156
ความเสียหายของวัสดุทางวิศวกรรม Failure of engineering materials รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1 Thursday, July 4, 13

ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

ความเสียหายของวัสดุทางวิศวกรรมFailure of engineering materials

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัยภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล คณะวิศวกรรมศาสตร

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

1

Thursday, July 4, 13

Page 2: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

2

สัปดาหที่ เนื้อหา เอกสาร (หนา)

1 บทนำ - การเปล่ียนแปลงขนาด และการแตกหัก 1 - 14

2โครงสรางและการเปล่ียนแปลงขนาด - พันธะระหวางอะตอม วัสดุทางวิศวกรรม โครงสรางผลึก และตำหนิในโครงสรางผลึก

15 - 28

3โครงสรางและการเปล่ียนแปลงขนาด - กลไกการเปล่ียนแปลงขนาด และตัวแบบทางคณิตศาสตรของการเปล่ียนแปลงขนาด

29 - 48

4การวิเคราะหความเคน และความเสียหายจากการเปล่ียนแปลงขนาด

49 - 78

5กลศาสตรการแตกหัก - ความเคนและความเครียดที่ปลายรอยราว และคากลศาสตรการแตกหัก

79 - 108

แผนการบรรยาย

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 3: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

3

สัปดาหที่ เนื้อหา เอกสาร (หนา)

6 สอบกลางภาค (8 ม.ค. 2554)สอบกลางภาค (8 ม.ค. 2554)

7กลศาสตรการแตกหัก - ความทนทานการแตกหัก และการทำนายการแตกหัก

109 - 126

8 การลา - ความเสียหายของเคร่ืองบิน comet เอกสารเพิ่มเติม

9 การลา - ภาระแบบวงรอบ และกลไกการเกิดการลา 127 - 150

10การลา - พฤติกรรมของการลา การทดสอบการลา และการทำนายความเสียหายจากการลา

151 - 182

11 - 13 กรณีศึกษา เอกสารเพิ่มเติม

14 สอบปลายภาคสอบปลายภาค

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 4: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

4

กลศาสตรการแตกหัก

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 5: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• รอยร้าว (crack) หรือความไมตอเนื่องในวัสดุ สามารถทำใหชิ้นสวนของ

เคร่ืองจักรกลออนแอลงและเกิดการแตกหัก (fracture) ในระดับความเคน

ที่ต่ำกวาความเคนคราก

• รอยราวอาจเกิดอยางตั้งใจ เชน รูปรางที่ซับซอนของชิ้นสวนทาง

วิศวกรรม หรือการประกอบกันของวัสดุหลายๆ ชนิด หรือ รอยราวอาจ

เกิดอยางไมตั้งใจ เชน ขอบกพรองที่เกิดระหวางการผลิต หรือความเสีย

หายที่เกิดระหวางการใชงาน

5

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 6: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

U.S.N.A. - Trident Scholar Report; no. 341 (2005)

6

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

รอยราวจากรูปรางที่ซับซอน

Thursday, July 4, 13

Page 7: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

7

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

รอยราวซึ่งเกิดจากกระบวนการผลิต (การเชื่อม)

Thursday, July 4, 13

Page 8: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

8

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

รอยราวจากการลาระหวางการใชงานของเฟอง

Thursday, July 4, 13

Page 9: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• กลศาสตร์การแตกหัก (fracture mechanics) คือ ความรูเก่ียวกับการ

ตอบสนองของวัสดุที่มีรอยราวตอภาระที่มากระทำ เพื่อใชในการเลือกวัสดุ

ทางวิศวกรรม ออกแบบชิ้นสวนเคร่ืองจักรกล กำหนดขอบเขตการใชงาน

และวิธีซอมบำรุง เพื่อการใชงานชิ้นสวนเคร่ืองจักรกลตามวัตถุประสงค มี

ความปลอดภัยและมีอายุการใชงานที่ยาวนาน

• การทำความเขาใจถึงกระบวนการพื้นฐานของการตอบสนองของวัสดุที่มี

รอยราวตอภาระแบบคงที่ (static loading หรือ monotonic loading) ที่มา

กระทำ ในบทนี้จึงแบงเนื้อหาออกเปน 3 สวน ไดแก ความเคนและ

ความเครียดที่ปลายรอยราว คากลศาสตรการแตกหักที่ปลายรอยราว และ

ความทนทานการแตกหักของวัสดุ

9

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 10: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนและความเครียดที่ปลายรอยราว

• คากลศาสตรการแตกหัก

• ความทนทานการแตกหัก

• ตัวอยางการทำนายการแตกหัก

• สรุป

10

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Thursday, July 4, 13

Page 11: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• เม่ือมีแรงมากระทำตอชิ้นสวนทางวิศวกรรม ความเคนที่เกิดบริเวณ

อะตอมที่ถูกแรงกระทำจะถูกสงตอไปยังอะตอมขางเคียง ทำใหเกิดการ

ไหลของความเคน (stress flow)

• เม่ือการไหลของความเคนถูกขัดขวาง จากความไมตอเนื่องของวัสดุหรือ

รอยราว ความเคนก็ไมสามารถไหลตอได จำเปนตองเปล่ียนทิศทางการ

ไหลออมรอยราว สงผลใหเกิดการสะสมของความเคน (stress

concentration) โดยความสามารถของความไมตอเนื่องของวัสดุในการ

กีดขวางการไหลของความเคน เปนตัวกำหนดปริมาณการสะสมของ

ความเคน

11

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 12: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

12

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

แผนภูมิความเชื่อมโยงระหวางวิศวกรรมศาสตรและวิทยาศาสตร เพื่ออธิบายพฤติกรรมของชิ้นสวนทางวิศวกรรม

Thursday, July 4, 13

Page 13: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ปริมาณการสะสมของความเคนนิยามไดดวยคาคงที่ของการสะสมของ

ความเคน (stress concentration factor) เม่ือ Kt คือ คาคงที่ของการ

สะสมของความเคน S คือ ความเคนที่มากระทำ และ σy คือ ความเคน

ที่สะสมในแนวแกน y

13

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 14: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• แผนวัสดุมีรอยราวลักษณะวงรี มีรอยราวอยูในตำแหนงที่ตั้งฉากกับ

ความเคนที่มากระทำ รอยราวมีขนาดเล็กมากเม่ือเทียบกับความกวางของ

แผนวัสดุ และความเคนที่มากระทำ (S) อยูหางจากรอยราว โดย 2c คือ

ความยาวของรอยราว, 2d คือ ความสูงของรอยราว และ ρ คือ รัศมีของ

ปลายรอยราว (crack-tip radius) ซึ่ง ρ = d2/c

14

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 15: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนในแนวแกน y หรือ σy มีขนาดสูงสุดเม่ือ x = 0 โดยขนาดของ

ความเคนนี้แสดงไดดังสมการ

15

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โดย 2c คือ ความยาวของรอยราว, 2d คือ ความสูงของรอยราว และ ρ คือ

รัศมีของปลายรอยราว (crack-tip radius) ซึ่ง ρ = d2/c

Thursday, July 4, 13

Page 16: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

16

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!"! #$%&'#()*+,#$%&'#-./01.23+%/-4/-(%$ 5

60/ 2c #74 #$%&/%$849-4/-(%$: 2d #74 #$%&;<9849-4/-(%$ *+, ! #74 -=>&.8493+%/-4/-(%$

?@AB@CDEFG ABHFIJK LM29 ! = d2/c

!"#$%&'( )*) *N2)&.-4/-(%$+=OPQ,$9-. 1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2R ?YZ[Z !\!5 JE]]^K 0=9

-<31.2 !"_ O$(%9 !5\ &&" #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK !\ &&" `(%&.#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK

&%O-,1R'3U) 5\ bcB 4/%O1-%W$2% ?!K #$%&'#()d)*)$0e29 ?"yK '3U)'12%f- `(%#$%&;<9849

-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&": 5 &&" *+, ! &&" *+, ?_K *N2)1.2&.-4/-(%$ge()d0S,'Oe0O%-#-%O

`(%#$%&'#()#-%O ?"Y K 849'T+UOO+(%#%-VW4)X2R'3U) hi\ bcB

?!K S%O#$%&;=&j=)kV-,T$2%9#$%&'#()d)*)$0e29 #$%&'#()S%Oa%/)4O *+,-<3-2%9849*N2)$=;0l

1%9$e>$O--&1.2&.-4/-(%$-<3$9-.

"y = S!

1+2cd

"

*1)#2%#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK '3U) 5\ bcB *+, #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK '3U) !\ &&"

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"5 &&"

%&

= 150 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"2.5 &&"

%&

= 250 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) ! &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"0.5 &&"

%&

= 1,050 bcB

?_K *N2)1.2&.-4/-(%$1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2RLM29&.#$%&'#()#-%O ?"Y K '3U) hi\ bcB 0=9)=()

$=;0lW-e'$Q-4/-(%$1.2&.#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 *+, !\ &&" 'Oe0O%-'3+.2/)*3+98)%0

Thursday, July 4, 13

Page 17: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

17

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!"! #$%&'#()*+,#$%&'#-./01.23+%/-4/-(%$ 5

60/ 2c #74 #$%&/%$849-4/-(%$: 2d #74 #$%&;<9849-4/-(%$ *+, ! #74 -=>&.8493+%/-4/-(%$

?@AB@CDEFG ABHFIJK LM29 ! = d2/c

!"#$%&'( )*) *N2)&.-4/-(%$+=OPQ,$9-. 1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2R ?YZ[Z !\!5 JE]]^K 0=9

-<31.2 !"_ O$(%9 !5\ &&" #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK !\ &&" `(%&.#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK

&%O-,1R'3U) 5\ bcB 4/%O1-%W$2% ?!K #$%&'#()d)*)$0e29 ?"yK '3U)'12%f- `(%#$%&;<9849

-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&": 5 &&" *+, ! &&" *+, ?_K *N2)1.2&.-4/-(%$ge()d0S,'Oe0O%-#-%O

`(%#$%&'#()#-%O ?"Y K 849'T+UOO+(%#%-VW4)X2R'3U) hi\ bcB

?!K S%O#$%&;=&j=)kV-,T$2%9#$%&'#()d)*)$0e29 #$%&'#()S%Oa%/)4O *+,-<3-2%9849*N2)$=;0l

1%9$e>$O--&1.2&.-4/-(%$-<3$9-.

"y = S!

