118
การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศการศึกษา ในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โสภณ ทองจิตร ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี พ.ศ. 2554 Copyright : Suratthani Rajabhat University

การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศการศึกษาในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี

โสภณ ทองจิตร

ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีพ.ศ. 2554

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 2: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

PERFORMANCE IN ACCORDANCE WITH INTERNAL SUPERVISORY PROCESS OF THE SUPERVISORS IN BANG KUNG NETWORK SCHOOLS

IN SURAT THANI PROVINCE

SOPON TONGJIT

A Term Paper Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Education

Program in Educational AdministrationGraduate School

Suratthani Rajabhat University2011

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 3: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บทคัดยอ

ชื่อเรื่องภาคนิพนธ การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานีชื่อผูวิจัย นายโสภณ ทองจิตรชื่อปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชา การบริหารการศึกษาปการศึกษา 2553คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคนิพนธ

1. รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชร ประธานกรรมการ2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิตยา กันตะวงษ กรรมการ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผล การนิเทศ และการปรับปรุงแกไข จําแนกตามตําแหนง ประสบการณ และขนาดของโรงเรียนกลุมตัวอยางประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา รองผูบริหาร หัวหนากลุมสาระ หัวหนาฝายหรือหัวหนางานรวมทั้งสิ้นจํานวน 135 คน ซึ่งไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือ ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เปนมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 46 ขอ วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบสมมติฐานโดยคาที ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา การประเมินผลการนิเทศมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก การดําเนินการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การปรับปรุงแกไข และการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ตามลําดับ จําแนกตามตําแหนง โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการดําเนินการนิเทศ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน จําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยรวมและรายดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ดานการประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 4: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

ABSTRACT

Term Paper Title Performance in accordance with Internal Supervisory Process of the Supervisors in Bang Kung Network Schools in Surat Thani Province

Student’s Name Mr. Sopon TongjitDegree Sought Master of Education Major Educational AdministrationAcademic Year 2010Term Paper Advisors 1. Assoc. Prof. Dr. Chusak Ekpetch Chairperson

2. Assist. Prof. Dr. Nittaya Kuntawong Committee

This research objectives were: to study the performance on the internal supervisory processof the supervisors in Bang Kung network schools in Surat Thani province; and to compare the performance in accordance with the internal supervisory process in those schools, classified by position, experience and school size. The internal supervision consisted of 5 aspects: the survey on the school need analysis, supervisory planning, supervisory implementation, supervisoryevaluation, and supervisory modification. The subjects was drawn by purposive sampling method consisting of 135 school administrators, assistant administrators, head of the stances, and head of the sections. The 45-item questionnaire with 5-level rating scale was used as the research instrument.SPSS for Windows was used to analyze percentage, mean, standard deviation, and t-test.

The results were as follows: the overall supervisory performance in those schools wasfound to be in the middle level. As viewed by separated aspects, it was found that the mosthighest mean score was on the aspect of supervisory evaluation, then the aspects of supervisory implementation, supervisory planning, supervisory modification, and the survey on the school need analysis, respectively. The overall performance on the internal supervisory process of the supervisors in those schools which was classified by position was found to be no statisticaldifferences at the significant level of 0.05, whereas the only separated aspect of supervisoryimplementation was found to be different at the level of 0.05. The overall performance on the internal supervisory process of the supervisors in those schools which was classified by working experience was found to be no statistical differences at the significant level of 0.05, and so were

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 5: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

the separated aspects. The overall performance on the internal supervisory process of the supervisorsin those schools which was classified by school size was found to be no statistical differences at the significant level of 0.05, whereas the only separated aspects of survey on the school need analysis, supervisory evaluation, and supervisory modification was found to be different at the level of 0.05.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 6: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

กิตติกรรมประกาศ

ภาคนิพนธฉบับนี้สําเร็จไดดวยความกรุณาจาก รองศาสตราจารย ดร.ชูศักดิ์ เอกเพชรประธานกรรมการควบคุมภาคนิพนธ และผูชวยศาสตราจารย ดร.นิตยา กันตะวงษ กรรมการควบคุมภาคนิพนธและคณาจารยสาขาวิชาการบริหารการศึกษาทุกทาน ที่ใหคําแนะนําปรึกษาใหความชวยเหลือและชี้แนวทางในการจัดทําภาคนิพนธ ตรวจสอบขอบกพรองตาง ๆ จนงานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ผูวิจัยซาบซึ้งพระคุณเปนอยางสูงและขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญที่กรุณาตรวจสอบแกไขแบบสอบถามและใหคําแนะนําในการปรับปรุงแกไขเครื่องมือวิจัยใหสมบูรณยิ่งขึ้น ประกอบดวย วาที่ ร.ต.ทวีศักดิ์ ยศถา นางจันทรา ศรีสุข นางวัชนี นาคทอง นายสุทธิพงศ ทองสราง นางวิภาสกร ดงราษี ขอขอบคุณผูบริหารและคณะครูโรงเรียนเครือขายบางกุง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุราษฎรธานี เขต 1 ทุกโรงเรียนที่ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลและทําแบบสอบถามเปนอยางดี คุณประโยชนอันพึงมีของภาคนิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบเปนกตัญุตาแกบิดา มารดา ครู อาจารยและขอขอบคุณสมาชิกครอบครัวทองจิตร ผูอยูเบื้องหลังคอยใหกําลังใจและสนับสนุนทุกดานทําใหงานวิจัยสําเร็จลุลวงลงไดอยางสมบูรณ

โสภณ ทองจิตร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 7: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย .............................................................................................................. ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ ......................................................................................................... คกิตติกรรมประกาศ............................................................................................................... จสารบัญ ................................................................................................................................ ฉสารบัญตาราง ..................................................................................................................... ซ สารบัญภาพ ......................................................................................................................... ญบทที่ 1 บทนํา ..................................................................................................................... 1

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา .......................................................... 1วัตถุประสงคของการวิจัย ................................................................................ 5ความสําคัญของการวิจัย .................................................................................. 6ขอบเขตของการวิจัย ....................................................................................... 6กรอบแนวคิดในการวิจัย ................................................................................. 7สมมติฐานการวิจัย........................................................................................... 8นิยามศัพทเฉพาะ ............................................................................................. 9

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ .............................................................................. 11การนิเทศการศึกษา.......................................................................................... 12การนิเทศภายในโรงเรียน ................................................................................ 16ความเกี่ยวของของประสบการณ กับการนิเทศภายในโรงเรียน ...................... 41งานวิจัยที่เกี่ยวของ .......................................................................................... 41

3 วิธีดําเนินการวิจัย................................................................................................... 47ประชากรและกลุมตัวอยาง.............................................................................. 47เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล .......................................................... 48ขั้นตอนการพัฒนาเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล.................................... 49การเก็บรวบรวมขอมูล .................................................................................... 50

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 8: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนาการวิเคราะหขอมูล .......................................................................................... 51สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล....................................................................... 52

4 ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................ 53สัญลักษณทางสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล................................................ 53การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล.................................................................. 54

5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ .................................................................... 69สรุปผล ............................................................................................................ 71

อภิปรายผล ...................................................................................................... 73 ขอเสนอแนะ ................................................................................................... 78

บรรณานุกรม ...................................................................................................................... 80ภาคผนวก ........................................................................................................................... 89

ภาคผนวก ก หนังสือขอความอนุเคราะหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ ขออนุญาตเก็บขอมูล ............................................................................................. 90

ภาคผนวก ข รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ .................................................. 93ภาคผนวก ค ตารางสรุปคา IOC................................................................................ 95ภาคผนวก ง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ...................................................................... 99

ประวัติผูทําภาคนิพนธ ........................................................................................................ 107Cop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

Page 9: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา2.1 สรุปแนวคิดขอบเขตขั้นตอนกระบวนการนิเทศภายใน ......................................... 283.1 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษาจําแนกตามโรงเรียนในเครือขายบางกุง 484.1 แสดงจํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ....................... 544.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศ

การศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม.................................................................................................................. 55

4.3 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน .................................................. 56

4.4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการวางแผนการนิเทศ...................................................................................... 57

4.5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน ............................................................... 58

4.6 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศ................................................................................. 60

4.7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข........................................................................................... 61

4.8 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนง..... 62

4.9 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการดําเนินการนิเทศจําแนกตามตําแหนง โดยเปรียบเทียบรายคู ................................................... 63

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 10: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.10 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

ของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามประสบการณในการทํางาน.................................................................................. 64

4.11 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน ....................................................................................................... 65

4.12 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการ ความจําเปนของโรงเรียน จําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยเปรียบเทียบรายคู ................................................................................................................... 66

4.13 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู ........................ 67

4.13 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู .............................. 68

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 11: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ...................................................................................... 8

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 12: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคปจจุบันและความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศตลอดจนสภาพปญหาเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน ทําใหสังคมไทยเขาสูภาวะวิกฤต การแกปญหาวิกฤตของประเทศชาตินั้นทุกคนมองไปที่การศึกษา ตองใชการศึกษาเปนเครื่องมือสรางคุณภาพ ของคนในชาติใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค (กรมสามัญศึกษา. 2542 : บทนํา) การใชการศึกษา เพื่อเปนเครื่องมือในการพัฒนา “คน” นั้นนอกจากจะใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพแลว ยังจําเปนตองคํานึงถึงกลไก ที่จะสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาอยางเต็มที่ (กรมสามัญศึกษา. 2542 : 2)

ในการบริหารการศึกษาผูบริหารการศึกษาจะตองพัฒนากระบวนการบริหารการจัดการใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามวัตถุประสงคและเปาหมายของการจัดการศึกษานั้น ๆ สถานศึกษาตาง ๆ ในปจจุบันนี้แมวาผูบริหารการศึกษา ครู - อาจารยจะมีคุณวุฒิและความสามารถสูงขึ้นมากแลว ก็ตามแตสังคมก็มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ซึ่งสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ทั้งในระบบการบริหารจัดการ หลักสูตร การเรียนการสอน นวัตกรรม และเทคโนโลยี ที่ทําใหเกิดเทคนิค และวิธีการใหม ๆ ขึ้นในวงการศึกษามากมาย ผูบริหารและครู - อาจารย จําเปนตองพัฒนาตนเองและองคการใหทันตอการเปลี่ยนแปลงดังกลาว รวมทั้งใหนําการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับ สภาวะการดวย การนิเทศการศึกษาจะมีบทบาทในการใหความชวยเหลือ พัฒนาและการปรับปรุงจัดการศึกษาของสถานศึกษาและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาในสังกัดดวยวิธีตาง ๆ ที่จะชวยพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหมีประสิทธิภาพสูงสุดสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม (เจษฎา แชมประเสริฐ. 2542 : 1) จะเห็นไดวาการจัดการศึกษาจะเกิดผลดีมีคุณภาพตามความมุงหมายไดนั้นขึ้นอยูกับกลไกหลายประการ เชน กระบวนการบริหาร การจัดการ การดําเนินงานการนิเทศของผูบริหารโรงเรียน ในการนํานโยบายไปปฏิบัติ (หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. 2540 : 131) โดยเฉพาะการนิเทศการศึกษา ซึ่งมีความสําคัญตอการพัฒนาการศึกษาทั้งนี้เนื่องจากกระบวนการนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการที่มุงเนนใหไดมาซึ่งคุณภาพของนักเรียน โดยที่การนิเทศการศึกษาเปนการทํางานรวมกับครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อใหบุคคลเหลานี้ ไดพัฒนาความรู ความเขาใจและสามารถปฏิบัติงานสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ (ไพโรจน กลิ่นกุหลาบ. 2542 : 1) การนิเทศ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 13: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

2

การศึกษาจึงเปนการนิเทศภายในโรงเรียนซึ่งเปนการกระทําของผูบริหารโรงเรียนรวมกับครูในการพัฒนาการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพเปนไปตามวัตถุประสงค และเปาหมายการศึกษาที่ไดกําหนดไว (วไลรัตน บุญสวัสดิ์. 2538ก : 62) แตการจัดการศึกษาในปจจุบัน ประสบปญหาในเรื่องผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคอนขางต่ํา จากการประเมินคุณภาพการศึกษาของกระทรวง ศึกษาธิการในปการศึกษา 2550 พบวา นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยในรายวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ นอยกวารอยละ 50 ของคะแนนเต็มแตละวิชา ทั้งในระดับมัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากครูและบุคลากรทางการศึกษาขาดความรู ความสามารถและทักษะในการจัดการเรียนการสอน ขาดประสบการณ ผูบริหารบางสวนขาดความรูความเขาใจในการบริหาร การนิเทศติดตามและมีภาวะความเปนผูนําคอนขางนอย (กระทรวงศึกษาธิการ. 2550 : 4) สอดคลองกับ บัญชา นามปาน (2542 : 39) ที่ไดกลาวถึงปญหาการนิเทศการศึกษาในปจจุบันพบวา ผูบริหารโรงเรียนปฏิบัติการนิเทศนอย ไมไดวางแผนการนิเทศใหชัดเจน

ดวยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ไดปรับปรุงโครงสรางการบริหารงานดานการศึกษาของชาติ เนนการกระจายอํานาจการบริหารจัดการศึกษา ใหสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดความรับผิดชอบในการสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาที่กํากับดูแล ประสาน สงเสริม และสนับสนุนสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานของรัฐและเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษาอยางทั่วถึง (ระเบียบสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุราษฎรธานี เขต 1 วาดวยเครือขายโรงเรียนที่จัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2548) จึงไดรวมสถานศึกษา ซึ่งจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 เขาดวยกัน เพื่อใหเกิดความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในเครือขาย

โรงเรียนเครือขายบางกุงเปนเครือขายหนึ่งในจํานวนโรงเรียนเครือขายที่สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 ซึ่งมีจํานวน 13 เครือขาย ซึ่งเครือขายบางกุงประกอบดวยโรงเรียนทั้งหมดจํานวน 16 โรงเรียน มีสํานักงานเครือขายอยูในโรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี ทําหนาที่ประธานเครือขาย มีหนาที่ในการสงเสริม สนับสนุน และวางแผนพัฒนาการศึกษารวมกัน ในสังกัด มีการจัดการศึกษาที่สอดคลองตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา พุทธศักราช 2542 และดําเนินตามนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเปนหนวยงานที่สําคัญที่สุดในการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนใหมีประสิทธิภาพ และคุณลักษณะ ที่พึงประสงคตามที่หลักสูตรตองการ การพัฒนาคุณภาพถือเปนความรับผิดชอบของผูบริหารโรงเรียน ในการนํานโยบายไปปฏิบัติ และใชการนิเทศเปนเครื่องมือในการบริหาร (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1. 2548 : 6) การนิเทศจึงมีความสําคัญในการพัฒนาครูใหมีศักยภาพ เพื่อใหการปฎิบัติงานบรรลุผลอันนําไปสูการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ผูบริหารจึงมี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 14: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

3

บทบาทสําคัญในการปรับปรุงพฤติกรรมการเรียนการสอนของครู โดยใหการชวยเหลือ แนะนํา ควบคุมเพื่อใหงานมีคุณภาพและเสร็จตามกําหนด

จากความสําคัญของการนิเทศดังกลาว เครือขายบางกุงไดกําหนดใหโรงเรียนในสังกัด ใชการนิเทศภายในเปนเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพครู เพื่อใหครูมีความรูความสามารถในการจัดการเรียนการสอน เนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยใชกระบวนการนิเทศ ถึงแมวาการศึกษาในระดับเครือขายไดมีการพัฒนาและปรับปรุงมาโดยตลอด แตการพัฒนาการเรียนการสอน ยังไมกาวหนาเทาที่ควร จะเห็นไดจากการประเมินคุณภาพของโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัด สุราษฎรธานี โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ปการศึกษา 2550 พบวาโรงเรียนตาง ๆ ในเครือขายบางกุง ยังตองไดรับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนยังไมเปนไปตามนโยบาย ทั้งนี้เนื่องจากการนิเทศภายในขาดความตอเนื่อง โดยเฉพาะ การกํากับติดตามและการนําผลการดําเนินงานไปปรับปรุงพัฒนา (เครือขายบางกุง. 2550) สอดคลองกับ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1. 2549 : 67) ที่วา โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 แมวาจัดการศึกษาตามนโยบายการศึกษา ขั้นพื้นฐานก็ยังพบปญหาที่สงผลตอคุณภาพการจัดการศึกษาอยูหลายประการ ที่สําคัญคือ ปญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ยังไมบรรลุเปาหมายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้เนื่องจากการนิเทศภายใน ยังขาดการพัฒนาระบบที่นําไปสูการปฏิบัติที่ชัดเจน

นอกจากนี้ ผลการประเมินคุณภาพของผูเรียนระดับมัธยมศึกษา ปการศึกษา 2550 ของสํานักทดสอบการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ยังพบอีกวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในบางรายวิชา ยังตองไดรับการพัฒนา ทั้งนี้เนื่องจากการนิเทศภายในยังไมเปนระบบ ขาดการประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนการนําผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนามีการปฏิบัตินอย (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1. 2550 : 20 - 25)

จากสภาพการดังกลาว เปนเครื่องชี้ใหเห็นถึงความจําเปนในการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนอยางชัดเจน การพัฒนาระบวนการนิเทศในโรงเรียนจะสงผลตอการพัฒนาการเรียนของเยาวชนในทุกดาน (ประมวล องคระการ. 2540 : 203) ดังนั้น จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่โรงเรียนเครือขายบางกุง จะตองมีการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาในโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพอยางแทจริง นอกจากนี้นโยบายการศึกษาขั้นพื้นฐานระบุอีกวาสถานศึกษาจะตองพัฒนาผูเรียนใหไดคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล และยกระดับผลการเรียนใหสูงขึ้น จึงไดกําหนดมาตรการใหโรงเรียนกรมสามัญศึกษา ดําเนินงานตามยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเนนใหโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาจัดระบบพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาโดยใชกระบวนการนิเทศภายใน (หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. 2542 : 14) ผูนิเทศจึงตองมีบทบาท

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 15: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

4

สําคัญ ที่จะชวยใหโรงเรียนประสบผลสําเร็จในภารกิจการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะมุงเนนที่การนิเทศการศึกษาในโรงเรียน (สิทธิชัย เวศสุวรรณ. 2541 : 4) เพราะการนิเทศเปนการกระทําของผูบริหารรวมกับครูในการพัฒนาการเรียนการสอนโดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารโรงเรียนมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการผลักดันใหการนิเทศภายในบรรลุผลและเปนประโยชนตอการปรับปรุงการเรียนการสอนในโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพ (ชารี มณีศรี. 2542 : 52 - 53) การนิเทศการศึกษาจะชวยใหครูปรับปรุงพฤติกรรมการเรียนการสอน และสงผลตอการเรียนรูของผูเรียน การจัดการนิเทศภายในโรงเรียนใหประสบผลสําเร็จสงผลตอประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนนั้น จะตองคํานึงถึงกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน (นิเวศน คิดยาว. 2542 : 2) ดังนั้นการปรับปรุงพัฒนาผลสัมฤทธิ์จําเปนที่โรงเรียนจะตองพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนใหเขมขน (ชารี มณีศรี. 2542 : 19)การพัฒนาคุณภาพการศึกษา นอกจากการพัฒนาครูโดยใชกระบวนการนิเทศภายในแลว ยังจําเปนตองพัฒนาระบบกระบวนการนิเทศการศึกษา (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาชาติ. 2542 : 22) นอกจากนี้หลักการนิเทศภายในโรงเรียนของกรมสามัญศึกษายังระบุวาการนิเทศเปนระบบจะตองประกอบไปดวย การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข (กรมสามัญศึกษา. 2542 : 24) ซึ่งเปนปญหาสําคัญประการหนึ่งของโรงเรียนในเครือขายบางกุง

อยางไรก็ตามการนิเทศภายในจะประสบความสําเร็จไดตองอาศัยกระบวนการขั้นตอน ที่เปนระบบและตอเนื่อง (วัชรา เลาเรียนดี. 2545 : 130) ดังนั้นการนิเทศภายในโรงเรียนเครือขายบางกุง จําเปนตองมีการดําเนินงานภายในโรงเรียนที่มีขั้นตอนตอเนื่อง เปนระบบแบบแผน โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ความมีเหตุผลและความเปนไปได ซึ่งกรมสามัญศึกษาไดกําหนด การดําเนินงานตามโครงการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนโดยใหผูใหการนิเทศปฏิบัติเปนขั้นตอนประกอบดวย การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข (หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. 2542 : 2) ผูวิจัยซึ่งทําหนาที่หัวหนางานนิเทศของโรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี จึงมีความสนใจที่จะศึกษา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ดาน คือ การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศและการปรับปรุงแกไข เนื ่องจากกระบวนการนิเทศดังกลาวเปนกระบวนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในโรงเรียน ซึ่งจะสงผลใหมีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนโดยรวม (ปรีชา จิตรสิงห วิโรจน ฟกสุวรรณ และกมล บุญประเสริฐ. 2542 : 7) นอกจากนี้กระบวนการนิเทศที่เปนขั้นตอนจะชวยใหผูบริหารและบุคลากรภายในสถานศึกษา รวมกันพัฒนาคุณภาพของบุคลากร เปนการสรางขวัญและกําลังใจ อันนําไปสูการปรับปรุงและ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 16: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

5

พัฒนางานใหเปนระบบและแกปญหาในสถานศึกษา (อัญชลี กําพลรัตน. 2534 : บทคัดยอ) ดังนั้นผูวิจัยมีความเห็นวาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนทั้ง 5 ดาน จะสงผลตอความสําเร็จในการปฏิบัติงาน สอดคลองกับ ประมวล องคระการ (2540 : 203) ที่วากระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนทั้ง 5 ดาน หากมีการดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่องจะกอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่ งสงผลให เยาวชนเกิดการพัฒนาการเรียนการสอน ดังนั้น กระบวนการนิเทศการศึกษาภายในทั้ง 5 ดาน จึงเปนที่นาเชื่อไดวาจะชวยใหการจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และผลการศึกษาคนควาครั้งนี้จะไดนําไปเปนแนวทางใหผูที่นิเทศภายในโรงเรียนไดศึกษาการปฏิบัติงานการนิเทศเปนไปในทิศทางเดียวกัน เขาใจตรงกัน และรวมมือปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาไดถูกวิธี จากความเปนมาและความสําคัญดังกลาวขางตน จะเห็นวาการนิเทศการศึกษา มีความสําคัญตอคุณภาพของการจัดการศึกษาเปนอยางยิ่งในฐานะที่ผูวิจัยมีสวนเกี่ยวของกับ การจัดการศึกษา จึงตระหนักถึงความสําคัญของการนิเทศการศึกษา เพื่อใหการดําเนินการ จัดการศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงสนใจที่จะศึกษาการปฏิบัติงานกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศการศึกษา เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนพัฒนา ปรับปรุง สงเสริม สนับสนุน แกไข งานนิเทศตามกระบวนการนิเทศการศึกษาใหเหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนเครือขายบางกุง ในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฏรธานี เขต 1 อันจะกอใหเกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดวัตถุประสงคไว ดังนี้1. เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ

ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข

2. เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 17: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

6

ความสําคัญของการวิจัย

ผลการวิจัยครั้งนี้ ทําใหทราบถึงการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน ของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อใหผูบริหารหรือผูที่ทําหนาที่นิเทศไดใชประโยชนในการนําขอมูลที่ไดจากการวิจัยไปใชเปนแนวทางในการวางแผนพัฒนา และปรับปรุงกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนในเครือขายบางกุง

ขอบเขตของการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ เปนการศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีขอบเขตดังนี้

1. ขอบเขตของเนื้อหาในการวิจัยครั้งนี้มุงศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาของ

ผูนิเทศโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และ การปรับปรุงแกไข

2. ประชากรและกลุมตัวอยางในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง ดังนี้

2.1 ประชากรประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา

รองผูบริหารสถานศึกษา หัวหนากลุมสาระและหัวหนาฝายหรือหัวหนางาน ของโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ปการศึกษา 2551 จํานวน 135 คน

2.2 กลุมตัวอยางกลุมตัวอยางที ่ทําการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู วิจัยกําหนดจํานวนกลุมตัวอยาง

ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาจํานวน 15 คน รองผูบริหารจํานวน 25 คน และหัวหนากลุมสาระจํานวน 80 คน หัวหนาฝายหรือหัวหนางาน 15 คนรวมทั้งสิ้นจํานวน 135 คน ซึ่งไดมาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)

3. ตัวแปรศึกษา 3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent variables) สถานภาพของผูนิเทศ ไดแก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 18: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

7

3.1.1 ตําแหนง 3.1.1.1 ผูบริหารสถานศึกษา 3.1.1.2 รองผูบริหารสถานศึกษา 3.1.1.3 หัวหนากลุมสาระ 3.1.1.4 หัวหนาฝาย/ หัวหนางาน 3.1.2 ประสบการณในการปฏิบัติงาน 3.1.2.1 10 ปลงมา 3.1.2.2 11 - 20 ป 3.1.2.3 21 ปขึ้นไป 3.1.3 ขนาดโรงเรียน ไดแก โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ 3.2 ตัวแปรตาม ไดแกการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ดาน ไดแก 3.2.1 การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน

3.2.2 การวางแผนการนิเทศ 3.2.3 การดําเนินการนิเทศ 3.2.4 การประเมินผลการนิเทศ 3.2.5 การปรับปรุงแกไข

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ขั้นตอน ซึ่งสอดคลองกับการดําเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ที่กําหนดใหผูใหการนิเทศดําเนินงานตามขั้นตอนดังนี้ คือ การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข (หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. 2542 : 24) การศึกษาวิจัยครั้งนี้นอกจากเปนประโยชนในการวางแผนพัฒนางานดานการนิเทศภายในแลว ยังสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดวย ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ไดดังภาพที่ 1.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 19: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

8

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

สมมติฐานในการวิจัย

ภาพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

สมมติฐานของการวิจัย

1. ผูนิเทศที่มีตําแหนงในการทํางานตางกัน มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานีใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข แตกตางกัน

2. ผูนิเทศที่มีประสบการณในการปฏิบัติงานแตกตางกันมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกัน

1. ตําแหนง 1.1 ผูบริหารสถานศึกษา 1.2 รองผูบริหารสถานศึกษา 1.3 หัวหนากลุมสาระ 1.4 หัวหนาฝาย/ หัวหนางาน2. ประสบการณในการ ปฏิบัติงาน

2.1 10 ปลงมา2.2 11 - 20 ป2.3 21 ปขึ้นไป

3. ขนาดของโรงเรียน 3.1 โรงเรียนขนาดเล็ก 3.2 โรงเรียนขนาดกลาง 3.3 โรงเรียนขนาดใหญ

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน 5 ดาน

1. การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน2. การวางแผนการนิเทศ3. การดําเนินการนิเทศ4. การประเมินผลการนิเทศ5. การปรับปรุงแกไข

