในฤดูร้อน

4เมื่อความเร็วลมเพิ่ม 1 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มนุษย์จะรู้สึกเสมือนหนึ่งว่าอุณหภูมิอากาศลดลง 0.4 องศาเซลเซียล (สุนทร บุญญาธิการ, 2542)

Page 9: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 9

ภาพที่ 14 แสดงการบูรณาการการออกแบบเพื่อเสริมสร้างความสบายในฤดูฝน

ภาพที่ 15 แสดงการบูรณาการการออกแบบเพื่อเสริมสร้างความสบายในฤดูหนาว

• ส่วนในฤดูหนาวที่อุณหภูมิอากาศในเวลากลาง

วันใกล้เคียงกับสภาวะน่าสบายคือมีอุณหภูมิอากาศประมาณ

22-27องศาเซลเซยีส(Fanger,1972)ความชืน้สมัพทัธป์ระมาณ

50เปอร์เซ็นต์การมีอาคารเรียนเดิมอยู่ทางทิศเหนือช่วยในการ

ป้องกันกระแสลมหนาวที่พัดมาจากทางทิศเหนือได้เป็นอย่างดี

ในกรณีที่อุณหภูมิอากาศมีค่าตำ่ากว่าอุณหภูมิสบายเช่นอยู่ใน

ช่วงประมาณ15-20องศาเซลเซียสก็สามารถปิดหน้าต่างเพื่อ

ลดการถ่ายเทความร้อนจากภายในอาคารออกสู่ภายนอก โดย

ความรอ้นทีเ่กดิขึน้ภายในอาคารนีเ้กดิจากรา่งกายมนษุย์ระบบ

แสงสว่างจากแสงประดิษฐ์แสงธรรมชาติและอุปกรณ์ภายใน

อาคารแตย่งัสามารถระบายอากาศไดโ้ดยการรัว่ซมึของอากาศ

(Infiltration)กับการเปิดเข้าออกประตูตามปกติ(ภาพที่15)

Page 10: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 255310

แนวท�งเสริมสร้�งคว�มสบ�ยท�งด้�นคว�มสว่�ง

และก�รมองเห็นที่มีคว�มเหม�ะสม (Lighting and

Visual Comfort)

จากที่ได้กล่าวไปแล้วว่า การนำาแสงธรรมชาติมาใช้

ในอาคารนั้นจะมุ่งเน้นเฉพาะแสงที่ได้จากการสะท้อน (Diffuse

Light)เทา่นัน้โดยการวางผงัหอ้งเรยีนนัน้มคีวามตอ้งการใชแ้สง

ธรรมชาตใิหม้ากทีส่ดุเพือ่ลดการใชแ้สงประดษิฐใ์นเวลากลางวนั

ให้มีความสว่างเพียงพอที่ประมาณ35-50ฟุตแคนเดิล (Stein

andReynolds,1992)ซึ่งจากการคำานวณและจำาลองแบบทาง

สถาปัตยกรรมพบว่าห้องเรียนของอาคารนี้ที่มีขนาดมาตรฐาน

คือ9x11ตารางเมตรนั้นจะมีแสงธรรมชาติเข้ามาในอาคารได้

อย่างเพียงพอโดยเฉพาะในพื้นที่บริเวณขอบของห้องเรียนทั้งนี้

โดยการอาศยัการสะทอ้นของแสงภายในหอ้งเรยีนทีใ่ชส้ขีาวเปน็

หลกัการเปดิชอ่งเปดิทีม่คีวามสงูของขอบบนหนา้ตา่งเพือ่ใหแ้สง

ธรรมชาติสามารถส่องเข้ามาได้ลึกที่สุดเท่าที่จะทำาได้ และการ

เลือกวัสดุปูพื้นในส่วนของระเบียงทางเดินทางด้านทิศใต้ให้เกิด

การสะท้อนแสงเข้าสู่ภายในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดังภาพที่16ต่อไปนี้

ภาพที่ 16 แสดงการจำาลองแบบทางสถาปัตยกรรมในเรื่องแสงธรรมชาติทางด้านข้างของผนังในทิศทางต่าง ๆ

นอกจากแสงธรรมชาตทิีไ่ดม้กีารพจิารณาโดยละเอยีด

แลว้การใชแ้สงประดษิฐร์ว่มกบัแสงธรรมชาตกิม็คีวามสำาคญัไม่

แพก้นักลา่วคอืในสว่นของแสงประดษิฐไ์ดม้กีารเลอืกใชอ้ปุกรณ์

ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูง มีการแบ่งสวิตช์ไฟฟ้าแสงสว่างเป็น