1+2cd

"

*1)#2%#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK '3U) 5\ bcB *+, #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK '3U) !\ &&"

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"5 &&"

%&

= 150 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"2.5 &&"

%&

= 250 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) ! &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"0.5 &&"

%&

= 1,050 bcB

?_K *N2)1.2&.-4/-(%$1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2RLM29&.#$%&'#()#-%O ?"Y K '3U) hi\ bcB 0=9)=()

$=;0lW-e'$Q-4/-(%$1.2&.#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 *+, !\ &&" 'Oe0O%-'3+.2/)*3+98)%0

Thursday, July 4, 13

Page 18: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

18

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!"! #$%&'#()*+,#$%&'#-./01.23+%/-4/-(%$ 5

60/ 2c #74 #$%&/%$849-4/-(%$: 2d #74 #$%&;<9849-4/-(%$ *+, ! #74 -=>&.8493+%/-4/-(%$

?@AB@CDEFG ABHFIJK LM29 ! = d2/c

!"#$%&'( )*) *N2)&.-4/-(%$+=OPQ,$9-. 1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2R ?YZ[Z !\!5 JE]]^K 0=9

-<31.2 !"_ O$(%9 !5\ &&" #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK !\ &&" `(%&.#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK

&%O-,1R'3U) 5\ bcB 4/%O1-%W$2% ?!K #$%&'#()d)*)$0e29 ?"yK '3U)'12%f- `(%#$%&;<9849

-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&": 5 &&" *+, ! &&" *+, ?_K *N2)1.2&.-4/-(%$ge()d0S,'Oe0O%-#-%O

`(%#$%&'#()#-%O ?"Y K 849'T+UOO+(%#%-VW4)X2R'3U) hi\ bcB

?!K S%O#$%&;=&j=)kV-,T$2%9#$%&'#()d)*)$0e29 #$%&'#()S%Oa%/)4O *+,-<3-2%9849*N2)$=;0l

1%9$e>$O--&1.2&.-4/-(%$-<3$9-.

"y = S!

1+2cd

"

*1)#2%#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK '3U) 5\ bcB *+, #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK '3U) !\ &&"

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"5 &&"

%&

= 150 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"2.5 &&"

%&

= 250 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) ! &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"0.5 &&"

%&

= 1,050 bcB

?_K *N2)1.2&.-4/-(%$1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2RLM29&.#$%&'#()#-%O ?"Y K '3U) hi\ bcB 0=9)=()

$=;0lW-e'$Q-4/-(%$1.2&.#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 *+, !\ &&" 'Oe0O%-'3+.2/)*3+98)%0Thursday, July 4, 13

Page 19: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

19

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!"! #$%&'#()*+,#$%&'#-./01.23+%/-4/-(%$ 5

60/ 2c #74 #$%&/%$849-4/-(%$: 2d #74 #$%&;<9849-4/-(%$ *+, ! #74 -=>&.8493+%/-4/-(%$

?@AB@CDEFG ABHFIJK LM29 ! = d2/c

!"#$%&'( )*) *N2)&.-4/-(%$+=OPQ,$9-. 1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2R ?YZ[Z !\!5 JE]]^K 0=9

-<31.2 !"_ O$(%9 !5\ &&" #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK !\ &&" `(%&.#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK

&%O-,1R'3U) 5\ bcB 4/%O1-%W$2% ?!K #$%&'#()d)*)$0e29 ?"yK '3U)'12%f- `(%#$%&;<9849

-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&": 5 &&" *+, ! &&" *+, ?_K *N2)1.2&.-4/-(%$ge()d0S,'Oe0O%-#-%O

`(%#$%&'#()#-%O ?"Y K 849'T+UOO+(%#%-VW4)X2R'3U) hi\ bcB

?!K S%O#$%&;=&j=)kV-,T$2%9#$%&'#()d)*)$0e29 #$%&'#()S%Oa%/)4O *+,-<3-2%9849*N2)$=;0l

1%9$e>$O--&1.2&.-4/-(%$-<3$9-.

"y = S!

1+2cd

"

*1)#2%#$%&'#()S%Oa%/)4O ?SK '3U) 5\ bcB *+, #$%&/%$849-4/-(%$ ?2cK '3U) !\ &&"

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) !\ &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"5 &&"

%&

= 150 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"2.5 &&"

%&

= 250 bcB

'&724#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) ! &&"

"y = (50 bcB)#

1+2$

5 &&"0.5 &&"

%&

= 1,050 bcB

?_K *N2)1.2&.-4/-(%$1RS%O'T+UOO+(%#%-VW4)X2RLM29&.#$%&'#()#-%O ?"Y K '3U) hi\ bcB 0=9)=()

$=;0lW-e'$Q-4/-(%$1.2&.#$%&;<9849-4/-(%$ ?2dK '3U) 5 *+, !\ &&" 'Oe0O%-'3+.2/)*3+98)%0

! " #$%&'()*#&)+(#,-#

+../0$&'(0# 123456789-':;.)0<94)/=)>&9678?7@9&?'AB3/B)/=)>&9 C2dD <EF2 " ??G <#0:#&)

<E$78=2+E$B32&:+..H$&'(0#,)I/#&)@)&# !

J&#@9&?'-?H-2K*3>&B(>2H.98& @9&?<@>2678.)0<94E$&=3/B)/=)>&9?732&:'AB3L>2<?I8/@9&?=&9

3/B)/=)>&9<H08?3L>2,)I/@9&?'AB3/B)/=)>&9$:$B M:=12#)47678)/=)>&9?7@9&?+,$?@?'AB @9&?

'AB3/B)/=)>&9+$5)-%?73/BE$&=)/=)>&9J5<3>&1#$>%A2=* '8BN$1,>@9&?<@>2678.)0<94E$&=3/B

)/=)>&9?732&:<EF2/2-2(* :-B+':B12)AE678 "GO )/=)>&912#)47<P8227><)7=#98& )/=)>&9@? CQRSTU

VTSVWD ,)I/)/=)>&912/;:?@(0 CXYZS[ VTSVWD M:=@9&?<@>232&:/2-2(*678E$&=)/=)>&9<)7=#98&

@9&?<@>2\0B#;$&)0(7> CQ]TZQQ QX^_`[STX]aD 12@9&?<EF2J)0B'b&H@9&?<@>2678.)0<94E$&=3/B)/=

)>&9?732&:<EF2/2-2(*c?8'&?&)d<#0:3L>2c:>129-':; <2I8/BJ&#9-':;6&B90%9#))?'&?&)d(/.'2/B

@9&?<@>2678?732&:'ABc:>:>9=#&)<E$78=2+E$B32&: \L8B'8BN$1,>)-%?73/BE$&=)/=)>&9<H08?3L>2+$5

@9&?<@>2678.)0<94E$&=3/B)/=)>&9?732&:$:$B

)AE678 "GOe @9&?<@>2.)0<94E$&=)/=)>&9

'f,)-.9-':;6&B90%9#))?E)5<b6M$,5 <?I8/@9&?<@>2678.)0<94E$&=3/B)/=)>&9'AB#98&@9&?<@>2

@)&# '8BN$1,>9-':;.)0<94E$&=)/=)>&9<#0:#&)<E$78=2+E$B32&:+..H$&'(0# ,)I/.)0<94

H$&'(0# CU[SQ]XV gh^ZD :-B+':B12)AE678 "Gi \L8B.)0<94H$&'(0#'8BN$1,>)5=5<E0:678E$&=)/=)>&9

CVTSVWj]XU hUZ^X^_ YXQU[SVZkZ^] ,)I/ ! D 'AB3L>2 )-%?73/BE$&=)/=)>&9'AB3L>2 +$5@9&?<@>2678

.)0<94E$&=3/B)/=)>&9$:$BJ2<3>&1#$>@9&?<@>2@)&#

32&:3/B@9&?<@>2678.)0<94E$&=3/B)/=)>&9/&J'8BN$1,><#0:@9&?<'7=,&=32&:<$F##)5J&=

12.)0<94E$&=3/B)/=)>&9c:> @9&?<'7=,&=<,$8&27>'8BN$<P82<:7=9#-..)0<94H$&'(0# M:=6f1,>

2d (mm) y (MPa)

10 150

5 250

1 1050

Thursday, July 4, 13

Page 20: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวมีขนาดสูงขึ้นเม่ือความยาวของรอย

ราวเพิ่มขึ้น หรือความสูงของรอยราวลดลง

• ในกรณีรอยราวคม (sharp crack) หรือรอยราวในอุดมคติ (ideal crack)

ความสูงของรอยราวและรัศมีของปลายรอยราวจะเขาใกลศูนย สงผลให

ความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวมีขนาดเปนอนันต หรือ ความเคน -

ซิงกุลาริตี้ (stress singularity)

20

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 21: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ในความเปนจริง สภาพความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวมีขนาดเปน

อนันตไมสามารถเกิดขึ้นไดในวัสดุ เนื่องจากวัสดุทางวิศวกรรมสามารถ

ตอบสนองความเคนที่มีขนาดสูงไดดวยการเปล่ียนแปลงขนาด ซึ่งสงผล

ใหรัศมีของปลายรอยราวเพิ่มขึ้น และความเคนที่บริเวณปลายของรอย

ราวมีขนาดลดลง

21

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 22: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• โลหะและโลหะผสม เม่ือความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวสูงกวา

ความเคนคราก วัสดุบริเวณปลายรอยราวเกิดการเปล่ียนแปลงขนาดแบบ

พลาสติก หรือ บริเวณพลาสติก (plastic zone) สงผลใหระยะเปดที่ปลาย

รอยราว (crack-tip opening displacement หรือ δ) สูงขึ้น รัศมีของปลาย

รอยราวสูงขึ้น และความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวลดลงจนเขาใกล

ความเคนคราก

22

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 23: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• โพลิเมอร ์ซึ่งสายโซโมเลกุลเชื่อมตอกันดวยพันธะทุติยภูมิ ความเคนที่

บริเวณปลายของรอยราวอาจทำใหเกิดการเล่ือนระหวางสายโซโมเลกุล

จนกระทั่งพันธะทุติยภูมิถูกทำลาย และ เกิดเปนโพรงบริเวณปลายรอย

ราว โพรงเหลานี้เรียงตัวเปนแถบอยูในแนวของรอยราว โดยเรียกลักษณะ

เชนนี้วา บริเวณราน (craze zone)

23

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 24: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• เซรามิก ซึ่งเปนวัสดุเปราะ การเกิดบริเวณรอยราวขนาดเล็ก (small

crack zone) เม่ือความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวสูงกวาความเคนดึง

สูงสุด สามารถลดความเคนบริเวณปลายรอยราวได

• ผลรวมของระยะเปดของรอยราวขนาดเล็กแตละรอย สงผลใหระยะเปดที่

ปลายรอยราวสูงขึ้น รัศมีของปลายรอยราวสูงขึ้น และความเคนที่บริเวณ

ปลายของรอยราวลดลงในที่สุด

24

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 25: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนและความเครียดที่ปลายรอยราว

• คากลศาสตรการแตกหัก

• ความทนทานการแตกหัก

• ตัวอยางการทำนายการแตกหัก

• สรุป

25

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Thursday, July 4, 13

Page 26: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

26

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีรอยราวคม (sharp crack) ความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวมี

ขนาดเปนอนันต หรือ ความเคนซิงกุลาริตี้ (stress singularity) วิศวกรไม

สามารถคำนวณคาคงที่ของการสะสมของความเคน ในการออกแบบและ

วิเคราะหชิ้นสวนทางวิศวกรรมได

• ดังนั้นจึงมีการกำหนดปริมาณทางวิศวกรรม เพื่อแสดงสภาพความ

รุนแรงที่ปลายรอยราว โดยอยูในความสัมพันธระหวางความเคนที่มา

กระทำ รูปราง ความยาวรอยราว และการเปล่ียนแปลงขนาดของวัสดุ

เรียกวา คากลศาสตรการแตกหัก (fracture mechanics parameter)

• ความรูเก่ียวกับสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวและการตอบสนองวัสดุ

เรียกวา กลศาสตร์การแตกหัก (fracture mechanics)