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 20: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

9

3. ผูนิเทศที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่มีขนาดตางกันมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผล การนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกัน

นิยามศัพทเฉพาะ

เพื่อใหความหมายของคําหรือขอความที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ เปนที่เขาใจตรงกัน จึงกําหนดความหมายของคําหรือขอความที่ใชในการศึกษา ดังนี้

1. การนิเทศการศึกษา หมายถึง กระบวนการที่จะปรับปรุงแกไขพัฒนาการทํางาน ดานวิชาการ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูใหมีประสิทธิภาพอันจะสงผลตอการพัฒนาคุณภาพของผูเรียน

2. การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน หมายถึง กระบวนการที่เกี่ยวของกับการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการปฏิบัติงานรวมกันระหวางผูบริหารและครูในโรงเรียนในการใหความชวยเหลือใหคําปรึกษา สนับสนุนแนะนําซึ่งกันและกันในการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ การทํางานของครู เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น

3. การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายใน หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการในการดําเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน เพื่อการปรับปรุง และพัฒนากระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ เพื่อสงผลตอคุณภาพผูเรียนประกอบดวย 5 ดาน ไดแก

3.1 การสํารวจความตองการจํา เปนของโรงเรียน หมายถึง การศึกษาสภาพ ความตองการในปจจุบันปญหาและขอมูลที่จําเปนในการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน เชน การสํารวจขอมูล ปญหา ความจําเปนของฝายงานกลุมสาระวิชาตาง ๆนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยประมวลความคิดเห็นขอมูลบุคลากรในโรงเรียน และจากการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ผานมา 3.2 การวางแผนการนิเทศ หมายถึง การเตรียมการในการปฏิบัติงานการนิเทศ ที่สอดคลองกับสภาพปญหาและนโยบายของโรงเรียนลวงหนาวาจะทําอะไร ใครทํา ทําที่ไหน ทําเมื่อไรและทําอยางไร ไดแก การวางแผนในการกําหนดขั้นตอนและแผนการนิเทศ โดยกําหนดกิจกรรมและรายละเอียดกิจกรรมเขียนเปนโครงการนิเทศ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3.3 การดําเนินการนิเทศ หมายถึง การปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวตามขั้นตอน การวางแผนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับการนิเทศภายในโรงเรียน ดวยการกระตุน ผลักดัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 21: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

10

เรงรัด นิเทศ กํากับ เฝาระวังติดตามสรางขวัญกําลังใจแกบุคลากรทุกฝาย ทุกกลุมสาระวิชา ทุกงานอยางเปนระบบและตอเนื่อง เพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงค 3.4 การประเมินผลการนิเทศ หมายถึง การตรวจสอบติดตามความกาวหนาของโครงการและวัดผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน ทั้งในระดับโรงเรียนและระดับหมวดวิชา รวมทั้งการนําผลการประเมินเพื่อเปนขอมูลยอนกลับไปปรับปรุงพัฒนาตอไป 3.5 การปรับปรุงแกไข หมายถึง การนําผลการประเมิน ในแตละขั้นตอนของ การนิเทศหรือระหวางการปฏิบัติงานที่เปนปญหาสาเหตุมาปรับปรุงแกไข เพื่อใหการปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพ โดยใหความสําคัญกับคุณภาพของผูเรียน

4. โรงเรียนเครือขายบางกุง หมายถึง โรงเรียนที่ดําเนินกิจกรรมทางการศึกษารวมกันจํานวน 16 โรงเรียน ตามระเบียบสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 วาดวยเครือขายโรงเรียน

5. ผูนิเทศ หมายถึง ขาราชการครูในตําแหนงผูบริหารโรงเรียนและหัวหนากลุมสาระในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี

6. ประสบการณในการทํางาน หมายถึง ระยะเวลาในการปฏิบัติงานของผูนิเทศตั้งแตเริ่มบรรจุ จนถึงปจจุบัน

7. ขนาดของโรงเรียน หมายถึง การกําหนดขนาดของโรงเรียนโดยใชเกณฑของเขตพื้นที่การศึกษา และใชจํานวนนักเรียนแตละโรงเรียนเปนเกณฑ 7.1 โรงเรียนขนาดเล็ก คือ โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนไมเกิน 150 คน 7.2 โรงเรียนขนาดกลาง คือ โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียน 151 - 300 คน 7.3 โรงเรียนขนาดใหญ คือ โรงเรียนที่มีนักเรียน 301 คนขึ้นไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 22: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยเรื่องการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ในครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน ตามหัวขอตอไปนี้

1. การนิเทศการศึกษา 1.1 ความหมายของการนิเทศการศึกษา 1.2 หลักการนิเทศการศึกษา2. การนิเทศภายในโรงเรียน

2.1 ความหมาย ความจําเปน ความมุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน 2.2 บทบาทของผูนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน 2.3 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน 2.3.1 การสํารวจความตองการจําเปน

2.3.2 การวางแผนการนิเทศ 2.3.3 การดําเนินการนิเทศ 2.3.4 การประเมินผลการนิเทศ 2.3.5 การปรับปรุงแกไข

2.4 แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน 2.5 หลักการนิเทศภายในโรงเรียน 2.6 กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน

3. ความเกี่ยวของของประสบการณ กับการนิเทศภายในโรงเรียน4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 4.1 งานวิจัยในประเทศ

4.2 งานวิจัยตางประเทศ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 23: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

12

การนิเทศการศึกษา

การพัฒนาการศึกษาขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ครูเปนองคประกอบหนึ่งที่มีอิทธิพลตอคุณภาพการศึกษา ครูที่มีความรูความสามารถ และไดรับการอบรมเปนอยางดีจะชวยใหงานการศึกษาบรรลุผลสําเร็จ ดังนั้น การปรับปรุงประสิทธิภาพของครูจึงเปนสิ่งสําคัญ วิธีการที่จะชวยปรับปรุง ประสิทธิภาพของครู คือการนิเทศการศึกษา

ความหมายของการนิเทศการศึกษาการที่ผูเรียนจะมีคุณภาพการศึกษาขึ้นอยูกับคุณภาพครู การนิเทศการศึกษาเปนองคประกอบ

สําคัญในการพัฒนาคุณภาพครูในการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนบรรลุเปาหมายของหลักสูตร มีนักการศึกษาและผูทรงคุณวุฒิ ใหความหมายของการนิเทศการศึกษาไว ดังนี้

ชารี มณีศรี. (2538 : 19) กลาววา การนิเทศการศึกษา หมายถึง ความพยายามอยางหนึ่ง ในหลาย ๆ อยาง ที่จะชวยสงเสริมใหการศึกษามีคุณภาพทั้งการเรียนและการสอน

ผดุง เฉลียวศิลป. (2540 : 7) ไดกลาววา การนิเทศการศึกษาหมายถึง กระบวนการสรางปฏิสัมพันธระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ เพื่อใหเกิดความรวมมือในการพัฒนากิจกรรม การเรียนการสอน ใหบรรลุเปาหมายตามเจตนารมณของหลักสูตร สงผลตอการพัฒนาคุณภาพนักเรียนในทุก ๆ ดาน

รินทรทอง วรรณศิริ. (2541 : 17) ไดกลาววา การนิเทศการศึกษาหมายถึง กระบวนการที่ครูและบุคลากรทางการศึกษารวมกันดําเนินงาน โดยมุงใหครูเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนในทางที่ดีขึ้น อันสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหสูงขึ้น

ปรีชา จิตรสิงห วิโรจน ฟกสุวรรณ และกมล บุญประเสริฐ. (2542 : 1) ไดใหความหมายของการนิเทศการศึกษาไววา เปนกระบวนการจัดการบริหารการศึกษาเพื่อชี้แนะใหความชวยเหลือ และความรวมมือกับครูและบุคคลที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน สงเสริมและรักษาคุณภาพการศึกษา ชวยใหครูเกิดความงอกงามในวิชาชีพชวยใหครูมีขวัญกําลังใจในการทํางาน อันสงผลตอประสิทธิภาพในการทํางานของครูและสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของนักเรียนในที่สุด หนวยศึกษานิเทศกกรมสามัญศึกษา. (2546 : 20) การนิเทศการศึกษา หมายถึง การชวยเหลือการใหบริการ การใหคําปรึกษาแนะนํา การสนับสนุนทางวิชาการเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนดวยกระบวนการทํางานรวมกันระหวางศึกษานิเทศก ครูและผูบริหารโรงเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 24: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

13

ชัด บุญญา. (2548 : 18) ไดกลาววา หลังจากประกาศใชพระราชบัญญัติการศึกษาในป 2542 ที่กําหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาโดยการกําหนดใหโรงเรียนมีมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาโรงเรียนเขาสูมาตรฐานการศึกษาแลวมีการประเมินและปรับปรุงคุณภาพการศึกษา ใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดหรือปรับปรุงมาตรฐานใหสูงขึ้น พรอมที่จะรับการประเมินภายในและภายนอก ความหมายของการนิเทศการศึกษาจึงควรปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังนี้ การนิเทศการศึกษาที่รวมถึงการนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึง การดําเนินการใด ๆ ที่ทําใหครูมีความพึงพอใจและมีกําลังใจ ที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และพัฒนาการดําเนินงานใด ๆ ของโรงเรียน ใหเปนไปตามมาตรฐานของโรงเรียนและของบุคลากรใหสูงขึ้นและรักษาไวจนสงผลใหโรงเรียนเปนที่ยอมรับของผูรับประโยชนจากโรงเรียนทุกฝาย อีกทั้งผานการประเมินทั้งภายในและภายนอก

กูด. (Good. 1973 : 572) ไดใหความหมายการนิเทศการศึกษา คือ ความพยายามทุกวิถีทางของอาจารยผูทําหนาที่นิเทศในการใหคําแนะนําแกครู หรือบุคลากรอื่นที่เกี่ยวของกับการศึกษา ใหรูจักปรับปรุงการสอน

คลิกแมน. (Glickman. 1991 : 6) ใหความเห็นเกี่ยวกับการนิเทศวา เปนแนวความคิดกับงานและหนาที่เกี่ยวของกับการปรับปรุงการเรียนการสอน ซึ่งเปนการสอนในเรื่องหลักสูตร การจัดครูเขาสอน การจัดสื่อการสอน สิ่งอํานวยความสะดวก การเตรียมและการพัฒนาครูรวมทั้งการประเมินผลการเรียนการสอน แทนเนอร และแทนเนอร. (Taner & Taner. 1987 : 52) กลาววา การนิเทศการศึกษา คือ การประเมินคุณภาพการเรียนการสอน ตลอดจนการประเมินหลักสูตรใหคําแนะนําไปอยางมีคุณภาพ แฮรริส. (Harris. 1975) กลาวถึงความหมายการนิเทศการศึกษาวา คือ การกระทําใด ๆ ที่บุคลากรในโรงเรียนเพื่อรักษามาตรฐาน หรือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกระบวนการ การนิเทศการศึกษาภายใตระเบียบแบบแผน อํานวยความสะดวกแกการสอนใหพัฒนาดีขึ้น โดยมุงเกิดประสิทธิผลในดานการสอนเปนสําคัญ

จากความหมายของการนิเทศการศึกษาดังกลาว สรุปไดวา การนิเทศการศึกษาหมายถึง การทํางานรวมกันที่เปนขั้นเปนตอนของครูและบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนของครูใหมีประสิทธิภาพสูงสุด ในอันจะสงผลไปถึงคุณภาพของการจัดการศึกษา เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสงเสริมพัฒนาการดานการเรียนรูของนักเรียน ไดอยางเต็มศักยภาพตามจุดมุงหมายที่ตองการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 25: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

14

หลักการนิเทศการศึกษาหลักการนิเทศการศึกษา เปนแนวทางในการปฏิบัติใหผูบริหารการศึกษาไดดําเนินการ

เพื่อใหการศึกษาดําเนินไปดวยดีและประสบผลสําเร็จ ไดมีนักการศึกษาหลายทานไดใหหลักการสําคัญของการนิเทศการศึกษาไว ดังนี้

ชารี มณีศรี. (2542 : 27) ไดกลาวถึงหลักพื้นฐานการนิเทศการศึกษาได ดังนี้1. การนิเทศเปนการชวยกระตุนเตือน การประสานงานและแนะนําใหเกิดความเจริญ

งอกงามแกครู อาจทําไดโดยการฝกอบรมพัฒนาดานวิชาชีพ ตลอดจนเทคนิควิธีการจัดการเรียน การสอนที่มีประสิทธิภาพ

2. การนิเทศตั้งอยูบนรากฐานของประชาธิปไตย เปดโอกาสใหครูไดคิดและตัดสินใจโดยใชความสามารถของตนในการปรับปรุงการเรียนการสอน

3. การนิเทศ เปนกระบวนการสงเสริม สรางสรรค หลีกเลี่ยงการบังคับ และสรางบรรยากาศใหครูไดเกิดความคิดสรางสรรค หาวิธีการใหม ๆ ในการจัดการเรียนการสอน

4. การนิเทศกับการปรับปรุงหลักสูตรเปนงานที่เกี่ยวของกัน การนิเทศเปนงาน ที่เกี่ยวของกับการใชหลักสูตรและการวางแผนพัฒนาหลักสูตร

5. การนิเทศเปนงานที่ตองรวมมือชวยเหลือผูอื่น จึงตองสรางมนุษยสัมพันธใหเกิดขึ้น มีการยอมรับนับถือซึ่งกันและกัน

6. การนิเทศมุงเสริมบํารุงขวัญ มีการยกยองชมเชย ซึ่งหากขวัญกําลังใจของครูดี ก็จะทําใหการสอนดีตามไปดวย

7. การนิเทศมีจุดมุงหมายที่จะใหโรงเรียนจัดการศึกษาสอดคลองกับชุมชน การนิเทศจะชวยใหมีการวางแผนสอดคลองกับความตองการและปญหาในชุมชน ชวยใหครูไดพัฒนาหลักสูตรใหเหมาะสมกับสภาพของชุมชน และสงเสริมใหครูไดใชประโยชนจากแหลงทรัพยากรในชุมชน

อเนก สองแสง. (2540 : 6) กลาวถึง หลักการนิเทศการศึกษาไว ดังนี้1. การนิเทศตองมีความถูกตองตามหลักวิชาการ มีการกําหนดนโยบาย จุดมุงหมาย

แนวปฏิบัติที่ชัดเจนเปนไปตามสภาพปญหาที่แทจริง มีวิวัฒนาการทั้งเนื้อหา สาระ วัสดุอุปกรณ และกลวิธีในการนิเทศ ตลอดจนมีการนิเทศติดตามและประเมินผลอยางเปนระบบ

2. การนิเทศ เปนการกระตุน ประสานงาน และแนะนําใหเกิดความเจริญงอกงามแกผูสอนและผูเรียน มีการฝกอบรมวิชาชีพครู ปรับปรุงแผนการสอน ฝกทักษะ การใชอุปกรณรวมทั้งพัฒนาเจตคติ และเทคนิควิธีสอนใหมีประสิทธิภาพ

3. การนิเทศตั้งอยูบนรากฐานของประชาธิปไตยโดยผูนิเทศตองยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล สงเสริมใหผูรับการนิเทศไดแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจรวมกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 26: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

15

4. การนิเทศเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร โดยตองดําเนินการอยางเปนขั้นตอน มีการรวบรวมขอมูล และสรุปผลมาใชในการนิเทศตลอดจนมีการประเมินและติดตามผล

เบอรตันและบรุคเกอร. (Burton & Bruecker. 1955 : 71 - 72) ไดกําหนดหลักการนิเทศการศึกษาไววา

1. การนิเทศการศึกษาควรมีความถูกตองตามหลักวิชา (Theoretically sound) เปนไปตามความจริงคานิยมวัตถุประสงคและนโยบายที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นและยังจําเปนตองมีการวิวัฒนาการ ทั้งดานเครื่องมือและวิธีการโดยมีจุดมุงหมายและนโยบายที่แนนอน

2. การนิเทศการศึกษาควรเปนวิทยาศาสตร (Scientific) นั่นคือตองมีลําดับ ระเบียบและมีวิธีการในการศึกษาที่ถูกตอง เชื่อถือได

3. การนิเทศการศึกษาควรเปนประชาธิปไตย (Democratic) เปดโอกาสใหทุกคนไดมีสวนรวมในการปฏิบัติงานเพื่อนําไปสูเปาหมายเดียวกัน

4. การนิเทศการศึกษาควรเปนการสรางสรรค ใหทุกคนมีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนไดอยางเต็มที่

นอกจากนี้ มารคและสตูป (สิทธิชัย เวศสุวรรณ. 2541 : 13 อางจาก Mark and Stoop. 1985 : 5) ไดกลาวถึงหลักการนิเทศการศึกษาไว ดังนี้

1. การนิเทศการศึกษาเปนสวนหนึ่งของโปรแกรมการศึกษา เปนบริการที่ทําเปนทีม ซึ่งครูทุกคนมุงหวังไดรับการชวยเหลือในดานการนิเทศ โดยอยูในความรับผิดชอบของครูใหญ

2. การนิเทศการศึกษาตองสอดคลองกับความตองการของแตละคน3. การนิเทศการศึกษรชวยใหเปาหมาย และจุดมุงหมายทางการศึกษามีความชัดเจน

และบุคลากรในโรงเรียนเกิดทัศนคติที่ดีตอชุมชน4. การนิเทศการศึกษาชวยใหการบริหารจัดการ กิจกรรมนักเรียน ปรับโครงการนิเทศ

และใหผูเกี่ยวของมีสวนรวมในการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว มีการจัดงบประมาณไวในงบประมาณประจําป

5. การนิเทศการศึกษาชวยใหการแปลเอกสารและผลการวิจัยถูกนํามาใช ตลอดจน การวัดประสิทธิผลของการนิเทศการศึกษา ควรใหผูเกี่ยวของมีสวนรวมในการประเมินและใหความชวยเหลือ

จากหลักการนิเทศการศึกษาตามแนวคิดของนักการศึกษาดังกลาวสรุปไดวา หลักการนิเทศการศึกษาเปนกระบวนการที่เปนวิทยาศาสตร มีการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ มีขั้นตอนในการปฏิบัติที่ชัดเจน เนนความเปนประชาธิปไตย สงเสริมใหบุคลากรไดมีความคิดสรางสรรค มีเจตคติ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 27: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

16

ที่ดีตอกัน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูและพัฒนาการศึกษาใหเจริญงอกงามทุกดาน อันสงผลตอคุณภาพของผูเรียน

การนิเทศภายในโรงเรียน

การนิเทศภายในโรงเรียนเดิมเรียกวา การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนซึ่งการนิเทศการศึกษาแตเดิมเปนหนาที่ของศึกษานิเทศก แตสภาพปจจุบันการเปลี่ยนแปลทางการศึกษาในดานตาง ๆ ทําใหการนิเทศโดยศึกษานิเทศกทําไดโดยไมทั่วถึง กอปรกับระยะหลัง บุคลากรในโรงเรียนมีความรูความสามารถมากขึ้น จึงไดมีการจัดการนิเทศโดยใชบุคลากรในโรงเรียนนิเทศกันเอง โดยอาศัยหลักและวิธีการนิเทศการศึกษามาประยุกตใชเพื่อใหสอดคลองกับสภาพที่เปนอยู รวมทั้งการศึกษาเพื่อพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (สงัด อุทรานันท. 2530 : 108)

ความหมาย ความจําเปน ความมุงหมายการนิเทศภายในโรงเรียนความหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนการนิเทศภายในโรงเรียน เปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนของ

ครู มีนักการศึกษาและนักวิชาการทั้งของไทยและตางประเทศไดใหความหมายของคําวาการนิเทศภายในโรงเรียนไวแตกตางกัน ตามแนวคิดและความเชื่อของแตละคนไว ดังนี้

ประภาพรรณ เส็งวงศ. (2534 : 5) กลาววา การนิเทศภายในโรงเรียนหมายถึง การปฏิบัติงานรวมกันระหวางผูบริหารในโรงเรียนในการแกไขปรับปรุงและพัฒนาการทํางานของครูใหมีประสิทธิภาพ

กอบกุล ไชยพันธ. (2537 : 16) ไดกลาววา การนิเทศภายในโรงเรียนเปนวิธีการจัดดําเนินการพัฒนาบุคลากรภายในโรงเรียน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน ใหสูงขึ้นดวยกระบวนการปฏิบัติงานที่รวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกันของบุคลากรทางการศึกษาภายในโรงเรียน ทั้งนี้โดยการนําของผูบริหารโรงเรียน

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2539 : 1) ไดกลาววาการนิเทศภายในโรงเรียนหมายถึง กระบวนการที่ผูนิเทศในโรงเรียนดําเนินการโดยใชภาวะผูนําเพื่อใหเกิดความรวมมือกัน รวมใจการประสานงาน และการใชศักยภาพในการปฏิบัติงานอยางเต็มที่ อันจะสงผลถึงการพัฒนางานของโรงเรียนนั้น ๆ โดยสวนรวม

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2540 : 132) ไดกลาววา การนิเทศภายในโรงเรียนหมายถึง กิจกรรม กระบวนการ ที่ผูบริหารและบุคลากรในโรงเรียนรวมมือกันจัดขึ้น เพื่อพัฒนา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 28: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

17

การปฏิบัติงานของครูในทุกดาน รวมทั้งใหครูเกิดความกาวหนาในวิชาชีพและสัมฤทธิ์ผลสูงสุด ในการเรียนของนักเรียน

นิเทศ คิดยาว. (2542 : 8) ไดกลาววา การนิเทศภายในโรงเรียนหมายถึง กิจกรรมกระบวนการที่ผูบริหารกับครูในโรงเรียนในอันที่จะแกไขพัฒนาการทํางานของครูใหมีประสิทธิภาพและสงผลตอคุณภาพของผูเรียน

จากความหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนดังกลาว สรุปไดวา การนิเทศภายในโรงเรียน เปนการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางเปนขั้นเปนตอน ระหวางผูบริหารและบุคลากร ในโรงเรียนในการแนะนําชวยเหลือ สงเสริมเกี่ยวกับการเรียนการสอนในโรงเรียนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการศึกษา อันสงผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

ความจําเปนในการนิเทศภายในโรงเรียนจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคปจจุบัน ทําใหตองพัฒนาการเรียนการสอน

ใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว จึงจําเปนที่ครูจะตองไดรับการแนะนําชวยเหลือดวยระบบการนิเทศการศึกษาความจําเปนดังกลาวไดมีนักการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงความจําเปนของการนิเทศในโรงเรียนไวตาง ๆ กันดังนี้

สงัด อุทรานันท (2530 : 117) ไดกลาวถึง ความจําเปนของการจัดกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน ดวยเหตุผลดังตอไปนี้ คือ

1. ศึกษานิเทศกโดยตําแหนงมีจํานวนจํากัด ไมสามารถสนองความตองการนิเทศการศึกษาของโรงเรียนตาง ๆ ไดทั่วถึง

2. สภาพปญหาและความตองการของโรงเรียนแตละแหงไมเหมือนกัน จึงเปนการยากที่ศึกษานิเทศกซึ่งอยูภายนอกจะรูสภาพปญหาและความตองการที่แทจริงของโรงเรียนได การสนองความตองการจึงเปนไปไดยาก

3. ปจจุบันบุคลากรในโรงเรียนสวนใหญมีความรูความสามารถเพียงพอจึงควรใชทรัพยากรเหลานี้ใหเกิดประโยชนสูงสุด และยังเปนการยอมรับซึ่งกันและกันดวย

4. เปนการสอดคลองกับปรัชญา หลักการ และวิธีการของการนิเทศปจจุบันเกิดขึ้นโดยความรวมมือชวยเหลือซึ่งกันและกัน

ธีรวุฒิ ประทุมนพรัตน และคนอื่น ๆ. (2530 : 23) ไดกลาวถึงความจําเปนที่โรงเรียนตองการมีนิเทศการศึกษาเนื่องจาก

1. ปรัชญาการศึกษา ความมุงหมายการศึกษา หลักสูตร วิธีสอนและการวัดผล มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 29: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

18

2. ครูอาจจะมีความรูความชํานาญยิ่งหยอนกวากัน งานนิเทศการศึกษาจะชวยซอมแซมเสริมใหดีขึ้นและการนิเทศการศึกษาจะทําใหวัตถุประสงคมีการปฏิบัติ

3. เปนการแกขอบกพรองอื่น เชน การขาดมนุษยสัมพันธ การปฏิบัติงานไมถูกตอง ความคิดสรางสรรค การแกปญหาและการตัดสินใจ

4. วิทยากรและเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ จําเปนตองมีการนิเทศเพื่อใหนําความรูและวิธีการใหม ๆ มาใช

5. การศึกษาก็เชนเดียวกับวิทยากรแขนงอื่นที่จําเปนจะตองมีการพัฒนาคนควาใหเจริญยิ่งขึ้น การนิเทศการศึกษาเปนผูนําในเรื่องนี้ไดดี

วไลรัตน บุญสวัสดิ์ . (2535 : 93 - 94) ก็ไดกลาวถึงความจําเปนของการนิเทศภายในโรงเรียนไวเชนกันวา

1. การนิเทศ เปนการสงเสริมคุณภาพทางดานการเรียนการสอนภายในโรงเรียน2. ครูควรจะไดรับการนิเทศเพื่อพัฒนาความเจริญทางดานการเรียนการสอนและ

ทางวิชาการ3. โรงเรียนตองมีการนิเทศเพราะโครงการที่ประกอบดวยขอมูลจากการนิเทศ

จะสามารถชวยในการจําแนกคุณภาพครูและความตองการที่ เกี่ยวของกับการเรียนการสอน นอกจากนี้หลักฐาน และขอมูลตาง ๆ ยังสามารถชวยในการตัดสินปญหาบางอยางของโรงเรียนได

4. การนิเทศสามารถกระตุนและแนะนําความคิดใหม ๆ ใหเกิดขึ้นกับครูในโรงเรียน โดยเฉพาะในกรณีที่นําเอาเทคนิคและวิธีการใหม ๆ ตลอดจนการวิจัยมาใช จะเปนการชวยในการเก็บขอมูลในการนิเทศไดอยางมีประสิทธิภาพและนาเชื่อถือ

5. โรงเรียนมีความจําเปนที่ตองอบรมครูโดยกระทําตอเนื่อง เพราะไมมีหลักประกันไดวาครูที่ผานสถาบันฝกหัดครูแลวจะเปนครูที่มีคุณภาพดีตลอดไป โดยไมตองมีการนิเทศเพราะความกาวหนาทางวิชาการเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ

6. เพื่อเปนการชวยครูไดเขาใจปรัชญาและวัตถุประสงคการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ชัดเจน และสามารถดําเนินการสอนใหบรรลุวัตถุประสงคได