สามพืน้ทีด่ว้ยกนัไดแ้ก่บรเิวณพืน้ทีห่นา้หอ้งเรยีนทีบ่างครัง้ตอ้ง

มีการฉายเครื่องฉายภาพที่ต้องการความมืดบริเวณพื้นที่ใกล้

หน้าต่างที่มีแสงธรรมชาติเพียงพอและบริเวณพื้นที่ทั่วไป เพื่อ

ให้สามารถใช้แสงประดิษฐ์ร่วมกับแสงธรรมชาติได้อย่างเต็ม

ประสิทธิภาพมากที่สุด

แนวท�งเสริมสร้�งคว�มสบ�ยท�งด้�นคุณภ�พ

เสียงภ�ยในอ�ค�รที่มีคว�มเหม�ะสม (Acoustical

Comfort)

ปัจจัยที่มีส่วนส่งเสริมการเรียนรู้นั้นนอกจากจะเป็น

เรื่องในเชิงอุณหภาพและแสงสว่างแล้ว เรื่องความสบายทาง

ด้านเสียงที่มีความเหมาะสมก็นับว่ามีความสำาคัญเป็นอย่างยิ่ง

เนือ่งจากหากผูเ้รยีนไมส่ามารถเขา้ใจในคำาพดูมคีวามเขา้ใจผดิ

หรือไม่ได้ยินเสียงของผู้สอนก็จะส่งผลโดยตรงต่อการเรียนรู้เป็น

อย่างมากดังนั้นในส่วนนี้จึงมีการพิจารณาเป็นสองส่วนด้วยกัน

ได้แก่

Page 11: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 11

ส่วนแรกได้แก่ส่วนที่เกี่ยวข้องกับความดังที่พอเพียง

ของเสยีงจากแหลง่กำาเนดิโดยปกตเิสยีงสนทนาปกตขิองมนษุย์

จะมคีา่ความดงัของเสยีงทีป่ระมาณ60เดซเิบลเอ(dBA)(Egan,

1972)หากตอ้งการใหเ้สยีงนีส้ามารถไดย้นิทัว่ถงึทัง้หอ้งบรเิวณ

พื้นที่ด้านหน้าห้องเรียนต้องกรุด้วยวัสดุที่มีพื้นผิวสะท้อนเสียง

เพื่อกระจายเสียงจากหน้าห้องเรียนไปยังหลังห้องให้มากที่สุด

สว่นทีส่องไดแ้กส่ว่นทีเ่กีย่วขอ้งกบัการลดเสยีงรบกวน

ที่ไม่ต้องการจากภายนอกอาคาร และลดการรบกวนระหว่าง

ห้องเรียนด้วยกันเองโดยการเลือกใช้ผนังก่ออิฐฉาบปูนเป็นผนัง

ภายในที่มีค่าระดับการกันเสียง(SoundTransmissionClass:

STC)ทีป่ระมาณ45-50ผนวกกบัการตดิตัง้ฉนวนเพือ่ดดูซบัเสยีง

ภายในจะทำาให้สามารถลดเสียงรบกวนที่ไม่ต้องการได้มากขึ้น

ส่วนที่สาม ได้แก่ ค่าการสะท้อนก้องภายในห้องซึ่ง

สามารถคำานวณค่าโดยใช้สมการReverberation Time5หรือ

ค่า RT60 ที่กำาหนดไว้ว่าห้องเรียนที่ใช้การบรรยายเป็นหลัก

นั้นควรมีการสะท้อนก้องภายในที่ประมาณ 0.7-1.2 วินาที

ในทุกย่านความถี่ของเสียง (สุธีวัน โล่ห์สุวรรณ, 2551) ซึ่งใน

กรณีของห้องเรียนของอาคารนี้ หากมีการติดตั้งฉนวนดูดซับ

เสียงประมาณ1 ใน 3 ของพื้นที่ภายในห้องเรียนจะทำาให้ค่า

การสะท้อนก้องภายในห้องอยู่ที่ประมาณ0.9 วินาที ซึ่งนับว่า

เหมาะสมต่อการเรียนการสอน

ภาพที่ 17 แสดงการวางผังห้องปฏิบัติการทางภาษา อาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์

