3
Hospital visit โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี นาสิก ของโรงพยาบาลรับผิดชอบดูแลแผนกนี้ (เป็นคุณหมอ แพทย์รุ่นแรกซึ่งทางโรงพยาบาลส่งไปเรียนด้านโสต ศอ นาสิก ที่โรงพยาบาลราชวิถีในป ี พ.ศ. 2549 และกลับมาเมื่อปี พ.ศ. 2552) โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี เป็นสถานพยาบาลรักษาผู้ป่วย โรคมะเร็ง สังกัดกรมการแพทย์ เดิมชื่อ ศูนย์มะเร็งชลบุรี เปิดให้บริการตั้งแต่ พ.ศ. 2538 โดยช่วงแรกเน้นการรักษา ด้วยการฉายแสงเป็นหลัก ต่อมาเปลี่ยนเป็นโรงพยาบาลมะเร็ง ชลบุรี ปัจจุบันมีนายแพทย์สุทัศน์ ดวงดีเด่น เป็นผู้อ�านวยการ โรงพยาบาลตั้งอยู่เลขที่ 300 ม.2 ถ.พระยาสัจจา ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี บนพื้นที่รวม 23 ไร่ อยู่ในพื้นที่เขตบริการ สุขภาพที่ 6 รับผิดชอบ 6 จังหวัดทางภาคตะวันออก คือ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว ด้านการรักษา จะมีบริการด้านต่างๆ อาทิ การฉายแสง เคมีบ�าบัด และมุ ่งเน้น มะเร็ง 5 โรค คือ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็งล�าไส้ มะเร็ง ศีรษะและล�าคอ และมะเร็งปากมดลูก ในวันนี้จะขอแนะน�าทีมรักษาผู ้ป่วยด้านมะเร็งศีรษะและ ล�าคอ ซึ่งเป็นทีมงานที่โดดเด่นและมีความเป็นเลิศในการรักษา สามารถรักษาผู้ป่วยได้ทุกขั้นตอนที่โรงพยาบาลโดยไม่ต้อง ส่งตัวไปรักษาต่อที่อื่น ทีมสหสาขามะเร็งหู คอ จมูก (Multidisciplinary Cancer Team) การรักษามะเร็งหู คอ จมูก ของโรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี มีการรักษาแบบครบวงจร ในปี พ.ศ. 2552 เมื่อ นพ.อดิษฐ์ โชติพานิช ซึ่งปัจจุบันเป็นแพทย์ช�านาญการพิเศษด้านโสต ศอ 037 ปีท่ 42 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2560

โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี203.157.39.21/dmsweb/dmsweb_v2_2/content/org/webpageJDMS_30/demo/da… · โรงพยาบาลตั้งอยู่เลขที่

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี203.157.39.21/dmsweb/dmsweb_v2_2/content/org/webpageJDMS_30/demo/da… · โรงพยาบาลตั้งอยู่เลขที่

Hospital visit

โรงพยาบาลมะเรง็ชลบุร ี

นาสิก ของโรงพยาบาลรับผิดชอบดูแลแผนกนี้ (เป็นคุณหมอแพทย์รุ่นแรกซึ่งทางโรงพยาบาลส่งไปเรียนด้านโสต ศอ นาสิก ท่ีโรงพยาบาลราชวิถีในปี พ.ศ. 2549 และกลับมาเมื่อป ีพ.ศ. 2552)

โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี เป็นสถานพยาบาลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง สังกัดกรมการแพทย์ เดิมชื่อ ศูนย์มะเร็งชลบุร ีเปิดให้บริการตั้งแต่ พ.ศ. 2538 โดยช่วงแรกเน้นการรักษา ด้วยการฉายแสงเป็นหลกั ต่อมาเปลีย่นเป็นโรงพยาบาลมะเรง็ชลบุรี ปัจจุบันมีนายแพทย์สุทัศน์ ดวงดีเด่น เป็นผู้อ�านวยการ