7. เพื่อเปนการเสริมสรางขวัญและกําลังใจของคณะครูและกอใหเกิดความรูสึกปลอดภัยรักและภูมิใจในงานที่ปฏิบัติอยู

อาคม จันทสุนทร. (2533 : 36) ไดกลาววา การนิเทศภายในมีความจําเปน เพราะทําใหเกิดผลดีตอการบริหารโรงเรียนหลายประการ คือ

1. เปนการชวยเหลือกําลังของศึกษานิเทศกและผูบริหารการศึกษา ซึ่งมีไมพอที่จะนิเทศการศึกษาไดทั่วถึง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 30: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

19

2. การนิเทศโดยบุคลากรภายในโรงเรียนนั้น ผูนิเทศอยูใกลชิดกับปญหาที่มีอยูในโรงเรียน ยอมรูปญหาไดดีและสามารถแกปญหาไดตรงจุดกวาที่จะใหคนภายนอกมานิเทศ

3. ผูบริหารโรงเรียนมีความคุนเคยกับครูอยูแลว ทําใหบรรยากาศการนิเทศเปนกันเอง ไมตองเสียเวลาสรางความคุนเคยเหมือนกับศึกษานิเทศก หรือผูบริหารการศึกษาภายนอก

4. ผูนิเทศภายในโรงเรียนสามารถติดตามผลการปฏิบัติงานหรือผลการนิเทศไดตลอดเวลา เพราะอยูใกลชิดกันและสามารถทําใหงานดําเนินไปถึงจุดหมายโดยไมขาดความตอเนื่อง

จุรีย จันทรเจริญ. (2539 : 17) ไดกลาววา การนิเทศภายในโรงเรียนเปนกิจกรรมที่มีความจําเปนตอคุณภาพการศึกษา เพราะชวยใหบุคลากรในโรงเรียนไดดําเนินการจัดการเรียนการสอน ใหมีประสิทธิภาพและสงผลตอนักเรียน

จากที่นักการศึกษาไดกลาวไว จึงพอสรุปไดวา การนิเทศภายในโรงเรียนที่ดําเนินการโดยศึกษานิเทศกซึ่งมีจํานวนนอยจึงทําไดไมทั่วถึง ดังนั้นการนิเทศภายในโรงเรียนจึงมีความจําเปนสําหรับบุคลากรในโรงเรียนเปนอยางมาก เพราะเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสภาพสังคม สงผลตอการเปลี่ยนแปลงทางดานการศึกษา การนิเทศการเรียนการสอนสามารถกอใหเกิดความคิดใหม ๆ แกครู ในการที่จะพัฒนาการเรียนการสอน การแสวงหาความรู และปรับปรุงตนเองใหมีคุณภาพอยูเสมอ

ความมุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนความมุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียน มีความหมายเดียวกันกับความมุงหมาย

ของการนิเทศการศึกษาคือ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพทางการสอนของครูใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น อยางไรก็ตามมีผูกลาวถึงความมุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนไวอยางชัดเจน ดังนี้

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532 : 306) กลาววาการนิเทศภายในที่มีประสิทธิภาพจะตองกระทําอยางเปนขั้นตอนและกระบวนการเมื่อนิเทศแลวตองไดผลตามจุดมุงหมายการนิเทศซึ่งถือวาเปนหัวใจสําคัญของการนิเทศ 4 ประการคือ

1. พัฒนาคน การนิเทศการศึกษาเปนการใหคําปรึกษา แนะนําชวยเหลือเมื่อนิเทศแลวบุคลากรในหนวยงานไดรับความรูและมีความสามารถในการปฏิบัติงานมากยิ่งขึ้น

2. พัฒนางาน การนิเทศการศึกษาเปนการสรางวิธีทํางาน ใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น3. ประสานสัมพันธ การนิเทศการศึกษาเปนการรวมมือสรางความเขาใจในการ

ทํางานรวมกัน4. การสรางขวัญและกําลังใจ การนิเทศการศึกษาเปนการสรางความมั่นใจ ความ

สบายใจและมีกําลังใจในการทํางาน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 31: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

20

สอดคลองกับ อัญชลี กําพลรัตน (2534 : 78) ไดกลาวถึงความมุงหมายของการนิเทศภายในไว ดังนี้

1. เพื่อพัฒนาคุณภาพของบุคลากรใหมีความรูความสามารถ มีเจตคติที่ดี มีความ พึงพอใจตองานในหนาที่และทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. เพื่อลดและแกปญหาตาง ๆ ภายในสถานศึกษา โดยอาศัยความรวมมือของบุคลากรภายในสถานศึกษานั้นเอง

3. เพื่อใหบุคลากรมีการประสานสัมพันธที่ดีในการทํางาน และมีสวนรวมในการพัฒนาและแกปญหาในสถานศึกษานั้น

4. เพื่อสรางขวัญและกําลังใจแกผูปฏิบัติงานทุกระดับที่เกี่ยวของชินวงศ ศรีงาม. (2536 : 7) กลาววา “การนิเทศภายใน” มีจุดมุงหมายหลักคือมุงพัฒนา

ครูผูสอนใหเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอนไปในทิศทางที่พึงประสงคสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนกระบวนการทํางานรวมกันของบุคลากรภายในโรงเรียน ในอันที่จะชวยเหลือเกื้อกูลกัน ชวยกันพัฒนางานดานการเรียนการสอน ชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงที่สุด

นอกจากนี้ สุดาวรรณ พานิชสุขไพศาล (2539 : 9) ไดกลาวถึงความมุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนวา เปนการชวยเหลือสงเสริมและพัฒนาบุคลากรภายในโรงเรียนใหเขาใจเกี่ยวกับตัวเด็ก มีทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพครู สรางขวัญและกําลังใจในการประเมินตนเองและความ พึงพอใจในการทํางานซึ่งจะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น

ปรีชา จิตรสิงห วิโรจน ฟกสุวรรณ และกมล บุญประเสริฐ. (2542 : 7) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการนิเทศภายในโรงเรียนดังนี้

1. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีใหแกครูในดานความเปนผูนําทางดานวิชาการ การมีมนุษยสัมพันธ มีความคิดสรางสรรคและมีอุดมการณที่จะอบรมนักเรียนใหเปนบุคคลที่มีคุณภาพ

2. เพื่อพัฒนาวิชาชีพครู เสริมสรางสมรรถภาพดานการสอนและพัฒนากระบวน การเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ

3. เพื่อพัฒนากระบวนการทํางานของครูโดยใชกระบวนการกลุม มีการทํางานอยางเปนระบบ มีการนิเทศกันเองภายในโรงเรียน หรือประสานกับศึกษานิเทศกในการใหบริการชวยเหลือโรงเรียนตลอดจนการสรางความสัมพันธที่ดีตอกัน

4. เพื่อสรางขวัญกําลังใจใหแกครู อาจทําไดโดยสรางความมั่นใจ ความสบายใจในการทํางานและสรางความกาวหนาในตําแหนงวิชาชีพ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 32: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

21

สรุปไดวา การนิเทศภายในโรงเรียนมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาบุคลากรภายในโรงเรียนใหปรับปรุงพัฒนาตนเองทั้งดานการสอน บุคลิกภาพ สรางขวัญกําลังใจและความพึงพอใจในการทํางานซึ่งจะสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น

บทบาทผูนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนผูบริหารโรงเรียนกับการนิเทศการศึกษาผูบริหารเปนผูที่มีความสําคัญในการนิเทศการศึกษา และเปนผูมีสวนผลักดันใหการ

นิเทศการศึกษาในโรงเรียนบรรลุผลตอการปรับปรุงการเรียนการสอนตามที่ สงัด อุทรานันท (2530 :41 - 42) ไดกลาวถึงบทบาทหนาที่ของผูบริหารโรงเรียนกับการนิเทศการศึกษา ดังนี้

1. รวมวางแผนการจัดการนิเทศการศึกษาในโรงเรียนกับผูนิเทศ และผูรับการนิเทศการศึกษา และการอยูในฐานะประธานคณะกรรมการ

2. เปนผูใหการสนับสนุนการดําเนินงานการนิเทศการศึกษาในโรงเรียน โดยใหบริการและสนับสนุน ดานวัสดุอุปกรณ ตลอดจนสิ่งอํานวยความสะดวก

3. สรางขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียน โดยการเยี่ยมเยียนดูการทํางาน การสอบถามเพื่อแสดงความสนใจตอคณะทํางาน การพิจารณาความดีความชอบ

นอกจากนี้ กมล บุญประเสริฐ (2542 : 3) กลาวถึงบทบาทของผูบริหารที่มีตอการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนวา

1. สงเสริมใหครูมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน2. รวมประชุม วางแผนการจัดการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนกับผูนิเทศและครู

โดยอยูในฐานะประธานของคณะทํางาน3. พิจารณาอนุมัติโครงการนิเทศภายในโรงเรียนที่สอดคลองกับนโยบายและแผนงาน

ของโรงเรียน4. เปนผูใหการสนับสนุนดานวัสดุอุปกรณ งบประมาณ สรางขวัญและกําลังใจ

แกผูดําเนินโครงการ5. ใหคําแนะนํา ใหคําปรึกษา และเปนวิทยากรที่ดีแกครูและผูนิเทศภายในโรงเรียน6. ชวยเหลือและสงเสริมใหครูมีความรูและมีความงอกงามในวิชาชีพ7. ใชเทคนิคการบริหารมาชวยเพื่อประสิทธิภาพการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน8. นิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน

สรุปไดวาผูบริหารโรงเรียนซึ่งเปนหัวหนาสถานศึกษายอมเปนหัวใจสําคัญของการจัดการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน เพราะผูบริหารมีบทบาททั้งผูใหการนิเทศการศึกษาและ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 33: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

22

ผูสงเสริม สนับสนุน แนะนํา ตลอดจนการนิเทศการศึกษาติดตามอันจะสงผลตอบรรยากาศและผลสัมฤทธิ์ของโครงการนิเทศการศึกษาใหเกิดขึ้นในโรงเรียนไดเปนอยางดี

นอกจากนี้ กมล บุญประเสริฐ (2542 : 4 - 5) ไดกลาวถึงผูชวยผูบริหารและหัวหนาหมวด มีสวนชวยในการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน ดังนี้

รองผูบริหารโรงเรียนกับการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนผูชวยผูบริหารโรงเรียนทุกฝาย มีหนาที่เปนผูนิเทศ ชวยเหลือครูใหเขาใจระบบตาง ๆ

ของโรงเรียนใหดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะผูชวยฝายวิชาการ ซึ่งตองรับผิดชอบโดยตรงในดานการจัด การเรียนการสอนของโรงเรียน จึงควรมีบทบาทตอการนิเทศงานวิชากายภายในโรงเรียน ดังนี้

1. รวมวางแผนและวิเคราะหโครงการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน2. รวบรวมโครงการ และจัดทําแผนงานนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน3. ประสานงานกับศึกษานิเทศก กลุมโรงเรียน และแหลงวิทยากรตาง ๆ เพื่อเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน4. นิเทศ ติดตาม และประเมินผล และควบคุมคุณภาพการดําเนินงานโครงการนิเทศ

งานวิชาการภายในโรงเรียนทุกโครงการ5. บริการ สนับสนุน อํานวยความสะดวก บํารุงขวัญและกําลังใจอยางสม่ําเสมอแก

บุคลากรผูดําเนินโครงการแตละโครงการ6. ทําสถิติหรือเก็บขอมูลแสดงความกาวหนาทางวิชาการเปนรายเดือน รายภาคเรียน

และรายป7. สรุปผลการดําเนินโครงการ แจงแกบุคลากรในโรงเรียน และรายผลเสนอ

หนวยงานที่เกี่ยวของหัวหนากลุมสาระกับการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนหัวหนากลุมสาระ เปนผูที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงตองานวิชาการภายในกลุมสาระ

เปนผูที่ทํางานใกลชิดกับครูมากที่สุด รูปญหาและความตองการของครูในกลุมสาระเปนอยางดี จึงเปนผูหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญ ในการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนดวยการนิเทศการศึกษาของหัวหนากลุมสาระมีดังตอไปนี้

1. ประชุมครูเพื่อวางแผนเตรียมการจัดการศึกษาและจัดการเรียนการสอนในสายวิชา

2. นิเทศ แนะนํา ใหคําปรึกษาแกครู เกี่ยวกับการใชและการปรับปรุงหลักสูตร ในระดับชั้นเรียน เชน การทําโครงการสอน แผนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการผลิตสื่อ การวัดผลและประเมินผล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 34: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

23

3. ประชุมวิเคราะหปญหา เพื่อจัดทําโครงการนิเทศงานวิชาการภายในกลุมสาระ จากปญหาความตองการจําเปนที่แทจริง

4. จัดกิจกรรมการนิเทศภายในกลุมสาระหลาย ๆ แบบ เชน จัดอบรม สัมมนา ประชุมปฏิบัติการ การทัศนศึกษา จัดใหมีการสาธิตการสอน การสังเกตการสอนในชั้นเรียน พาไปดูงานของกลุมสาระอื่นหรือโรงเรียนอื่น จัดทําเอกสารเผยแพรความรูแกครู จัดปายนิเทศภายในกลุมสาระ เปนตน

5. นิเทศ ติดตามผลการปฏิบัติงานของครูในกลุมสาระ6. บริการ อํานวยความสะดวก เอาใจใสดูแลสรางขวัญกําลังใจแกครูในการดําเนิน

โครงการนิเทศภายในกลุมสาระ7. ชวยเหลือกระตุนสงเสริมครู เพื่อใหครูพัฒนาตนเองและพัฒนาการสอนใหดีขึ้น8. ประสานความรวมมือทางดานวิชาการภายในกลุมสาระและระหวางกลุมสาระ

อื่น ๆ ภายในโรงเรียน9. จัดใหมีการประชุม หรืออภิปรายผลการปฏิบัติงาน ในโครงการนิเทศภายในกลุม

สาระเปนระยะ ๆ อยางสม่ําเสมอ เพื่อวิเคราะหปญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานและหาแนวทางปรับปรุงงาน

ครูกับการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนวัฒนา สุวิทยพันธ. (2537 : 19) กลาวถึง บทบาทครูกับการนิเทศการศึกษาไว ดังนี้

ครูเปนผูที่มีบทบาทสําคัญที่สุดที่จะบันดาลใหการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนเกิดสัมฤทธิ์ผลได เพราะครูเปนผูปฎิบัติยอมจะทราบปญหาตาง ๆ ไดดี ถาปราศจากการรวมมือรวมใจจากครู การนิเทศการศึกษาจะไมบังเกิดผลเลย ดังนั้นบทบาทของครูในการนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียนควรมีดังตอไปนี้

1. ยอมรับบทบาทของผูนิเทศ โดยรับฟงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ และนําขอนิเทศไปปฏิบัติใหเกิดผล

2. มีความสนใจ ความตองการ และความกระตือรือรนตอการปรับปรุงการเรียน การสอน

3. ใหความรวมมือในการนิเทศ เชน รวมเปนวิทยากรสาธิตการสอน รวมอภิปรายแสดงความคิดเห็น และใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการนิเทศแกผูนิเทศ

4. รวมปรึกษากับผูบริหารและผูนิเทศในการหาแนวทางแกปญหาและพัฒนางานวิชาการภายในโรงเรียน

5. เปนผูนิเทศการศึกษาในเร่ืองที่ถนัดหรือมีความชํานาญพิเศษตามที่ไดรับมอบหมาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 35: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

24

สรุปไดวาผูมีบทบาทในการนิเทศการศึกษาทั้งในฝายของผูให ผูรับ และผูสนับสนุน ตางทํางานในลักษณะที่แตกตางกัน แตทุกฝายมีจุดประสงคเดียวกัน คือ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูเพื่อเพิ่มสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใหสูงขึ้น

กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนการนิเทศภายในโรงเรียนเปนเครื่องมือสําคัญสําหรับผูบริหารที่จะชวยผลักดันให

บุคลากรในโรงเรียนเกิดการพัฒนาตนเอง เพื่อใหการทํางานเกิดประสิทธิผล และประสิทธิภาพ การนิเทศภายในจะบรรลุผลไดนั้นตองอาศัยกระบวนการ ขั้นตอนการดําเนินงานอยางเปนระบบตอเนื่อง

มีนักการศึกษาหลายทานไดเสนอขั้นตอนของกระบวนการแตกตางกันไปตามทัศนะของแตละคน ดังนี้

สงัด อุทรานันท. (2530 : 125 - 131) ไดกลาวถึงกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน 5 ขั้นตอน คือ

ขั้นที่ 1 การวางแผนการนิเทศ (P - Planning) เริ ่มจากการรับทราบสภาพปจจุบัน ปญหาความตองการรวมกันของบุคลากรภายในโรงเรียน จากนั้นนําปญหามาวิเคราะหหาสาเหตุ กําหนดจุดประสงค กําหนดทางเลือกในการแกปญหา มอบหมายงานใหบุคลากรฝายตาง ๆ รับผิดชอบ

ขั้นที่ 2 การใหความรูในเรื่องที่ตองดําเนินการ (I - Informing) ขั้นตอนนี้ผูนิเทศตองใหความรู ความเขาใจ แกบุคลากรในโรงเรียน อาจดําเนินการโดยบุคลากรในโรงเรียน หรือเชิญวิทยากรจากหนวยงานภายนอกก็ได

ขั้นที่ 3 การปฏิบัติงาน (D - Doing) ในขั้นตอนการปฏิบัติงานนี้ มีการแบงเปน 3 ขั้นตอนยอย ไดแก

3.1 ผูรับการนิเทศไดลงมือปฏิบัติงานตามที่ไดรับความรูมาแลว3.2 ผูนิเทศปฏิบัติหนาที่ของตนโดยการชวยเหลือ แนะนํา ควบคุมเพื่อใหงาน

มีคุณภาพและสําเร็จตามที่กําหนด3.3 ผูบริหารหรือผูสนับสนุนการนิเทศ จะคอยสนับสนุนและอํานวยความสะดวก

เรื่องทรัพยากรวัสดุอุปกรณตาง ๆขั้นที่ 4 การสรางขวัญและกําลังใจ (R - Reinforcing) ผูบริหารหรือผูนิเทศสรางขวัญ

และกําลังใจแกผูรับการนิเทศเสริมแรงโดยการเยี่ยมชมยกยองเชิดชูเกียรติในผลงานขั้นที่ 5 การประเมินผลการนิเทศ (E - Evaluating) เปนขั้นตอนการตัดสินผลการ

ปฏิบัติงาน ตั้งแตผลผลิต กระบวนการและปจจัยนําเขา โดยใหความสําคัญในผลผลิต ในขั้นตอนนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 36: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

25

หากการปฏิบัติงานเกิดผลสําเร็จหรือมาตรฐานการปฏิบัติงานเพื่อปองกันปญหาที่เกิดขึ้น หากงานที่ทําไมสําเร็จก็ควรหาทางปรับปรุงแกไขตอไป สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (2542 : 23) กลาววา การนิเทศภายในเปนกระบวนการที่ผูบริหารโรงเรียนและบุคลากรในโรงเรียนรวมมือกันชวยเหลือกัน ปรับปรุงดานตาง ๆ สงเสริมเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการนิเทศภายในโรงเรียนประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ

1. การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ2. การวางแผนการนิเทศ3. การปฏิบัติการนิเทศ4. การประเมินผลและรายงานผล

โดยสรุปกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน จําเปนตองอาศัยขั้นตอนการดําเนินงานอยางเปนระบบและตอเนื่อง เพื่อใหเกิดความรวมมือ การประสานสัมพันธกันระหวางผูนิเทศกับผูรับการนิเทศ กระบวนการและขั้นตอนของการนิเทศ การศึกษา นั้นสวนใหญมีความเห็นสอดคลองกันในบางสวน แตโดยหลักการมีความคลายคลึงกันเพื่อใหการดําเนินงานเหมาะสมกับสภาพของความจําเปนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามกระบวนการ 4 ขั้นตอน ดังกลาว ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้ การศึกษาสภาพปญหาปจจุบัน ปญหาและความตองการ

สํานักงานคณะกรรมการ การประถมศึกษาแหงชาติ. (2542 : 26) กลาวไวในการนิเทศภายในโรงเรียนวา สภาพปจจุบัน หมายถึง สภาพความเปนจริงที่กําลังเปนอยูหรือกําลังดําเนินอยูในขณะนั้น สภาพปญหาหมายถึง สภาพความแตกตางของสิ่งที่เปนอยูหรือผลปรากฏกับสิ่งที่ตองการใหเปนไปตามเปาหมาย ความตองการ หมายถึง สิ่งที่พึงปรารถนา ตามจุดประสงคและเปาหมาย ที่วางไว มีขั้นตอนในการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ

การวางแผนการนิเทศขั้นตอนการวางแผนเปนสิ่งสําคัญ และจําเปนอยางยิ่งตอความสําเร็จของงานเพราะการ

วางแผนที่ดี มีความรัดกุม และสามารถนําไปปฏิบัติไดนั้น เทากับงานนั้นประสบความสําเร็จไปแลวครึ่งหนึ่ง การวางแผนการนิเทศ เปนขั้นตอนที่นําเอาผลการวิเคราะหหรือทางเลือกมากําหนดวัตถุประสงค เปาหมายในการปฏิบัติงานและกิจกรรมที่ตองปฏิบัติตลอดจนรายละเอียดตาง ๆ ทั้งหมดใหชัดเจน

การปฏิบัติการนิเทศการปฏิบัติการนิเทศ เปนงานที่ตองกํากับคนหลายคน ซึ่งแตละคนมีความคิดเห็น

แตกตางกันออกไป ผูปฏิบัติการนิเทศตองเขาใจพฤติกรรมของมนุษยและเขาใจถึงวิธีการสรางเสริม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 37: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

26

แรงจูงใจใหเกิดขึ้นแกผูรับการนิเทศ ดังนั้นผูปฏิบัติการนิเทศจึงตองทําความเขาใจในหลักการและวิธีการนิเทศ โดยใชเทคนิคตาง ๆ อยางเหมาะสมกับสถานการณนอกจากนี้ผูปฏิบัติการนิเทศจะตองมีลักษณะที่สําคัญเหนือทานอื่น ๆ เชน ฉลาด กลาแสดงออก มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความมั่นใจในตนเอง มีบุคลิกลักษณะที่ดีเปนตน การประเมินผลและการรายงานผล

การประเมินผลและการรายงานผลเปนขั้นตอนสุดทายของกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนเปนตัวบงชี้ใหทราบวา การดําเนินงานตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนไดผลเปนอยางไร มีจุดเดน จุดดอยอะไรบาง เพื่อที่จะไดหาแนวทาง ปรับปรุงหรือสงเสริมและสนับสนุนเพื่อการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2542 : 24) ไดกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานตามโครงการพัฒนาการนิเทศงานวิชาการ ภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา โดยกําหนดใหผูใหการนิเทศปฏิบัติ ดังนี้

ขั้นที่ 1 การสํารวจความตองการจําเปนขั้นที่ 2 การวางแผนการนิเทศขั้นที่ 3 การดําเนินการนิเทศขั้นที่ 4 การประเมินผลการนิเทศขั้นที่ 5 การปรับปรุงแกไข

ขั้นที่ 1 การสํารวจความตองการจําเปนการสํารวจความตองการจําเปน เปนการสํารวจปญหาหรือขอบกพรองที่ทําใหงาน

ไมบรรลุผลมาใชประกอบการทําโครงการโดยสํารวจความตองการของครู การจัดลําดับความสําคัญของปญหา การวิเคราะหสาเหตุของปญหา จัดลําดับกําหนดทางเลือกการแกปญหาและการกําหนดกิจกรรมใหเหมาะสมสําหรับแผนงาน โครงการของโรงเรียนตอไป

ขั้นที่ 2 การวางแผนการนิเทศการวางแผนการนิเทศ เปนการดําเนินการตอจากขั้นตอนที่ 1 โดยนําทางเลือก ในการ

แกปญหามากําหนดกิจกรรมโดยเขียนเปนโครงการนิเทศ ซึ่งจะตองระบุรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และมีผูรับผิดชอบที่ชัดเจน

ขั้นที่ 3 การดําเนินการนิเทศการดําเนินการนิเทศเปนการปฏิบัติงานโดยการนําโครงการนิเทศที่ไดรับการอนุมัติ

จากผูบริหารแลวนําไปสูการปฏิบัติ โดยคํานึงถึงหลักการนิเทศ ทักษะสื่อ เครื่องมือการนิเทศ การเตรียมความพรอมสรางความเขาใจ รวมทั้งชวยเหลือสนับสนุนจากผูบริหาร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 38: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

27

ขั้นที่ 4 การประเมินผลการนิเทศการประเมินกระบวนการดําเนินงานและผลผลิตเปนการตรวจสอบผลการดําเนินงาน

ตามโครงการนิเทศโดยพิจารณา ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงคและนําผลการประเมินมาเปนขอมูล ในการปรับปรุงพัฒนาตอไป

ขั้นที่ 5 การปรับปรุงแกไขการปรับปรุงแกไขเปนเรื่องสําคัญ ตองรีบดําเนินการทันทีเมื่อหมวดวิชาไดทราบผล

การประเมินหากพบวาสิ่งใดที่บกพรองหรือไมเปนไปตามจุดประสงคและเปาหมายก็จะตองปรับปรุงแกไขในแตละขั้นตอนของการดําเนินงาน การปรับปรุงแกไขจึงสามารถกระทําไดตลอดการดําเนินงานจนกระทั่งเมื่อสิ้นสุดการดําเนินงานแลว หากพบวายังมีสิ่งบกพรอง หรือไมเปนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมาย จําเปนจะตองพิจารณาปรับปรุงแกไขตั้งแตตนของการวางแผนการนิเทศ หรืออาจตองรวมกันวางแผนการนิเทศใหม

นิกร เพ็ญเวียง. (2538 : 48 - 49) ไดกําหนดกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนไว 5 ขั้นตอน คือ 1. การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการ หมายถึง การดําเนินการรวมกันระหวางผูนิเทศกับครูผูสอนในการหาตัวปญหาในเรื่องการเรียนการสอนที่ประสบอยู ซึ่งหาไดจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาคเรียนที่ผานมาจากแบบสอบถามครูผูสอน หรือการระดมพลังสมองของผูนิเทศและครูผูสอน เพื่อใหไดตัวปญหาที่แทจริง

2. การวางแผนและกําหนดทางเลือก หมายถึง การดําเนินการรวมกันในการพิจารณาหาวิธีการแกไขปญหาที่ไดจากขั้นตอนที่หนึ่ง คือ กําหนดงาน กําหนดคนใหเหมาะสมสัมพันธกัน โดยกําหนดการปฏิบัติงานในรูปของแผนงานหรือโครงการที่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน

3. การสรางสื่อและเครื่องมือ หมายถึง การจัดหา จัดสรางสื่อและเครื่องมือในการนิเทศภายในที่สอดคลองกับยุทธวิธีที่กําหนดไว

4. การปฏิบัติการนิเทศภายใน หมายถึง การดําเนินการนิเทศภายในตามยุทธวิธีที่กําหนดไว ซึ่งไดแก การประชุม การพาครูไปศึกษานอกสถานที่ การใหศึกษาจากตํารา

5. การประเมินผลและรายงานผล หมายถึง การตรวจสอบหรือประเมินวา การดําเนินการที่ผานมาสําเร็จตามเปาหมายที่วางไวหรือไม มีสวนใดที่ตองแกไขปรับปรุงใหเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ การประเมินผลมักดําเนินการในสามระยะ คือ กอนดําเนินการ ระหวางดําเนินการและหลังดําเนินการ สวนการรายงานผลนั้น กระทําเพื่อรายงานผลใหหนวยเหนือรับทราบตอไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 39: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

28

แฮรริส. (ไพโรจน กลิ่นกุหลาย. 2542 : 45 - 46 อางจาก Harris. 1969 : 14 - 15) ไดกลาวถึงการนิเทศการศึกษา ประกอบดวยกระบวนการหลัก 5 ประการ เรียกดวยอักษรยอวา “POLCA” ดังนี้

1. การวางแผนการนิเทศ (Planning) หมายถึง การวางแผนในการปฏิบัติงาน โดยคิดวาจะทําอะไร อยางไร การกําหนดวัตถุประสงค การพัฒนาวิธีดําเนินงาน การกําหนดงาน และผลที่จะเกิดขึ้นจากการจัดทําโครงการ

2. การจัดองคกรการนิเทศ (Organizing) หมายถึง การจัดโครงสรางขององคกร เพื่อการดําเนินงานนิเทศ การกําหนดเกณฑในการทํางาน การจัดหาทรัพยากร วัสดุอุปกรณ เพื่อสนับสนุนการนิเทศ การกําหนดภารกิจ บทบาทหนาที่ ตลอดจนการประสานงาน

3. การนําการนิเทศสูการปฏิบัติ (Leading) หมายถึง การดําเนินการวินิจฉัยสั่งการ การคัดเลือกบุคลากร การกระตุนใหเกิดการทํางาน การใหคําปรึกษาชวยเหลือ การใหขวัญกําลังใจ การใหคําแนะนําการปฏิบัติงานใหกับบุคลากรที่เกี่ยวของ

4. การควบคุมการนิเทศ (Controlling) หมายถึง การติดตามควบคุมงานนิเทศ โดยการมอบหมายงาน การติดตามชวยเหลือแกไขปรับปรุง ใหงานนิเทศบรรลุวัตถุประสงคตลอดจนการกําหนดระเบียบการปฏิบัติงาน

5. การประเมินผลการนิเทศ (Assessing) หมายถึง การตรวจสอบ ติดตาม การปฏิบัติงานการนิเทศ โดยการวัดและประเมินผลงานนิเทศ จากแนวคิดของนักการศึกษาที่ไดใหขอบเขตของการนิเทศภายในไว พอที่จะสรุปเปนดังตารางที่ 2.1 ไดดังนี้

ตารางที่ 2.1 สรุปแนวคิดขอบเขตขั้นตอนกระบวนการนิเทศภายใน

ลําดับที่ ขอบเขตขั้นตอนกระบวนการนิเทศภายใน

สงัด อุทรานันท

การประถมศึกษาแหงชาติ

กรมสามัญศึกษา

นิกรเพ็ญเวียง

แฮรริส(Harris)

1.