5ค่านี้จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับตัวแปร ได้แก่ ปริมาตรของห้อง ขนาดพื้นที่ดูดซับเสียง และค่าสัมประสิทธิ์การดูดซับเสียงของวัสดุ

ก�รเสรมิสร�้งองคค์ว�มรูด้ว้ยตวัสถ�ปตัยกรรมเอง

ในการเสริมสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวสถาปัตยกรรม

เองนั้น เมื่อพิจารณาจากเนื้อหาที่ได้กล่าวมาทั้งหมดจะพบว่า

อาคารนี้ถูกออกแบบด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์มีประโยชน์

ใช้สอยเป็นห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้นแนวทางการ

ออกแบบทั้งหมดจึงแสดงออกมาในรูปแบบทางสถาปัตยกรรม

ผา่นการรบัรูข้องประสาทรบัรูต้า่งๆ ของนกัเรยีนโดยทีเ่ปา้หมาย

ของอาคารนีค้อืการเสรมิสรา้งสภาวะนา่สบายในดา้นตา่งๆ เพือ่

เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนแต่ต้องมีการใช้พลังงาน

ไฟฟา้ใหน้อ้ยทีส่ดุซึง่จากการจำาลองแบบทางสถาปตัยกรรมทาง

ด้านพลังงานพบว่า การใช้แผงกันแดดผนวกกับการใช้พืชพันธุ์

ธรรมชาตินั้นสามารถลดการใช้พลังงานในการปรับอากาศใน

สว่นของความรอ้นสมัผสัและความรอ้นแฝงลงไดถ้งึครึง่หนึง่ของ

อาคารที่ไม่มีการติดตั้งแผงบังแดดและสามารถลดภาระการ

ทำาความเย็นของเครื่องปรับอากาศในส่วนของการแผ่รังสีความ

ร้อนผ่านช่องเปิดลงได้เหลือประมาณ1ใน10ของอาคารแบบ

เดียวกันที่ไม่มีแผงบังแดดดังแผนภูมิต่อไปนี้

Page 12: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 255312

นอกจากการเปรียบเทียบระหว่างกรณีที่มีการติดตั้ง

แผงบังแดด และไม่มีการติดตั้งแผงบังแดดแล้ว ในส่วนของ

ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนผ่านกรอบอาคาร (Overall

ThermalTransferValue:OTTV)และคา่สมัประสทิธิก์ารถา่ยเท

ความร้อนผ่านหลังคาอาคาร(RoofThermalTransferValue)

ก็นับว่ามีความสำาคัญ เนื่องจากมีการประกาศใช้เป็นพระราช

บัญญัติเพื่อบังคับให้อาคารให้มีค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความ

ร้อนทั้งสองส่วนนี้มีค่าไม่เกินตามที่กฎหมายกำาหนด โดยที่ใน

กรณีที่เป็นอาคารการศึกษานั้นค่าOTTVต้องไม่เกิน 50 วัตต์

ต่อตารางเมตรส่วนค่าRTTVต้องมีค่าไม่เกิน15วัตต์ต่อตาราง

เมตรซึ่งจากการคำานวณพบว่าอาคาร40ปีสาธิตศึกษาศาสตร์

มีค่าOTTVเท่ากับ28.73วัตต์ต่อตารางเมตรค่าRTTVเท่ากับ

3.4วัตต์ต่อตารางเมตรดังแผนภูมิต่อไปนี้

ภาพที่ 18 แผนภูมิแสดงภาระการทำาความเย็นของเครื่องปรับอากาศในส่วนของความร้อนสัมผัส (Sensible Heat) ความร้อนแฝง (Latent Heat)

และความร้อนที่เกิดจากรัวสีตรงจากดวงอาทิตย์ที่ส่งผ่านเข้ามาในอาคาร (Window Solar)

ภาพที่ 19 แผนภมูแิสดงการเปรยีบเทยีบคา่สมัประสทิธิก์ารถา่ยเทความรอ้นผา่นกรอบอาคาร (OTTV) และหลงัคา (RTTV) ตามทีก่ฎหมายกำาหนด กบัการ

คำานวณค่าที่ได้จากอาคาร 40 ปี สาธิตศึกษาศาสตร์

Page 13: แนวทางการออกแบบ ...202.28.117.248/journal/wp-content/uploads/2012/06/01-53.pdf · ทางด้านทิศเหนือที่เป็นแสงเย็นหรือแสงกระจาย

ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีที่ 9 ประจำ�ปี 2553 13

นอกจากนี้การอกแบบอาคารเรียนยังต้องคำานึงถึง

รูปแบบการจัดพื้นที่ใช้สอยภายในให้สามารถรองรับกิจกรรม

การเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ได้หลากหลาย ในกรณีของ

อาคารนี้มีการเรียนการสอนทั้งรูปแบบการสอนแบบบรรยาย

(LectureType)รปูแบบสมัมนากลุม่ยอ่ย(GroupSeminarType)

รปูแบบการทดลองทางวทิยาศาสตร์(ExperimentalType)และ

รูปแบบการเรียนคอมพิวเตอร์(Computer-LearningType)ซึ่ง

ทีว่า่งภายในอาคารสามารถรองรบัรปูแบบกจิกรรมกจิกรรมตา่งๆ

ดังกล่าวนี้ได้

จากเนือ้หาทีไ่ดก้ลา่วมาทัง้หมดนี้จะเหน็ไดว้า่แนวทาง

ในการออกแบบอาคารเรียนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้

โดยอาศัยการเสริมสร้างสภาวะน่าสบายที่มีความเหมาะสมต่อ

กระบวนการเรยีนรูน้ัน้สถาปนกิหรอืผูอ้อกแบบตอ้งมคีวามเขา้ใจ

ในอิทธิพลของตัวแปรต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องทั้งนี้และทั้งนั้นก็

เพือ่การออกแบบอาคารในเชงิบรูณาการทีจ่ะนำาไปสูเ่ปา้หมายที่

ต้องการได้เป็นอย่างดี

บรรณ�นุกรม

ชญาณิน จิตรานุเคราะห์.ก�รวิเคร�ะห์ส�ระสำ�คัญของ

เทคโนโลยีเรือนไทยภ�คกล�ง. วิทยานิพนธ์

สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย,2550.

ชูพงษ์ทองคำาสมุทร.แนวท�งก�รออกแบบเชิงวิทย�ศ�สตร์

ของฮวงจุ้ยสำ�หรับประเทศไทย. วิทยานิพนธ์

สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย,2551.

สธุวีนัโลห่ส์วุรรณ.ก�รออกแบบและสร�้งหอ้งเรยีนคณุภ�พ

สูงโดยเน้นก�รควบคุมด้วยปัจจัยธรรมช�ติ.

วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551.

สุนทร บุญญาธิการ . ก�รออกแบบประส�นระบบ

มห�วทิย�ลยัชนิวตัร.กรงุเทพมหานคร:จฬุาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย,2545.

สุนทร บุญญาธิการ. เทคนิคก�รออกแบบบ้�นประหยัด

พลงัง�น เพือ่คณุภ�พชวีติทีด่กีว�่. กรงุเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2542.

สุนทรบุญญาธิการ.บ้�นชีว�ทิตย์ บ้�นพลังง�นแสงอ�ทิตย์

เพื่อคุณภ�พชีวิตผลิตพลังง�น. กรุงเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2547.

Bradshaw,V.Building control systems. 2ndedition.New

York:JohnWiley&Sons.1993.

Fanger,P.O.Thermal Comfort. UnitedStates:McGraw-Hill

BookCompany,1972.

Egan,D.M.Concepts in Architectural Acoustics. United

States:McGraw-HillBookCompany,1972.

Givoni, B. Man Climate and Architecture. NewYork:

ElsevierPublishing,1969.

Givoni,B. Passive and Low Energy cooling of Buildings.

UnitedStates:VanNostrandReinhold,1994.

Olgyay, V.Design with Climate.NewJersey: Princeton

Hall,1962.

Robinette,O.G. Landscape Planning for Energy Conser-

vation.UnitedStatesofAmerica:Environmental

DesignPress,1977.

Santamouris,M.Passive Cooling of Buildings. United

Kingdom:AntonyRowleLtd,1996.

Stein,B., andReynolds, J. Mechanical and Electrical

Equipment for Buildings.8thEdition.NewYork:

JohnWiley&Sons,1992.

Szokolay V. S. Introduction to Architectural Science:

The Basis of Sustainable Design.GreatBritain:

ElsevierScience,2004.

Watson,D.Climatic Design, Energy Efficient Building

Principles and Practice.UnitedStatesofAmerica:

McGraw-Hill,1983.