โรงพยาบาลตั้งอยู่เลขที่ 300 ม.2 ถ.พระยาสัจจา ต.เสม็ด อ.เมือง จ.ชลบุรี บนพ้ืนท่ีรวม 23 ไร่ อยู่ในพ้ืนท่ีเขตบริการสุขภาพที่ 6 รับผิดชอบ 6 จังหวัดทางภาคตะวันออก คือ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา และสระแก้ว ด้านการรักษาจะมบีรกิารด้านต่างๆ อาท ิการฉายแสง เคมบี�าบดั และมุง่เน้นมะเร็ง 5 โรค คือ มะเร็งเต้านม มะเร็งปอด มะเร็งล�าไส้ มะเร็งศีรษะและล�าคอ และมะเร็งปากมดลูก

ในวันนีจ้ะขอแนะน�าทมีรกัษาผูป่้วยด้านมะเรง็ศรีษะและล�าคอ ซึง่เป็นทีมงานทีโ่ดดเด่นและมคีวามเป็นเลศิในการรกัษา สามารถรักษาผู้ป่วยได้ทุกขั้นตอนที่โรงพยาบาลโดยไม่ต้องส่งตัวไปรักษาต่อที่อื่น

ทีมสหสาขามะเร็งหู คอ จมูก(Multidisciplinary Cancer Team)

การรักษามะเร็งหู คอ จมูก ของโรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี มีการรักษาแบบครบวงจร ในปี พ.ศ. 2552 เมื่อ นพ.อดิษฐ์ โชติพานิช ซึ่งปัจจุบันเป็นแพทย์ช�านาญการพิเศษด้านโสต ศอ

037ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2560

Page 2: โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี203.157.39.21/dmsweb/dmsweb_v2_2/content/org/webpageJDMS_30/demo/da… · โรงพยาบาลตั้งอยู่เลขที่

เมื่อคุณหมอกลับมาท�างานจึงพัฒนาโครงสร้างทีม สหสาขาวิชา ซึ่งประกอบด้วยกัน 5 ทีม คือ ทีมแพทย์หู คอ จมูก ทีมทันตแพทย์ ทมีพยาบาล ทีมโภชนากร และทมีสงัคมสงเคราะห์ ซึง่ท�าให้ทางโรงพยาบาลประสบความส�าเรจ็ในการรกัษาผูป่้วย

และทางโรงพยาบาลมเีครือ่งมอืและเทคโนโลยีทีทั่นสมยั โดยเฉพาะเครื่องฉายรังสีแบบเร่งอนุภาค แบบการฉายแสงแบบปรบัความเข้ม (Intensity Modulated Radiation Therapy, IMRT) เป็นเครื่องแรกในภูมิภาค ซึ่งลดผลแทรกซ้อน มีความแม่นย�าท�าให้ลดผลกระทบจากอวัยวะข้างเคียง

และยังเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกในภาคตะวันออกที่ใส ่กล่องเสียงเทียมเมื่อคนไข้เป็นมะเร็งกล่องเสียง ต้องตัด กล่องเสยีงคนไข้จะพูดไม่ได้ นอกจากการฝึกพูดโดยใช้หลอดลมแล้ว ยังมนีวตักรรมคือใช้กล่องเสยีงเทียมฝังไว้ท่ีล�าคอ การใช้วิธีเดิมคือฝึกพูดจะประสบความส�าเร็จ 10-20% ในขณะท่ี การใส่กล่องเสยีงจะประสบความส�าเรจ็ถึง 50% ทีค่นไข้จะพูดได้

ทีมแพทย์ ENT

แผนกมะเร็งศีรษะและล�าคอจะท�างานร่วมกันเป็นทีม ทกุฝ่ายมคีวามส�าคญัเท่าเทยีมกัน เมือ่มผีูป่้วยเข้ามารบับรกิาร ทางทมีจะวางแผนในการรกัษาร่วมกันระหว่างทมีแพทย์ผ่าตัด ทมีทนัตกรรมและทมีพยาบาล โดยทีมพยาบาลจะท�าหน้าท่ี คือ สอนผู้ป่วยมะเร็งที่ตัดกล่องเสียงพูด และทีมโภชนาการที่คอยดูแลเรื่องอาหารของผู้ป่วยตั้งแต่เข้ามารักษา

ทีมทันตแพทย์

เมื่อคนไข้เข้ารับการรักษามะเร็งหู คอ จมูกหรือศีรษะ ปัญหาที่ตามมาคือด้านทันตกรรม อาทิ

1. ความพิการของช่องปาก ปัญหาในการกิน การพูด การกลืน การฉายแสงท�าให้คนไข้สูญเสียกล้ามเนื้อบางส่วน หรือเป็นไซนัสท่ีศีรษะ ล�าคอ เพดานทะลุ การกลืนอาหาร จะส�าลักทางจมูก

2. การพูดไม่ชัดเสียงออกจมูก3. ความพิการของใบหน้า เพราะเวลาตัดกล้ามเน้ือออก

ต้องยกไปทั้งชิ้น ท�าให้ลักษณะรูปร่างของใบหน้าบิดเบี้ยวไป

จะมีปัญหาในการอ้าปาก ต่อมน�้าลายเสื่อมท�าให้ฟันผุง่าย กระดูกตายจากการเกิดฟันผุ

ทางทันตกรรมจะเข้ามาช่วยกับทีมหมอผ่าตัดและ ทีมโภชนาการ คนไข้จะเตรียมตัวก่อนและจะรู้ว่าจะเกิดอะไร ทีมทันตกรรมของโรงพยาบาลมะเร็งชลบุรีมีจุดเด่น คือ ใช้ทันตประดษิฐ์ในการท�าเพดานเทยีม และฟันเทยีมแบบช่วยปิดช่องจมกูและปาก และทีมทันตกรรมจะเข้าห้องผ่าตัดพร้อมคุณหมอผู้ท�าการรักษามะเร็งเลย เป็น One stop service

อย่างเช่น พอมคีนไข้มะเรง็ช่องปากบรเิวณเพดาน ทีมแพทย์ประเมินแล้วว่าการรักษาคือการผ่าตัดเพ่ือเอาก้อนเน้ือออก ตามด้วยการฉายแสง พอคนไข้เจอทมีหมอผ่าตดั จากนัน้จะมาเจอทมีทนัตกรรมซึง่คณุหมอจะตรวจช่องปาก ตรวจความสะอาด ดูว่าก้อนเน้ือท่ีตัดกินพ้ืนท่ีส่วนไหนบ้าง ฟันจะเหลือแค่ไหน ทางทีมทันตกรรมจะพิมพ์ฟันไว้เป็นโมเดลเพ่ือเตรยีมความพร้อมส�าหรับการผ่าตัด ทันตกรรมประดิษฐ์จะพร้อมในวันผ่าตัดเลย เพราะว่าเมื่อถูกยกก้อนเนื้อออกไปแล้วจะมีรูทะลุ สิ่งประดิษฐ์จึงมีข้อดีหลายอย่างคือ

038 วารสารกรมการแพทย์

Page 3: โรงพยาบาลมะเร็งชลบุรี203.157.39.21/dmsweb/dmsweb_v2_2/content/org/webpageJDMS_30/demo/da… · โรงพยาบาลตั้งอยู่เลขที่

อีกท้ังยังมีทีมจิตอาสาเย็บผ้าคลุมช่องล�าคอไม่ให้เห็น รอยเจาะ ซึ่งจะท�าเหมือนปกเสื้อดูกลมกลืนมาก ท�าให้คนไข้สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ

ทีมโภชนากร

เมือ่ผูป่้วยเข้ามารกัษา ทางทีมจะวางแผนกัน ถ้าน�า้หนกั ผู้ป่วยน้อยเกินไปไม่สามารถผ่าตัดได้ ทางทีมโภชนาการจะ เข้ามาดแูลเรือ่งอาหาร ท�าให้ผูป่้วยมนี�า้หนกัเหมาะสม และจะดูแลต่อไปจนถึงหลังผ่าตัด ถ้าผู้ป่วยทานอาหารไม่ได้ก็จะปรับอาหารให้เหมาะสม เช่น อาจท�าในรูปแบบเจลลี่ ที่สะดวกในการรับประทานแต่มีคุณค่าทางโภชนาการครบหมวดหมู่ และคอยติดตามผลของคนไข้ตลอด แม้หลังออกจากโรงพยาบาล ไปแล้วดูแลต่อเน่ืองไปจนถึง 5 ปีหลังเข้ารับการรักษาและ ทีมหมอผ่าตัดจะท�างานร่วมกับทีมทันตกรรมต่อไป

1. ปิดแผลและช่วยห้ามเลอืด เพราะช่องปากเป็นทางท่ีมีเชื้อโรคผ่านเข้าไปได้

2. ท�าให้คนไข้ฟ้ืนตวัได้เรว็ สามารถรบัสารอาหารได้เลยโดยไม่ทะลขึุน้ไปข้างบนหลงัจากนัน้ส่งต่อให้ทางทีมโภชนาการดูแลเรื่องอาหารตามความหมาะสม

ทีมพยาบาล อีกหัวใจส�าคัญของการรักษา

ทางทีมพยาบาลของแผนกจะได้รับการฝึกอบรมให้ช่วย คนไข้ซึง่ผ่าตดักล่องเสยีงออกแล้วพูดไม่ได้ด้วยการให้ก�าลงัใจและสอนคนไข้ฝึกพูดด้วย

คนไข้บางคนถึงขนาดไม่ยอมผ่าตัดเมื่อรู้ว่าผ่าตัดแล้วจะไม่มีเสียง ก่อนผ่าตัดคนไข้จะกลัวและทุกข์ใจมาก บางคน ซมึเศร้า บางคนจะฆ่าตวัตาย ทางโรงพยาบาลจะน�า role model คอื นายกสมาคมผูไ้ร้กล่องเสยีงมาช่วยสอนพูดและให้ก�าลังใจคนไข้ โดยบอกว่าตอนแรกเขาก็คิดจะฆ่าตัวตายและมีหลายคนคิดเช่นนี้ แต่ปัจจุบันสามารถพูดได้เป็นปกติแล้ว

การฝึกพดูทางทมีพยาบาลจะต้องฝึกคนไข้ครัง้ละ 2 ชัว่โมง สปัดาห์ละ 2 ครัง้ ด้วยการออกก�าลงักาย ฝึกหายใจ ฝึกกลนืลมโดยจะมีน�้าให้คนละหนึ่งขวด เพราะบางคนกลืนลมแห้งๆ ไม่ลง พอฝึกเสรจ็ก็แนะน�าให้คนไข้กลบัไปท�าท่ีบ้านทกุวัน ระยะเวลาในการฝึกของแต่ละคนไม่เท่ากันอาจจะสามเดือน หกเดือนหรอืเก้าเดอืน ซึง่ในทีส่ดุคนไข้ก็จะสามารถเปล่งเสียงได้อาจจะเป็นค�า สองพยางค์หรือประโยค

เมื่อทุกสหสาขาวิชาร่วมแรงร่วมใจท�างานและเห็นความส�าคัญของคนไข้เป็นหลักพร้อมต้องการมอบสิ่งที่ดีที่สุดให้ ผู ้มารักษา ทีมดูแลผู้ป่วยด้านโรคมะเร็งศีรษะและคอของ โรงพยาบาลมะเรง็ชลบรุ ีจงึเป็นทมีงานคณุภาพผูท้�างานด้วยใจอย่างแท้จริง

039ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2560