2.3.4.5.

การสํารวจความตองการจําเปนการวางแผนการนิเทศการดําเนินการนิเทศการประเมินผลการนิเทศการปรับปรุงแกไข

-

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 40: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

29

จากการศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาภายในจากนักวิชาการหลาย ๆทาน ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานการนิเทศภายในของกรมสามัญศึกษา จะเห็นวามีขั้นตอนคลายคลึงกัน แตการดําเนินการนิเทศภายในของโรงเรียนในเครือขายบางกุงไดกําหนดใหโรงเรียนในสังกัดพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยยึดกระบวนการนิเทศทางการนิเทศภายในของกรมสามัญศึกษาเปนหลัก ในการดําเนินการนิเทศตามขั้นตอนตอไปนี้ คือ การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข ผูวิจัยไดนําหลักการและแนวคิดของนักการศึกษา และนักวิชาการหลายทานมาเพิ่มเติมเพื่อใหมีความสมบูรณในเนื้อหา และสะดวกในการนําไปปฏิบัติ ดังมีรายละเอียดของขั้นตอนในการดําเนินงานนิเทศภายในทั้ง 5 กระบวนการ ดังนี้ การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน

การสํารวจความตองการจําเปน หมายถึง การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาหรือสิ่งที่ยังบกพรองที่ทําใหงานไมบรรลุเปาหมาย

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. (2542 : 13 - 14) ไดเสนอวิธีการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศวาควรประกอบดวย 7 ขั้น คือ

1. การแตงตั้งคณะทํางานเพื่อศึกษาสภาพปจจุบันปญหาและความตองการโดยศึกษาขอมูลจากผลการปฏิบัติงานในรอบปที่ผานมา และกําหนดเกณฑที่พึงประสงคหรือมาตรฐานของงานใหครบถวน

2. เปรียบเทียบสภาพปจจุบันกับความคาดหวังเพื่อเปนขอมูลในการกําหนดประเด็นปญหา

3. กําหนดประเด็นปญหาและองคประกอบของปญหาใหชัดเจน4. จัดลําดับความสําคัญของปญหา ใหสอดคลองกับเวลา งบประมาณ และกําลังคน

โดยพิจารณาจากปญหาที่แทจริง ความจําเปนเรงดวน ความรุนแรงของปญหา และผลกระทบตอเรื่องอื่น ๆ

5. การวิเคราะหสาเหตุของปญหา โดยอาศัยแผนภูมิกางปลา6. การกําหนดวิธีการแกปญหาและกําหนดทางเลือกในการปฏิบัติ7. การประมวลทางเลือกเพื่อนําไปใชในการวางแผนแกปญหาตอไป

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2542 : 24 - 26) ไดเสนอวิธีการสํารวจความตองการจําเปนดังนี้

1. การกําหนดเปาหมาย โดยคํานึงถึงนโยบายโรงเรียนเกณฑมาตรฐานงานของกรมสามัญศึกษา และจากปญหาการปฏิบัติงานในรอบปที่ผานมา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 41: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

30

2. วิเคราะหองคประกอบของปญหาโดยใชแผนภูมิกางปลา3. จัดลําดับความสําคัญของปญหา4. วิเคราะหทางเลือกในการแกปญหา เปนการรวมพิจารณาสาเหตุของปญหาเพื่อ

กําหนดกิจกรรมที่สอดคลองมาดําเนินการ5. จัดลําดับความสําคัญของกิจกรรมโดยคํานึงถึงความเปนไปได และทรัพยากรที่มี

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (2542 : 16) ไดกลาวถึงวิธีการศึกษาสภาพปจจุบันปญหาและความตองการ ดังนี้

1. ศึกษาขอมูลตอไปนี้ 1.1 ผลการปฏิบัติงานในรอบปที่ผานมา

1.2 นโยบายพัฒนาคุณภาพการศึกษา1.3 แผนงาน และโครงการประจําปงบประมาณ1.4 สถานจัดการศึกษาในทุกระดับ1.5 แฟมขอมูลดานวิชาการทุกหนวยงาน1.6 มาตรการ และเกณฑขั้นต่ําของการนิเทศ1.7 ตัวบงชี้คุณภาพทางการศึกษา

2. ประมวลผลการศึกษาสภาพปจจุบันปญหา และความตองการเพื่อกําหนดแผน การนิเทศ

3. จัดทําแฟมขอมูลระดับจังหวัด และเขตปฏิบัติการเพื่อกําหนดแผนการนิเทศสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (2534 : 8) ไดกลาวถึงวิธีการศึกษา

สภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศ การใชวิธีการ 4 ขั้นตอน คือขั้นที่ 1 ขั้นสํารวจเรื่องราวที่เกี่ยวของกับปญหาขั้นที่ 2 ตรวจสอบขอมูลในแตละเรื่องใหชัดเจนขั้นที่ 3 เปรียบเทียบขอมูลของปญหาโดยเทียบกับเกณฑมาตรฐานหรือจุดหมาย

ที่กําหนดเพื่อจะไดกําหนดเปาหมายในการแกปญหาไดถูกตองขั้นที่ 4 จัดลําดับความสําคัญของปญหาแตละชนิด เพื่อนําไปพิจารณาดําเนินการ

แกไขปรับปรุงในขั้นตอไปจากที่กลาวมาแลวสรุปไดวา การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียนเปนขั้นตอน

การนิเทศภายในโรงเรียน โดยการหาขอมูลความตองการเพื่อใหไดมาซึ่งปญหาและความจําเปน ที่ตองมีการนิเทศดวยวิธีการตาง ๆ เชน การสังเกต สัมภาษณ แบบสอบถาม การประชุมแลวนําขอมูลมาวิเคราะห พิจารณาตัดสินใจอยางมีเหตุผล เพื่อจัดทําแผนการนิเทศในโรงเรียนตอไป

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 42: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

31

การวางแผนการนิเทศการวางแผนเปนขั้นตอนการนําผลการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการมา

กําหนดรายละเอียดในการปฏิบัติงานลวงหนาที่เปนระบบมีขั้นตอนที่จะชวยใหการนิเทศภายในโรงเรียนเปนรูปธรรม และมีประสิทธิภาพอยางแทจริง

มีนักการศึกษาหลายทานไดกําหนดขั้นตอนการวางแผนไวดังนี้อุทัย บุญประเสริฐ และชโลมใจ ภิงคารวัฒน. (2528 : 101 - 102) เสนอแนะวาการวางแผน

การนิเทศในโรงเรียนมีลําดับขั้นตอนตอไปนี้1. การประมวลปญหาและความตองการในการพัฒนา2. จัดลําดับความสําคัญของปญหาและความตองการในการนิเทศภายในโรงเรียน

ซึ่งประกอบดวยกิจกรรม คือ2.1 การวิเคราะหปญหา คนหาสาเหตุ สรางทางเลือกในการขจัดสาเหตุของ

ปญหาแลวเลือกทางเลือกในการดําเนินการ2.2 จัดลําดับความตองการในการพัฒนา และการวิเคราะหเพื่อกําหนดขั้นตอน

ในการดําเนินงาน3. การกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน โดยกําหนดเปนแผนงานโครงการ4. การจัดทําแผนปฏิบัติการนิเทศภายในโรงเรียน ซึ่งประกอบดวยกิจกรรม ดังนี้

4.1 กําหนดการปฏิบัติและออกคําสั่ง4.2 จัดทําปฏิทินปฏิบัติงาน4.3 จัดทําแผนปฏิบัติการนิเทศเฉพาะเรื่อง4.4 จัดทําแผนการติดตาม ควบคุม กํากับและการประเมินผล

5. การกําหนดการนิเทศติดตามผล ขณะลงมือปฏิบัติการนิเทศภายในโรงเรียนสมเด็จ หาญกุดคุม. (2537 : 15) กลาวถึงขั้นตอนการวางแผน ดังนี้

1. ประสานการดําเนินงานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ2. นําผลการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการ รวมทั้งผลการประสาน

การดําเนินงานมากําหนดเปนแผนปฏิบัติการประจําป3. วิเคราะหแผนการศึกษาความเปนไปไดในทางปฏิบัติ การสงแผนปฏิบัติการ

นิเทศแจงแกหนวยงานในเขตปฏิบัติการสุวัณนา ทัดเทียม. (2538 : 30) ไดกําหนดขั้นตอนการวางแผนการนิเทศ ดังนี้

1. การเตรียมการวางแผน เปนการดําเนินการโดยผูนิเทศศึกษาขอบขายงานนโยบายและขอมูลสภาพปญหาและความตองการมาจัดทําแผน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 43: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

32

2. ปฏิบัติการวางแผน ขั้นนี้ผูบริหารประชุมครูนําประเด็นปญหาในแตละปมาพิจารณาวามีการแกไขพัฒนาไดเพียงใด

3. ประสานแผน เปนการทบทวนเปาหมาย วัตถุประสงค แนวปฏิบัติ แลวจึงดําเนินการประสานคน ประสานงาน เพื่อใหสามารถดําเนินงานไปได

4. เตรียมนําแผนไปปฏิบัติ มีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานทุกฝาย และมีปฏิทินปฏิบัติงานไวเปนหลักฐาน เพื่อการติดตามผล

สมานจิต พงษสนาม. (2542 : 41) ไดสรุปการวางแผนการนิเทศในโรงเรียนไว ดังนี้1. มีการประชุมผูเกี่ยวของ เพื่อจัดทําโครงการ2. การมีการกําหนดวิธีการเปนขั้น ๆ หรือ กิจกรรมที่ตองทํา3. การกําหนดชวงเวลาในการปฏิบัติงาน กําหนดเวลาของแตละกิจกรรม4. กําหนดงบประมาณ วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ และสิ่งอํานวยความสะดวก5. กําหนดแนวทางในกาติดตามผล

กลาวไดวา การวางแผนการนิเทศในโรงเรียน เปนการกําหนดการปฏิบัติการนิเทศในโรงเรียนไวลวงหนาอยางมีเปาหมาย โดยคํานึงถึงความสอดคลองของนโยบายโรงเรียน มีการกําหนดกิจกรรมในโครงการ ตลอดจนรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน

การดําเนินการนิเทศการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน หมายถึงการปฏิบัติกิจกรรมดานที่กําหนดไวในแผน

โครงการนิเทศของโรงเรียนในการปฏิบัติการนิเทศการศึกษา ภายในโรงเรียนใหบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวนั้นไดมีผูเสนอแนะไวดังนี้

เตือนใจ แกวโอภาส และคนอื่น ๆ (2540 : 18 - 26) ไดเสนอแนะไววาการปฏิบัติการนิเทศ ควรมีขั้นตอนดังนี้คือ

1. จัดประชุมผูเกี่ยวของและคณะทํางาน เพื่อทําความเขาใจรายละเอียดและขั้นตอนตาง ๆ ของการปฏิบัติงานตามโครงการนิเทศ

2. กําหนดงานที่จะตองปฏิบัติตามโครงการตาง ๆ ตามลําดับกอนหลัง3. แบงความรับผิดชอบแกผู เกี่ยวของและกําหนดแผนการปฏิบัติงานใหแนนอน

ตลอดจนมีแผนสํารองเมื่อมีปญหาหรืออุปสรรค4. ทําความเขาใจสื่อและเครื่องมือนิเทศการศึกษารวมกันเพื่อใหเขาใจอยางละเอียด

และควรทดลองใชสื่อกอนปฏิบัติจริง5. กําหนดแนวทาง วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และการปฏิบัติงานตามโครงการรวมกัน

เพื่อใหเขาใจรวมกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 44: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

33

6. ปฏิบัติการนิเทศโครงการตามงานและหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย7. พบปะ ประชุม ทบทวนการปฏิบัติงานตามขั้นตอน และหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย

ของแตละคนอยางสม่ําเสมอ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ8. ประชุมคณะปฏิบัติงานนิเทศทั้งหมด เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานตามโครงการ

เพื่อสรุปผลการปฏิบัติงานนิเทศ9. นําขอมูลที่ไดจากการนิเทศทั้งหมดไปสรุป วิเคราะห วิจัย เพื่อพัฒนางานใหมี

ประสิทธิภาพตอไปสรุปไดวาขั้นตอนการปฏิบัติการนิเทศดังกลาว สามารถแบงไดเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้

1. ขั้นเตรียมการกอนการนิเทศ ไดแก การจัดใหมีการประชุมผูรับผิดชอบเพื่อสรางความเขาใจเกี่ยวกับกําหนดการ

2. ขั้นตอนวิธีการปฏิบัติ ตลอดจนสื่อและเครื่องมือที่เกี่ยวของเพื่อเตรียมความพรอมกอนลงมือปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏิบัติการนิเทศเปนการดําเนินกิจกรรม ตามโครงการที่ระบุไว

3. การประเมินผลสรุปรายงาน เปนขั้นตอนที่ชวยใหทราบวางานทําสําเร็จหรือไมเพียงใด มีสิ่งใดตองปรับปรุงแกไข ทําไดโดยประชุมคณะทํางาน เพื่อสรุปผลการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษา เมื่อสิ้นสุดโครงการ และในการปฏิบัติงาน

นอกจากน้ีในการดําเนินการปฏิบัติการนิเทศการศึกษา ยังสอดคลองกับหนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา (2531 : 24 - 26) ที่ไดแบงขั้นตอนการปฏิบัติงานเปน 3 ขั้นคือ

1. ขั้นเตรียมการเปนการตรวจสอบความพรอมกอนลงมือปฏิบัติงาน มีการจัดแบงเปนหนวยงานยอยและมีผูประสานงานในหนวยงานยอย ตรวจสอบปจจัยและสรางความเขาใจกับผูปฏิบัติ

2. ขั้นปฏิบัติงาน ผูรับผิดชอบจะดําเนินงานตามขั้นตอนและเวลาที่กําหนดไว รูรับผิดชอบโครงการมีการควบคุมดูแลแนะนํา และสรางบรรยากาศที่ดีในการทํางานรวมกันอยางใกลชิด

3. การรายงานผลการปฏิบัติ เปนการสรุปรายงานผลการดําเนินงานในแตละขั้นตอนของโครงการ เปนการนําผลรวมของการปฏิบัติงานตามโครงการเสนอตอผูรับผิดชอบตามสายบังคับบัญชา เพื่อไปไประเมินผลในภาพรวมของโรงเรียน

นริศรา อุปกรณศิริการ. (2542 : 32) ไดเสนอแนะขั้นตอนการนิเทศภายในไว ดังนี้1. ในการดําเนินการนิเทศ จะตองเปนไปตามขอตกลงของคณะทํางาน2. กอนการดําเนินการนิเทศ ควรวางแผนรวมกัน เพื่อสรางความคุนเคย3. การนิเทศ ผูนิเทศและผูรับการนิเทศควรเขาออกจากหองพรอมกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 45: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

34

4. การสังเกตการสอนหากพบขอผิดพลาด ควรพูดกับครูเปนสวนตัวหลังจากการสอนผานไป

5. ควรใชเทคนิควิธีการนิเทศหลาย ๆ แบบ ตามความเหมาะสม6. ควรใหขอมูลยอนกลับ แกผูรับการนิเทศยางเที่ยงธรรม

จากการดําเนินการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนดังไดกลาวมาแลว จะเห็นไดวามีความสอดคลองกันทั้งในเรื่องการเตรียมการนิเทศ การปฏิบัติงานการนิเทศ และการรายงานผลการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษา ซึ่งเปนขั้นตอนที่ผูบริหารและครูทุกคนในโรงเรียนดําเนินการรวมกันเพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงคและเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ

การประเมินผลการนิเทศการประเมินผลการนิเทศการศึกษาเปนขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการนิเทศ ภายใน

โรงเรียนที่เปนระบบ มีขั้นตอนโดยมีจุดมุงหมาย ดังนี้1. เพื่อตัดสินวาโครงการที่ดําเนินการนั้นเหมาะสมหรือไมเพียงใด2. พิจารณาวาโครงการที่ดําเนินการอยูเปนไปตามกําหนดหรือไม มีปญหา อุปสรรค

อะไร3. ทําใหผูบริหารโรงเรียนทราบผลการปฏิบัติงานวาเปนไปตามวัตถุประสงคหรือไม

มีผูกลาวถึงการประเมินผลการนิเทศการศึกษาในหลายทัศนะ ดังนี้สงัด อุทรานันท. (2530 : 227 - 228) ไดเสนอเทคนิควิธีการประเมินผลการนิเทศ

การศึกษาไวดังนี้1. การประเมินผลการนิเทศการศึกษาโดยใชเครื่องมือ เปนการประเมินผลโดย

ผูดําเนินการนําเครื่องมือไปใชใหเหมาะสม ไปประเมินกับบุคคลที่เกี่ยวของ แลวรวบรวมขอมูลใหตรงกับความเปนจริงมากที่สุด

2. ประเมินผลโดยการประชุม หัวขอในการประชุมจะตองครอบคลุมเรื่องตอไปนี้2.1 ลักษณะหรือสภาพปจจุบันของการปฏิบัติงาน2.2 ลักษณะหรือสภาพการณที่เปนปญหาหรืออุปสรรค2.3 ลักษณะความตองการของผูปฏิบัติงาน2.4 แนวทางในการแกปญหาการปฏิบัติงาน2.5 การวางแผนปฏิบัติงานในเรื่องชวงเวลา

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2542 : 24 - 26) อธิบายวา การประเมินผลโครงการจัดทําขึ้นก็เพื่อวัตถุประสงคที่สําคัญ คือประเมินโครงการไปปรับปรุงการบริหารโครงการใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และนําผลการประเมินนั้นเสนอผูบริหาร เพื่อชวยใหผูบริหารตัดสินในเรื่อง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 46: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

35

ที่เกี่ยวของไดอยางถูกตอง การประเมินผลโครงการแบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ การประเมินผล กอนเริ่มโครงการ การประเมินผลระหวางการดําเนินการ และการประเมินผลหลังการดําเนินการ ซึ่งแตละลักษณะ มีสาระโดยสังเขป ดังนี้

1. การประเมินผลกอนเริ่มโครงการ หมายถึง การประเมินนโยบายของกรมสามัญศึกษา การประเมินความตองการจําเปนของครู การวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นจากการเรียนการสอนรวมทั้งการประเมินทรัพยากร สิ่งนําเขาหรือทางเลือกในการจัดทําโครงการ

2. การประเมินผลระหวางการดําเนินการ หมายถึง การประเมินผลเพื่อการปรับปรุงงาน การจัดระบบติดตามงาน หรือการจัดทํารายงานความกาวหนา เปนการเปรียบเทียบผลของการปฏิบัติจริงหรือการเปรียบเทียบผลนําเขา รวมกับวิธีการดําเนินงานกับเกณฑที่ตั้งไวในโครงการวามีความสอดคลองกันหรือตางกันอยางไร

3. การประเมินผลหลังการดําเนินการ ไดแก การประเมินสรุปเพื่อดูวาการดําเนินงานไดผลตามมุงหมายหรือไม และมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางไร อาจรวมทั้งการติดตามผลของโครงการในระยะยาวดวยก็ได โดยเปรียบเทียบผลผลิตที่คาดหวังกับผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง ขอมูลที่ไดจากการประเมินผล แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธระหวางผลไดกับจุดประสงคของโครงการ ปจจัยแวดลอม ปจจัยนําเขาโดยกระบวนการ โดยทั่วไปแลวการประเมินผลโครงการใหขอมูลแก ผูตัดสินใจในเรื่องตอไปนี้

3.1 ประสิทธิภาพของโครงการ3.2 คาใชจายของโครงการ3.3 ผลกระทบของโครงการ3.4 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการลงทุนกับงานลักษณะที่เทียบกันได3.5 ขอเสนอแนะเพื่อการยุติการดําเนินการชาหรือปรับปรุงโครงการ

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532 : 318 - 322) ไดกลาวถึงวิธีการประเมินผลการนิเทศภายในโรงเรียนไววางานนิเทศที่จําเปนจะตองทําการประเมินนั้นมีอยูหลาย ๆ ดาน เชน ตัวครู ตัวนักเรียน สภาพแวดลอมโรงเรียนและแมแตผูใหการนิเทศเอง ก็จําเปนตองทําการประเมินเพื่อเปนขอมูลและเปนแนวทางการวินิจฉัยการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนตอไป

1. การประเมินผลตัวนักเรียน การพิจารณาถึงประสิทธิภาพของการจัดการนิเทศการศึกษา อาจกระทําไดโดยวัดผลบางลักษณะเกี่ยวกับตัวนักเรียน เชน การประเมินผลความกาวหนาของนักเรียนทั้งรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญาวามีมากนอยเพียงใด ตลอดจนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดวย ผลของการประเมินตัวนักเรียนนี้ อาจชวยบอกถึงความสําเร็จของการนิเทศการศึกษาได

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 47: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

36

2. การประเมินผลตัวครู ครูเปนองคประกอบที่สําคัญตอการเรียนการสอน ดังนั้นการประเมินผลในตัวครูจึงเปนสิ่งจําเปน การประเมินตัวครูของผูใหการนิเทศ ไมใชเพื่อวัตถุประสงคเกี่ยวกับการบริหารแตเปนการปรับปรุงตัวครูและโดยผานทางตัวครู เพื่อนําไปยกระดับกระบวน การเรียนการสอนในการประเมินตัวครู ควรวัดความมีประสิทธิผล สิ่งดังกลาวเปนเรื่องซับซอนมากเพราะเต็มไปดวยความยากลําบากตาง ๆ นานา เชน ความคิดรวบยอดที่กวางเกี่ยวกับคําวา “การสอน” และ “ประสิทธิภาพ” งานตาง ๆ มากมายที่ครูตองทําและหลักเกณฑตาง ๆ

3. การประเมินตัวผูใหการนิเทศ อาจกระทําไดใน 2 ลักษณะ คือ ผูใหการนิเทศเปนผูประเมินตนเอง หรือในหมูคณะชวยประเมินให

4. การประเมินผลหลักสูตรและสิ่งแวดลอม หลักสูตรเปนหัวใจของกระบวน การเรียนการสอน ประสิทธิภาพของโรงเรียนเกิดขึ้นมากนอยเพียงใด หลักสูตรมีบทบาทที่สําคัญ การพิจารณาวาหลักสูตรนั้นดีหรือไมเพียงใด อาจพิจารณาจากหลักการพิจารณาหลักสูตรที่ดีได สวนการประเมินสภาพแวดลอม หมายถึง การประเมินเกี่ยวกับเรื่องที่อยูภายในบริเวณโรงเรียน

จากที่กลาวมา ชี้ใหเห็นวาการประเมินผลการนิเทศเปนการตรวจสอบความกาวหนาของโครงการ และนําผลการประเมินไปปรับปรุงเพื่อใหงานมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลโดยมีการประเมินผลเปน 3 ระยะคือ ประเมินผลกอนเริ่มโครงการ ประเมินผลระหวางดําเนินโครงการและประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อตองการทราบวาผลการปฏิบัติงานเปนไปตามจุดมุงหมาย ที่ปฏิบัติไวหรือไม ในการประเมินผลจะตองทําอยางสม่ําเสมอและใชเครื่องมือใหเหมาะสม เพื่อใหไดขอมูลตรงตามความเปนจริง

การปรับปรุงแกไขการปรับปรุงแกไขนับวาเปนสวนสําคัญของการนิเทศการศึกษา เปนขั้นตอนการ

ปฏิบัติงานที่มีความสมบูรณครบวงจร เปนการนําผลการประเมินมาพิจารณาปรับปรุงแกไขนริศรา อุปกรณศิริการ. (2542 : 37) ไดกลาวไววา การปรับปรุงแกไข เปนการนําผลการ