Thursday, July 4, 13

Page 27: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

27

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ชิ้นสวนทางวิศวกรรมสวนใหญถูกออกแบบใหใชงาน ในชวงการ

เปล่ียนแปลงขนาดแบบอิลาสติกเชิงเสน ดังนั้นขนาดของบริเวณ

พลาสติกที่ปลายรอยราวจึงมีขนาดเล็ก เม่ือเทียบกับความยาวรอยราว

และขนาดของชิ้นสวนเคร่ืองจักรกล

• ดังนั้นผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงขนาดแบบพลาสติกจึงสามารถ

ละทิ้งได และ การตอบสนองของวัสดุตอภาระที่ปลายรอยราวสามารถ

แสดงไดดวยกฎของฮุก

Thursday, July 4, 13

Page 28: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

28

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• กลศาสตรที่ศึกษาเก่ียวกับสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราว ในกรณี

บริเวณพลาสติกที่ปลายรอยราวมีขนาดเล็ก เรียกวา กลศาสตร์การ

แตกหักแบบอิลาสติกเชิงเส้น (linear-elastic fracture mechanics

หรือ LEFM)

• คาตัวประกอบความเขมของความเคน (stress intensity factor หรือ K)

ถูกใชแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราว หรือ ใชเปนคากลศาสตร

การแตกหักได โดยแสดงอยูในความสัมพันธระหวาง ความเคนที่กระทำ

รูปราง และความยาวรอยราว

Thursday, July 4, 13

Page 29: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

29

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุทางวิศวกรรมมีความทนทานการแตกหัก (fracture toughness)

โดยการแตกหักจะเกิดขึ้นเม่ือคากลศาสตรการแตกหักมีคามากกวา หรือ

เทากับความทนทานการแตกหัก

• ในกรณีกลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกเชิงเสน ความทนทานการ

แตกหัก คือ ค่าวิกฤติของตัวประกอบความเข้มของความเค้น

(critical stress intensity factor หรือ KC) โดยวัสดุทางวิศวกรรมเกิด

การแตกหักเม่ือ คาตัวประกอบความเขมของความเคนมีคามากกวา

หรือ เทากับคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคน

Thursday, July 4, 13

Page 30: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

30

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เกิดการแตกหัก

σ ≥ σY

K ≥ Kc

เกิดการคราก

Thursday, July 4, 13

Page 31: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

31

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• รูปแบบภาระที่สงผลใหเกิดการแตกหักจะสามารถแบงได 3 ประเภท

• รูปแบบภาระที่ 1 (mode I) หรือ รูปแบบภาระเปิด (opening mode)

โดยภาระที่มากระทำจะตั้งฉากกับผิวหนาของรอยราว (crack surface)

ซึ่งทำใหผิวหนาของรอยราวเปดแยกออกจากกัน ทางกลศาสตรการ

แตกหักพบวา ลักษณะภาระในรูปแบบภาระนี้เปนรูปแบบภาระที่กอให

เกิดความเสียหายรุนแรงกวาภาระในรูปแบบภาระอื่น

Thursday, July 4, 13

Page 32: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

32

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• รูปแบบภาระที่ 2 (mode II) หรือ รูปแบบภาระเฉือน (shearing

mode) โดยภาระจะกระทำในทิศทางตั้งฉากกับขอบหนาของรอยราว

(leading edge)

Thursday, July 4, 13

Page 33: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

33

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• รูปแบบภาระที่ 3 (mode III) หรือ รูปแบบภาระฉีก (tearing mode)

โดยภาระกระทำในทิศทางขนานกับขอบหนาของรอยราวและขนานกับ

ผิวหนาของรอยราว

Thursday, July 4, 13

Page 34: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

34

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในการใชงานจริง ชิ้นสวนทางวิศวกรรมอาจถูกใชรับภาระ 2 หรือ 3 รูป

แบบภาระในเวลาเดียวกัน ซึ่งเรียกรูปแบบภาระในกรณีนี้วา รูปแบบภาระ

แบบผสม (mixed-mode loading)

• คากลศาสตรการแตกหักในรูปแบบภาระแบบผสมมีความซับซอนในการ

คำนวณ ประกอบกับรูปแบบภาระที่ 1 เปนรูปแบบภาระที่กอใหเกิดความ

เสียหายรุนแรงกวาภาระในรูปแบบภาระอื่น ดังนั้นคาวิกฤติของตัวประกอบ

ความเขมของความเคนในรูปแบบภาระที่ 1 (KIc) จึงถูกใชเปนความ

ทนทานการแตกหักของวัสดุ โดยวัสดุทางวิศวกรรมเกิดการแตกหัก เม่ือ

Thursday, July 4, 13

Page 35: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

35

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถาขนาดของบริเวณพลาสติกที่ปลายรอยราวมีขนาดเล็กเม่ือเทียบกับ

ความยาวรอยราวและขนาดของชิ้นสวนเคร่ืองจักรกล ปลายรอยราวจะ

ไดรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงขนาดแบบพลาสติกนอยมาก

• การตอบสนองของวัสดุตอภาระที่ปลายรอยราว สามารถแสดงไดดวย

กฎของฮุก

Thursday, July 4, 13

Page 36: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

36

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• สภาพความเคนบริเวณปลายรอยราว สามารถแสดงไดดังนี้

Thursday, July 4, 13

Page 37: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

37

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนในรูปแบบภาระที่ 1 สามารถคำนวณ

จากสภาพความเคนบริเวณปลายรอยราว ไดดังนี้

Thursday, July 4, 13

Page 38: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

38

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• จากสมการแสดงสภาพความเคนบริเวณปลายรอยราวพบวา เม่ือขนาด

ของ r เขาใกลศูนย ความเคนตั้งฉากและความเคนเฉือนมีขนาดเปน

อนันต ซึ่งแสดงถึงสภาพความเคนซิงกุลาริตี้ โดยคาตัวประกอบความ

เขมของความเคนสามารถคำนวณไดจาก

Thursday, July 4, 13

Page 39: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

39

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การคำนวณหาความเคนตั้งฉากในแนวแกน y มีความซับซอน จำเปน

ตองใชความรูทางคณิตศาสตร และหลักการคำนวณเชิงตัวเลขขั้นสูง

• ดังนั้นผลการวิเคราะหคาตัวประกอบความเขมของความเคนในกรณี

ตางๆ ไดถูกสรุปอยูในหนังสือคูมือคาตัวประกอบความเขมของความเคน

(stress intensity handbook)

Thursday, July 4, 13

Page 40: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

40

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคน (KI) ถูกดวยสมการที่งายในการ

คำนวณ ดวยความสัมพันธระหวางความเคนที่มากระทำ (S), ฟงกชันรูป

ราง (geometry function, F), และ ความยาวรอยราว (a)

Thursday, July 4, 13

Page 41: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

41

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนของ แผนรับความเคนดึงซึ่งมีรอย

ราวที่ก่ึงกลาง (center crack) โดย h/b ≥ 1.5

Thursday, July 4, 13

Page 42: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

42

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนของ แผนมีรอยราวที่ขอบสองขาง

(double-edge cracks) โดย h/b ≥ 2

Thursday, July 4, 13

Page 43: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

43

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนของ แผนมีรอยราวที่ขอบขางเดียว

(single-edge crack) โดย h/b ≥ 1

Thursday, July 4, 13

Page 44: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

44

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!" ! #$%&'()*#&)+(#,-#

+./012)34)5&672/839'3:85&: ;h/b ! 2<

KI = FS"

!a

S =P

2bt

F = (1+0.122cos4 !"2

)!

2!" tan

!"2

" =ab

;!=><

+./012)34)5&672/83985&:?@246 ;h/b ! 1<

KI = FS"

!a

S =Pbt

F = 0.265(1#")4 +0.857+0.265"

(1#")3/2

" =ab

;!=A<

!"#$%&'( )*+ +./0?,$B##$5&C&)*930#$&: ;DEFE !!""< ,0& ;t< !G 11= #65&: ;2b< !HG

11= 12)34)5&672/#I/:#$&:J@412)K4K,/&:L&#(M+,0/:72/+):#)K7M ;h< NGG 11= @-:)OP72/ !=A Q5&

12+):L&#R&403# ;P< 1&#)K7M?PB0 NHG ST 34&#7)&96/& ;!< C/&(-6P)K#39C6&1?85183:

C6&1?C5072/P$&4)34)5&6 ;KI< ?PB0?7/&U) Q5&C6&14&683:)34)5&6 ;2a< ?PB0 ! 11= +$K AG

11= +$K ;N< +./072/12)34)5&6VW50X@LK?#W@#&)+(#,-# Q5&C/&6W#Y(W83:(-6P)K#39C6&1?85183:

C6&1?C50 ;Kc< 83:?,$B##$5&C&)*930#$&: ;DEFE !!""< ?PB0 ZZ [\]=^1/2

;!< ?1_/3C6&14&683:)34)5&6 ;2a< ?PB0 ! 11=` h/b = 2.67 +$K " = a/b = 0.0067 @-:0-50

C6&1?C50L&#R&403#72/1&#)K7M ;S< +$K a-:#*V-0)OP)/&: ;F< ?PB0

Thursday, July 4, 13

Page 45: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

45

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!" ! #$%&'()*#&)+(#,-#

+./012)34)5&672/839'3:85&: ;h/b ! 2<

KI = FS"

!a

S =P

2bt

F = (1+0.122cos4 !"2

)!

2!" tan

!"2

" =ab

;!=><

+./012)34)5&672/83985&:?@246 ;h/b ! 1<

KI = FS"

!a

S =Pbt

F = 0.265(1#")4 +0.857+0.265"

(1#")3/2

" =ab

;!=A<

!"#$%&'( )*+ +./0?,$B##$5&C&)*930#$&: ;DEFE !!""< ,0& ;t< !G 11= #65&: ;2b< !HG

11= 12)34)5&672/#I/:#$&:J@412)K4K,/&:L&#(M+,0/:72/+):#)K7M ;h< NGG 11= @-:)OP72/ !=A Q5&

12+):L&#R&403# ;P< 1&#)K7M?PB0 NHG ST 34&#7)&96/& ;!< C/&(-6P)K#39C6&1?85183:

C6&1?C5072/P$&4)34)5&6 ;KI< ?PB0?7/&U) Q5&C6&14&683:)34)5&6 ;2a< ?PB0 ! 11= +$K AG

11= +$K ;N< +./072/12)34)5&6VW50X@LK?#W@#&)+(#,-# Q5&C/&6W#Y(W83:(-6P)K#39C6&1?85183:

C6&1?C50 ;Kc< 83:?,$B##$5&C&)*930#$&: ;DEFE !!""< ?PB0 ZZ [\]=^1/2

;!< ?1_/3C6&14&683:)34)5&6 ;2a< ?PB0 ! 11=` h/b = 2.67 +$K " = a/b = 0.0067 @-:0-50

C6&1?C50L&#R&403#72/1&#)K7M ;S< +$K a-:#*V-0)OP)/&: ;F< ?PB0

!"# $%&'()*+$'*,)$-.$,//01%'()1$ !2

S =P

2bt

=250!103 3

2(75 44)(10 44)

= 166.67 567

F =1"0.5! +0.326!2

#1"!

=1"0.5(0.0067)+0.326(0.0067)2

#1"0.0067

= 1.00002

,89:;':<'=>:?9@'$A'B90$8C;='$*D8E FSG !HH"HI 567 ,%D J.K$+L.9*MN*;'K FFG !"OOOO#

P.K9.?9:;').<N*D$0/:<'=>Q?=Q0K:<'=>:?98C;N%'B*0B*?'< FKIG Q0K,R;9=C*0B*?'<8C;$S;K$%'K

Fh/b $ 1.5G >NT9

KI = FS#

"a

= (1.00002)(166.67 567)!

" (0.5!10"3 4)

= 6.61 567"41/2

>=U;0:<'=B'<Q0K*0B*?'< F2aG >NT9 VO =="W h/b = 2.67 ,%D ! = a/b = 0.6 P.K9.?9:<'=>:?9

@'$A'B90$8C;='$*D8E FSG ,%D J.K$+L.9*MN*;'K FFG >NT9

S =P

2bt

=250!103 3

2(75 44)(10 44)

= 166.67 567

F =1"0.5! +0.326!2

#1"!

=1"0.5(0.6)+0.326(0.6)2

#1"6

= 1.29236

Thursday, July 4, 13

Page 46: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

46

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!"# $%&'()*+$'*,)$-.$,//01%'()1$ !2

S =P

2bt

=250!103 3

2(75 44)(10 44)

= 166.67 567

F =1"0.5! +0.326!2

#1"!

=1"0.5(0.0067)+0.326(0.0067)2

#1"0.0067

= 1.00002

,89:;':<'=>:?9@'$A'B90$8C;='$*D8E FSG !HH"HI 567 ,%D J.K$+L.9*MN*;'K FFG !"OOOO#

P.K9.?9:;').<N*D$0/:<'=>Q?=Q0K:<'=>:?98C;N%'B*0B*?'< FKIG Q0K,R;9=C*0B*?'<8C;$S;K$%'K

Fh/b $ 1.5G >NT9

KI = FS#

"a

= (1.00002)(166.67 567)!

" (0.5!10"3 4)

= 6.61 567"41/2

>=U;0:<'=B'<Q0K*0B*?'< F2aG >NT9 VO =="W h/b = 2.67 ,%D ! = a/b = 0.6 P.K9.?9:<'=>:?9

@'$A'B90$8C;='$*D8E FSG ,%D J.K$+L.9*MN*;'K FFG >NT9

S =P

2bt

=250!103 3

2(75 44)(10 44)

= 166.67 567

F =1"0.5! +0.326!2

#1"!

=1"0.5(0.6)+0.326(0.6)2

#1"6

= 1.29236

Thursday, July 4, 13

Page 47: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

47

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!"# $%&'()*+$'*,)$-.$,//01%'()1$ !2

S =P

2bt

=250!103 3

2(75 44)(10 44)

= 166.67 567

F =1"0.5! +0.326!2

#1"!

=1"0.5(0.0067)+0.326(0.0067)2

#1"0.0067

= 1.00002

,89:;':<'=>:?9@'$A'B90$8C;='$*D8E FSG !HH"HI 567 ,%D J.K$+L.9*MN*;'K FFG !"OOOO#

P.K9.?9:;').<N*D$0/:<'=>Q?=Q0K:<'=>:?98C;N%'B*0B*?'< FKIG Q0K,R;9=C*0B*?'<8C;$S;K$%'K

Fh/b $ 1.5G >NT9

KI = FS#

"a

= (1.00002)(166.67 567)!

" (0.5!10"3 4)

= 6.61 567"41/2

>=U;0:<'=B'<Q0K*0B*?'< F2aG >NT9 VO =="W h/b = 2.67 ,%D ! = a/b = 0.6 P.K9.?9:<'=>:?9

@'$A'B90$8C;='$*D8E FSG ,%D J.K$+L.9*MN*;'K FFG >NT9

S =P

2bt

=250!103 3

2(75 44)(10 44)

= 166.67 567

F =1"0.5! +0.326!2

#1"!

=1"0.5(0.6)+0.326(0.6)2

#1"6

= 1.29236

Thursday, July 4, 13

Page 48: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

48

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!" ! #$%&'()*#&)+(#,-#

+./01&02&3405/6&#7&8/9#.:13&#);.< =S> !""?"@ ABC +$; D-E#*F-/)GH)1&E =F> !?IJIK"

L-E/-5/01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/.:1H$&8)98)5&2 =KI> N9E+O1/3:)98)5&2.:1#P1E#$&E

=h/b ! 1.5> 4HQ/

KI = FS"

!a

= (1.29236)(166.67 ABC)!

! (45#10$3 R)

= 80.99 ABC?R1/2

=I> +O1/.:13:)98)5&2.:1#P1E#$&E.<6&#4,$Q##$5&0&)*M9/#$&E =STUT !!VV> WP1E3:01&2X#Y(XN9E

(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ =Kc> 4HQ/ "" ABC?R1/2 43Z19)98)5&23:02&38&2 =2a> 4HQ/ !

33? 01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/.:1H$&8)98)5&2 =KI> 4HQ/ "?"! ABC?R1/2 WP1E(1<#21&01&

2X#Y(XN9E(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ =Kc> L-E/-5/+O1/.:13:)98)5&2.:1#P1E#$&EN/&L ! 33?

[314#XL#&)+(#,-#43Z19)-M+)ELPEN/&L I\] ^_

+(1̀ 5&)98)5&23:02&38&2 =2a> 4HQ/ J] 33? 01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/.:1H$&8)98

)5&2 =KI> 4HQ/ a]?JJ ABC?R1/2 WP1E'GE#21&01&2X#Y(XN9E(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ =Kc>

L-E/-5/+O1/.:13:)98)5&2.:1#P1E#$&EN/&L J] 33? 6;4#XL#&)+(#,-#43Z19)-M+)ELPEN/&L I\] ^_ !

O$#);.MN9E7&);.:13:(19#&)0</2b01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ +'LE[L5L528+O1/

3:)98)5&2.:1N9MN5&E4L:82 =cdefghihjfh klCk^> )-Mm343/(*L-L+$;+)EL-L K 6nL L-E)GH.:1 !?!] mL8

01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/'&3&)`0</2b[L5mL8

+O1/3:)98)5&2.:1N9MN5&E4L:82)-Mm343/(*L-L =h/b ! 2>

KI = FS"

!a

S =6Mb2t

F ="

2!" tan

!"2

#0.923+0.199

$1$ sin !"

2%4

cos !"2

&

" =ab

=!?!]>

Thursday, July 4, 13

Page 49: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

49

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

!" ! #$%&'()*#&)+(#,-#

+./01&02&3405/6&#7&8/9#.:13&#);.< =S> !""?"@ ABC +$; D-E#*F-/)GH)1&E =F> !?IJIK"

L-E/-5/01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/.:1H$&8)98)5&2 =KI> N9E+O1/3:)98)5&2.:1#P1E#$&E

=h/b ! 1.5> 4HQ/

KI = FS"

!a

= (1.29236)(166.67 ABC)!

! (45#10$3 R)

= 80.99 ABC?R1/2

=I> +O1/.:13:)98)5&2.:1#P1E#$&E.<6&#4,$Q##$5&0&)*M9/#$&E =STUT !!VV> WP1E3:01&2X#Y(XN9E

(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ =Kc> 4HQ/ "" ABC?R1/2 43Z19)98)5&23:02&38&2 =2a> 4HQ/ !

33? 01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/.:1H$&8)98)5&2 =KI> 4HQ/ "?"! ABC?R1/2 WP1E(1<#21&01&

2X#Y(XN9E(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ =Kc> L-E/-5/+O1/.:13:)98)5&2.:1#P1E#$&EN/&L ! 33?

[314#XL#&)+(#,-#43Z19)-M+)ELPEN/&L I\] ^_

+(1̀ 5&)98)5&23:02&38&2 =2a> 4HQ/ J] 33? 01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/.:1H$&8)98

)5&2 =KI> 4HQ/ a]?JJ ABC?R1/2 WP1E'GE#21&01&2X#Y(XN9E(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ =Kc>

L-E/-5/+O1/.:13:)98)5&2.:1#P1E#$&EN/&L J] 33? 6;4#XL#&)+(#,-#43Z19)-M+)ELPEN/&L I\] ^_ !

O$#);.MN9E7&);.:13:(19#&)0</2b01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/ +'LE[L5L528+O1/

3:)98)5&2.:1N9MN5&E4L:82 =cdefghihjfh klCk^> )-Mm343/(*L-L+$;+)EL-L K 6nL L-E)GH.:1 !?!] mL8

01&(-2H);#9M02&34N53N9E02&3405/'&3&)`0</2b[L5mL8

+O1/3:)98)5&2.:1N9MN5&E4L:82)-Mm343/(*L-L =h/b ! 2>

KI = FS"

!a

S =6Mb2t

F ="

2!" tan

!"2

#0.923+0.199

$1$ sin !"

2%4

cos !"2

&

" =ab

=!?!]>

• แผนเหล็กกลาที่มีรอยราวขนาด 90 มม.นี้ จะสามารถรับแรงดึงไดก่ีนิวตัน

โดยไมเกิดการแตกหัก?

Thursday, July 4, 13

Page 50: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

50

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคน (KI) อยูในความสัมพันธระหวาง

ความเคนที่มากระทำ (S), ฟงกชันรูปราง (geometry function, F), และ

ความยาวรอยราว (a)

• ดังนั้นภาระที่มากระทำ จึงสงผลกระทบตอการคาตัวประกอบความเขม

ของความเคน

Thursday, July 4, 13

Page 51: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

51

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนของ แผนมีรอยราวที่ขอบขางเดียว

(single-edge crack) รับโมเมนตดัด โดย h/b ≥ 2

Thursday, July 4, 13

Page 52: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

52

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนของ แผนมีรอยราวที่ขอบขางเดียว

(single-edge crack) รับแรงดัด 3 จุด โดย h/b ≥ 2

Thursday, July 4, 13

Page 53: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

53

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 54: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

54

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 55: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

55

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 56: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

56

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 57: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

57

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 58: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

58

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• แผนเหล็กกลาที่มีรอยราวขนาด 50 มม.นี้ จะสามารถรับแรง P ไดก่ีนิว

ตันโดยไมเกิดการแตกหัก?

Thursday, July 4, 13

Page 59: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

59

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในการใชงานจริง ชิ้นสวนทางวิศวกรรมอาจถูกกระทำจากภาระผสม เชน

การผสมผสานระหวางแรงดึงและโมเมนตดัด ซึ่งการคำนวณคาตัว

ประกอบความเขมของความเคนมีความยุงยากและซับซอน

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนที่เกิดขึ้นจากแตละภาระ สามาถ

แยกคำนวณ และนำผลการคำนวณที่ไดมารวมกันในภายหลัง โดยเรียก

วิธีการคำนวณเชนนี้วา วิธีซูปเปอร์โพซิช่ัน (superposition method)

Thursday, July 4, 13

Page 60: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

60

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

แผนมีรอยราวที่ขอบขางเดียวรับภาระผสมระหวางแรงดึงและโมเมนตดัด

Thursday, July 4, 13

Page 61: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

61

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือ K คือ คาตัวประกอบความเขมของความเคนที่เกิดจากภาระผสม,

K1 คือ คาตัวประกอบความเขมของความเคนที่เกิดจากแรงดึง และ K2

คือ คาตัวประกอบความเขมของความเคนที่เกิดจากโมเมนตดัด ดังนั้น

Thursday, July 4, 13

Page 62: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

62

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 63: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

63

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 64: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

64

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 65: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

65

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• แผนเหล็กกลาที่มีรอยราวนี้ จะสามารถรับแรง P ไดก่ีนิวตันโดยไมเกิด

การแตกหัก?

Thursday, July 4, 13

Page 66: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

66

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือภาระที่มากระทำ วัสดุ และรูปรางของชิ้นสวนทางวิศวกรรม มีความ

ซับซอน การคำนวณคาตัวประกอบความเขมของความเคนมีความซับ

ซอนสูง จำเปนตองใชหลักการคำนวณเชิงตัวเลขในการคำนวณ โดยใช

เทคนิคไฟไนตอิเลเมนต (finite element technique, FEM)

• ศึกษาเพิ่มเติมไดจากหนังสือ "ไฟไนตเอลิเมนตในงานวิศวกรรม" แตง

โดย ศ.ดร. ปราโมทย เตชะอำไพ สำนักพิมพแหงจุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2550

Thursday, July 4, 13

Page 67: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

67

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ตัวอยางการใชการคำนวณเชิงตัวเลขในการหาตัวประกอบความเขมของ

ความเคนที่ปลายรอยราวระหวางโลหะเชื่อมกับโลหะผสมทองแดง

C. Kanchanomai, W. Limtrakarn, and Y. Mutoh. Fatigue crack growth behavior in Sn-Pb eutectic solder/copper joint under mode I loading. Mechanics of Materials, 37(11):1166–1174, 2005.

Thursday, July 4, 13

Page 68: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

68

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การคำนวณหาความเคนตั้งฉากและความเคนเฉือนที่ปลายรอยราวเพื่อ

หาตัวประกอบความเขมของความเคนกระทำ

• โดย 1 และ 2 คือ โลหะเชื่อมและโลหะผสมทองแดง ตามลำดับ, r และ θ

คือ ระบบพิกัดเชิงขั้ว, G คือ โมดูลัสยืดหยุนเฉือน, ν คือ อัตราสวนปวซอง

!"# $%&'()&*+,-'&,.+'/0' #1

(!yy + i"xy)#=0 =(KI + iKII)ri$

!2%r

$ =1

2% ln1"&1+&

& =G1 (k2 "1)"G2 (k1 "1)G1 (k2 +1)+G2 (k1 +1)

k = 3"4' 2!"!13

456 ! .(7 # $89 4(/7:;8%9<.(74(/7=*<>9?.5? +&<(@50AB r .(7 # $89 ,7AACD'05:;D?E0FGB

G $89 4<5H(0*685/6I%J:K89JB ' $89 90+,&*%GJL0GM9? MN%?=(:K(6E9?+0GL,7'9A$G&<:EF<E9?

$G&<:$FJOJ,HL.AAP&,7>Q% ! .(7 # .*5?50?,HL>Q% !!

,HL>Q% !"!#R ,96,F&GAJ,96:;8%9<,7/G%&?4(/7:;8%9<'0A4(/7=*<>9?.5? S!T

;DFJ*%GJ>&?GD)G',,<:'D5'&,.+'/0'U&',96,F&G:<8%9$%&'()&*+,-'&,.+'/0'>Q%L(&6,96,F&G

:>%&'0A/,89<&''G%&$G&<>J>&J'&,.+'/0' 456P&,7>Q%Q%<&',7>@UJ:'D5$G&<:*Q6/&6 2VWXYZ[\

]^[\]] /,89 S f 3 <Q$%&*H?ENFJ+&<$G&<6&G,96,F&G>Q%*0FJ(? MN%?_F&,96,F&G<QEJ&5*0FJ<&'UJ$G&<:$FJ

Thursday, July 4, 13

Page 69: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

69

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ผลเฉลยของตัวประกอบความเขมของความเคนในรูปแบบภาระที่1 และ 2

Thursday, July 4, 13

Page 70: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

70

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ชิ้นสวนทางวิศวกรรมเกิดการแตกหักจากรอยราวเม่ือคากลศาสตรการ

แตกหักที่ปลายรอยราวเทากับหรือมากกวาความทนทานการแตกหัก โดย

ภาระทีี่่มากระทำจนเกิดความเสียหาย (failure stress หรือ Sf) มีคาสูงขึ้น

ตามความยาวรอยราวที่สั้นลง

• ถารอยราวมีขนาดสั้นมากจนความเคนที่ทำใหเกิดการแตกหักสูงกวา

ความเคนคราก ชิ้นสวนทางวิศวกรรมจะเกิดความเสียหายจากการคราก

กอนความเสียหายจากการแตกหัก ขนาดของรอยราวที่ทำใหความเสียหาย

เปล่ียนจากการแตกหักไปเปนการคราก (transition crack length หรือ at)

Thursday, July 4, 13

Page 71: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

71

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาตัวประกอบความเขมของความเคนวิกฤติ (Kc) ถูกดวยสมการที่งายใน

การคำนวณ ดวยความสัมพันธระหวางความเคนที่มากระทำ (S),

ฟงกชันรูปราง (geometry function, F), และ ความยาวรอยราว (a)

Thursday, July 4, 13

Page 72: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

72

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุเหนียวซึ่งมีความเคนครากต่ำและความทนทานการแตกหักสูง มีรอยราว

ที่ทำใหความเสียหายเปล่ียนจากการแตกหักไปเปนการแตกหักการคราก (at)

ยาวกวาวัสดุเปราะซึ่งมีความเคนครากสูงและความทนทานการแตกหักต่ำ

Thursday, July 4, 13

Page 73: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

73

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 74: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

74

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 75: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

75

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 76: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

76

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โดยทั่วไปในวัสดุเปราะอาจมีรอยตำหนิเร่ิมตน (initial flaw หรือ ai) โดย

เกิดระหวางกระบวนการผลิต เชน รอยราวขนาดเล็กในแกว โพรงอากาศ

ในโลหะหลอ

• รอยตำหนิเร่ิมตนเหลานี้ สงผลใหวัสดุเปราะเกิดความเสียหายจากการ

แตกหัก เม่ือมีความเคนที่มากระทำที่ต่ำกวาความเคนดึงสูงสุดของวัสดุ

โดยความเคนดึงสูงสุดของวัสดุที่มีรอยตำหนิเร่ิมตน (σut) เปน

Thursday, July 4, 13

Page 77: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

77

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 78: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

78

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 79: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

79

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 80: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

80

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ขนาดของบริเวณพลาสติก (plastic zone)

Thursday, July 4, 13

Page 81: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

81

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถา a มีขนาดใหญกวา at และ บริเวณพลาสติกที่ปลายรอยราวจะมีขนาด

เล็กเม่ือเทียบกับความยาวรอยราวและขนาดของชิ้นสวน คา K สามารถ

ใชแสดงความรุนแรงที่ปลายรอยราวได โดยขนาดของบริเวณพลาสติกใน

สภาพความเค้นระนาบ (plane stress) เม่ือ θ = 0 คำนวณไดดังนี้

• 2roσ คือ บริเวณพลาสติกในสภาพความเคนระนาบ (plane stress)

Thursday, July 4, 13

Page 82: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

82

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ขนาดของบริเวณพลาสติกในสภาพความเครียดระนาบ (plane strain)

เม่ือ θ = 0 คำนวณไดดังนี้

Thursday, July 4, 13

Page 83: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

83

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

เม่ือแทน ν ≈ 0.2-0.3

Thursday, July 4, 13

Page 84: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

84

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ขนาดของบริเวณพลาสติกในสภาพความเครียดระนาบ (plane strain)

เม่ือ θ = 0 คำนวณไดดังนี้

• 2ro คือ บริเวณพลาสติกในสภาพความเครียดระนาบ (plane strain)

Thursday, July 4, 13

Page 85: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

85

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในชิ้นสวนทางวิศวกรรมที่บางและมีรอยราว สภาพความเคนระนาบที่ปลาย

รอยราวสงผลใหเกิดการเปล่ียนแปลงขนาดหรือความเครียดในแนวความ

หนา เนื่องจากการหดตัวของปวซองได

• ในขณะที่ชิ้นสวนทางวิศวกรรมที่หนามีการหดตัวของปวซองที่ปลายรอยราว

เพียงเล็กนอย จึงแสดงสภาพความเครียดระนาบที่ปลายรอยราว

ความเครียดระนาบ (plane strain)

ความเคนระนาบ (plane stress)

Thursday, July 4, 13

Page 86: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

86

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เนื่องจากชิ้นสวนทางวิศวกรรมสวนใหญถูกออกแบบและใชงานในสภาพ

ความเครียดระนาบ ดังนั้นเกณฑการเกิดสภาพความเครียดระนาบที่

ปลายรอยราว จึงจำเปนกวาเกณฑการเกิดสภาพความเคนระนาบที่ปลาย

รอยราว โดยสภาพความเครียดระนาบที่ปลายรอยราวเกิดขึ้นเม่ือ

• โดย 2ro คือ ขนาดของบริเวณพลาสติกในกรณีความเครียดระนาบ และ

t คือ ความหนาของชิ้นสวนทางวิศวกรรม

Thursday, July 4, 13

Page 87: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

87

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถาบริเวณพลาสติกที่ปลายรอยราวมีขนาดเล็ก วัสดุที่อยูนอกบริเวณ

พลาสติกจะเกิดการเปล่ียนแปลงขนาดแบบอิลาสติก สงผลใหคาตัวประกอบ

ความเขมของความเคนในกรณีกลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกเชิงเสน

สามารถใชแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวได โดยเรียกบริเวณนี้วา

บริเวณค่าตัวประกอบความเข้มของความเค้น (K- field)

Thursday, July 4, 13

Page 88: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

88

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถาบริเวณพลาสติกมีขนาดใหญจนครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของพื้นที่รับแรง

คาตัวประกอบความเขมของความเคนในกรณีกลศาสตรการแตกหักแบบ -

อิลาสติกเชิงเสน จะไมสามารถใชแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวได

จำเปนตองใชค่ากลศาสตร์การแตกหักแบบอิลาสติกพลาสติกในการแสดง

สภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวแทน

Thursday, July 4, 13

Page 89: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

89

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในการใชงานจริง คาตัวประกอบความเขมของความเคนสามารถใชแสดง

สภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวได ก็ตอเม่ือความยาวรอยราว พื้นที่รับ

แรง และความสูงของชิ้นสวนทางวิศวกรรม มีขนาดใหญกวา 4 เทาของ

บริเวณพลาสติก โดยบริเวณพลาสติกในกรณีความเคนระนาบ (plane

stress) ซึ่งมีขนาดใหญกวาบริเวณพลาสติกในกรณีความเครียดระนาบ

(plane strain) ถูกใชในการกำหนดขอบเขตคาตัวประกอบความเขมของ

ความเคน

Thursday, July 4, 13

Page 90: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

90

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• จากเกณฑการเกิดสภาพความเครียดระนาบที่ปลายรอยราว และขอบเขต

ของคากลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติก คาตัวประกอบความเขมของ

ความเคนสามารถใชแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวในกรณีสภาพ

ความเครียดระนาบ (plane strain) ไดเม่ือ

Thursday, July 4, 13

Page 91: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

91

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีที่บริเวณพลาสติกมีขนาดใหญจนครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของ

พื้นที่รับแรงของชิ้นสวน แรงที่ทำใหเกิดบริเวณพลาสติกขนาดใหญเชน

นี้ เรียกวา แรงพลาสติกสมบูรณ์ (fully plastic load) โดยความเคน

ที่เกิดขึ้นในบริเวณนี้เปนความเคนคราก

Thursday, July 4, 13

Page 92: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

92

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือพิจารณาแผนมีรอยราวที่ก่ึงกลางรับแรงดึง (หนา t) พบวาความเคนที่

บริเวณหางจากรอยราว (far-field stress) หรือความเคนรวม (gross

stress หรือ Sg) สามารถแสดงไดโดย

Thursday, July 4, 13

Page 93: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

93

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือพิจารณาแผนมีรอยราวที่ก่ึงกลางรับแรงดึง (หนา t) พบวาความเคนที่

บริเวณหางจากรอยราว (far-field stress) หรือความเคนรวม (gross

stress หรือ Sg) สามารถแสดงไดโดย

Thursday, July 4, 13

Page 94: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

94

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในขณะที่ความเคนที่เกิดขึ้นบนพื้นที่รับแรง (load-bearing area) บริเวณ

รอยราว หรือ ความเคนเฉล่ีย (average stress หรือ Sa) มีขนาดสูงกวา

ความเคนรวม (Sa > Sg) และ สามารถแสดงไดโดย

Thursday, July 4, 13

Page 95: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

95

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงขนาดแบบพลาสติกสมบูรณบนพื้นที่รับแรง

ความเคนเฉล่ีย (Sa) มีขนาดเทากับความเคนคราก (σY) และ แรงดึง

ที่มากระทำ (P) มีขนาดเทากับแรงพลาสติกสมบูรณ (Po) ดังนั้น

Thursday, July 4, 13

Page 96: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

96

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีการเปล่ียนแปลงขนาดแบบพลาสติกสมบูรณบนพื้นที่รับแรง คาตัว

ประกอบความเขมของความเคนของกลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกเชิง

เสน ไมสามารถแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวได

• ดังนั้นอัตราการปล่อยพลังงานความเครียด (strain energy release

rate หรือ J) ซึ่งเปนคากลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกพลาสติก จึงถูก

นำมาใชแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลายรอยราวแทน

• อัตราการปลอยพลังงานความเครียด หมายถึง พลังงานความเครียดที่ชิ้น

สวนทางวิศวกรรมใชในการเกิดพื้นที่รอยราว 1 หนวย

Thursday, July 4, 13

Page 97: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

97

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• อัตราการปลอยพลังงานความเครียดสามารถใชในการแสดงสภาพความ

รุนแรงที่ปลายรอยราวภายใตการเปล่ียนแปลงขนาดแบบอิลาสติกได โดย

เฉพาะอยางยิ่งในกรณี

• วัสดุโพลิเมอรหรือวัสดุผสมโพลิเมอร ซึ่งแสดงการเปล่ียนแปลงขนาดแบบ

อิลาสติกที่ไมเปนเชิงเสน (non-linear elastic deformation) ในกรณีเชนนี้

อัตราการปลอยพลังงานความเครียดจะถูกเรียกวา "G"

Thursday, July 4, 13

Page 98: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

98

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พิจารณาแผนมีรอยราวที่ขอบขางเดียวซึ่งรับแรงดึง พบวา ในกรณีรอยราว

เร่ิมตน (a) การเปล่ียนแปลงขนาด (ΔL) เม่ือมีแรงดึง (P) มากระทำ

สามารถแสดงไดดวยเสนเต็ม และเม่ือรอยราวเกิดการขยายตัวเปนรอยราว

ใหม (a + Δa) การเปล่ียนแปลงขนาด (ΔL) สามารถทำไดงายขึ้นดวยแรง

ที่นอยลงกวาเดิม โดยแสดงไดดวยเสนประ

Thursday, July 4, 13

Page 99: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

99

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พลังงานความเครียดที่ใชในการขยายตัวของรอยราว (ΔU) สามารถ

คำนวณไดจากความแตกตางระหวางพลังงานความเครียดที่เกิดขึ้นในกรณี

รอยราวเร่ิมตนหรือพื้นที่ใตกราฟเสนเต็ม กับ พลังงานความเครียดที่เกิด

ขึ้นในกรณีรอยราวใหมหรือพื้นที่ใตกราฟเสนประ

• ดังนั้นพื้นที่แรเงาแสดงถึง พลังงานความเครียดที่ใชในการขยายตัวของ

รอยราว (ΔU) และ อัตราการปลอยพลังงานความเครียด (J) คือ

Thursday, July 4, 13

Page 100: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

100

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เนื่องจากการคำนวณหาอัตราการปลอยพลังงานความเครียดมีความซับ-

ซอน ดังนั้นอัตราการปลอยพลังงานความเครียดในกรณีตางๆ ไดถูกแสดง

ในรูปแบบที่งายตอการคำนวณ

• อัตราการปลอยพลังงานความเครียดที่ปลายรอยราวของแผนมีรอยราวที่

ขอบขางเดียวรับแรงดึง โดย b คือ ความแตกตางระหวางความกวางกับ

ความยาวรอยราว (W-a) คำนวณไดจาก

Thursday, July 4, 13

Page 101: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

101

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• นอกจากนี้อัตราการปลอยพลังงานความเครียดยังสามารถประมาณไดจาก

ตัวประกอบความเขมของความเคน

• ตัวอยางการประมาณอัตราการปลอยพลังงานความเครียดที่ปลายรอยราว

ซึ่งเกิดขึ้นระหวาง (1) โลหะเชื่อม กับ (2) โลหะผสมทองแดง เม่ือรับแรงดึง

โดยอาศัยตัวประกอบความเขมของความเคนในรูปแบบภาระที่ 1 และ 2

Thursday, July 4, 13

Page 102: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

102

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• อัตราการปลอยพลังงานความเครียดที่ปลายรอยราวบนรอยเชื่อมระหวาง

โลหะเชื่อมกับโลหะผสมทองแดง

C. Kanchanomai, W. Limtrakarn, and Y. Mutoh. Fatigue crack growth behavior in Sn-Pb eutectic solder/copper joint under mode I loading. Mechanics of Materials, 37(11):1166–1174, 2005.

Thursday, July 4, 13

Page 103: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนและความเครียดที่ปลายรอยราว

• คากลศาสตรการแตกหัก

• ความทนทานการแตกหัก

• ตัวอยางการทำนายการแตกหัก

• สรุป

103

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Thursday, July 4, 13

Page 104: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

104

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• วัสดุทางวิศวกรรมมีความทนทานการแตกหัก (fracture toughness) หรือ

คากลศาสตรการแตกหักวิกฤติของวัสดุ (critical fracture mechanic

parameter) โดยการแตกหักจะเกิดขึ้นเม่ือ คากลศาสตรการแตกหักมีคา

เทากับหรือมากกวาความทนทานการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 105: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

105

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีกลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกเชิงเสน ความทนทานการ

แตกหัก คือ คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคน (critical

stress intensity factor หรือ KC) ในขณะที่กรณีกลศาสตรการแตกหัก

แบบอิลาสติกพลาสติก ความทนทานการแตกหัก คือ คาวิกฤติของ

อัตราการปลอยพลังงานความเครียด (critical strain energy release

rate หรือ JC)

การแตกหัก (fracture)

Thursday, July 4, 13

Page 106: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

106

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความทนทานการแตกหักเปนสมบัติเฉพาะตัวของวัสดุทางวิศวกรรมใน

สภาพแวดลอมตางๆ

• ความทนทานการแตกหักที่อุณหภูมิหองจะแตกตางจากความทนทานการ

แตกหักของวัสดุชนิดเดียวกันที่อุณหภูมิ 0.8 เทาของอุณหภูมิหลอมเหลว

• ความทนทานการแตกหักภายใตสภาพความเคนระนาบจะแตกตางจาก

ความทนทานการแตกหักภายใตสภาพความเครียดระนาบ

• ดังนั้นความทนทานการแตกหักของวัสดุทางวิศวกรรมสามารถหาไดจาก

การทดสอบจริง โดยควบคุมสภาพแวดลอมในการทดสอบใหใกลเคียงกับ

สภาพแวดลอมในการใชงานจริงเทานั้น

Thursday, July 4, 13

Page 107: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

107

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

การทดสอบความทนทานการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 108: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

108

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การทดสอบความทนทานการแตกหัก (fracture toughness test)

เปนการตรวจวัดความทนทานการแตกหักของชิ้นทดสอบที่มีรอยราวเม่ือ

มีภาระมากระทำ

• เพื่อใหผลที่ไดจากการทดสอบถูกตอง สามารถใชเปรียบเทียบผลการ

ทดสอบอื่น และนำไปใชงานทางวิศวกรรมไดจริง การทดสอบความ

ทนทานการแตกหักควรทำตามมาตรฐานการทดสอบ

• ในปจจุบัน ยังไมมีมาตรฐานการทดสอบความทนทานการแตกหักของ

หนวยงานในประเทศไทย

Thursday, July 4, 13

Page 109: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

109

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การทดสอบความทนทานการแตกหักควรอางอิงจากมาตรฐานสากล เชน

• มาตรฐานของ American Society for Testing and Materials (ASTM)

• มาตรฐานของ British Standards institute (BSI)

• มาตรฐานของ International Organization for Standardization (ISO)

Thursday, July 4, 13

Page 110: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

110

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• มาตรฐานการทดสอบความทนทานการแตกหัก ASTM E399: Standard

Test Method for Linear-Elastic Plane-Strain Fracture Toughness

KIc of Metallic Materials ไดแนะนำการทดสอบความทนทานการ

แตกหักดวยชิ้นทดสอบ 2 แบบ

• ชิ้นทดสอบที่มีรอยราวที่ขอบขางเดียวรับโมเมนตดัด (single edge-

notch bending specimen หรือ SENB specimen)

• ชิ้นทดสอบคอมแพกซรับแรงดึง (compact-tension specimen หรือ

CT specimen)

Thursday, July 4, 13

Page 111: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

111

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การทดสอบความทนทานการแตกหักดวยชิ้นทดสอบที่มีรอยราวที่ขอบขาง

เดียวรับโมเมนตดัด (single edge-notch bending specimen หรือ SENB

specimen)

Thursday, July 4, 13

Page 112: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

112

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การทดสอบความทนทานการแตกหักดวยชิ้นทดสอบคอมแพกซรับแรงดึง

(compact-tension specimen หรือ CT specimen)

Thursday, July 4, 13

Page 113: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

113

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในการทดสอบความทนทานการแตกหัก ชิ้นทดสอบ SENB จะถูกกดดวย

อัตราเร็วคงที่ ในขณะที่ชิ้นทดสอบ CT จะถูกดึงดวยอัตราเร็วคงที่

• แรงตานทาน (P) ของชิ้นทดสอบเพิ่มขึ้นตามการเปล่ียนแปลงขนาด แรง

ตานทานนี้ถูกตรวจวัดดวยอุปกรณวัดแรง (load cell) ซึ่งติดอยูกับหัวกด

และระยะเปดของปากรอยราว (crack-mount opening displacement

หรือ V) ถูกวัดดวยอุปกรณวัดระยะ (displacement sensor) ซึ่งติดอยูกับ

ชิ้นทดสอบ

• แรงที่ทำใหชิ้นทดสอบแตกหักจะถูกนำมาใชในการคำนวณความทนทาน

การแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 114: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

114

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความสัมพันธระหวางระยะเปดของปากรอยราวกับแรงตานทานของชิ้น

ทดสอบ (PV curve) สามารถใชอธิบายพฤติกรรมการแตกหักได โดย

พฤติกรรมการแตกหักถูกแบงออกเปน 3 ประเภท

Thursday, July 4, 13

Page 115: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

115

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พฤติกรรมการแตกหักแบบที่ 1 - การขยายตัวของรอยราวกอนการ

แตกหักสุดทาย ซึ่งมักเกิดในวัสดุเหนียว เชน โพลิเมอร หรือโลหะภายใต

อุณหภูมิสูงกวา 0.6 เทาของอุณหภูมิหลอมเหลวในหนวยองศาเคลวิน

Thursday, July 4, 13

Page 116: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

116

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พฤติกรรมการแตกหักแบบที่ 2 - การขยายตัวของรอยราวในระยะสั้นๆ

สลับกับหยุดนิ่งกอนการแตกหักสุดทาย ซึ่งมักเกิดในวัสดุผสม เชน

โพลิเมอรเสริมความแข็งแรงดวยเสนใยแกว

Thursday, July 4, 13

Page 117: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

117

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• พฤติกรรมการแตกหักแบบที่ 3 - การขยายตัวของรอยราวอยางรวดเร็ว

และเกิดความแตกหักสุดทายทันที ซึ่งมักเกิดในวัสดุเปราะ เชน เหล็กกลา

เซรามิก เปนตน

Thursday, July 4, 13

Page 118: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

118

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ความทนทานการแตกหักของวัสดุทางวิศวกรรมชนิดต่างๆ

Thursday, July 4, 13

Page 119: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

119

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความทนทานการแตกหักขึ้นอยูกับความสามารถในการเปล่ียนแปลง

ขนาด เนื่องจากความรุนแรงที่รอยราวหรือความเคนซิงกุลาริตี้ลดลงเม่ือ

เกิดการเปล่ียนแปลงขนาดที่ปลายรอยราว หรือเกิดการเพิ่มของรัศมี

ปลายรอยราว

• ดังนั้นวัสดุทางวิศวกรรมที่เกิดการเปล่ียนแปลงขนาดไดดีจะมีความ

ทนทานการแตกหักสูง

Thursday, July 4, 13

Page 120: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

120

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือชิ้นสวนทางวิศวกรรมรับพลังงานกลจากภายนอก พลังงานกลเหลานี้

จะเปล่ียนรูปเปน (1) พลังงานจลนหรือการเคล่ือนที่ (2) พลังงานศักย

หรือการเปล่ียนแปลงตำแหนง (3) พลังงานความเครียดหรือการ

เปล่ียนแปลงขนาด และ (4) พลังงานที่ใชในการแตกหัก

• ถาวัสดุทางวิศวกรรมเกิดการเปล่ียนแปลงขนาดไดมาก พลังงานความ

เครียด็จะสูงขึ้น สงผลใหมีพลังงานเหลือไปใชในการทำใหเกิดการ

แตกหักนอยลง

• ดังนั้นวัสดุที่เกิดการเปล่ียนแปลงขนาดไดมากจึงมีความทนทานการ

แตกหักสูง

Thursday, July 4, 13

Page 121: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

121

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โลหะและโลหะผสม มีคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคน

อยูในชวง 20 ถึง 200 MPa.m1/2 โดยลดลงเม่ือความเคนครากเพิ่มขึ้น

• การเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิตสงผลกระทบตอ โครงสรางของโลหะ

ความเคนคราก และความทนทานการแตกหักได เชน เหล็กหลอเหนียว

เม่ือผานกระบวนการปรับสมบัติดวยความรอน (heat treatment

process) ที่ตางกัน มีความเคนครากตางกัน โดยเหล็กหลอเหนียวที่มี

ความเคนครากสูงมี คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนต่ำ

Thursday, July 4, 13

Page 122: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

122

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

S.K. Putatunda. Development of austempered ductile cast iron (ADI) with simultaneous high yield strength and fracture toughness by a novel two-step austempering process. Materials Science and Engineering A, 315(1-2):70–80, 2001.

Thursday, July 4, 13

Page 123: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

123

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• โพลิเมอร ์มีคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนอยูในชวง 1 ถึง 5 MPa. m1/2 ซึ่งถือวามีคาสูงเม่ือเทียบกับน้ำหนักของโพลิเมอร

• ดังนั้นโพลิเมอรจึงถูกใชในงานที่มีขอจำกัดของน้ำหนักและมีภาระต่ำ

• การเพิ่มวัสดุเสริมความแข็งแรงในโพลิเมอร เชน เสนใยแกว หรือผง

คารบอน ทำใหเกิด วัสดุผสมโพลิเมอร ์ที่มีความเคนดึงสูงสุดสูงกวา

โพลิเมอรปกติและสามารถใชงานไดหลากหลายขึ้น แตความทนทานการ

แตกหักของวัสดุผสมโพลิเมอรมีขนาดต่ำกวาโพลิเมอรปกติ

Thursday, July 4, 13

Page 124: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

124

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เซรามิก มีคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนอยูในชวง 1

ถึง 5 MPa.m1/2 ซึ่งถือวาต่ำมากเม่ือเทียบกับความเคนดึงสูงสุด

• ดังนั้นเซรามิกจะแตกหักไดงายเม่ือมีรอยราวขนาดเล็กเกิดขึ้น

Thursday, July 4, 13

Page 125: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

125

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผลกระทบของความเค้นระนาบและความเครียดระนาบต่อ

ความทนทานการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 126: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

126

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ถาความหนาของชิ้นสวนทางวิศวกรรมมีขนาดต่ำกวาขนาดของบริเวณ

พลาสติกที่ปลายรอยราว การเปล่ียนแปลงความหนาสามารถเกิดได

อยางอิสระที่ปลายของรอยราว สงผลใหเกิดสภาพ ความเค้นระนาบ

(plane stress) ขึ้นที่ปลายรอยราว

• ถาความหนาของชิ้นสวนทางวิศวกรรมมีขนาดสูงกวาขนาดของบริเวณ

พลาสติก การเปล่ียนแปลงความหนาภายใตสภาพ ความเครียดระนาบ

(plane strain) ที่ปลายรอยราวจะเกิดไดยาก เนื่องจากในวัสดุที่หนามี

มวลของวัสดุมาก ซึ่งตานทานการเปล่ียนแปลงความหนาไดดี

Thursday, July 4, 13

Page 127: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

127

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ภายใตสภาพความเครียดระนาบ (plane strain) ที่ปลายรอยราว ความเคน

ที่เกิดบริเวณปลายรอยราวจะเกิดใน 3 ทิศทาง ไดแก ความเคนกระทำใน

ระนาบของชิ้นงาน และความเคนในแนวความหนา จากการที่วัสดุในแนว

ความหนาออกแรงตานกับความพยายามในการเปล่ียนแปลงความหนา

• ความเคนบริเวณปลายรอยราวใน 3 ทิศทางนี้มีความรุนแรงกวาความเคน

บริเวณปลายรอยราวใน 2 ทิศทางหรือความเคนระนาบ (plane stress)

• ดังนั้นวัสดุทางวิศวกรรมที่มีรอยราวภายใตสภาพความเครียดระนาบหรือ

วัสดุหนา จึงมีความทนทานการแตกหักต่ำกวาวัสดุทางวิศวกรรมชนิด

เดียวกันที่มีรอยราวภายใตสภาพความเคนระนาบหรือวัสดุบาง

Thursday, July 4, 13

Page 128: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

128

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ตัวอยางผลกระทบของความหนาหรือสภาพความเคนระนาบความเครียด

ระนาบตอความทนทานการแตกหักในโพลิเมอรชนิดอิพอกซีเรซิน โดยคา

วิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนมีขนาดประมาณ 2 MPa.m1/2

ที่ความหนา 4 มม. และ มีขนาดลดลงตามความหนาที่เพิ่มมากขึ้นหรือสภาพ

ความเครียดระนาบที่รุนแรงขึ้น

• ซึ่งในที่สุดคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนมีคาต่ำที่สุด หรือ

รุนแรงที่สุดจากสภาพความเครียดระนาบที่สมบูรณที่ปลายรอยราว ดังนั้นจึง

นิยมนำคานี้ไปใชในการออกแบบหรือวิเคราะหความทนทานการแตกหักของ

ชิ้นสวนทางวิศวกรรม ซึ่งสงผลใหผลการออกแบบและวิเคราะหมีความ

ปลอดภัยสูง

Thursday, July 4, 13

Page 129: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

129

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ชาวสวน กาญจโนมัย. ผลงานวิจัยของหองปฏิบัติการกลศาสตรการแตกหักและการลา. คณะวิศวกรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2552.

Thursday, July 4, 13

Page 130: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

130

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผลกระทบของอุณหภูมิต่อความทนทานการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 131: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

131

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือมีพลังงานความรอนจากภายนอกมากระทำ ชิ้นสวนทางวิศวกรรมที่มี

รอยราวจะมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรืออาจกลาวไดวาอะตอมมีพลังงานสูงขึ้น

• เพื่อใหระบบของอะตอมเขาสูสภาวะสมดุล ระยะหางระหวางอะตอมหรือ

ระยะพันธะจึงเพิ่มขึ้น

• เนื่องจากการเปล่ียนแปลงขนาดของวัสดุทางวิศวกรรมขึ้นกับพันธะ โดย

ระยะพันธะสูงทำใหพันธะไมแข็งแรง สงผลใหคาโมดูลัสของยังสและคา

ความเคนครากจึงมีคาลดลง ดังนั้นความทนทานการแตกหักจึงเพิ่มขึ้น

ตามอุณหภูมิ

Thursday, July 4, 13

Page 132: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

132

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• จากตัวอยางผลกระทบของอุณหภูมิตอความเคนครากและความทนทาน

การแตกหักของเหล็กกลาคารบอนกลาง พบวาความเคนครากลดลงตาม

อุณหภูมิที่สูงขึ้น ในขณะที่คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของ

ความเคนมีคาเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิ

• อัตราการเพิ่มขึ้นของคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนมี

การเปล่ียนแปลงจากต่ำเปนสูงที่อุณหภูมิประมาณ -25 oC ซึ่งเรียก

อุณหภูมินี้วา อุณหภูมิจุดเปล่ียน (transition temperature)

• ดังนั้นในการใชงานเหล็กกลาคารบอนกลาง นอกจากจะคำนึงถึงความเคน

ครากที่อุณหภูมิใชงานตางๆ แลว ยังตองคำนึงถึงผลกระทบของอุณหภูมิ

ตอคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนดวย

Thursday, July 4, 13

Page 133: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

133

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

W.G. Clark Jr. and E.T. Wessel. Application of fracture mechanics technology to medium strength steels, in Review of developments in plane strain fracture toughness testing. ASTM STP 463, Philadelphia, 1970.

Thursday, July 4, 13

Page 134: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

134

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผลกระทบของเวลาต่อความทนทานการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 135: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

135

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือวัสดุถูกใชงานที่อุณหภูมิสูงกวา 0.5 เทาของอุณหภูมิหลอมเหลวใน

หนวยเคลวิน วัสดุสามารถแสดงการเปล่ียนแปลงขนาดแบบขึ้นกับเวลาได

• ที่อัตราภาระสูง วัสดุมีเวลาสำหรับการเปล่ียนแปลงขนาดแบบขึ้นกับเวลา

บริเวณปลายรอยราวนอย รัศมีของปลายรอยราวมีขนาดเล็ก การแตกหัก

เกิดไดงาย ดังนั้นคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนจึงมีคาต่ำ

• ในขณะที่การเปล่ียนแปลงขนาดแบบขึ้นกับเวลาที่ปลายรอยราวเกิดขึ้นไดดีที่

อัตราภาระต่ำ เนื่องจากมีเวลาสำหรับการเปล่ียนแปลงขนาดแบบขึ้นกับเวลา

มาก รัศมีของปลายรอยราวมีขนาดใหญ การแตกหักเกิดไดยาก ดังนั้นคา

วิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนจึงมีคาสูง

Thursday, July 4, 13

Page 136: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

136

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ตัวอยางผลกระทบของเวลาตอความทนทานการแตกหักของอิพอกซีเรซิน

ที่อุณหภูมิ 25 oC เนื่องจากอุณหภูมิ 25 oC มีคาประมาณ 0.8 เทาของ

อุณหภูมิหลอมเหลว (องศาเคลวิล) ดังนั้นคาวิกฤติของตัวประกอบความ

เขมของความเคนมีคาสูง เม่ือถูกกระทำดวยอัตราภาระต่ำกวา 2 มม./นาที

• ในขณะที่คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนมีคาต่ำ เม่ือถูก

กระทำดวยอัตราภาระสูงกวา 10 มม./นาที

Thursday, July 4, 13

Page 137: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

137

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

C. Kanchanomai, S. Rattananon, and M. Soni. Effects of loading rate on fracture behavior and mechanism of thermoset epoxy resin. Polymer Testing, 24(7):886–892, 2005.

Thursday, July 4, 13

Page 138: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

138

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผลกระทบของรูปแบบภาระต่อความทนทานการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 139: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

139

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• รูปแบบภาระสามารถสงผลกระทบตอความทนทานการแตกหัก โดยรูป

แบบภาระที่ 1 เปนรูปแบบภาระที่กอใหเกิดความเสียหายตอชิ้นงาน

รุนแรงกวาภาระในรูปแบบภาระที่ 2 และ 3 เนื่องจากภาระที่มากระทำจะ

ตั้งฉากกับผิวหนาของรอยราว ซึ่งทำใหผิวหนาของรอยราวเปดแยกออก

จากกัน

Thursday, July 4, 13

Page 140: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

140

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ตัวอยางผลกระทบของรูปแบบภาระผสมระหวางรูปแบบภาระที่ 1 กับ 2

ตอความทนทานการแตกหักของอิพอกซีเรซิน โดยรูปแบบภาระแบบ

ผสมที่ปลายรอยราวเร่ิมตนจะถูกกำหนดโดยโหมดมิกซิตี้ (mode mixity

หรือ β)

• โดย β เปน 0o เม่ือรูปแบบภาระเปนรูปแบบภาระที่ 1 สมบูรณ และ β

เปน 90o เม่ือรูปแบบภาระเปนรูปแบบภาระที่ 2 สมบูรณ โดยเสน β =

45o แสดงกรณีรูปแบบภาระผสมเม่ือรูปแบบภาระที่ 1 และ 2 กระทำใน

ปริมาณเทากัน

Thursday, July 4, 13

Page 141: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

141

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

C. Kanchanomai and S. Rattananon. Effects of loading rate and thickness on mixed-mode I/II fracture toughness of thermoset epoxy resin. Journal of Applied Polymer Science, 109(4):2408–2416, 2008.

Thursday, July 4, 13

Page 142: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

142

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนภายใตรูปแบบภาระที่

1 บริสุทธิ์มีคาต่ำที่สุดหรือแตกหักงายที่สุด (KIC = 1 MPa.m1/2)

• คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนภายใตรูปแบบภาระที่

2 บริสุทธิ์มีคาสูงที่สุดหรือแตกหักยากกวา (KIIC = 3 MPa.m1/2)

• คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนภายใตรูปแบบภาระ

แบบผสมที่ β = 45o มีคาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคน

ภายใตรูปแบบภาระที่ 1 และ 2 (KIC /KIIC) ประมาณ 2 MPa.m1/2

Thursday, July 4, 13

Page 143: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนและความเครียดที่ปลายรอยราว

• คากลศาสตรการแตกหัก

• ความทนทานการแตกหัก

• ตัวอยางการทำนายการแตกหัก

• สรุป

143

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Thursday, July 4, 13

Page 144: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

144

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เหล็กกลาคารบอนกลาง (ASTM A533B-1) ซึ่งมีคาวิกฤติของตัวประกอบ

ความเขมของความเคนและความเคนคราก ถูกเชื่อมติดกันและใชรับ

ความเคนดึงที่กระจายตัวอยางสม่ำเสมอ (S) ดังรูป โดยรอยเชื่อมมีสภาพ

สมบูรณและมีสมบัติเดียวกับเหล็กกลาคารบอนกลาง ถาใชงานรอยเชื่อม

นี้ที่อุณหภูมิ -75 oC รอยเชื่อมนี้จะรับความเคนดึง (S) สูงสุดไดเทาไรโดย

ไมเกิดการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 145: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

145

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13

Page 146: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

146

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคนและความเคนครากทีี่่อุณหภูมิ

-75 oC เปน 50 MPa.m1/2 และ 500 MPa ตามลำดับ

Thursday, July 4, 13

Page 147: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

147

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• รอยราวในรอยเชื่อมนี้จะอยูภายใตสภาพความเครียดระนาบ และ สามารถ

ใชคาตัวประกอบความเขมของความเคนแสดงสภาพความรุนแรงที่ปลาย

รอยราวได ก็ตอเม่ือ

• เม่ือแทนคาขนาดตางๆ ของชิ้นสวนรอยเชื่อม คาวิกฤติของตัวประกอบ

ความเขมของความเคน และความเคนคราก พบวา

Thursday, July 4, 13

Page 148: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

148

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ในกรณีแผนมีรอยราวที่ขอบขางเดียวรับแรงดึง คาตัวประกอบความเขม

ของความเคนคำนวณไดดังนี้

Thursday, July 4, 13

Page 149: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

149

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือแทนคาขนาดตางๆ ของชิ้นสวนรอยเชื่อม พบวา

Thursday, July 4, 13

Page 150: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

150

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ดังนั้นคาตัวประกอบความเขมของความเคน สามารถแสดงดวยความ

สัมพันธของความเคนดึงเปน

• เม่ือใชงานรอยเชื่อมที่อุณหภูมิ -75 oC ความเคนดึง (S) ที่รอยเชื่อมนี้รับได

โดยไมเกิดการแตกหักมีขนาดไมเกิน

Thursday, July 4, 13

Page 151: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

• ความเคนและความเครียดที่ปลายรอยราว

• คากลศาสตรการแตกหัก

• ความทนทานการแตกหัก

• ตัวอยางการทำนายการแตกหัก

• สรุป

151

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

หัวขอบรรยาย

Thursday, July 4, 13

Page 152: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

152

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• ความรูเก่ียวกับการตอบสนองของวัสดุที่มีรอยราวตอภาระที่มากระทำ

หรือกลศาสตรการแตกหักไดถูกนำเสนอในบทนี้

• เพื่อเปนแนวทางในการเลือกวัสดุ ออกแบบชิ้นสวนเคร่ืองจักรกล กำหนด

ขอบเขตการใชงานและวิธีซอมบำรุง โดยมุงหวังใหสามารถใชงานสวน

ทางวิศวกรรมไดอยางปลอดภัยและมีอายุการใชงานที่ยาวนาน

• เนื้อหาถูกแบงออกเปน 3 สวน ไดแก ความเคนและความเครียดที่ปลาย

รอยราว คากลศาสตรการแตกหักที่ปลายรอยราว ความทนทานการ

แตกหักของวัสดุ

Thursday, July 4, 13

Page 153: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

153

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• เม่ือการไหลของความเคนถูกขัดขวางจากรอยราวหรือความไมตอเนื่อง

ของวัสดุ ความเคนไมสามารถไหลตอได จำเปนตองเปล่ียนทิศทางการ

ไหลออมรอยราว สงผลใหเกิดการสะสมของความเคน

• ความเคนที่บริเวณปลายของรอยราวจะมีขนาดเปนอนันต หรือ สภาพ

ความเคนซิงกุลาริตี้เม่ือรัศมีของปลายรอยราวจะเขาใกลศูนย

Thursday, July 4, 13

Page 154: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

154

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• สภาพความเคนซิงกุลาริตี้ที่ปลายรอยราว และการตอบสนองของวัสดุ

ทางวิศวกรรมตอความเคนซิงกุลาริตี้ สงผลใหวิศวกรไมสามารถใชคา

คงที่ของการสะสมของความเคนในการออกแบบ และ วิเคราะหชิ้นสวน

ทางวิศวกรรมที่มีรอยราวได

• ดังนั้นจึงมีการกำหนดปริมาณทางวิศวกรรม ซึ่งแสดงสภาพความ

รุนแรงที่ปลายรอยราว โดยอยูในความสัมพันธระหวาง ความเคนที่มา

กระทำ รูปราง ความยาวรอยราว และการเปล่ียนแปลงขนาดของวัสดุ

ซึ่งเรียกวา คากลศาสตรการแตกหัก

Thursday, July 4, 13

Page 155: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

155

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

• การแตกหักของชิ้นสวนทางวิศวกรรมเกิดขึ้นเม่ือ คากลศาสตรการแตกหัก

มีคาเทากับหรือมากกวา คากลศาสตรการแตกหักวิกฤติหรือความทนทาน

การแตกหักของวัสดุ ซึ่งเปนสมบัติเฉพาะตัวของวัสดุทางวิศวกรรม

• ในกรณีกลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกเชิงเสน ความทนทานการ

แตกหัก คือ คาวิกฤติของตัวประกอบความเขมของความเคน (critical

stress intensity factor หรือ KC)

• ในกรณีกลศาสตรการแตกหักแบบอิลาสติกพลาสติก ความทนทานการ

แตกหัก คือ คาวิกฤติของอัตราการปลอยพลังงานความเครียด (critical

strain energy release rate หรือ JC)

Thursday, July 4, 13

Page 156: ความเสียหายของวัสดุทาง ... · 2013-07-04 · แผ นวัสดุ และความเค นที่มากระทำS)

จบการบรรยาย

156

รศ.ดร. ชาวสวน กาญจโนมัย ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

Thursday, July 4, 13