ประเมินระหวางการปฏิบัติงาน การนิเทศภายในโรงเรียนที่เปนปญหามาพิจารณาหาสาเหตุของปญหา ศึกษาขั้นตอนการดําเนินงานที่เปนปญหาเพื่อปรับปรุงแกไขระหวางการดําเนินงานหรือ การเริ่มโครงการใหมครั้งตอไป โดยวิธีการสัมมนารวมกัน ระหวางคณะกรรมการนิเทศการศึกษากับคณะครูผูปฎิบัติการสอนในโรงเรียน

ดังนั้นการปรับปรุงแกไข เพื่อการพัฒนางานโดยการนําเอาผลการประเมินการปฏิบัติงานมาวิเคราะห เพื่อหาสิ่งบกพรอง หรือสวนที่ยังไมบรรลุวัตถุประสงค มาพิจารณาหาแนวทางแกไขพัฒนาตอไป ซึ่งการดําเนินการดังกลาวจะตองรีบดําเนินการทันทีที่ทราบผล หากพบวายังมี สิ่งบกพรองหรือไมเปนไปตามวัตถุประสงค และเปาหมายตองวางแผนการนิเทศการศึกษาใหม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 48: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

37

และหากการปฏิบัติงานบรรลุเปาหมายก็ถือวาการนิเทศการศึกษาประสบผลสําเร็จ และสามารถวางแผน การทํางานเพื่อพัฒนาใหดียิ่งขึ้นตอไป

แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนกรมสามัญศึกษา. (2542 : 14) ไดกลาวถึงแนวทางการนิเทศภายในโรงเรียนไว ดังนี้

1. จัดโครงสรางการนิเทศภายในระดับสถานศึกษา ฝาย หมวดงาน พรอมทั้งวางตัวบุคลากรตาง ๆ ในสถานที่จะชวยนิเทศไดทั้งระดับฝาย หมวด งาน ตามแผนที่กําหนดไว ทั้งนี้จะเปนคณะกรรมการหรือไมก็ได เพื่อแสดงระบบการนิเทศบุคลากรผูรับผิดชอบและบุคลากรที่เกี่ยวของในแตละจุดงาน แสดงความสัมพันธระหวางบุคลากร และความสัมพันธระหวางบุคลากรกับระบบงานและระบบกับระบบ

2. จัดระบบบริหารใหเอื้ออํานวยตอการนิเทศ ดังนี้2.1 กําหนดบทบาทหนาที่ของบุคลากรในโรงเรียนระดับตาง ๆใหชัดเจน เกี่ยวของกับ

การนิเทศภายใน ดานใด ขอบเขตใด เทาใด2.2 กําหนดวงจรการบริหารใหชัดเจนและมองเห็นกระบวนการนิเทศภายในที่เกิดขึ้น

ภายในวงจรนี้2.3 กําหนดงบประมาณสนับสนุนการนิเทศภายในตามความตองการจําเปน

3. ในการดําเนินงานนิเทศภายในสถานศึกษา มีแนวทางปฏิบัติที่สําคัญในการนิเทศเพื่อใหบุคลากรปฏิบัติงานอยางเต็มประสิทธิภาพ ดังนี้

3.1 วางแผนการนิเทศทั้งที่เปนการกระตุน แนะนํา กํากับ ติดตาม ดวยวิธีการและขั้นตอนตอไปนี้

3.1.1 สํารวจสภาพปญหาการปฏิบัติงานในสถานศึกษาวามีเรื่องใดบางในการดําเนินการนิเทศ

3.1.2 ตั้งวัตถุประสงคของการนิเทศ3.1.3 กําหนดกิจกรรม งบประมาณ และเครื่องมือในการนิเทศตลอดจนการ

ประเมินผลการนิเทศ 3.2 ดําเนินการนิเทศ ตามแผนที่กําหนดไวโดยใชกิจกรรมการนิเทศตาง ๆ 3.3 ประเมินการนิเทศตามแผนที่กําหนดไวทั้งนี้ควรจะมีรายงานดวย

จากแนวทางดังกลาว สรุปไดวา แนวทางในการนิเทศภายในแสดงถึงความสัมพันธระหวางบุคคลในการที่จะดําเนินการนิเทศเปนไปอยางมีระบบ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 49: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

38

หลักการนิเทศภายในโรงเรียนรัชนี วิเศษสังข. (2535 : 47) ไดกลาวถึง หลักการนิเทศภายในโรงเรียนไว ดังนี้

1. กิจกรรม/ งาน/ โครงการ/ หรือนวัตกรรม ตองมาจากความตองการของครู มิใชจากการสั่งการ

2. เนนบรรยากาศแหงความเปนประชาธิปไตย3. สงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค4. เปนการทํางานที่มีขั้นตอนเปนระบบ ใชขอมูลในการวิเคราะหปญหา และวางแผน

ในการทํางาน5. มุงสรางบรรยากาศที่เปนกันเองการชวยเหลือเกื้อกูลกันมิใชการจับผิดหรือควบคุม

กรมสามัญศึกษา. (2542 : 1 - 2) ไดกลาวถึงหลักการของการนิเทศภายในโรงเรียนไว ดังนี้1. หลักภาวะผูนําในการนิเทศ ผูนิเทศตองใชวิธีการของภาวะผูนําเพื่อใหบุคลากร

ในความรับผิดชอบของตนปฏิบัติงานในหนาที่ใหบรรลุเปาหมายของโรงเรียนอยางเต็มประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ทั้งนี้จะนิเทศในรูปคณะกรรมการหรือเปนรายบุคคลก็ได

2. หลักการเชิงระบบในการนิเทศ ผูนิเทศตองใชวิธีการเชิงระบบในการดําเนินการนิเทศ ซึ่งประกอบดวยการวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศแลวปรับปรุงแกไข ทั้งนี้ตองเปนไปเพื่อแกไขปญหา พัฒนาหรือปรับปรุงงานของโรงเรียน

3. หลักการเชิงมนุษยนิยม ผูนิเทศจะตองใชวิธีการประชาสัมพันธ และสรางขวัญกําลังใจทําใหเกิดความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางบุคลากรของโรงเรียนและผูเกี่ยวของทําใหสภาพการทํางานของบุคลากรในโรงเรียนเปนไปอยางมีความสุขไดรับการยกยองเชิดชูใหปรากฏ

4. หลักการมีสวนรวม ผูนิเทศตองใชวิธีการสรางความมีสวนรวมระหวางบุคลากรในโรงเรียนในการนิเทศใหรวมแรงรวมใจกันในการแกปญหาและพัฒนางาน ตั้งแตการวางแผนการนิเทศไปจนถึงการปรับปรุงแกไข

5. ยึดหลักการนิเทศภายในประสานกับการนิเทศภายนอก แมการนิเทศภายในจะทําใหผูปฏิบัติงานในโรงเรียน เขาใจเปาหมายของโรงเรียนเพื่อที่จะปฏิบัติงานไดถูกทิศทางแลว ก็ยังมีบางงานที่มีขอบขายเฉพาะเจาะจงเกินกําลังของบุคลากรในโรงเรียน เชน การประสานนโยบายกรมเจาสังกัดกับภาระหนาที่ของโรงเรียน การนิเทศเฉพาะทางที่ลึกซึ้ง การยกยองเชิดชูความดีเดนของโรงเรียนใหแพรไปในวงกวาง งานเหลานี้ตองใชผูนิเทศจากภายนอก

สันติ ทองประเสริฐ. (2544 : 13) ไดสรุปหลักการนิเทศภายในไว ดังนี้1. การนิเทศควรเปนประชาธิปไตย2. การนิเทศเปนการทํางานที่ตองรวมกันเพื่อหาทางแกไขปญหาและอุปสรรค

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 50: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

39

3. การนิเทศตองเปนไปอยางสรางสรรคยึดมนุษยสัมพันธและมีเปาหมายในการพัฒนา

4. การนิเทศตองมีเปาหมายนั่นคือคุณภาพการศึกษาของนักเรียนกลาวไดวาการนิเทศภายในจะประสบผลสําเร็จไดนั้น จะตองมีการดําเนินงานที่เปน

กระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนการสรางสรรค มีความเปนประชาธิปไตย การมีสวนรวมซึ่งเปนสรางความสัมพันธอันดีระหวางหมูคณะ ขณะเดียวกันก็มุงสงเสริมความคิดริเริ่มสรางสรรค การยั่วยุ และสงเสริมความคิดอยางเสรีใหแกครูในการตัดสินใจเลือกวิธีการแกปญหาของตนเองใหสามารถนําตนเองได ทั้งนี้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของครูและพัฒนาการศึกษาใหเจริญงอกงามทุกดาน และเพื่อพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลตอคุณภาพของผูเรียน กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน

กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนจะประสบผลสําเร็จตองอาศัยกิจกรรมที่บุคลากร ในโรงเรียนรวมมือกันจัดขึ้น มีนักการศึกษาไดกลาวถึงความหมายของกิจกรรมการนิเทศ ไวดังนี้

หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2540 : 133) กลาววา กิจกรรมการนิเทศหมายถึงแนวปฏิบัติที่จัดใหมีขึ้นในลักษณะตาง ๆ ในแตละงานของการนิเทศการศึกษาเพื่อชวยใหงานนิเทศการศึกษาดําเนินไปดวยดีบรรลุวัตถุประสงค

นอกจากนั้น ไพโรจน กลิ่นกุหลาบ. (2542 : 78) ไดกลาวถึง กิจกรรมการนิเทศไวอยางสอดคลองกันวา กิจกรรมการนิเทศ หมายถึงวาการกระทํา หรือการปฏิบัติของบุคลากรที่เกี่ยวของกับการนิเทศ เพื่อกอใหเกิดความรู ความสามารถแกผูปฏิบัติงานการนิเทศที่จัดขึ้นในขณะนั้น

ดังนั้น กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนจึงเปนกิจกรรมที่ผูบริหารและครู หรือบุคลากรการศึกษาจัดขึ้นเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู กิจกรรมที่นิยมใชมีหลายรูปแบบ ไดมีนักการศึกษาหลายทานเสนอกิจกรรมการนิเทศ ใหโรงเรียนไดเลือกใชตามความเหมาะสมกับเนื้อหาเวลาและสถานที่ดังนี้

สงัด อุทรานันท. (2530 : 91) ไดเสนอกิจกรรมการนิเทศการศึกษา โดยจัดแบงเปน 3 กลุม ไดแก

1. กิจกรรมที่ผู นิเทศเปนผูปฏิบัติ เชน การบรรยาย การสาธิต การสังเกตการสอน ในชั้น การสัมภาษณ การบันทึกขอมูล การจัดทําเครื่องมือและขอทดสอบ การเขียน การวิเคราะหขอมูลและการคิดคํานวณ

2. กิจกรรมที่ผูนิเทศและผูรับการนิเทศทํารวมกัน ไดแก การประชุมชี้แจงและการอภิปราย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 51: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

40

3. กิจกรรมสําหรับผูรับการนิเทศประกอบดวย การฟง การดู การอาน การเยี่ยมเยือน การไปทัศนศึกษา บทบาทสมมติ การปฏิบัติตามคําแนะนํา

นอกจากนี้ นิพนธ ไทยพานิช. (2530 : 126 - 127) ไดกําหนดกิจกรรมการนิเทศภายในไดแก

1. การจัดตารางสอน2. การวางแผนการสอน กําหนดการสอน3. การแบงชั้น แบงกลุมนักเรียน4. การนิเทศการสอนในชั้นเรียน

วัฒนา สุวิทยพันธ. (2537: 14) ไดเสนอกิจกรรมการนิเทศภายในใหโรงเรียนไดเลือกใช ซึ่งมีกิจกรรมหลากหลาย เชน การระดมพลังสมอง การปรึกษาระยะสั้น การตั้งคณะกรรมการการอภิปราย การจัดนิทรรศการ การจัดทัศนศึกษา บทภาพยนตร โทรทัศน กิจกรรมกลุมบําบัด การสัมภาษณ มีรูปแบบการสัมภาษณเฉพาะจุด การสัมภาษณทางออม การเยี่ยมชั้นเรียน การบรรยาย การประชุม การอภิปรายกลุม การสาธิตการสอน การทดลองปฏิบัติจริง ประสบการณตรงจากผูเชี่ยวชาญ การแสดงบทบาทสมมติ สังคมมิติ การบันทึกเสียง การทดสอบ การเขียน การอาน การสังเกตการณการสอน การนิเทศแบบคลินิก

สําหรับหนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. (2542 : 133) ไดเสนอชนิดของกิจกรรมการนิเทศไวหลากหลายกิจกรรม ดังนี้ การระดมสมอง การดําเนินงานในรูปคณะกิจกรรม การประชุม ปฏิบัติการ การประชุมปรึกษาหารือและแนะนํา การเชิญวิทยากรมาใหความรู การอภิปราย การเสนอขาวสารและบทความ การจัดทัศนศึกษา การฝกอบรม การสัมมนา การสาธิต การสังเกตการณการสอน การจัดนิทรรศการ การสมาคมสันทนาการ การใชเอกสารใหความรู

กมล บุญประเสริฐ. (2542 : 20) ไดกําหนดกิจกรรมการนิเทศในโรงเรียน ดังนี้ การใหความรู การทําใหดูหรือการสาธิต การพาไปดูงาน การประสานงาน การบริการทางดานวิชาการ การประเมินผลและวิจัย การจัดกิจกรรมกระตุนใหผูปฏิบัติงานเขมแข็ง การใหไปฝกงาน การทําใหเกิดความเขาใจกัน

สรุปไดวากิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนนั้นมีมากมายหลายรูปแบบ ผูนิเทศตองเขาใจลักษณะของกิจกรรม สามารถนํามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับสภาพปญหาความตองการ เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการดําเนินงานของโรงเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 52: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

41

ความเกี่ยวของของประสบการณ กับการนิเทศภายในโรงเรียน

ประสบการณการดําเนินงานของโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใชหลักการบริหาร

ที่มุงเนนสัมฤทธิ์ผล โดยเฉพาะบุคลากรซึ่งถือเปนปจจัยสําคัญ มีการสรางความรูความเขาใจและวางแผนรวมกัน จัดใหมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ ดานการเรียนการสอนของครู และนักเรียนระหวางในเครือขายบางกุงตามความเหมาะสมกับบุคลากรและสภาพแวดลอมของแตละโรงเรียน แตสภาพปจจุบันมีปญหาดานการขาดบุคลากรครู จึงมีการบรรจุใหม ครูอัตราจาง ครูยายสับเปลี่ยน รวมทั้งผูบริหารบางสวนไดรับการคัดเลือกใหดํารงตําแหนงผูบริหาร จึงทําใหครูมีประสบการณ ที่แตกตางกัน ทั้งการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติตนในหนาที่ โดยเฉพาะดานการนิเทศภายในโรงเรียน ซึ่งถือเปนหนาที่โดยตรงของผูบริหารและครูนิเทศ จะตองศึกษาหาความรูเพื่อใหทันกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปจจุบันดังที่ นริศรา อุปกรณศิริการ (2542 : 58) กลาววา ในการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ ยอมตองอาศัยผูบริหารที่มีวิสัยทัศน

อยางไรก็ตาม การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน ผูใหการนิเทศตองมีการพัฒนาตนเอง ในดานการนิเทศอยูเสมอ ทั้งนี้เพราะการนิเทศภายในโรงเรียนกับประสบการณของผูใหการนิเทศ มีความเกี่ยวของกัน ดังที่ มาลี จุฑา (2542 : 57) ไดกลาววา ประสบการณทําใหเกิดการพัฒนาชีวิต ดังนั้นการที่ครูมีประสบการณในการปฏิบัติงานมากหรือไดผานงานมามาก ยอมรูเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานไดดี สามารถแกปญหาไดดีกวาครูที่มีประสบการณนอย ดังนั้นผูนิเทศซึ่งเคยเปนครูปฏิบัติการสอนและเปนผูรับการนิเทศมากอน ยอมเขาใจในการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน ซึ่งในการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศนั้น ผลการวิจัยของสุวัณนา ทัดเทียม (2538 : 163) ที่วิจัยพบวา ผูบริหารที่มีประสบการณแตกตางกัน มีความคิดเห็นตอระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนแตกตางกัน จึงกลาวไดวาประสบการณของผูบริหารมีผลตอการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

งานวิจัยในประเทศ

ศศิธร เผดิมรอด. (2540 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเรื่องการศึกษาการดําเนินการนิเทศภายใน ที่มีประสิทธิภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1 ผลการวิจัยพบวา โรงเรียนมีการดําเนินการนิเทศภายใน 3 ขั้นตอน ขั้นตอนแรก คือ การจัดโครงสรางการนิเทศภายใน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 53: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

42

โรงเรียน ขั้นตอนที่สอง การจัดระบบบริหารใหเอื้อตอการนิเทศ ขั้นตอนที่สาม การดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน พบวา ผูนิเทศภายใน ยังขาดความรูและทักษะ ในการนิเทศ ปญหาการจัดระบบ การบริหารใหเอื้อตอการนิเทศ ไดแก โรงเรียนขาดวิธีการและขั้นตอนที่ชัดเจน ในการกํากับดูแล ควบคุมและประเมินผล สวนปญหาในการดําเนินงานนิเทศภายในโรงเรียน ไดแก ผูนิเทศและผูรับการนิเทศปฏิบัติไมตรงตามเวลาที่ไดกําหนดไว

สุวัณนา ทัดเทียม. (2541 : 163) ไดศึกษากระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดอางทอง ประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ การวางแผนการนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ การประเมินผลและรายงานผล จําแนกตามประสบการณพบวา ผูบริหารที่มีประสบการณตางกันมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในที่แตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

เดชา หามนตรี. (2541 : 92) ไดศึกษาการนิเทศในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดสระบุรี พบวา มีการปฏิบัติงานใน 5 ดาน ประกอบดวยการกําหนดและแจงนโยบายการนิเทศ มีการแตงตั้งคณะกรรมการการนิเทศภายใน การเตรียมการกอนการวางแผนการนิเทศ การปฏิบัติตามแผนการนิเทศ และการติดตามผลประเมินผลการนิเทศ โดยมีการปฏิบัติงานทั้ง 5 ดานในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง

กิตติ ปาประโคน. (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยเรื่อง การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย พบวา ผูบริหารโรงเรียนและครูผูสอนมีความคิดเห็นตอการปฏิบัติงานและปญหาการปฏิบัติงาน ตามกระบวนการนิเทศภายในของผูบริหารโรงเรียนโดยรวมและรายดานอยูในระดับปานกลาง และผูบริหารที่มีประสบการณในการบริหารตางกันมีความคิดเห็นตอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในของผูบริหารแตกตางกัน

นิตยา ทองไทย. (2542 : 111 - 121) ไดศึกษาการดําเนินงานการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี พบวา มีการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนใน 4 ขั้นตอน ประกอบดวย ขั้นตอนการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการ ขั้นวางแผนและกําหนดทางเลือก ขั้นการปฏิบัติ การนิเทศ ขั้นการประเมินผลการนิเทศ ขั้นการสรางเครื่องมือ และพัฒนาวิธีการนิเทศ โดยมีการปฏิบัติอยูในระดับมาก

มยุรี พรหมภักดิ์. (2542 : 118 - 126) ไดศึกษาระดับการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดเลย ตามความคิดเห็นของผูบริหารและผูรับผิดชอบโครงการนิเทศภายในโรงเรียนและตามความคิดเห็นของครูผูสอน พบวามีการปฏิบัติโดยภาพรวมและรายดาน อยูในระดับมาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 54: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

43

สมานจิต พงษสนาม. (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาการดําเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 6 พบวา โรงเรียนมีการดําเนินงานการนิเทศภายใน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 การเตรียมการ ขั้นที่ 2 การวางแผนการนิเทศ ขั้นที่ 3 การปฏิบัติตามแผนการ ขั้นที่ 4 การประเมินผลการนิเทศ ผลการวิจัยพบวา บุคลากรขาดความรูความเขาใจและ มีความสนใจในเรื่องการนิเทศการศึกษานอย ครูไมมีเวลาเพียงพอ และมีงานรับผิดชอบมาก ปฏิบัติงานไมจริงจัง คณะกรรมการการนิเทศภายในไมไดรับการยอมรับจากครู การดําเนินงาน การนิเทศยังขาดเอกสารสื่อและอุปกรณ

ปณิพล นานา. (2543 : 109 - 118) ไดศึกษาการปฏิบัติงานการนิเทศภายในของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา กิ่งอําเภอลําทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมาประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการ การวางแผนการนิเทศ การปฏิบัติการนิเทศ การประเมินผลและรายงานผล พบวา ผูบริหารมีการปฏิบัติงานการนิเทศภายในอยูในระดับปานกลาง ปรียา พุทธารักษ. (2550 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการปฏิบัติงานการนิเทศภายในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองนาสาร 4 ดาน คือ ดานการศึกษาสภาพปญหาและความตองการ ดานการวางแผน การนิเทศ ดานการปฏิบัติการนิเทศภายใน ดานการประเมินผลและการรายงานผล เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรจําแนกตามตําแหนง ประสบการณในการปฏิบัติงาน ผลการวิจัยพบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายใน 4 ดาน อยูในระดับมากและรายดานอยูในระดับมาก ทุกดาน บุคลากรที่มีตําแหนงตางกันมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายใน ตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05 บุคลากรที่มีประสบการณตางกันมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในไมตางกันอยางมีนัยสําคัญ เถลิงศักดิ์ จอกถม. (2548 : ข) ไดศึกษาปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง 4 ดานไดแก ดานโครงการนิเทศ ดานการประเมิน ผลการนิเทศ ดานรูปแบบการนิเทศดานประเมินผลการนิเทศตามตัวแปรประสบการณและขนาดโรงเรียนผลการวิจัยระดับปญหา โดยภาพรวมมีปญหาในระดับนอย เมื่อพิจารณาเปนรายดาน อยูในระดับนอยทุกดาน จําแนกตามประสบการณและขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมและรายดานไมแตกตางกัน สวนผลการเปรียบเทียบระดับปญหาการนิเทศภายในตามความคิดเห็นของครูผูสอนจําแนกตามประสบการณ โดยภาพรวม แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการเปรียบเทียบระดับปญหาการนิเทศภายในตามความคิดครูผูสอน จําแนกตามขนาดโรงเรียนโดยภาพรวมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 55: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

44

ดุลสฤษดิ์ รัตนูปกรณ. (2551 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการใชกระบวนการนิเทศภายในเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบานในหุบ อําเภอสวี จังหวัดชุมพร ตามแนวคิดของเคมมิส (Kemmis) 4 ขั้นตอน คือ ขั้นวางแผน ขั้นปฏิบัติ ขั้นสังเกต ขั้นการสะทอนผลการปฏิบัติ ผลการวิจัยพบวาขั้นวางแผนการเตรียมการสอนสวนใหญครูไมไดเตรียมครูใชการบรรยายเนื้อหาใหนักเรียนฟง ขั้นปฏิบัติครูรวมจัดทําแผนการสอนและปรับปรุงแผนการสอนรวมกัน ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญอยูในระดับกลาง ขั้นการสะทอนผลการปฏิบัติ มี 2 ประเด็น คือ ครูควรสงเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญใหนักเรียนไดเรียนรูจากการคิด ปฏิบัติ และเรียนรูรวมกัน งานวิจัยตางประเทศ

ทีลาฮัน. (ประมวล องคระการ. 2540 : 53 อางจาก Tilahun. 1983 : 2168 - A) ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่องการจัดกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน ที่พึงประสงคของการพัฒนาประเทศเอธิโอเปย กลุมตัวอยางไดแก ครู ศึกษานิเทศก นักวิชาการ พบวา กลุมตัวอยางมีความเห็นสอดคลองกันวา กิจกรรมที่ใชจัดการนิเทศภายในโรงเรียนลําดับจากมากหานอยไดดังนี้ คือการฝกอบรมแนะนํา การฝกอบรมปฏิบัติการ การสาธิตการสอนโดยศึกษานิเทศก การประชุมกลุมยอยของครู การเยี่ยมชั้นเรียน และการสังเกตการณสอน การจัดกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนอยูในระดับปานกลาง และมีความเห็นสอดคลองกันอีกวา การนิเทศในลักษณะรวมมือกันปฏิบัติงานนิเทศการศึกษา จะกอใหเกิดผลดีกวาการนิเทศที่ใชอํานาจ

เฟรนด. (มงคล ตินตมุสิก. 2534 : 49 อางจาก Friend. 1968 : 2822 - A) ไดทําการวิจัยพบวา ทัศนคติอาจารยใหญและครูผูสอนที่มีตอกระบวนการนิเทศ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยประสบการณเปนตัวแปรที่สงผลตอความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ และยังพบอีกวา การประชุมกันในทันทีที่พบขอมูลเกี่ยวกับการเรียนการสอนการใหคําชมเชยกับครูที่ประสบผลสําเร็จเปนการนิเทศ ที่ผูนิเทศควรนํามาใช

วิลเลี่ยม. (Williams. 1994 : 2425 - A) ไดวิจัยเรื่องกลยุทธการใชการนิเทศภายในโรงเรียน และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคลากรในโรงเรียน โดยศึกษาจากผูบริหาร ครู ประธานสหภาพครูในเขตโรงเรียน K- 12 รัฐแคริฟอรเนียใต พบวา

1. ผูบริหารและครูขาดความสัมพันธและความเขาใจอันดีตอกัน ในเรื ่องการนิเทศภายในโรงเรียน

2. ครูผูสอนมีความเห็นวา ผูบริหารไมคอยมีการสังเกตการณสอนและเยี่ยมชมหองเรียนอยางเปนทางการ แตผูบริหารมีความเห็นวา ไดสังเกตการณสอน และเยี่ยมชมหองเรียนอยูเปนประจํา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 56: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

45

ไจลอลล. (Jailall. 1998 : 675 - A) ศึกษาความแตกตางของการนิเทศที่มีรูปแบบแตกตางเพื่อที่จะใหคําแนะนําไปใชในการพัฒนารูปแบบของการนิเทศที่มีประสิทธิภาพในสหรัฐอเมริกา ในการศึกษาครั้งนี้ ใชแบบสํารวจ การสัมภาษณ และการวิเคราะหความแตกตางของการนิเทศการสอน ผลการศึกษาพบวา 78% ของกิจกรรมการนิเทศรูปแบบตาง ๆ เริ่มตนใชในโรงเรียนมาตั้งแต 1 - 6 ปมาแลว 96% ของหัวหนาสถานศึกษาและครูนิเทศเชื่อวาการนิเทศที่หลากหลายจะชวยใหครูพัฒนาตนเองและพัฒนาการเรียนการสอนอยูในระดับปานกลางถึงระดับมาก 79% ของผูบริหาร และครูนิเทศ เชื่อวา การรวมมือกันพัฒนาการนิเทศการสอนที่มีความหลากหลายกอใหเกิดประสิทธิภาพสูง ครูที่รวมกันพัฒนาเปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จของการนิเทศ และการนิเทศที่มีรูปแบบที่แตกตางกันมีการนําไปใชเพิ่มขึ้น

แลงมัวร. (Langmuir. 1998 : 4324 - A) ศึกษากระบวนการพัฒนาครูในเนื้อหาของความ สัมพันธในการทํางานรวมกัน เปนกรณีศึกษากับครู 2 คน คือ May และ Sadie ซึ่งทํางานรวมกัน ในกลุมของการนิเทศแบบคลินิก โดยมีจุดมุงหมายหลักที่จะใหครูเขารวมในกระบวนการรวมกัน ในกลุมของการนิเทศแบบคลินิก โดยมีจุดหมายหลักที่จะใหครูเขารวมในกระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพและพัฒนาทักษะใหม ๆ ในการนิเทศการสอน การวิจัยครั้งนี้มีการวิเคราะหรายละเอียด และตีความหมายความรูที่ครูทั้งสองสรางขึ้นในระหวางการปฏิบัติการนิเทศแบบคลินิก จากการวิจัยนี้ ชี้ใหเห็นถึงปจจัยตาง ๆ ที่มีผลในการพัฒนาครูในดานความสัมพันธกัน การพัฒนาแตละครั้งขึ้นอยูกับการใหความรวมมือในการทํางาน และครูทั้งสองยังพบอีกวา การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมใด ๆ ตองใชเวลา และตองไวใจในกระบวนการสังเกตการณสอนซึ่งกันและกัน การปรึกษาหารือเพื่ออภิปรายสาระเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอนจะชวยในการสงเสริมพัฒนาวิชาชีพครู

จากการศึกษาคนควางานวิจัยทั้งในประเทศและตางประเทศ ทําใหทราบผลงานวิจัย ที่กอใหเกิดความรูความเขาใจ อันเปนประโยชนในการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนไดอยางมาก เชน การจัดกิจกรรมการนิเทศที่หลากหลาย การสรางความสัมพันธรวมกัน ซึ่งกอใหเกิดการพัฒนาการเรียนการสอนของครู นอกจากนี้ยังพบวาการดําเนินงานการนิเทศที่มีประสิทธิภาพ ผูบริหารสถานศึกษา รองผูบริหารสถานศึกษา ครูหัวหนากลุมสาระและหัวหนาฝายหรือหัวหนางานมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศอยางเปนระบบ มีขั้นตอนและมีการปฏิบัติอยางตอเนื่องผูวิจัยไดศึกษาแนวความคิดขั้นตอนการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาภายในจากนักวิชาการหลาย ๆทาน ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานการนิเทศภายในของกรมสามัญศึกษา จะเห็นวามีขั้นตอนคลายคลึงกัน แตการดําเนินการนิเทศภายในของโรงเรียนในเครือขายบางกุงไดกําหนดใหโรงเรียนในสังกัดพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยยึดกระบวนการนิเทศทางการนิเทศภายในของกรมสามัญศึกษาเปนหลัก ในการดําเนินการนิเทศผูวิจัยจึงไดกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยตามขั้นตอนตอไปนี้ คือ การสํารวจ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 57: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

46

ความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุง ซึ่งมีสาระการปฏิบัติงานตามกระบวนการครอบคลุม ทุกดาน ตั้งแตการสํารวจความตองการในการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ การปรับปรุงแกไข และพบวาตัวแปรที่สัมพันธกับกับกระบวนการนิเทศภายใน ไดแก ตําแหนง ประสบการณในการปฏิบัติงาน และขนาดของโรงเรียน ซึ่งผูวิจัยไดนํามาเปนกรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 58: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey research) โดย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อใหการดําเนินการเปนไปตามความมุงหมาย ผูวิจัยไดดําเนินการเปนขั้นตอนตามลําดับ ดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล3. การเก็บรวบรวมขอมูล4. การวิเคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

การวิจัยในครั้งนี้นี้ผูวิจัยไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง ดังนี้1. ประชากร

ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา รองผูบริหารสถานศึกษา หัวหนากลุมสาระ และหัวหนาฝายหรือหัวหนางาน จากโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ปการศึกษา 2551 จํานวน 135 คน

2. กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยกําหนดจํานวนกลุมตัวอยาง ประกอบดวย

ผูบริหารสถานศึกษา 15 คน รองผูบริหารสถานศึกษา จํานวน 25 คน หัวหนากลุมสาระ 80 คน และหัวหนางานหรือหัวหนาฝาย 15 คนรวมทั้งสิ้น 135 คน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 59: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

48

ตารางที่ 3.1 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางที่ศึกษาจําแนกตามโรงเรียนในเครือขายบางกุง

โรงเรียนจํานวน

ประชากร

จํานวนกลุมตัวอยางรวมผูบริหาร

สถานศึกษารองผูบริหารสถานศึกษา

หัวหนากลุมสาระ

หัวหนาฝาย/หัวหนางาน

1. เทพมิตรศึกษา2. ธิดาแมพระ3. บานโพหวาย4. บานสันติสุข5. เมืองสุราษฎรธานี6. ยุวศึกษา7. วมินทรวิทยา8. วัดทาทอง9. วันนทีคมเขต10. วัดโพธิ์นิมิต11. วัดแหลมทอง12. สัมพันธศึกษา13. สุราษฎรเทคโนโลยี14. อนุบาลคายวิภาวดีรังสิต15. อนุบาลสุราษฎรธานี

1414136

146

1265866

102

13

111111111111111

442-4-2--2--4-3

8884848444444-8

111111111111111

1414136

146

1265866

102

13

รวม 135 15 25 80 15 135

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวมรวมขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถามการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยแบงแบบสอบถามเปน 2 ตอน คือ

ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูนิเทศมีลักษณะเปนแบบสํารวจรายการ (Check list) ประกอบดวยคําถามเกี่ยวกับสถานภาพประสบการณในการทํางานและขนาดโรงเรียนที่สังกัดของผูตอบแบบสอบถาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 60: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

49

ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามแบบมาตรฐานสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ ถามครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศและการปรับปรุงแกไขผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามขึ้น โดยใหผูตอบแบบสอบถามพิจารณาวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนในแตละขอมากนอยเพียงใด ในแตละดาน โดยกําหนดคะแนนประมาณคา ดังนี้

คะแนน 5 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน มากที่สุด

คะแนน 4 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในมากคะแนน 3 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

ปานกลางคะแนน 2 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในนอยคะแนน 1 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

นอยที่สุด

ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือ

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยสรางขึ้น ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ ดังนี้

1. ศึกษา เอกสารและงานวิจัย แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับขอบขายของการนิเทศการศึกษาในโรงเรียน เพื่อกําหนดกรอบแนวคิด และคํานิยาม 2. ศึกษาเอกสารหลักการ วิธีการสรางเครื่องมือแบบสอบถามจากหนังสือเอกสารตําราทางสถิติและวิจัย

3. สรางแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา (Rating scales) ใหครอบคลุมกรอบแนวคิดและขอบเขตของการวิจัย

4. นําแบบสอบถามเสนอตออาจารยที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความชัดเจน ความถูกตองและตรงตามเนื้อหา

5. นําแบบสอบถามที่ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา ไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหาประกอบดวย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 61: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

50

5.1 ผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา ดานการบริหาร ดานการนิเทศการศึกษา ประกอบดวย 5.1.1 ผูบริหารสถานศึกษา 1 คน 5.1.2 รองผูบริหารสถานศึกษาฝายจัดการศึกษา 1 คน

5.1.3 ศึกษานิเทศกเขตพื้นที่การศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1 1 คน 5.2 ผูเชี่ยวชาญดานภาษาไทย ครูชํานาญการพิเศษ วิชาภาษาไทย 1 คน 5.3 ผูเชี่ยวชาญดานสถิติและวิจัย ครูคณิตศาสตรหรือวัดผลการศึกษา 1 คน 6. นําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไขแลว นําไปทดลองใช (Try out) กับผูนิเทศในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 3 โรงเรียน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 39 คน จําแนกเปนผูบริหารสถานศึกษาจํานวน 3 คน รองผูบริหารสถานศึกษาจํานวนวน 12 คน หัวหนากลุมสาระจํานวน 24 คน รวมทั้งสิ้น 39 คน เพื่อหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (- Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach. 1974 : 202) 7. นําแบบสอบถามฉบับที่ไดทดลองไปใชแลว ไปปรับปรุงเปนครั้งสุดทายตามขอเสนอแนะของอาจารยที่ปรึกษางานวิจัย

8. นําแบบสอบถามที่ผานการปรับปรุงแลวไปเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง ในงานวิจัยตอไป

การเก็บรวบรวมขอมูล

ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี ถึงผูบริหารสถาน

ศึกษาในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อขอความรวมมือใหผูนิเทศที่เปนกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถาม

2. ผูวิจัยนําแบบสอบถาม จํานวน 135 ฉบับ พรอมหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย ไปยังโรงเรียนในเครือขายบางกุง 15 โรงเรียน โดยผูวิจัยไปรับแบบสอบถามคืนดวยตนเองตามเวลาที่กําหนด 3. เมื่อไดแบบสอบถามคืน ผูวิจัยไดตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของการตอบคําถาม เพื่อนําผลการตอบไปจัดกระทําและวิเคราะหขอมูลในโอกาสตอไป

ผูวิจัยไดดําเนินการจัดกระทํากับขอมูลตามลําดับดังนี้1. นําแบบสอบถามที่ไดรับคืนมาตรวจสอบความสมบูรณในการตอบแบบสอบถามมา

จําแนกตามตัวแปรที่จะศึกษา คือ ตําแหนง ประสบการณในการทํางาน ขนาดของโรงเรียน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 62: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

51

2. ตรวจใหคะแนนแบบสอบถามตอนที่ 2 ตามเกณฑที่กําหนด คือระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในมากที่สุด ให 5 คะแนนระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในมาก ให 4 คะแนนระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในปานกลาง ให 3 คะแนนระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในนอย ให 2 คะแนนระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในนอยที่สุด ให 1 คะแนน

การวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูล ดังนี้1. นําแบบสอบถามตอนที่ 1 มาหาคารอยละของขอมูลจากกลุมตัวอยาง2. นําคะแนนจากแบบสอบถามตอนที่ 2 มหาคาเฉลี่ย และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมทุกดาน และรายดานเพื่อพิจารณาวา ผูนิเทศมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน อยูในระดับใด

3. ในการแปลความหมายคาเฉลี่ยใชเกณฑประมาณคาของ วิเชียร เกตุสิงห (2538 : 9) คะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในนอยที่สุดคะแนนเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในนอยคะแนนเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในปานกลางคะแนนเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในมากคะแนนเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในมากที่สุด4. เปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ

ในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนง ประสบการณในการทํางาน ขนาดของโรงเรียน โดยการทดสอบคา t

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 63: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

52

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ในการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยขอมูลผูวิจัยไดทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows โดยใชสถิติดังนี้

1. สถิติพื้นฐาน1.1 คารอยละ1.2 คาเฉลี่ย ( )1.3 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

2. สถิติที่ใชในการหาคุณภาพของเครื่องมือหาคุณภาพของเครื่องมือโดยการหาคาสัมประสิทธิแอลฟา (- Coefficient) เพื่อหา

คาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม3. สถิติที่ใชทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข จําแนกตามตัวแปรตําแหนง ประสบการณในการทํางาน และขนาดของโรงเรียน โดยใชสถิติ t - test

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 64: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผล การนิเทศ และการปรับปรุงแกไข และเพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข ซึ่งผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลออกเปน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี

ตอนที่ 3 การวิเคราะหขอมูลเพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี

สัญลักษณที่ใชในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในบทนี้ มีการใชสัญลักษณทางสถิติหลายตัว เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันในการแปลความหมายของการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยกําหนดสัญลักษณตาง ๆ ไวในการแปลความหมาย ดังนี้

แทน คาเฉลี่ย (Mean)n แทน จํานวนกลุมตัวอยางS.D. แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)t แทน คาสถิติที่ใชทดสอบสมมุติฐาน t - test (t - test : Independent Samples)F แทน คาสถิติที่ใชพิจารณาความมีนัยสําคัญจากการแจกแจงแบบ F (F - Distribution)df แทน คาความเปนอิสระ (Degree of Freedom)SS แทน ผลรวมกําลังสอง (Sum of Squares)MS แทน คาเฉลี่ยกําลังสอง (Mean of Squares)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 65: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

54

Sig. แทน นัยสําคัญทางสถิติ (Significant)* แทน คานัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ตารางที่ 4.1 แสดงจํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

รายการ จํานวน รอยละ

1. ตําแหนง1.1 ผูบริหารสถานศึกษา 15 11.111.2 รองผูบริหารสถานศึกษา 25 18.521.3 หัวหนากลุมสาระ 80 59.261.4 หัวหนาฝาย/หัวหนางาน 15 11.11รวม 135 100.00

2. ประสบการณในการทํางาน2.1 10 ปลงมา 32 23.702.2 11 - 20 ป 63 46.672.3 21 ปขึ้นไป 40 29.63รวม 135 100.00

3. ขนาดของโรงเรียน3.1 โรงเรียนขนาดเล็ก (จํานวนนักเรียนไมเกิน 150 คน) 14 10.373.2 โรงเรียนขนาดกลาง (จํานวนนักเรียน 151 - 300 คน) 14 10.373.3 โรงเรียนขนาดใหญ (จํานวนนักเรียน 301 คนขึ้นไป) 107 79.26รวม 135 100.00

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 66: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

55

จากตารางที่ 4.1 พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีตําแหนงเปนหัวหนากลุมสาระ (รอยละ 59.26) รองลงมาคือ รองผูบริหารสถานศึกษา (รอยละ 18.52) สวนใหญมีประสบการณในการทํางาน 11 - 20 ป (รอยละ 46.67) รองลงมามีประสบการณในการทํางาน 21 ปขึ้นไป (รอยละ 29.63) ขนาดของสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานสวนใหญมีขนาดใหญ มีนักเรียน 301 คนขึ้นไป(รอยละ 79.26) รองลงมามีขนาดกลาง มีนักเรียน 151 - 300 คน และขนาดเล็ก มีนักเรียนไมเกิน 150 คน (รอยละ 10.37 และ10.37)

ตอนที่ 2 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข ดังแสดงในตารางที่ 4.2 - 4.7

ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

1. การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน2. การวางแผนการนิเทศ3. การดําเนินการนิเทศ4. การประเมินผลการนิเทศ5. การปรับปรุงแกไข

3.313.503.523.533.38

.43

.36

.37

.41

.43

ปานกลางมากมากมาก

ปานกลางรวม 3.45 .33 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.2 พบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การประเมินผลการนิเทศมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก การดําเนินการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การปรับปรุงแกไข และการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 67: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

56

ตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

1. ศึกษาสภาพในปจจุบันและผลการปฏิบัติงานจากผลการประเมินภายนอกของโรงเรียนเพื่อกําหนดความตองการในการนิเทศภายในโรงเรียน 3.33 .65 ปานกลาง

2. ศึกษาปญหาการปฏิบัติงานของโรงเรียนเพื่อกําหนดขอบเขตของความจําเปนในการนิเทศภายใน 3.31 .62 ปานกลาง

3. สํารวจขอมูลการปฏิบัติงานของฝาย กลุมสาระตาง ๆ มากําหนดความตองการในการนิเทศภายใน 3.29 .59 ปานกลาง

4. วิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อกําหนดความจําเปนในการนิเทศภายใน 3.19 .67 ปานกลาง

5. รวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะของบุคลากรในโรงเรียนมาใชเปนขอมูลในการกําหนดความตองการในการนิเทศภายใน 3.26 .61 ปานกลาง

6. ประมวลทางเลือกในการแกปญหาการปฏิบัติงานรวมกัน เพื่อกําหนดทิศทางในการนิเทศภายใน 3.21 .66 ปานกลาง

7. ศึกษาความตองการในการนิเทศจากผลการประเมินที่ผานมา 3.36 .63 ปานกลาง

8. มีการแตงตั้งกรรมการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศภายในโรงเรียน 3.42 .71 ปานกลาง

9. มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ 3.44 .61 ปานกลาง

รวม 3.31 .43 ปานกลาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 68: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

57

จากตารางที่ 4.3 พบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก มีการแตงตั้งกรรมการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศภายใน สวนวิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อกําหนดความจําเปนในการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการวางแผนการนิเทศ

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในดานการวางแผนการนิเทศ Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

1. วิเคราะหนโยบายของโรงเรียนเพื่อการวางแผนการนิเทศภายใน 3.38 .66 ปานกลาง

2. วิเคราะหสภาพปญหาของโรงเรียนเพื่อวางแผนการนิเทศภายใน 3.45 .71 ปานกลาง

3. จัดทําแผนการนิเทศโดยระบุขั้นตอนรายละเอียดกิจกรรมในการนิเทศภายในที่ชัดเจน 3.51 .61 มาก

4. กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายการนิเทศภายในไวชัดเจน 3.53 .64 มาก

5. กําหนดโครงการนิเทศภายในไวในแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน 3.59 .63 มาก

6. มีการวางแผนประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการนิเทศภายในโรงเรียน 3.53 .60 มาก

7. แตงตั้งกรรมการทํางานเพื่อประเมินผลในการนิเทศภายใน 3.63 .66 มาก

8. กําหนดขอบเขตและความรับผิดชอบของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ 3.48 .63 ปานกลาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 69: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

58

ตารางที่ 4.4 (ตอ)

จากตารางที่ 4.4 พบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการวางแผนการนิเทศ โดยรวมปฏิบัติในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา แตงตั้งกรรมการทํางานเพื่อประเมินผลในการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก กําหนดโครงการนิเทศภายในไวในแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน สวนวิเคราะหนโยบายของโรงเรียนเพื่อการวางแผนการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

ตารางที่ 4.5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในดานการวางแผนการนิเทศ Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

9. ใชขอมูลจากการสํารวจการปฏิบัติงานตามความคิดเห็นของบุคลากรมาจัดทําโครงการนิเทศภายใน 3.41 .56 ปานกลาง

10. สรางความรูความเขาใจแกบุคลากรในโรงเรียนกอนดําเนินการนิเทศภายใน 3.48 .70 ปานกลาง

รวม 3.50 .36 มาก

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในดานการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

1. ประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ 3.65 .61 มาก

2. ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแผนการ นิเทศภายใน 3.62 .60 มาก

3. กําหนดนโยบายใหการดําเนินการนิเทศภายในดําเนินไปอยางเปนระบบและตอเนื่อง 3.55 .68 มาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 70: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

59

ตารางที่ 4.5 (ตอ)

จากตารางที่ 4.5 พบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี การดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแผนการ นิเทศภายใน สวนจัดกิจกรรมการนิเทศใหมีบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

4. กําหนดนโยบายใหบุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน 3.41 .64 ปานกลาง

5. กํากับ ติดตามใหการปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงค 3.55 .61 มาก

6. เรงรัดใหการปฏิบัติงานเปนไปตามแผนที่ไดวางไว 3.61 .57 มาก7. ดูแลใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในการ

ปฏิบัติงานการนิเทศภายใน 3.56 .60 มาก8. สรางขวัญ กําลังใจแกบุคลากรในการปฏิบัติงาน

อยางสม่ําเสมอ 3.54 .69 มาก9. จัดกิจกรรมการนิเทศใหมีบรรยากาศที่เปน

ประชาธิปไตย 3.32 .70 ปานกลาง10. ประชุมปรึกษาหารือหลังการจัดการนิเทศภายใน

เพื่อแกปญหาการนิเทศ 3.43 .62 ปานกลางรวม 3.52 .37 มาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 71: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

60

ตารางที่ 4.6 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศ

จากตารางที่ 4.6 พบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศโดยรวมปฏิบัติในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา รายงานผลการประเมินการนิเทศภายในและแจงใหครูในโรงเรียนทราบโดยทั่วกัน มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศใหมีประสิทธิภาพ สวนใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในดานการประเมินผลการนิเทศ Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

1. ตรวจสอบปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานนิเทศในโรงเรียน 3.52 .68 มาก

2. ติดตามความกาวหนาในการดําเนินการนิเทศในแตละแผนงานหรือโครงการ 3.59 .63 มาก

3. จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน 3.42 .65 ปานกลาง

4. จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานการนิเทศในทุกกลุมสาระ 3.47 .57 ปานกลาง

5. ประเมินผลรวมของการปฏิบัติงานตามโครงการเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย 3.52 .64 มาก

6. นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศใหมีประสิทธิภาพ 3.60 .63 มาก

7. ใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนเิทศภายใน 3.33 .66 ปานกลาง8. ประเมินผลการนิเทศตามขั้นตอนที่ระบุไว

ในแผนการนิเทศ 3.51 .67 มาก9. รายงานผลการประเมินการนิเทศภายในและแจง

ใหครูในโรงเรียนทราบโดยทั่วกัน 3.67 .62 มากรวม 3.52 .41 มาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 72: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

61

ตารางที่ 4.7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข

จากตารางที่ 4.7 พบวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นําผลการประเมินมาใชเปนประโยชนในการพัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย สวนมีการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในดานการปรับปรุงแกไข Χ S.D.

ระดับปฏิบัติงาน

1. ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย 3.52 .73 มาก

2. นําขอมูลที่ไดจากการประเมินผลการนิเทศมาปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศภายใน 3.48 .56 ปานกลาง

3. นําผลการประเมินมาใชเปนประโยชนในการพัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.58 .63 มาก

4. ประชุมและสรุปขอบกพรองที่เกิดจากการปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศและรวมกันหาวิธีแกไขขอบกพรอง 3.43 .66 ปานกลาง

5. นําวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพของครูไปเผยแพร 3.44 .64 ปานกลาง

6. มีการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายใน 3.08 .89 ปานกลาง

7. มีการศึกษาปญหาระหวางการปฏิบัติงานมาปรับปรงุแกไข 3.27 .65 ปานกลาง

8. มีการสัมมนารวมกันระหวางผูนิเทศกับผูปฏิบัติการสอน 3.29 .73 ปานกลาง

รวม 3.38 .42 ปานกลาง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 73: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

62

ตอนที่ 3 การวิเคราะหขอมูลเพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข

ตารางที่ 4.8 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนง

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

แหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. การสํารวจความตองการจําเปน ของโรงเรียน

ระหวางกลุม .267 3 .089 .481 .696

ภายในกลุม 24.216 131 .185

รวม 24.482 1342. การวางแผนการนิเทศ ระหวางกลุม .372 3 .124 .955 .416

ภายในกลุม 17.018 131 .130

รวม 17.390 1343. การดําเนินการนิเทศ ระหวางกลุม 1.311 3 .437 3.345 .021*

ภายในกลุม 17.118 131 .131

รวม 18.429 1344. การประเมินผลการนิเทศ ระหวางกลุม 1.309 3 .436 2.703 .058

ภายในกลุม 21.147 131 .161

รวม 22.456 134

5. การปรับปรุงแกไข ระหวางกลุม .814 3 .271 1.509 .215

ภายในกลุม 23.557 131 .180

รวม 24.371 134

รวม ระหวางกลุม .670 3 .223 2.107 .102

ภายในกลุม 13.879 131 .106

รวม 14.549 134

*Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 74: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

63

จากตารางที่ 4.8 พบวา การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนง โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการดําเนินการนิเทศ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

ดังนั้น เมื่อพบความแตกตาง จึงนําไปทดสอบความแตกตางเปนรายคูโดยใชวิธีแบบเชฟเฟ (Scheffe )́ มาวิเคราะหเปรียบเทียบผลการวิเคราะห ดังตารางที่ 4.9

ตารางที่ 4.9 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการดําเนินการนิเทศ

จําแนกตามตําแหนง โดยเปรียบเทียบรายคู

ตําแหนง ผูบริหาร รองผูบริหาร

หัวหนากลุมสาระ

หัวหนาฝาย

3.74 3.38 3.51 3.601. ผูบริหารสถานศึกษา 3.74 - .36* .22 .142. รองผูบริหารสถานศึกษา 3.38 - -.13 -.223. หัวหนากลุมสาระ 3.51 - -.08

4. หัวหนาฝาย/หัวหนางาน 3.60 -

* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.9 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการดําเนินการนิเทศ จําแนกตามตําแหนง โดยเปรียบเทียบรายคู พบวา ผูบริหารสถานศึกษา กับ รองผูบริหาร มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 75: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

64

ตารางที่ 4.10 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามประสบการณในการทํางาน

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

แหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. การสํารวจความตองการจําเปน ของโรงเรียน

ระหวางกลุม .190 2 .095 .515 .598

ภายในกลุม 24.293 132 .184

รวม 24.482 1342. การวางแผนการนิเทศ ระหวางกลุม .054 2 .027 .206 .814

ภายในกลุม 17.336 132 .131

รวม 17.390 1343. การดําเนินการนิเทศ ระหวางกลุม .198 2 .099 .718 .489

ภายในกลุม 18.231 132 .138

รวม 18.429 1344. การประเมินผลการนิเทศ ระหวางกลุม .411 2 .205 1.230 .296

ภายในกลุม 22.045 132 .167

รวม 22.456 134

5. การปรับปรุงแกไข ระหวางกลุม .104 2 .052 .282 .754

ภายในกลุม 24.267 132 .184

รวม 24.371 134

รวม ระหวางกลุม .046 2 .023 .211 .810

ภายในกลุม 14.503 132 .110

รวม 14.549 134* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.10 พบวา การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามประสบการณ ในการทํางาน โดยรวมและรายดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 76: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

65

ตารางที่ 4.11 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียน

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

แหลงความแปรปรวน

SS df MS F Sig.

1. การสํารวจความตองการจําเปน ของโรงเรียน

ระหวางกลุม 1.301 2 .650 3.703 .027*

ภายในกลุม 23.182 132 .176

รวม 24.482 1342. การวางแผนการนิเทศ ระหวางกลุม .201 2 .100 .771 .465

ภายในกลุม 17.189 132 .130

รวม 17.390 1343. การดําเนินการนิเทศ ระหวางกลุม .055 2 .028 .199 .820

ภายในกลุม 18.374 132 .139

รวม 18.429 1344. การประเมินผลการนิเทศ ระหวางกลุม 1.194 2 .597 3.708 .027*

ภายในกลุม 21.262 132 .161

รวม 22.456 134

5. การปรับปรุงแกไข ระหวางกลุม 2.099 2 1.050 6.221 .003*

ภายในกลุม 22.272 132 .169

รวม 24.371 134

รวม ระหวางกลุม .498 2 .249 2.341 .100

ภายในกลุม 14.051 132 .106

รวม 14.549 134* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.11 พบวา การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ดานการประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 77: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

66

ดังนั้น เมื่อพบความแตกตาง จึงนําไปทดสอบความแตกตางเปนรายคูโดยใชวิธีแบบเชฟเฟ (Scheffe )́ มาวิเคราะหเปรียบเทียบผลการวิเคราะห ดังตารางที่ 4.12 - 4.14

ตารางที่ 4.12 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการความจําเปนของโรงเรียน จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู

ขนาดของสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ

3.40 3.03 3.33

1. ขนาดเล็ก (มีนักเรียน ไมเกิน 120 คน) 3.40 - .37 .06

2. ขนาดกลาง(มีนักเรียน 121 - 499 คน) 3.03 - -.31*

3. ขนาดใหญ (มีนักเรียน 500 คนขึ้นไป) 3.33 -

* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.12 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการความจําเปนของโรงเรียน จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู พบวา โรงเรียนขนาดกลาง กับโรงเรียนขนาดใหญ มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 78: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

67

ตารางที่ 4.13 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศจําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู

ขนาดของสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ

3.73 3.32 3.51

1. ขนาดเล็ก (มีนักเรียน ไมเกิน 120 คน) 3.73 - .41* .22

2. ขนาดกลาง(มีนักเรียน 121 - 499 คน) 3.32 - -.19

3. ขนาดใหญ (มีนักเรียน 500 คนขึ้นไป) 3.51 -

* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.12 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศ จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู พบวา โรงเรียนขนาดเล็ก กับโรงเรียนขนาดกลางมีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 79: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

68

ตารางที่ 4.13 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไขจําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู

ขนาดของสถานศึกษา ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ

3.63 3.08 3.39

1. ขนาดเล็ก (มีนักเรียน ไมเกิน 120 คน) 3.63 - .54* .24

2. ขนาดกลาง(มีนักเรียน 121 - 499 คน) 3.08 - -.30*

3. ขนาดใหญ (มีนักเรียน 500 คนขึ้นไป) 3.39 -

* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.13 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข จําแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยเปรียบเทียบรายคู พบวา โรงเรียนขนาดเล็ก กับโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดกลาง และขนาดใหญ มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 80: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ในบทนี้จะกลาวถึงวัตถุประสงคของการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล ขอเสนอแนะทั่วไปและขอเสนอแนะในการทําวิจัยในครั้งตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดวัตถุประสงคไว ดังนี้1. เพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามรกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ

ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข

2. เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey research) โดย มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อใหการดําเนินการเปนไปตามความมุงหมาย ซึ่งผูวิจัยไดรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามจากกลุมตัวอยางไดแก ผูบริหารสถานศึกษา 15 คน รองผูบริหารสถานศึกษา จํานวน 25 คน หัวหนากลุมสาระ 80 คน และหัวหนางานหรือหัวหนาฝาย 15 คน รวมทั้งสิ้น 135 คน โดยกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางแบบเจาะจงจํานวน 135 คน ซึ่งปฏิบัติงานในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้เปนแบบสอบถามการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยแบงแบบสอบถามเปน 2 ตอน คือ

ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผูนิเทศมีลักษณะเปนแบบสํารวจรายการ (Check list) ประกอบดวยคําถามเกี่ยวกับ ตําแหนง ประสบการณในการทํางานและขนาดโรงเรียนที่สังกัดของผูตอบแบบสอบถาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 81: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

70

ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามแบบมาตรฐานสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดับ ถามครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศใน 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผล การนิเทศและการปรับปรุงแกไขผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามขึ้น โดยใหผูตอบแบบสอบถามพิจารณาวา การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนในแตละขอมากนอยเพียงใด ในแตละดาน โดยกําหนดคะแนนประมาณคาดังนี้

คะแนน 5 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน มากที่สุด

คะแนน 4 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในมากคะแนน 3 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

ปานกลางคะแนน 2 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในนอยคะแนน 1 หมายถึง ระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายใน

นอยที่สุดแบบสอบถามที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดรับคําแนะนําแกไขจากประธานและ

คณะกรรมการที่ปรึกษาภาคนิพนธ รวมทั้งผูเชี่ยวชาญ จากนั้นนําแบบสอบถามฉบับที่สมบูรณนําไปทดลองใช (Try out) กับผูนิเทศในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 3 โรงเรียน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 39 คน จําแนกเปนผูบริหารสถานศึกษาจํานวน 3 คน รองผูบริหารสถานศึกษาจํานวนวน 12 คน หัวหนากลุมสาระจํานวน 24 คน รวมทั้งสิ้น 39 คน เพื่อหาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟา (- Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach. 1974 : 202) ไดคาความเชื่อมั่น .95 การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ไดดําเนินการตามขั้นตอน โดยขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี ถึงผูบริหารสถานศึกษาในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อขอความรวมมือใหผูนิเทศที่เปนกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถามแลวสงแบบสอบถามคืน โดยผูวิจัยจะไปรับคืนดวยตนเองโดยผูวิจัยนําแบบสอบถาม จํานวน 135 ฉบับ ไดรับคืน จํานวน 135 ชุด คิดเปนรอยละ 100 ของแบบสอบถามที่สงไป เมื่อไดแบบสอบถามคืน ผูวิจัยไดตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของการตอบคําถาม เพื่อนําผลการตอบไปจัดกระทําและวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเมื่อไดรับขอมูลครบถวนตามที่ตองการแลว ผูวิจัยนําขอมูลไปทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows สถิติในการวิเคราะหขอมูลไดแก คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย ( ) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติ t - test

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 82: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

71

สรุปผล

จากผลการวิเคราะหขอมูลการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี สรุปผลการวิจัยได ดังนี้ ตอนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม พบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีตําแหนงเปนหัวหนากลุมสาระ รองลงมาคือ รองผูบริหารสถานศึกษา สวนใหญ มีประสบการณในการทํางาน 11 - 20 ป รองลงมา มีประสบการณในการทํางาน 21 ปขึ ้นไป ขนาดของสถานศึกษาที่ปฏิบัติงานสวนใหญมีขนาดใหญ มีนักเรียน 300 คนขึ้นไป รองลงมามีขนาดกลาง มีนักเรียน 151 - 300 คน และขนาดเล็ก มีนักเรียนไมเกิน 150 คน ตอนที่ 2 การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข พบวา 1. การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา การประเมินผลการนิเทศ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก การดําเนินการนิเทศ การวางแผนการนิเทศ การปรับปรุงแกไข และการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ตามลําดับ 2. การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาของผูนิเทศภายในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ในแตละดาน สรุปผลไดดังนี้ 2.1 การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก มีการแตงตั้ง กรรมการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศภายใน สวนวิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อกําหนดความจําเปนในการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด 2.2 การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการวางแผนการนิเทศ โดยรวมปฏิบัติในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา แตงตั้งกรรมการทํางานเพื่อประเมินผลในการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ย สูงที่สุด รองลงมาไดแก กําหนดโครงการนิเทศภายในไวในแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียนสวนวิเคราะหนโยบายของโรงเรียนเพื่อการวางแผนการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 83: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

72

2.3 การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี การดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแผนการ นิเทศภายใน สวนจัดกิจกรรมการนิเทศใหมีบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด 2.4 การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศโดยรวมปฏิบัติ ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา รายงานผลการประเมินการนิเทศภายในและแจงใหครูในโรงเรียนทราบโดยทั่วกัน มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศใหมีประสิทธิภาพ สวนใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนิเทศภายในมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด 2.5 การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นําผลการประเมินมาใชเปนประโยชนในการพัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย สวนมีการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี 5 ดาน ไดแก การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน การวางแผนการนิเทศ การดําเนินการนิเทศ การประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไข ผลการวิจัยพบวา 1. การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนง โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการดําเนินการนิเทศแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน เปรียบเทียบรายคู พบวา ผูบริหารสถานศึกษา กับรองผูบริหาร มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน 2. การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยรวมและรายดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 84: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

73

3. การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ดานการประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน เปรียบเทียบรายคู พบวา โรงเรียนขนาดกลาง กับโรงเรียนขนาดใหญ มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน

อภิปรายผล

จากผลการวิจัยเรื่องการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี มีประเด็นที่จะนํามาอภิปรายดังนี้ 1. การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ เดชา หามนตรี (2541) ไดศึกษาการนิเทศในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดสระบุรี พบวา มีการปฏิบัติงานใน 5 ดาน ประกอบดวยการกําหนดและ แจงนโยบายการนิเทศ มีการแตงตั้งคณะกรรมการการนิเทศภายใน การเตรียมการกอนการวางแผน การนิเทศ การปฏิบัติตามแผนการนิเทศ และการติดตามผลประเมินผลการนิเทศ โดยมีการปฏิบัติ อยูในระดับปานกลาง สาเหตุที่ทําใหผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนผลมาจากในปจจุบันเปนยุคของ การปฏิรูปการศึกษาผูนิเทศเปนบุคลากรหลักของโรงเรียน ซึ่งประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา รองผูบริหารสถานศึกษา หัวหนากลุมสาระและหัวหนาฝายหรือหัวหนางานของโรงเรียน ซึ่งเปนผูรับผิดชอบโดยตรงไดตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปนของการนิเทศภายใน ซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542หมวด 6 เรื่องมาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา กําหนดใหสถานศึกษามีการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบดวยการประกันคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของการกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่องรวมทั้งนโยบายของ สพฐ. ไดกําหนดมาตรการใหโรงเรียน ดําเนินงานตามยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเนนใหโรงเรียนในสังกัดจัดระบบพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาโดยใชกระบวนการนิเทศภายใน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 85: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

74

จากที่กลาวมาขางตนนาจะเปนเหตุผลหลักที่ทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายดานอภิปรายไดดังนี้ 1) การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิ เทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการมีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก มีการแตงตั้งกรรมการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศภายใน สวนวิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อกําหนดความจําเปนในการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุดสาเหตุที่ทําให ผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนผลมาจากการปฏิรูปการศึกษาตามพระราช บัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดยุทธศาสตรใหโรงเรียนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและมุงสูสากล และยุทธศาสตร การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพโดยเนนใหโรงเรียนบริหารจัดการแบบมีสวนรวมกระจายอํานาจการบริหารใหโรงเรียนมีฐานะเปนนิติบุคคล จึงทําใหสถานศึกษาไดตระหนักถึงความจําเปนพื้นฐานจึงไดมีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการสถานศึกษาอยางแทจริง จึงนาจะเปนเหตุผลหลักที่ทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง 2) การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการวางแผนการนิเทศ โดยรวมปฏิบัติ ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา แตงตั้งกรรมการทํางานเพื่อประเมินผลในการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก กําหนดโครงการนิเทศภายในไวในแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน สวนวิเคราะหนโยบายของโรงเรียนเพื่อการวางแผนการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด ผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนผลมาจาก ผูบริหารในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานีไดมีการประชุมวางแผนรวมกันเปนประจําอยางตอเนื่องอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อรับนโยบายระดับเครือขายประกอบกับแตละโรงเรียนนําหลักการบริหารงานแบบ PDCA มาใชบริหารจัดการในโรงเรียนเพื่อนําขอมูลตาง ๆ มาใชประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาประเมินและรับรองมาตรฐานการศึกษาจากหนวยงานภายนอก ซึ่งโรงเรียนตองจัดทํารายงานโครงการตาง ๆ ไวในแผนแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียนซึ่งการวางแผนเปนขั้นตอนการนําผล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 86: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

75

การศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา และความตองการมากําหนดรายละเอียดในการปฏิบัติงานลวงหนา ที่เปนระบบมีขั้นตอนที่จะชวยใหการนิเทศภายในโรงเรียนเปนรูปธรรม และมีประสิทธิภาพอยางแทจริง จึงมีผลทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุง ดานการวางแผนการนิเทศ โดยรวมปฏิบัติในระดับมาก 3) การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิ เทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี การดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแผน การนิเทศภายใน สวนจัดกิจกรรมการนิเทศใหมีบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด ผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนผลมาจากผูนิเทศเล็งเห็นความสําคัญของการดําเนินการนิเทศภายในวาเปนสิ่งจําเปนตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงเปนหนาที่ที่ผูนิเทศภายในตองรูและเขาใจบทบาทหนาที่และแนวทางขั้นตอนการปฏิบัติภารกิจของตน เพื่อประสานการดําเนินงานการนิเทศใหเกิดประสิทธิภาพตามนโยบายตนสังกัด ซึ่งเมื่อพิจารณารายดานพบวาการประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานีไดมีการประชุมชี้แจงการดําเนินงานรวมกันเปนประจําและตอเนื่องสงผลใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของ ผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุงดานการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียนโดยรวมปฏิบัติ ในระดับมาก 4) การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิ เทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการประเมินผลการนิเทศโดยรวมปฏิบัติ ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา รายงานผลการประเมินการนิเทศภายในและแจงใหครูในโรงเรียนทราบโดยทั่วกัน มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศใหมีประสิทธิภาพ สวนใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนิเทศภายในมีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด ผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนผลมาจากผูนิเทศไดตระหนักและใหความสําคัญกับการประเมินผลวาเปนเครื่องมือที่สําคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรตาง ๆ ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาใหบรรลุวัตถุประสงคอันจะสงผลและเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน และการนําผลการประเมินการนิเทศภายในและแจงใหครูในโรงเรียนทราบโดยทั่วกันเปนการทําใหครูทราบถึงจุดเดนจุดดอยเพื่อจะไดนําผลการนิเทศไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอันจะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดของการจัดการศึกษา ซึ่ง หนวยศึกษานิเทศก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 87: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

76

กรมสามัญศึกษา (2542) อธิบายวา การประเมินผลโครงการจัดทําขึ้นก็เพื่อวัตถุประสงคที่สําคัญ คือประเมินโครงการไปปรับปรุงการบริหารโครงการใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และนําผลการประเมินนั้นเสนอผูบริหาร เพื่อชวยใหผูบริหารตัดสินในเรื่องที่เกี่ยวของไดอยางถูกตอง การประเมินผลโครงการแบงออกเปน 3 ลักษณะ คือ การประเมินผลกอนเริ่มโครงการ การประเมินผลระหวาง การดําเนินการ และการประเมินผลหลังการดําเนินการ สงผลใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุงดานการประเมินผลการนิเทศโดยรวมปฏิบัติในระดับมาก 5) การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิ เทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการปรับปรุงแกไข โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา นําผลการประเมินมาใชเปนประโยชนในการพัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาไดแก ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย สวนมีการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายใน มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด ผลการวิจัยเปนเชนนี้นาจะเปนผลมาจากปจจุบันการประชุมสัมมนารวมกันระหวางครูมีการนําผลการปฏิบัติงานรวมกันมาวิเคราะหเพื่อหาขอบกพรอง หรือขอสวนที่ยังไมบรรลุวัตถุประสงค มาหาแนวทางการแกไขและพัฒนารวมกันมากขึ้น และการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาไดกําหนดมาตรฐานตัวชี้วัดความสําเร็จของงาน พรอมทั้งเกณฑการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาไวอยางชัดเจน (หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา. 2542) จึงทําให ผูนิเทศทราบบทบาทหนาที่ของตนที่จะตองดําเนินการเพื่อใหงานบรรลุผล การพัฒนาสงเสริมประสิทธิภาพการนิเทศจําเปนที่จะตองนําผลการปฏิบัติงานที่ผานมาเปนขอมูลในการพัฒนา สวนดานการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายในยังเปนเรื่องใหมของสถานศึกษาและไมไดมีการกําหนดเปนนโยบายหลักจึงมีคาเฉลี่ยต่ําสุดจึงนาจะเปนเหตุผลหลักที่ทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียน ในเครือขายบางกุงดานการปรับปรุงแกไข โดยรวมปฏิบัติในระดับปานกลาง 2. การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนง โดยรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการดําเนินการนิเทศ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน เปรียบเทียบรายคู พบวา ผูบริหารสถานศึกษา กับ รองผูบริหาร มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน ซึ่งในภาพรวมไมเปนไปตาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 88: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

77

สมมติฐานที่ตั้งไว ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูดําเนินการนิเทศมีความรูความสามารถและเขาใจบทบาทและหนาที่ของตนเองอยางชัดเจนและเปนผลพวงมาจากทางภาครัฐไดใหความรูกับทุกคนอยางทั่วถึงและมีขอมูลขาวสารตาง ๆ เชน วารสาร บทความ หนังสือ หรือสื่ออินเทอรเน็ต ทําใหผูนิเทศ มีโอกาสพัฒนาความรูความสามารถของตนเองไดตลอดเวลาและบุคลากรซึ่งทําหนาที่นิเทศสวนใหญมีตําแหนงหนาที่สําคัญของโรงเรียนจึงมีโอกาสไดเรียนรูและพัฒนาอยางตอเนื่องสวนการเปรียบเทียบรายคู พบวา ผูบริหารสถานศึกษา กับ รองผูบริหาร มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อาจสืบเนื่องมาจากทั้ง 2 ตําแหนง มีบทบาท หนาที่แตกตางกันในรายละเอียด จึงนาจะเปนเหตุผลหลักที่ทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามตําแหนงโดยรวมไมแตกตางกัน 3. การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยรวมและรายดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผูดําเนินการนิเทศสวนใหญมีประสบการณการทํางาน ในชวง 11 - 20 ป ถึงรอยละ 46.67 และชวง 21 ปขึ้นไปรอยละ 29.63 ซึ่งรวมกันไดรอยละ 76.20 ซึ่งสวนใหญมีประสบการณใกลเคียงกัน ประกอบกับ การดําเนินการนิเทศเปนขั้นตอนที่มีการปฏิบัติอยางชัดเจนสามารถปฏิบัติและเรียนรูไดไมยาก และผูนิเทศมีการเรียนรูขอมูลตางๆไดจากสื่อที่หลากหลายจึงทําใหสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการนิเทศไมตางกัน จึงนาจะเปนเหตุผลหลักที่ทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามประสบการณในการทํางาน โดยรวมและรายดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. การเปรียบเทียบการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี จําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวม ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนรายดานพบวา ดานการสํารวจความตองการจําเปน ของโรงเรียน ดานการประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน เปรียบเทียบรายคู พบวา โรงเรียนขนาดกลาง กับโรงเรียนขนาดใหญ มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนคูอื่น ๆ ไมแตกตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากโรงเรียนขนาดใหญ โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดเล็ก มีการทํากิจกรรมรวมกันในลักษณะของเครือขายมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูทําใหโรงเรียนทุกขนาดมีโอกาสไดรับขอมูลขาวสารและอบรมพัฒนารวมกันและโรงเรียนขนาดเล็กในเครือขายบางกุงสวนใหญจัดการศึกษาในระดับอนุบาล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 89: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

78

แตไมเกินระดับประถมศึกษาทําใหมีบุคลากรที่ตองดูแลไมมากนักจึงทําใหสามารถดําเนินการนิเทศการศึกษาไดครอบคลุมและทั่วถึงไมแตกตางจากโรงเรียนขนาดใหญ สวนรายดานพบวา ดานการสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ดานการประเมินผลการนิเทศ และการปรับปรุงแกไขแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สืบเนื่องมาจากโรงเรียนขนาดใหญและขนาดกลางไดรับจัดสรรงบประมาณและบุคลากรเพียงพอและสามารถทํางานไดหลากหลายกวาและโรงเรียนขนาดใหญในเครือขายหลายโรงเรียนเปนโรงเรียนเอกชนมีงบประมาณอุดหนุนทั้งจากรัฐบาลและเงินคาบํารุงการศึกษาจึงทําใหการบริหารจัดการการนิเทศเปนระบบและคลองตัว สวนการ เปรียบเทียบรายคู พบวา โรงเรียนขนาดกลาง กับโรงเรียนขนาดใหญ มีการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้อาจจะเปนผลมาจากโรงเรียนขนาดกลางมีการจัดการศึกษาในหลายระดับอาทิ ระดับอนุบาล ประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาซึ่งแตกตางจากโรงเรียนขนาดใหญที่มีการจัดการศึกษาแคระดับเดียวยกเวนโรงเรียนเอกชนขนาดใหญซึ่งมีงบประมาณเพียงพอกวาโรงเรียนขนาดทําใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในแตกตางกันเปนผลใหการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานีจําแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยรวมไมแตกตางกัน

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะสําหรับนําผลการวิจัยไปใช จากผลการวิจัยที่พบ การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศ ในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยขอเสนอแนะผลการวิจัยไปใช ดังนี้ 1. การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน ผูบริหารสถานศึกษาหรือผูดําเนินการนิเทศควรมีการวิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อมากําหนดความจําเปนในการนิเทศภายในของโรงเรียน 2. การวางแผนการนิเทศ ผูบริหารสถานศึกษาควรวิเคราะหนโยบายของโรงเรียน เพื่อนํามาวางแผนการปฏิบัติงานการนิเทศภายในของโรงเรียน 3. การดําเนินการนิเทศ ผูบริหารสถานศึกษาควรจัดกิจกรรมการนิเทศภายในใหมีบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย 4. การประเมินผลการนิเทศผูบริหารสถานศึกษาควรมีการสงเสริมหรือเพิ่มบทบาท ใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนิเทศภายใน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 90: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

79

5. การปรับปรุงแกไข ผูบริหารสถานศึกษาควรมีการจัดกิจกรรมการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายในแกบุคลากรในโรงเรียน ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการวิจัยเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน เพื่อประโยชนในการพัฒนาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 2. ควรมีการวิจัยเพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน ในระดับเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อประโยชนในการนําขอมูลไปพัฒนาบุคลากรผูรับผิดชอบงานนิเทศในระดับเขตพื้นที่การศึกษา เปนการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาใหดียิ่งขึ้น

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 91: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

บรรณานุกรม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 92: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

81

บรรณานุกรม

กมล บุญประเสริฐ. (2542). การนิเทศภายในสถานศึกษา เอกสารชุดฝกอบรมหลักสูตรผูบริหารสถานศึกษาระดับสูง. นครปฐม : สถาบันพัฒนาบริหารการศึกษา.

กอบกุล ไชยพันธ. (2537). ความตองการของผูบริหารและครูในการจัดการนิเทศภายในโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณทิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กิตติ ปาประโคน. (2542). การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : อักษรพิพัฒน.คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2543). การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ

ภายในสถานศึกษา เลม 7, การนิเทศเพื่อสงเสริมระบบประกันคุณภาพในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัด เจ. เอ็น.ที..

_______. (2542). ระเบียบวาดวยการศึกษานิเทศ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ : ผูแตง.

_______. (2542). การนิเทศภายในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : ผูแตง._______. (2534). คูมือผูบริหาร : การดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพคุรุสภา.คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542). การกํากับติดตาม/ นิเทศ และประเมินผล

การนิเทศโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา._______. (2535). แผนการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2532. กรุงเทพฯ : สํานักงานศึกษาธิการ. คํานวณ สมบูรณ. (2540). การศึกษาการดําเนินงานดานนิเทศการศึกษาของหัวหนาการประถมศึกษา

อําเภอ สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิตการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

จุรีย จันทรเจริญ. (2539). การปฏิบัติงานการนิเทศวิชาการในโรงเรียนของผูบริหารโรงเรียนสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 93: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

82

เจษฎา แชมประเสริฐ. (2542). “การนิเทศภายในสถานศึกษา” เอกสารประกอบการบรรยาย”สมุทรปราการ : หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษา.

ชารี มณีศรี. (2542). การนิเทศการศึกษา (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โสภณการพิมพ. ชินวงศ ศรีงาม. (2536, กันยายน). “การประเมินการสอนของครู” วารสารศึกษาเอกชน.

5(48) : 23 - 26.ชูศักดิ์ กุลทัพ. (2540). สภาพและปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงาน

การประถมศึกษา จังหวัดสุพรรณบุร.ี วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ณรง สุทธิภักดี. (2538). การศึกษาการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานประถมศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามทัศนะของผูบริหารโรงเรียนและครูอาจารย. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เดชา มากสอน. (2541). บทบาทผูบริหารโรงเรียนเกี่ยวกับนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

เดชา หามนตรี. (2541). การนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน จังหวัดสระบุร.ี ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เตือนใจ แกวโอกาส และคนอื่น ๆ. (2529). ชุดฝกอบรมการนิเทศการศึกษาเรื่องการสรางสื่อเครื่องมือและพัฒนาวิชาการ. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ เอกสารลําดับที่ 2.

เทียมจันทร ธุวสินธ. (2539). ปญหาการนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นริศรา อุปกรณศิริการ. (2542). การรับรูในการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียนของผูเกี่ยวของกับการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาเขตการศึกษาปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิกร เพ็ญเวียง. (2538, กรกฎาคม - กันยายน). การนิเทศภายในกับประสิทธิภาพการเรียนการสอนภายในโรงเรียน. สารพัฒนาหลักสูตร. 14(122) : 47 - 51

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 94: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

83

นิตยา ทองไทย. (2542). การดําเนินการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี. ปริญญานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิเวศน คิดยาว. (2542). ความตองการการนิเทศการศึกษาของครูผูสอนเกี่ยวกับงานวิชาการ ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานประถมศึกษาจังหวัดสุรินทร. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บดินทร ธัญนอย. (2541). กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอปากซอง จังหวัดลําพูน. รายงานการศึกษาคนควาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

บัญชา นามปาน. (2542). ปญหาและแนวทางในการแกปญหาของการบริหารงานดานวิชาการ ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเทศบาล เขตการศึกษา รายงานการศึกษาคนควาอิสระการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญเชิด มณีเขียว. (2543). กระบวนการนิเทศการศึกษาในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงาน การประถมศึกษา จังหวัดกําแพงเพชร. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏกําแพงเพชร.

ปณิพล นานา. (2543). การปฏิบัติการนิเทศภายในของผูบริหารโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษากิ่งอําเภอลําทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา. รายงานการศึกษาคนควาอิสระการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ประมวล องศระการ. (2540). ปญหาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนของผูบริหารโรงเรียนมัธยม สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดลําปาง. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ปรีชา จิตรสิงห วิโรจน ฟกสุวรรณ และกมล บุญประเสริฐ. (2542). “การนิเทศภายในสถานศึกษา”ในเอกสารชุดอบรม หลักสูตรผูบริหารระดับสูง. นครปฐม : สถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา.

ผดุง เฉลียวศิลป. (2540). ปญหาการนิเทศการศึกษาของหนวยศึกษานิเทศก สํานักงานการประถมศึกษาอําเภอในเขตการศึกษา. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 95: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

84

พนม พงษไพบูลย. (2542). การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อปวงชนแบบสหวิทยาเขต : เอกสารพิธีเปดอาคารสํานักงานสามัญศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. สมุทรปราการ : ปากน้ํากราฟฟค.

พรทิพย เตียวพานิชยกิจ. (2539). การติดตามการดําเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาตนแบบ สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ไพโรจน กลิ่นกุหลาบ. (2542). การนิเทศการศึกษา : ทฤษฎีและการปฏิบัติการ. ภาควิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มยุรี พรหมภักดิ์. (2542). ศึกษาระดับปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดเลย. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

มาลี จุฑา. (2542). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อักษรพิพัฒน.รินทรทอง วรรณศิริ. (2541). ปญหาในการและการจัดการนิเทศภายในโรงเรียนเอกชน อาชีวศึกษา

ภาคใต. วิทยานิพนธครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.

วไลรัตน บุญสวัสดิ์. (2538). หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการบริหารการศึกษา.คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

_______. (2538). หลักการนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : อารตกราฟฟค.วัฒนา สุวิทยพันธ. (2537). สภาพปญหาการนิเทศงานวิชาการในโรงเรียนมัธยมศึกษากรมสามัญ

ศึกษา จังหวัดปราจีนบุรี. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิเชียร เกตุสิงห. (2538). คาเฉลี่ยกับการแปลความหมาย : เรื่องงายๆที่บางครั้งก็พลาดได.ขาวการวิจัยการศึกษา. 18(3) : 8 - 11.

_______. (2540). ทางเลือกในการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย. รายงานการศึกษาคนควาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

_______. (2541). ความสัมพันธระหวางความรูดานนิเทศการศึกษากับการปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียนของผูบริหารโรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดลพบุร.ีวิทยานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปกร.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 96: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

85

ศศิธร เผดิมรอด. (2540). การศึกษาการดําเนินการนิเทศภายในที่มีประสิทธิภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิตการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2550). เสนทางสูความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาไทย : แนวทางการดําเนินการงานปฏิรูปการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : ผูแตง.

สงัด อุทรานันท. (2530). การนิเทศการศึกษาหลักการทฤษฏีและการปฏิบัติ (พิมพครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ : โรงพิมพมิตรสยาม.

สามัญการศึกษา, กรม. (2542). นโยบายกรมสามัญศึกษา. กรุงเทพฯ : กองแผนงาน. _______. (2542). แนวทางนโยบายในโรงเรียนตามรูปแบบการนิเทศเพื่อใหโรงเรียนพัฒนาตนเอง.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศึกษา._______. (2542). แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว._______. (2542). การประกันคุณภาพการศึกษาและมาตรฐานละตัวชี้วัดมาตรฐานคุณภาพ

การศึกษาในโรงเรียนสังกัด. กรุงเทพฯ : กรมสามัญศึกษา.สมเด็จ หาญกุดคุม. (2537). ปญหาการนิเทศงานวิชาการโรงเรียนขยายโอกาทางการศึกษา

สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัด เขตการศึกษา. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมบัติ ตุมธรรมรงค. (2540). การปฏิบัติงานนิเทศภายในโรงเรียนโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมพล ธงศิลา. (2524). กระบวนการนิเทศการจัดการศึกษาภายในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี ตามแนวปฏิบัติของสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สมานจิตร พงษสนาม. (2542) การศึกษาการดําเนินงานการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา. วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สหวิทยาเขตแกวปราการ, สํานักงาน. (2544). รายงานการประเมินคุณภาพโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ปการศึกษา 2544. สมุทรปราการ : ผูแตง.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 97: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

86

สหวิทยาเขตแกวปราการ, สํานักงาน. (2545). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปงบประมาณ 2545. สมุทรปราการ : สํานักงานฯ.

สมุทรปราการ, จังหวัด. (2541). รายงานผลการนิเทศการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา. สมุทรปราการ :ผูแตง.

สามัญศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ, สํานักงาน. (2542). เอกสารพิธีเปดอาคารสักงานสามัญศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ. สมุทรปราการ : ปากน้ํากราฟฟก.

_______. (2544). คูมือปฏิบัติงาน. สมุทรปราการ : ฝายพัฒนาการศึกษา สํานักงานสามัญศึกษา.สันติ ทองประเสริฐ. (2544). รายงานผลการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบประกัน

คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดการศึกษา เขตการศึกษา. นครปฐม : หนวยศึกษานิเทศก สิทธิชัย เวศสุวรรณ. (2541). การศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีการติดตอการนิเทศงานวิชาการใน

โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุดาวรรณ พานิชสุขไพศาล. (2539). ความพอใจของคุณครูที่มีตอกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรียนในเครือเซนตปอล เดอชารต. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุเมร ปตตานี. (2544). บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการนิเทศภายในตามทัศนะของผูบริหารโรงเรียนและคณะครูผูสอนในโรงเรียนประถมศึกษา. รายงานการศึกษาคนควาอิสระการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุวัณนา ทัดเทียม. (2541). กระบวนการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดอางทอง. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

หนวยศึกษานิเทศก, กรมสามัญศึกษา. (2546). แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามยุทธศาสตรการพัฒนางานสูการปฏิรูปการศึกษา ของกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 1. นครปฐม : กองแผนงาน.

_______. (2452). แนวทางการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : หนวยศึกษานิเทศก._______. (2540). กลยุทธการบริหารเชิงคุณภาพ (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : บริษัท เอส แอนด จี

กราฟฟค.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 98: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

87

หนวยศึกษานิเทศก, สํานักงานการศึกษากรุงเทพมหานคร. (2534). คูมือผูบริหารโรงเรียนการดําเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว.

หนวยศึกษานิเทศก, กรมสามัญศึกษา. (2537). รายงานการนิเทศโรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี ปงบประมาณ 2538. อุบลราชธานี : หนวยศึกษานิเทศก กรมสามัญศึกษาเขตการศึกษา 10, 2537.

อเนก สองแสง. (2540) การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษาคณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏพระนคร.

อําเภอบางพลี. (2544). รายงานตรวจมาตรฐานสถาบันของสถานศึกษา สังกัด กระทรวงศึกษาธิการ อําเภอบางพลี. สมุทรปราการ. เอกสารลําดับที่ 10. สมุทรปราการ : กลุมแผนงานและติดตามผล.

อัญชลี กําพลรัตน. (2534). การนิเทศการศึกษาภายในและแนวการนําไปใชของศูนยการศึกษานอกโรงเรียน. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อาคม จันทสุนทร. (2533). การนิเทศภายในโรงเรียน ในเอกสารสัมมนาการสงเสริมการนิเทศภายในโรงเรียนของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการบริหารการศึกษาคณะครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิยาลัย.

Burton, William H. and Brueckne, lee J. (1955). Supervision : A Social Process (3rd ed.).New York : Appleton-Counry-crafts.

Cronbach, lee J. (1974). Essen of Paychological Testing. New York : Haper.Burton, William H. and Bruecker, lee J. (1955). Supervision : A Social Process (3rd ed.).

New York : Appleton-Counry-crafts.Cronbach, lee J. (1974). Essen of Psychological Testing. New York : Haper & Row.Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York : McGraw-Hill.Glickman, Carl D. (1990). Supervision of Instruction. USA Allyn and Bacan.Harris, Ben M. (1963). Supervisory Behavior in Education. Taxas : University of

Taxas Press. 7Hsrris, Ben M. (1975). Supervision Behavior in Education. New Jersey : Prentice-Hall.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 99: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

88

Jailall, Jerry M. S. (1998, September). Differentiated Supervision Revisited : Towards TheDevelopment of An Effective Supervisory Model To Promote teacher Growthand Instructional Improvement. Dissertation Abstracts International. 59 (03) :675-A.

Lsngmuir, David Allen. (1998, June). Making Sense of Teacher Collaboration (ProfessionalDevelopment), Dissertation Abstracts International. 59 (7) : 4324-A.

Sergiovanni, Thomas J. and Robert, straw off. (1992). Educational Govermance andAdministration. Massachusetts : Allyn and Bacon.

Tanner. Daniel and Tanner Laured. (1987). Supervision in Education Problems And Practices.New York : Macmillan Publishing Company.

Willams, Francine Foster. (1994, January). Clinical Supervision Implementation StrategiesAnd Behavioral Changes : An Ethnography of Elementary School personal.Dissertation Abstracts International. 54(7) : 2425-A

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 100: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

ภาคผนวก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 101: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

90

ภาคผนวก กหนังสือขอความอนุเคราะหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ ขออนุญาตเก็บขอมูล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 102: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

91

ที่ ศธ ๐๕๖๑.๑๑/ว๐๓๕๕ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๐๐๐

๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓

เรื่อง ขอความอนุเคราะหใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือวิจัย

เรียน

สิ่งที่สงมาดวย ๑. เครื่องมือวิจัย จํานวน ๑ ชุด๒. ภาคนิพนธบทที่ ๑ และบทที่ ๓

ดวย นายโสภณ ทองจิตร นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี กําลังศึกษาวิจัยเพื่อทําภาคนิพนธ เรื่อง การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี มีความประสงคใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เพื่อนําไปใชในการเก็บขอมูลวิจัย

ในการนี้ บัณฑิตวิทยาลัย จึงขออนุเคราะหทานในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย พรอมทั้งใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนทางวิชาการแกนักศึกษา ตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและหวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารยชูศักดิ์ เอกเพชร)คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยโทรศัพท ๐๗๗-๙๑๓๓๑๕ ถึง ๑๗ หรือ ๐๗๗-๓๕๕๔๖๖-๗ ตอ ๓๓๑๔-๓๓๑๗โทรสาร ๐๗๗-๙๑๓๓๑๖

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 103: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

92

ที่ ศธ ๐๕๖๑.๑๑/ว๐๓๕๖ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ๘๔๐๐๐

๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓

เรื่อง ขออนุญาตเก็บขอมูล

เรียน

ดวย นายโสภณ ทองจิตร นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี กําลังศึกษาวิจัยเพื่อทําภาคนิพนธ เรื่อง การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ ่งขณะนี ้นักศึกษาไดดํา เนินการถึงขั ้นตอนการเก็บขอมูลวิจัยกับ กลุมตัวอยาง

ดังนั้น บัณฑิตวิทยาลัย จึงขออนุญาตจากทานในการใหนักศึกษาขางตน ดําเนินการเก็บขอมูลในหนวยงานของทาน ประกอบการศึกษาวิจัยเพื่อเปนประโยชนทางวิชาการ ตอไป

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาและหวังเปนอยางยิ่งวาจะไดรับความอนุเคราะหจากทานดวยดี และขอขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

(รองศาสตราจารยชูศักดิ์ เอกเพชร)คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัยโทรศัพท ๐๗๗-๙๑๓๓๑๕ ถึง ๑๗ หรือ ๐๗๗-๓๕๕๔๖๖-๗ ตอ ๓๓๑๔-๓๓๑๗โทรสาร ๐๗๗-๙๑๓๓๑๖

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 104: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

93

ภาคผนวก ขรายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 105: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

94

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ

1. ชื่อ - สกุล วาที่ ร.ต.ทวีศักดิ์ ยศถา ตําแหนง ผูอํานวยการ เชี่ยวชาญ โรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี ประธานเครือขายบางกุง วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2. ชื่อ - สกุล นายสุทธิพงษ ทองสราง ตําแหนง ศึกษานิเทศก ชํานาญการพิเศษ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สุราษฎรธานี เขต 1 วุฒิการศึกษา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ 3. ชื่อ - สกุล นางจันทรา ศรีสุข ตําแหนง รองผูอํานวยการ โรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม 4. ชื่อ - สกุล นางวิภาสกร ดงราศรี ตําแหนง ครูชํานาญการ โรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี วุฒิการศึกษา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

5. ชื่อ - สกุล นางวัชนี นาคทอง ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี วุฒิการศึกษา การศึกษาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสงขลา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 106: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

95

ภาคผนวก คตารางสรุปคา IOC

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 107: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

96

สรุปผลการตรวจคุณภาพเครื่องมือการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนโรงเรียนเครือขายบางกุง

จังหวัดสุราษฎรธานี

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน คา IOC1. ศึกษาสภาพในปจจุบันและผลการปฏิบัติงานจากผลการประเมินภายนอก

ของโรงเรียนเพื่อกําหนดความตองการในการนิเทศภายในโรงเรียน 12. ศึกษาปญหาการปฏิบัติงานของโรงเรียนเพื่อกําหนดขอบเขตของความจําเปน

ในการนิเทศภายใน 13. สํารวจขอมูลการปฏิบัติงานของฝาย กลุมสาระตาง ๆ มากําหนดความตองการ

ในการนิเทศภายใน 14. วิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อกําหนดความจําเปนในการนิเทศ

ภายใน 15. รวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะของบุคลากรในโรงเรียนมาใชเปน

ขอมูลในการกําหนดความตองการในการนิเทศภายใน 16. ประมวลทางเลือกในการแกปญหาการปฏิบัติงานรวมกัน เพื่อกําหนดทิศทาง

ในการนิเทศภายใน 0.87. ศึกษาความตองการในการนิเทศจากผลการประเมินที่ผานมา 18. มีการแตงตั้งกรรมการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการ

นิเทศภายใน โรงเรียน 19. มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความ

ตองการ 1การวางแผนการนิเทศ10. วิเคราะหนโยบายของโรงเรียนเพื่อการวางแผนการนิเทศภายใน 111. วิเคราะหสภาพปญหาของโรงเรียนเพื่อวางแผนการนิเทศภายใน 112. จัดทําแผนการนิเทศโดยระบุขั้นตอนรายละเอียดกิจกรรมในการนิเทศภายใน

ที่ชัดเจน 113. กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายการนิเทศภายในไวชัดเจน 0.814. กําหนดโครงการนิเทศภายในไวในแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน 0.8

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 108: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

97

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน คา IOC15. มีการวางแผนประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการนิเทศภายใน

โรงเรียน 116. แตงตั้งกรรมการทํางานเพื่อประเมินผลในการนิเทศภายใน 1 17. กําหนดขอบเขตและความรับผิดชอบของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ 118. ใชขอมูลจากการสํารวจการปฏิบัติงานตามความคิดเห็นของบุคลากร

มาจัดทําโครงการนิเทศ ภายใน 119. สรางความรูความเขาใจแกบุคลากรในโรงเรียนกอนดําเนินการนิเทศภายใน 0.8

การดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน20. ประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและผูรับการนิเทศ 121. ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแผนการ นิเทศภายใน 122. กําหนดนโยบายใหการดําเนินการนิเทศภายในดําเนินไปอยางเปนระบบและ

ตอเนื่อง 1การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน คา IOC23. กําหนดนโยบายใหบุคลากรทุกฝายมีสวนรวมในการปฏิบัติงานการนิเทศ

ภายในโรงเรียน 124. กํากับ ติดตามใหการปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงค 1

25. เรงรัดใหการปฏิบัติงานเปนไปตามแผนที่ไดวางไว 0.826. ดูแลใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในการปฏิบัติงานการนิเทศภายใน 127. สรางขวัญ กําลังใจแกบุคลากรในการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ 0.828. จัดกิจกรรมการนิเทศใหมีบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย 129. ประชุมปรึกษาหารือหลังการจัดการนิเทศภายใน เพื่อแกปญหาการนิเทศ 1

การประเมินผลการนิเทศ30. ตรวจสอบปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานนิเทศในโรงเรียน 0.831. ติดตามความกาวหนาในการดําเนินการนิเทศในแตละแผนงานหรือโครงการ 132. จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน 133. จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานการนิเทศในทุกกลุมสาระ 134. ประเมินผลรวมของการปฏิบัติงานตามโครงการเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค

และเปาหมาย 1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 109: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

98

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียน คา IOC35. นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศใหมี

ประสิทธิภาพ 136. ใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนิเทศภายใน 137. ประเมินผลการนิเทศตามขั้นตอนที่ระบุไวในแผนการนิเทศ 138. รายงานผลการประเมินการนิเทศภายในและแจงใหครูในโรงเรียนทราบ

โดยทั่วกัน 1 การปรับปรุงแกไข39. ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย 0.840. นําขอมูลที่ไดจากการประเมินผลการนิเทศมาปรับปรุงการปฏิบัติงานการ

นิเทศภายใน 141. นําผลการประเมินมาใชเปนประโยชนในการพัฒนางานไดอยางมี

ประสิทธิภาพ 142. ประชุมและสรุปขอบกพรองที่เกิดจากการปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศและ

รวมกันหาวิธีแกไขขอบกพรอง 143. นําวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพของครูไปเผยแพร 144. มีการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายใน 0.845. มีการศึกษาปญหาระหวางการปฏิบัติงานมาปรับปรุงแกไข 146. มีการสัมมนารวมกันระหวางผูนิเทศกับผูปฎิบัติการสอน 1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 110: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

99

ภาคผนวก งเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 111: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

100

แบบสอบถามเพื่อการวิจัยเรื่อง

การปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนเครือขายบางกุง

คําชี้แจง1. แบบสอบถามฉบับนี้ มีจุดประสงคเพื่อศึกษาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศ

การศึกษาภายในของผูนิเทศในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี2. คําตอบของทานจะเปนขอมูลที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการวิจัย จึงใครขอใหทานได

โปรดตอบแบบสอบถามตามความคิดเห็นและขอเท็จจริงใหมากที่สุด เพื่อใหสามารถนําขอมูลไปใชประโยชนในการวางแผน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งคําตอบของทานจะเปนความลับและไมมีผลกระทบตอสภาพการปฏิบัติงานของทานแตอยางใด

3. แบบสอบถามนี้ใชกับผูบริหารสถานศึกษา รองผูบริหารสถานศึกษา และหัวหนากลุมสาระในโรงเรียนมัธยมศึกษาเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี มี 2 ตอน คือ

ตอนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบแบบสอบถามตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในของผูนิเทศในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเครือขายบางกุง จังหวัดสุราษฎรธานี1) การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน2) การวางแผนการนิเทศ

3) การดําเนินการนิเทศ 4) การประเมินผลการนิเทศ 5) การปรับปรุงแกไข

ขอขอบพระคุณทานเปนอยางสูง ในการใหความรวมมือตอบแบบสอบถาม

นายโสภณ ทองจิตร นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 112: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

101

ตอนที่ 1 ขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบและขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมายลงในชอง หนาขอความที่ตรงกับความเปนจริงเกี่ยวกับตัวทาน

สําหรับผูตอบแบบสอบถาม

1. ตําแหนง ผูบริหารสถานศึกษา

รองผูบริหารสถานศึกษา หัวหนากลุมสาระ หัวหนาฝาย/หัวหนางาน

2. ประสบการณในการทํางาน 10 ปลงมา

11 - 20 ป 21 ปขึ้นไป

3. ขนาดของโรงเรียน โรงเรียนขนาดเล็ก

(จํานวนนักเรียนไมเกิน 150 คน) โรงเรียนขนาดกลาง

(จํานวนนักเรียน 151 - 300 คน) โรงเรียนขนาดใหญ (จํานวนนักเรียน 301 คนขึ้นไป)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 113: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

102

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนคําชี้แจง โปรดพิจารณาวาการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษาภายในโรงเรียนของทานอยูในระดับใด โดยทําเครื่องหมาย ลงในชองขวามือซึ่งแตละชองมีความหมายดังนี้

5 หมายถึง การปฏิบัติการระดับมากที่สุด4 หมายถึง การปฏิบัติการระดับมาก3 หมายถึง การปฏิบัติการระดับปานกลาง2 หมายถึง การปฏิบัติการระดับนอย1 หมายถึง การปฏิบัติการระดับนอยที่สุดหรือไมมีการปฏิบัติเลย

ตัวอยาง

ขอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศ

การศึกษาภายในโรงเรียน

ระดับการปฏิบัติมากที่สุด

มากปานกลาง

นอยนอยที่สุด

การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน

ศึกษาสภาพในปจจุบันและความตองการการนิเทศภายในโรงเรียน

ผูบริหารใหความสําคัญกับการนิเทศภายในโรงเรียน

จากตัวอยางขอ แสดงวาโรงเรียนของทานไมมีการศึกษาสภาพในปจจุบันและความตองการการนิเทศ ภายในโรงเรียนเลยขอ แสดงวาโรงเรียนของทานผูบริหารใหความสําคัญกับการนิเทศภายในโรงเรียนมากที่สุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 114: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

103

ขอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในโรงเรียน

ระดับการปฏิบัติมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

การสํารวจความตองการจําเปนของโรงเรียน1. ศึกษาสภาพในปจจุบันและผลการปฏิบัติงานจาก

ผลการประเมินภายนอกของโรงเรียนเพื่อกําหนดความตองการในการนิเทศภายในโรงเรียน

2. ศึกษาปญหาการปฏิบัติงานของโรงเรียน เพื่อกําหนดขอบเขตของความจําเปนในการนิเทศภายใน

3. สํารวจขอมูลการปฏิบัติงานของฝาย กลุมสาระตาง ๆ มากําหนดความตองการในการนิเทศภายใน

4. วิเคราะหนโยบายของ สพฐ. และ สพท. เพื่อกําหนดความจําเปนในการนิเทศภายใน

5. รวบรวมความคิดเห็นและขอเสนอแนะของบุคลากรในโรงเรียนมาใชเปนขอมูลในการกําหนดความตองการในการนิเทศภายใน

6. ประมวลทางเลือกในการแกปญหาการปฏิบัติงานรวมกัน เพื่อกําหนดทิศทางในการนิเทศภายใน

7. ศึกษาความตองการในการนิเทศจากผลการประเมินที่ผานมา

8. มีการแตงตั้งกรรมการศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการนิเทศภายใน โรงเรียน

9. มีการจัดทําโครงการนิเทศภายในใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 115: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

104

ขอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในโรงเรียน

ระดับการปฏิบัติมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

การวางแผนการนิเทศ10. วิเคราะหนโยบายของโรงเรียนเพื่อการวางแผน

การนิเทศภายใน11. วิเคราะหสภาพปญหาของโรงเรียนเพื่อวางแผน

การนิเทศภายใน12. จัดทําแผนการนิเทศโดยระบุขั้นตอนรายละเอียด

กิจกรรมในการนิเทศภายในที่ชัดเจน13. กําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายการนิเทศ

ภายในไวชัดเจน14. กําหนดโครงการนิเทศภายในไวในแผน

ปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน15. มีการวางแผนประสานงานกับหนวยงาน

ที่เกี่ยวของในการนิเทศภายในโรงเรียน16. แตงตั้งกรรมการทํางานเพื่อประเมินผลในการ

นิเทศภายใน17. กําหนดขอบเขตและความรับผิดชอบของ

ผูนิเทศและผูรับการนิเทศ18. ใชขอมูลจากการสํารวจการปฏิบัติงานตามความ

คิดเห็นของบุคลากรมาจัดทําโครงการนิเทศภายใน19. สรางความรูความเขาใจแกบุคลากรในโรงเรียนกอน

ดําเนินการนิเทศภายในการดําเนินการนิเทศภายในโรงเรียน20. ประชุมชี้แจงใหครูเขาใจบทบาทของผูนิเทศและ

ผูรับการนิเทศ21. ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่กําหนดไวในแผนการ

นิเทศภายใน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 116: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

105

ขอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในโรงเรียน

ระดับการปฏิบัติมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

22. กําหนดนโยบายใหการดําเนินการนิเทศภายในดําเนินไปอยางเปนระบบและตอเนื่อง

23. กําหนดนโยบายใหบุคลากรทุกฝายมีสวนรวม ในการปฏิบัติงานการนิเทศภายในโรงเรียน

24. กํากับ ติดตามใหการปฏิบัติงานเปนไปตามวัตถุประสงค

25. เรงรัดใหการปฏิบัติงานเปนไปตามแผนที่ได วางไว

26. ดูแลใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะในการปฏิบัติงานการนิเทศภายใน

27. สรางขวัญ กําลังใจแกบุคลากรในการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ

28. จัดกิจกรรมการนิเทศใหมีบรรยากาศที่เปนประชาธิปไตย

29. ประชุมปรึกษาหารือหลังการจัดการนิเทศภายใน เพื่อแกปญหาการนิเทศ

การประเมินผลการนิเทศ30. ตรวจสอบปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการ

ปฏิบัติงานนิเทศในโรงเรียน31. ติดตามความกาวหนาในการดําเนินการนิเทศใน

แตละแผนงานหรือโครงการ32. จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานการนิเทศ

ภายในโรงเรียน33. จัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติงานการนิเทศ

ในทุกกลุมสาระ34. ประเมินผลรวมของการปฏิบัติงานตามโครงการ

เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคและเปาหมาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 117: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

106

ขอการปฏิบัติงานตามกระบวนการนิเทศการศึกษา

ภายในโรงเรียน

ระดับการปฏิบัติมากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

35. นําผลการประเมินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศใหมีประสิทธิภาพ

36. ใหครูมีสวนรวมในการประเมินผลการนิเทศภายใน

37. ประเมินผลการนิเทศตามขั้นตอนที่ระบุไวในแผนการนิเทศ

38. รายงานผลการประเมินการนิเทศภายในและแจงใหครูในโรงเรียนทราบโดยทั่วกัน

การปรับปรุงแกไข39. ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับ

วัตถุประสงคและเปาหมาย40. นําขอมูลที่ไดจากการประเมินผลการนิเทศมา

ปรับปรุงการปฏิบัติงานการนิเทศภายใน41. นําผลการประเมินมาใชเปนประโยชนในการ

พัฒนางานไดอยางมีประสิทธิภาพ42. ประชุมและสรุปขอบกพรองที่เกิดจากการปฏิบัติ

กิจกรรมการนิเทศและรวมกันหาวิธีแกไขขอบกพรอง

43. นําวิธีการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพของครูไปเผยแพร

44. มีการจัดทําการจัดการความรู (KM) เรื่องการนิเทศภายใน

45. มีการศึกษาปญหาระหวางการปฏิบัติงานมาปรับปรุงแกไข

46. มีการสัมมนารวมกันระหวางผูนิเทศกับผูปฏิบัติ การสอน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 118: การปฏิบัติงานตามกระบวนการ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/sopon_med.pdfผ ช วยศาสตราจารย ดร.น

ประวัติผูทําภาคนิพนธ

ชื่อ - นามสกุล นายโสภณ ทองจิตร

วัน เดือน ปเกิด 11 มีนาคม 2515

สถานที่อยูปจจุบัน 289/104 ม. 4 ถนนโฉลกรัฐ ต. มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2538 สําเร็จปริญญาตรี สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช

ประวัติการทํางาน พ.ศ. 2538 อาจารย 1 โรงเรียนศึกษาสงเคราะหสุราษฎรธานี พ.ศ. 2550 ครู คศ.2 โรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี

ตําแหนงหนาที่ ครูวิทยฐานะชํานาญการ อันดับ คศ.2

สถานที่ทํางานในปจจุบัน โรงเรียนเมืองสุราษฎรธานี ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎรธานี 84000

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity