36
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้คาปรึกษา งบประมาณคลินิกเทคโนโลยี งบประมาณประจาปี 255 8 จัดทาโดย คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

รายงานฉบับสมบูรณ ์โครงการบริการให้ค าปรกึษา

งบประมาณคลินิกเทคโนโลยี งบประมาณประจ าปี 2558

จัดท าโดย คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Page 2: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ส่วนประกอบ

ส่วนที่ 1 รายละเอียดโครงการ

- ข้อเสนอโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกระทรวงวิทยาศาสตร์

ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค าปรึกษา ปี 2558

- คณะกรรมการด าเนินงาน - กิจกรรมและวิธีการด าเนินการบริการให้ค าปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยี - รายช่ือผู้รับบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี - การบริการวิชาการ/วิทยากร - การจัดงานวันวิทยาศาสตร์-ราชภัฏอุดรธานีวิชาการ - การเข้าร่วมประชุมคลินิกเทคโนโลยี - ผลการประเมินการบริการให้ค าปรึกษา

Page 3: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

รายละเอียดโครงการ

Page 4: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

๑. ชื่อสถาบันการศึกษาที่เป็นคลินิกเทคโนโลยีเครือข่าย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

๒. ชื่อโครงการ : การบริการให้ค าปรึกษาฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

๓. ผู้รับผิดชอบและหรือผู้ร่วมรับผิดชอบ : ผู้รับผิดชอบโครงการ รศ.สมชาย ชื่นวัฒนาประณิธิ ผู้อ านวยการคลินิกเทคโนโลยี 64 ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 089-8421444 นางโสภิตา เลิศสุบิน รองผู้อ านวยการคลินิกเทคโนโลยี 64 ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 081-8991286 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี 086 – 8896160 โทรสาร 042 – 240448 [email protected] ๔. ความสอดคล้องกับแผนงาน : การบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี ๕. ลั ก ษ ณ ะ โ ค ร ง ก า ร : โ ป ร ด ใ ส่ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย ใ น ที่ ต้ อ ง ก า ร ๕.๑ เป็นโครงการต่อเนื่อง (เริ่มด าเนินการปี ๒๕๔๗ ) ๕.๒ เป็นโครงการใหม่ โดยเป็นโครงการที่ด าเนินเป็นปีแรก

๖. หลักการและเหตุผล :

กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดให้มีโครงการคลินิกเทคโนโลยีขึ้น และได้สร้างเครือข่ายจากสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยของรัฐ รวม ๕๒ เครือข่าย ๑๑๙ แห่ง ครอบคุลมพ้ืนที่ ๖๔ จังหวัด รวมในสังกัด ๑๔ เครือข่าย (๑๔แห่ง) ปัจจุบันมีคลินิกเทคโนโลยีรวม ๖๖ เครือข่าย ๑๑๓ แห่ง เพ่ือมุ่งขยายการท างาน ทั้งทางด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาต่อยอด และการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้ร่วมเป็นเครือข่ายหนึ่งในการท างาน และได้มีการจัดตั้งคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีขึ้นมา เพ่ือเป็นศูนย์กลางในด้านให้ค าปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยีเพ่ือประชาชนชน ผู้ประกอบการและธุรกิจอุตสาหกรรมของประเทศ ซึ่งจะน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพคน คุณภาพผลผลิต และอ่ืนๆ นอกจากนี้ยังมีส่วนรับผิดชอบ ในนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ระดับจังหวัด เมื่อปี ๒๕๕๓ เพ่ือมีบทบาทในการประสานความร่วมมือระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ กับ กระทรวงมหาดไทย อันจะก่อให้เกิดการผลักดันไปสู่การท าแผนยุทธศาสตร์จังหวัดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต

คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้เล็งเห็นความส าคัญของการให้บริการข้อมูลและค าปรึกษาทั้งในส่วนเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัย และในส่วนของเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยีทั่วประเทศ โดยได้ด าเนินงานเข้าสู่ปีที่ ๑๑ แล้ว ซึ่งในปีที่ผ่านมามีผู้มาขอใช้บริการติดต่อขอค าปรึกษาและใช้บริการมากพอสมควร และจากการประมวลผลการให้ค าปรึกษา ค าแนะน าที่ผ่านมาพบว่า กลุ่มผู้ประกอบการายย่อย หรือผู้ประกอบกิจการในด้านเศรษฐกิจชุมชน หรือผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ได้มารับบริการการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากคลินิกเทคโนโลยี มีความต้องการที่จะผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐาน จ าเป็นต้องมีการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยการตรวจสอบคุณภาพดังกล่าวมีค่าใช้จ่ายสูง ผู้ประกอบการรายย่อยหรือกลุ่มผู้ผลิตบางกลุ่ม

2558

Page 5: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ไม่มีศักยภาพพอที่จะด าเนินการได้เอง และอีกหลายกลุ่มต้องการความต่อเนื่องในการช่วยเหลือให้ประสบผลส าเร็จ จึงต้องมกีารลงพ้ืนที่ เพ่ือศึกษาและวิจัยร่วมกันในการหาทางออก ตลอดจนใช้วิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาระยะยาว คลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ถือเป็นอีกภารกิจหนึ่งที่จะท าหน้าที่ในการให้บริการในส่วนนี้เพ่ิมเติม อันจะช่วยให้สินค้าไทยระดับชุมชนมีคุณภาพได้มาตรฐาน และอาจส่งออกสร้างรายได้ให้กับประเทศในภาพรวมได้มากขึ้นในอนาคต

๗. วัตถุประสงค์ ๑) เพ่ือเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลและให้บริการค าปรึกษาและข้อมูลทางเทคโนโลยี ๒) เพ่ือเป็นตัวกลางและประสานการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีร่วมกันระหว่างเครือข่าย ๓) เพ่ือเป็นศูนย์ประสานงานและสนับสนุนงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในพ้ืนที่จังหวัด

๘. กลุ่มเป้าหมาย ๑) เกษตรกร กลุ่มแม่บ้าน ประชาชนทั่วไป จ านวน ๑๐๐ คน ๒) วิสาหกิจชุมชน OTOP จ านวน ๒๐ คน ๓) ผู้ประกอบการ SMEs จ านวน ๑๐ คน ๔) ผู้เข้ารับชมนิทรรศการ ของทางคลินิกเทคโนโลยี ที่จัดตามงานวิชาการของมหาวิทยาลัย โดยไม่รวมกับ จ านวนผู้เข้ารับการบริการจ านวน ๒๖๐ คน รวมทั้งสิ้น ๓๙๐ คน ๙. พื้นที่ด าเนินการ : จังหวัดอุดรธานี

๑๐. ระยะเวลาด าเนินการ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘

๑๑. การด าเนินโครงการ : ๑๑.๑ กิจกรรมและวิธีด าเนินงาน ประกอบด้วย กิจกรรม ๑) กิจกรรมการให้บริการค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี ช่องทางหรือวิธีการ โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่องทางที่จะให้บริการ ทางโทรศัพท์ ๐๔๒-๒๔๐๔๔๘ , ๐๔๒-๒๑๑๐๔๐ ต่อ ๑๒๐๓ ช่วงเวลาที ่ ให้บริการ ๐๘.๐๐ น. ถึงเวลา ๑๗,๐๐.น. (เว้นวันเสาร์ - อาทิตย์) ชื่อเจ้าหน้าที่ประจ า ที่ให้บริการ นายอัศวิน บุญชัย ทางเวบไซต์ http://web.udru.ac.th/~clinictech/ การบริการนอกสถานที่ จ านวน ๒๐ ครั้งต่อปี เรื่องที่จะให้บริการ พร้อมชื่อเจ้าของเทคโนโลยี/ความเชี่ยวชาญ ไม่น้อยกว่า ๓ เรื่อง ประกอบด้วย พลังงาน การเกษตร ปรับปรุงคุณภาพน้ า ฯล วิธีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการรับทราบช่องทางรับบริการ ได้แก่ จดหมาย แผ่นพับ รายการโทรทัศน์ท้องถิ่น ฯลฯ

Page 6: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

กิจกรรม ๒) การประสานงานและบริหารจัดการเครือข่าย โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง ที่จะให้บริการ การประสานงานภายในสถาบันการศึกษาและกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ที่เกี่ยวข้อง กับการด าเนินงานคลินิกเทคโนโลยี การประสานงานภายในสถาบันการศึกษาและกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ที่เกี่ยวข้อง กับการด าเนินงาน หมู่บ้านแม่ข่าย วท. และสมาชิก อสวท. การบริหารจัดการทางด้านการเงิน งบประมาณ การติดตาม ประเมินผลและรายงานผล กิจกรรม ๓) การประสานการด าเนินงานร่วมกับ โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่อง ที่จะด าเนินการ รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่เป็น PCSO ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจ าภูมิภาค ๑๑.๒ แผนการด าเนินงาน (ตามตารางด้านล่าง) (น ากิจกรรมที่จะด าเนินงานใน ข้อ ๑๑.๑ มาใส่ไว้ในแผนว่าจะด าเนินการเมื่อไร ใช้เงินเท่าใด)

กิจกรรม ๒๕๕๗ ๒๕๕๘

รวมเงิน (บาท)

ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสที่ ๓ ไตรมาสที่ ๔ ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

แผนงาน

๑. การให้บริการค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี

๒๐๐,๐๐๐

๒ .การประสานงานและบริหารจัดการเครือข่าย

๕๐,๐๐๐

๓ .การประสานงานและสนับสนุนการด าเนินงานพัฒนาจังหวัดด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่เป็น PCSO

๔๒,๐๐๐

แผนเงิน (จ ำนวนเงินที่คำดว่ำจะใช้ในแต่ละไตรมำส)

๕๕,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๗๗,๐๐๐ ๒๙๒,๐๐๐๐

แผนงาน(ปริมำณงำนผลผลิตที่จะจัดส่งในแต่ละไตรมำส)

รายงานผ่านคลินิกออนไลน์ ๑ ครั้ง

รายงานผ่ านคลินิ กออนไลน์ ๑ ครั้ง

รายงานผ่านคลินิกออนไลน์ ๑ ครั้ง

รายงานผ่านคลินิกออนไลน์ ๑ ครั้ง

1. จ านวนผู้รับบริการข้อมูลฯ ๔๐ ๕๐ ๕๐ ๑๐๐ ๒๔๐

2. จ านวนผู้รับบริการค าปรึกษาฯ ๒๕ ๒๕ ๕๐ ๕๐ ๑๕๐

3. ความพึงพอใจ ร้อยละ ๘๐

Page 7: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

๑๒. ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ของโครงการ ค่าเป้าหมาย (หน่วยนับ)

ข้อมูลที่ต้องจัดเก็บ

๑. จ านวนผู้รับบริการค าปรึกษาทางเทคโนโลยี (คน) ๑๕๐ แบบใบสมัครของส ำนักงำนปลัดกระทรวงวิทยำศำสตร์ฯ -บันทึกกำรบริกำรให้ค ำปรึกษำ ลงในระบบ call center ของ สป.วท.

๒. จ านวนผู้รับบริการข้อมูลเทคโนโลยี (คน) ๒๔๐

๓. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ ๘๐ แบบวั ดควำมพึ งพอใจและประเมินผลตำมแบบฟอร์มของส ำนักงำนกระทรวงวิทยำศำสตร์ฯ

๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลกระทบ : ที่เกิดโดยตรงกับผู้รับบริการและประชาชนที่อยู่ในพ้ืนที่ให้บริการ)

(โปรดใส่เครื่องหมาย และระบุผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการมากท่ีสุดเพียงข้อเดียว) ทางเศรษฐกิจ ผู้รับการบริการที่เข้ามาขอรับข้อมูลและค าปรึกษาต่างๆ เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สามารถน าข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในกิจการหรือกิจวัตรประจ าวัน ท าให้เข้าถึง ว และ ท ส่งผลต่อการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ ให้กับครัวเรือนได้

ทางสังคม ผู้รับการบริการขอค าปรึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สามารถน าไปแก้ไขปัญหา ที่

ประสบได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ท าให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น นอกจากนี้ยังท าให้ผู้รับสื่อและเข้าร่วมกิจกรรม สามารถเข้าถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ิมมากข้ึน พร้อมทั้งมีความตระหนักถึงหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คือ คลินิกเทคโนโลยี ที่พึ่งของชุมชนอย่างแท้จริง

๑๔ . งบประมาณขอรับการสนับสนุนจาก วท. จ านวน ๒๙๒,๐๐๐ บาท มีรายการดังนี้ (ค ำอธิบำย : ให้แจกแจงรำยละเอียดค่ำใช้จ่ำยที่จะใช้ในกำรด ำเนินโครงกำรทุกขั้นตอนเป็นงบตัวคูณ [รำคำต่อหน่วย: จ ำนวนคน/คร้ัง/วัน/ชิ้น] โดยใช้ระเบียบและอัตรำของทำงรำชกำร ตำมตัวอย่ำงด้ำนล่ำง)

รายการ (ตัวอย่าง) วัน/ครั้ง คน อัตรา รวมเงิน (บาท) ๑. ค่าจ้างเหมาบุคคลธรรมดาช่วยงานวุฒิปริญญาตรี ๒. ค่าเบี้ยเลี้ยง ๓. ค่าบริหารจัดการ/เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ได้แก่

๑๒ เดือน ๓๐ วัน -

๑ คน ๔ คน -

๑๕,๐๐๐ (รวมประกันสังคม และอื่นๆ)

๒๔๐ -

๑๘๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐ ๖๒,๐๐๐

Page 8: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

รายการ (ตัวอย่าง) วัน/ครั้ง คน อัตรา รวมเงิน (บาท) - ค่าจ้างจัดท าแผ่นพับประชาสัมพันธ์คลินิกฯ โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ เวบไซต์ - การประสานงานและสนับสนุนการด า เ นิ น ง า น พั ฒ น า จั ง ห วั ด ด้ า นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่เป็น PCSO - การศึกษาดูงานนอกพ้ืนที่ ส าหรับก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร ที่ ค ลิ นิ ก ใ ห้ ก า รช่วยเหลือ - ค่าด าเนินงานในการสนับสนุนให้สินค้าได้มาตรฐาน - การให้บริการค าปรึกษา/ข้อมูลทั้งใน/และนอกสถานที่ - ค่าวัสดุอุปกรณ์ส านักงาน - ค่าเดินทางและค่าที่พักส าหรับการเข้าร่วมอบรม/ประชุม/สัมมนา ต่างๆ

หมายเหตุ: ค่าใช้จ่ายถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ ๑๕. งบประมาณการบริการทางวิชาการของหน่วยงาน/สถาบันการศึกษา ที่น ามาร่วมด าเนินงาน (ถ้ามี)

ไม่มี ๑๖. การติดตาม ประเมินผลและรายงานผล :

รายงานความก้าวหน้ากับส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยรายงานผลการด าเนินงานและจัดส่งข้อมูลตามแบบฟอร์มฯ ที่ก าหนด เป็นรายไตรมาส รวมไม่น้อยกว่า ๓ ครั้ง/ปี โดยรายงานในระบบติดตามโครงการคลินิกเทคโนโลยีออนไลน์ (Clinic Monitor Online: CMO) ที่เวบไซต์ www.clinictech.most.go.th และรายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมไฟล์เอกสาร ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดปีงบประมาณ

(รศ.สมชาย ชื่นวัฒนาประณิธิ)

ผู้รับผิดชอบโครงการ

ต าแหน่ง ผู้อ านวยการคลินิกเทคโนโลยี

Page 9: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค าปรึกษา ปี 2558

Page 10: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค าปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยี ปี 2558 1.คณะกรรมการด าเนินงาน 1.1 รองศาสตราจารย์สมชาย ชื่นวัฒนาประณิธิ ผู้อ านวยการคลินิกเทคโนโลยี 1.2 นางโสภิตา เลิศสุบิน รองผู้อ านวยการคลินิกเทคโนโลยี 1.3 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี 1.4 นายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานคลินิกเทคโนโลยี 2. กิจกรรมและวิธีการด าเนินการบริการให้ค าปรึกษาและบริการข้อมูลเทคโนโลยี 2.1 การให้บริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี 2.1.1 ให้บริการค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยีทางโทรศัพท์ 2.1.2 ให้บริการค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยีนอกสถานที ่ 2.1.3 ให้บริการค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยีผ่านทางเวปไซต ์ 2.1.4 การส ารวจความต้องการทางเทคโนโลยี 2.2 การประสานงานและบริการจัดการภายในสถาบันการศึกษาที่เป็นคลินิกฯ และระหว่างเครือข่าย 2.2.1 การประสานงานในการเสนอของบประมาณประจ าปีของคลินิกเทคโนโลยี 2.2.2 การประสานในเรื่องการเบิกจ่ายงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนฯ ระหว่างคลินิกเทคโนโลยีและกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.2.3 การติดตามความก้าวหน้าและรายงานผลของโครงการที่ได้รับสนับสนุนของคลินิกเทคโนโลยี 2.2.4 การประสานและอ านวยความสะดวกในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับงานคลินิกเทคโนโลยี ภายในพ้ืนที่จังหวัด 2.3 การติดตามประเมินผล และรายงานในส่วนการด าเนินงาน 2.4 การเผยแพร่ข้อมูลเทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอดผ่านทางโครงการ จัดแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐ์ จัดงานสัมมนาทางวิชาการ จดหมายข่าว คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี งานราชภัฏวิชาการ รายงานประจ าปี และทางเว็ปไซต์ http://web.udru.ac.th/~clinictech/

3. รายชื่อผู้รับบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี รายชื่อผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี โครงการบริการให้ค าปรึกษา ปี 2558 จ านวน 141 คน ข้อมูลดังตารางท่ี 1

Page 11: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/ ค าปรึกษาที่ต้องการ

ข้อมูล ค าปรึกษา 1 5/03/58 สุบิน บุญกิจ 62/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด 085-4605043

√ ก๊าชชีวภาพ

2 5/03/58 นางติ๋ว บุญกิจ 8/4 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 3 5/03/58 นางบุญโฮม พนาดระ 17/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

4 5/03/58 นายพุด ปราสาร ม.4 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 5 5/03/58 วิลาวัลย์ บุญธิ 164/4 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

6 5/03/58 นางวิไลวรรณ ดลประสิทธิ์ 14/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 7 5/03/58 สมทิพย์ วงสินห์ 111/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

8 5/03/58 นางจ ารัส สมมาตย์ 9/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 9 5/03/58 ประนอม มุขแสน 67/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

10 5/03/58 บุษบา สิทธิหง 63/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 11 5/03/58 บุญมา วรรณทอง

√ ก๊าชชีวภาพ

12 5/03/58 สุระศักดิ์ แม้นศิริ 106/4 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 13 5/03/58 นายทองสา จันทร์แสน 6/9ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

14 5/03/58 นางค าขวัญ ก าสมุทร 117/4ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 15 5/03/58 นางทองพูล ดงผา ม.9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

Page 12: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/ ค าปรึกษาที่ต้องการ

ข้อมูล ค าปรึกษา 16 5/03/58 นางสุมาลี ชาญประเสฐิธ 173/4 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

17 5/03/58 สมร เชื่อสาวะถี่ 79/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 18 5/03/58 ค าพันธ์ ก าสมุทร 80/4 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

19 5/03/58 นางชนิสรา ทิพย์โพธิ์ศรี 70/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ 20 5/03/58 สอ้วน สัพวรคุณ 54/9 ต.ธงธานี อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด

√ ก๊าชชีวภาพ

21 2-3/4/2558 นางเพ็ญศร ี สุวรรศรี 128/8 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 090-1036954

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 22 2-3/4/2558 นายพุคต ตุจินโต ม.10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

23 2-3/4/2558 นางสุมนทา ชรินทร์ 34/7 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 080-0109055

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 24 2-3/4/2558 นายมณ ี ไชยต้นเชื้อ 7 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

25 2-3/4/2558 นางค ากอง มาศรี 101 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 26 2-3/4/2558 นายคอสกัด วิจารย์ 59/2 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

27 2-3/4/2558 นายชาติชัย แงพรม 67/2 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 084-7976641

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 28 2-3/4/2558 นางพิกุลทิพย์ บุญดง 147/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 089-2755132

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

29 2-3/4/2558 นางค านาง เหง้าโอชา 150/8 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 30 2-3/4/2558 นายสาย มาสกุล 18/8 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

31 2-3/4/2558 นางสมบัติ แสนเสน 43/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 098-6139482

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

Page 13: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/

ค าปรึกษาที่ต้องการ ข้อมูล ค าปรึกษา

32 2-3/4/2558 นางสาวพยุตา ชรินทร์ 146/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 082-1170658 √ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 33 2-3/4/2558 นางยอดรัก ค าผุย 52/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 092-2905170 √ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 34 2-3/4/2558 วรรณา สาลีแหล่ 24/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

35 2-3/4/2558 นางอ่ึง ดวงกุลษา 124/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 36 2-3/4/2558 นางศิรินาท ชรินทร์ 7/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

37 2-3/4/2558 นางสาวรัตนากร นันทพันธ์ 124/10 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 093-7178732

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 38 2-3/4/2558 นายส าราญ สามาทอง 117 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

39 2-3/4/2558 นายสมร โคตรศรี 27/6 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 40 2-3/4/2558 นายวันชัย พรมหมอก 11/6 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 083-3292289

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

41 2-3/4/2558 ปิยนุช ด้วงศาลา 24/6 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 085-7439470

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 42 2-3/4/2558 นายสนิท กล่อมถึก 37/2 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

43 2-3/4/2558 สมสมัย ศัตราวุธ 160 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 088-7386745

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 44 2-3/4/2558 นายล าไพ ยาทองไชย 149/2 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 084-8768310

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

45 2-3/4/2558 นายทองปาน อ่อนจงไกล 115 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร 088-5125393

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 46 5/5/2558 นายอุดมศิลป์ อ่อนศรี ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 098-6628719

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

47 5/5/2558 กิติศักดิ ์ ปะกิเสนัง 94/5 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 48 5/5/2558 นางอุทิม รังแสง ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

Page 14: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/

ค าปรึกษาที่ต้องการ 49 5/5/2558 นางจ าเนียร เนตรภักด ี 20/5 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 089-2759190

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

50 5/5/2558 นางสมคิด โสคาคี 144/2 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 089-4190626

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 51 5/5/2558 นางเสาวคนช์ แก้วแสนสินธุ์ 135/1 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 084-7953573

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

52 5/5/2558 นายประบูรณ์ คนมัม 5/9 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 084-5100422

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 53 5/5/2558 จรัส จุลบุรมย์ 56/4 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 090-3367085

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

54 5/5/2558 นายเชียน แก้วคุณ ม.2 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 55 5/5/2558 นายนกเทศ บุบผาพิสา 156/4 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

56 5/5/2558 นายมาก พานะเวช 81/2 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 087-2198803

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 57 5/5/2558 นายเคน ทิ่งหลักเมือง 122/3 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 083-3920344

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

58 5/5/2558 นายไพทูรย์ สายจ าปา 26/7 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 081-4968945

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 59 5/5/2558 นายวรชัย ถวิลค า 116/4 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 082-2250996

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

60 5/5/2558 นายบุญเส็ง หาทอง 62 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 61 5/5/2558 นายบุญหลาย นันทะเขต ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 088-0622637

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

62 5/5/2558 นายมะลิ ครอง้ก 66/5 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 63 5/5/2558 นายสวาท แก้วมาลุน ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 083-6747747

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

64 5/5/2558 นางประนอม สายจ าปา 46/7 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 098-1912352

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 65 5/5/2558 มยุลี ภานุสี 60/6 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 083-3637456

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

Page 15: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/

ค าปรึกษาที่ต้องการ 66 5/5/2558 มาลัย พรมแสน 57 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

67 5/5/2558 มลิวรรณ แสนอ้วน 82/5 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 68 5/5/2558 นายสงค ์ ภารไสว 27/1 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 092-4341148

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

69 5/5/2558 นายเลิศ ผลิผล 77/9 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 093-4147286

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 70 5/5/2558 นายบัญญาติ โภคพานิชย์ 61/5 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 061-0976450

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

71 5/5/2558 นางสรัลชนา ทิพเสถียร 138/5 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี 092-1342951

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 72 18/5/2558 ทองเพรช ยืนนาน ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

73 18/5/2558 นายภู สืบสม 42/10 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 092-9107693

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 74 18/5/2558 นายวีระชัย บุญสาร 15/1 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 089-9415805

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

75 18/5/2558 นายสมยงค์ อานัน 75/7 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 76 18/5/2558 นางเสมียน จารึกธรรม 61/2 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

77 18/5/2558 นายเกษ ี แสงกล้า 155 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 78 18/5/2558 นายบุญส่ง สายสิงห์ ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 061-6320961

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

79 18/5/2558 อ าพร ลาจันทร์ 11/7 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 086-1204693

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 80 18/5/2558 นางส าเริง เกษเคมี 106 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 082-8427763

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

81 18/5/2558 ประองค ์ หมูแทง 148/8 ต.มาย อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 82 18/5/2558 นายประหยัด สว่างวงค์ 8/1 ม.2 ต.ค าโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

83 18/5/2558 นางบัวผัน เชิดชู 97 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

Page 16: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางที่ 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/

ค าปรึกษาที่ต้องการ 84 18/5/2558 นางพ้อม โซ่เงิน 94 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร √ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 85 18/5/2558 นายสุรพง ยินดี 143/8 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 083-3419147

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

86 18/5/2558 นางสุรภี ริพลธา 5/9 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 080-7549380

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 87 18/5/2558 นายนิรัน มงคลน า 49/8 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

88 18/5/2558 บุญถม สุเพียง 5/7 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 89 18/5/2558 นายนิตยา ขันทะหัด 23/8 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

90 18/5/2558 นายสุนทร ต้นสาย 40/12 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 087-0313784

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 91 18/5/2558 นายสพันธ์ จ าอาด 128 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

92 18/5/2558 นายวังชัย นธิศรี 139/12ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 93 18/5/2558 นายวินัย โสภารักษ์ 65 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

94 18/5/2558 นางอุรักษ์ มุ่งหมาย 71 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 95 18/5/2558 นางสุกัญญา วิเศษทรัพย์ 127/7 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 088-2060643

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

96 18/5/2558 นางทองฤทธิ์ พรสวัสดิ์ 133/7 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 094-2275887

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 97 18/5/2558 สมัย โนนยะโส 69/10 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

98 18/5/2558 นางหนูแดง สายสิงห์ 74/10 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 085-6099984

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 99 18/5/2558 นางทองหยุ่น บุญลือ 9/9 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

100 18/5/2558 นางอ าพร จันทร์ดี 103/9 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 081-0590469

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 101 18/5/2558 วันชัย ริมรีย์ 250/9 ต.ค าสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 080-6939049

√ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์

Page 17: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู ่ โทรศัพท์ การให้บริการ (ใส่เครื่องหมายP)

เรื่องที่ให้บริการ/ค าปรึกษาที่ต้องการ

102 29/7/2558 สดตา คนีด บ้านดงยวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี 088-029596 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

103 29/7/2558 วินัย สายสัตย์ 106 ม.9 ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี 085-0044631 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

104 29/7/2558 ธรชัย ชาเรน บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

105 29/7/2558 ชนพล พรมวงษ์ 246/9 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

106 29/7/2558 คูณ ชมเชย บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

107 29/7/2558 พล.มงคลชัย ชัยยัญโท ร.13 พัน 3 085-4851544 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

108 29/7/2558 พล.เดชฤทธิ์ บุตรโยจันโท ร.13 พัน 3 0647483556 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

109 29/7/2558 จ.ส.อ ภัทรภูมิ วิบูลย์กุล ร.13 พัน 3 084-8353446 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

110 29/7/2558 พล.สุชาติ สีอ่อน ร.13 พัน 3 093-4206792 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

Page 18: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู ่ โทรศัพท์ การให้บริการ (ใส่เครื่องหมายP)

เรื่องที่ให้บริการ/ค าปรึกษาที่ต้องการ

111 29/7/2558 พล.อดุลย์ นายกชน ร.13 พัน 3 089-8210320 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพ

112 29/7/2558 พล.เกียรติศักดิ์ แสนจิว 322 ม.5 ต.หนองกลมเกาะ อ.เมือง จ.หนองคาย

√ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

113 29/7/2558 ภูบดินทร์ ก๋าค า 5 ม.9 บ้านดงยวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

114 29/7/2558 วีระยุทธ ใต้เมืองปักษ์ 463 ม.1 บ้านนาข่า ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี

√ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

115 29/7/2558 เอกอนันต์ บุญวิเศษ 189 ม.11 บ้านดงไร ่ √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

116 29/7/2558 จักรรินทร์ ค าผาสุข 42/1 ม.11 บ้านดงไร ่ 061-1301483 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

117 29/7/2558 หมอน วงษ์พิมพ์ บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

118 29/7/2558 กรรณิการ์ ดวงตาผา บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

119 29/7/2558 ศิริประภา อินลา บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

Page 19: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/ค าปรึกษาที่

ต้องการ 120 29/7/2558 ขนิษฐา สรลีรูป บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 121 29/7/2558 สุธิชา วะสีแดง บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 122 29/7/2558 ขวัญชนก เสนารักษ์ บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 123 29/7/2558 กวิสรา อินลา บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 124 29/7/2558 เดชชัย บุญสังข์ 119 ม.2 บ้านนาเหล่าค า √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 125 29/7/2558 กัณฐิมา นิลไสล 88 ม.9 บ้านดงยวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.

อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 126 29/7/2558 กฤษฎา พาพิมพ์ บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 127 29/7/2558 สุรางคนา ทองยัง 135 ม.9 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี 093-5677035 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 128 29/7/2558 นัฐธิดา กัตโล ม.9 บ้านดงยวด อ.มือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

Page 20: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/ค าปรึกษาที่

ต้องการ 129 29/7/2558 อภิญญา ส่องโสม 123 ม.9 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 130 29/7/2558 วิษณุ ส่องโสม 123 ม.9 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 131 29/7/2558 วชิระ อินจงล้าน บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 132 29/7/2558 น้ าลิน ละชินลา 289 ม.2 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี 093-3027655 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 133 29/7/2558 ทัศนีพร ประก่ิง บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 134 29/7/2558 อังควิภา วจีประศรี 6 ม.11 บ้านดงไร ่ 098-6631479 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 135 29/7/2558 มงคล ศรีสว่าง บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 136 29/7/2558 ธีรวัฒน์ บัวบาล 68 ม.9 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 137 29/7/2558 กฤษดา เสนาผา บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

Page 21: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 1 ข้อมูลผู้ขอรับการบริการให้ค าปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี (ต่อ)

ที ่ วันที่บันทึก ชื่อ - นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ การให้บริการ

(ใส่เครื่องหมายP) เรื่องท่ีให้บริการ/

ค าปรึกษาที่ต้องการ 138 29/7/2558 คุณากร เหล่าผง 35 ม.9 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 139 29/7/2558 ดิษย์ รอดบุญมา ม.9 บ้านดงยวด อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 140 29/7/2558 วุฒินันท์ วันโย 52/1 ม.9 บ้านดงยว ด อ.เมือง จ.อุดรธานี 081-0611509 √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ 141 29/7/2558 ภัคจิรา สุวรรณสา บ้านดงบวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี √ การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง

และการผลิตก๊าชชีวภาพฯ

Page 22: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

4. การบริการวิชาการ/วิทยากรให้ความรู้ วันที่ 9 มีนาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการ เป็นวิทยากรการจัดฝึกอบรม

หลักสูตร “การผลิตก๊าชชีวภาพ” ใน ณ หอประชุมโรงเรียนบ้านสร้างก่อ อ าเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษามีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติที่ดีและมีทักษะการผลิตก๊าชชีวภาพ ซึ่งเป็นการต่อยอดโครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันที่มีอยู่แล้วให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยมีนักเรียนเข้าร่วมอบรมจ านวน 80 คน

วันที่ 4-5 มีนาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการ และนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี ได้ร่วมเป็นวิทยากรในโครงการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี “การผลิตก๊าชชีวภาพระดับครัวเรือน” ณ บ้านหนองดู่ ต าบลธงธานี อ าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาชุมชนให้มีความรู้เรื่องพลังงานทดแทน การจัดการมูลสัตว์ให้เกิดประโยชน์ และช่วยประหยัดรายจ่ายในครัวเรือน

วันที่ 2 – 3 เมษายน 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี ได้บริการวิชาการ และบริกการให้ค าปรึกษาแก่เป็นวิทยากรให้ความรู้ในโครงการฝึกอบรม เรื่อง “การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยกึ่งอินทรีย์เคมี” ณ องค์การบริหารส่วนต าบลมาย อ าเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร

วันที่ 28 - 30 เมษายน 2558 เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่อง “การผลิตปุ๋ยแบบไม่พลิกกลับกอง และการผลิตก๊าชชีวภาพ” ในโครงการขยายหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบจังหวัดอุดรธานี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้านให้มีระบบบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน รวมทั้งขยายผลหมู่บ้านเศษฐกิจพอเพียงต้นแบบให้เพ่ิมมากขึ้น และสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีความหลากหลาย ณ บ้านถ่อนใหญ่ หมู่ที่ 7 ต าบลนาข่า อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

Page 23: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

วันที่ 26 มิถุนายน 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการฯ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ เป็นวิทยากรโครงการฝึกอบรมเรื่อง “การใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง” ณ อาคารโรงปุ๋ย ส านักงานเทศบาลต าบลฝั่งแดง อ.นากลาง จ.หนองบัวล าภู เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกของศูนย์ฯ จ านวน 16 คน มีความรู้เรื่องการจัดการดินและปุ๋ย สามารถใช้ปุ๋ยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงได้

วันอังคารที่ 7 กรกฎาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการฯ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ เป็นวิทยากรโครงการฝึกอบรมเรื่อง “การผลิตปุ๋ยกึ่งอินทรีย์” ณ เทศบาลต าบลแสงสว่าง อ.หนองแสง จ.อุดรธานี โดยการอบรมมีการบรรยาย และสาธิตขั้นตอนการผลิตปุ๋ยกึ่งอินทรีย์ รวมทั้งชี้แนะให้ค าปรึกษาแนวทางในการจัดตั้งโรงปุ๋ยของชุมชน

วันศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการฯ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรมติดตามผลการด าเนินการและให้ค าปรึกษา “โครงการเกษตรโรตารี่สู่วิถีพอเพียง” โดยได้มีส่วนร่วมในการด าเนินงานการผลิตปุ๋ยไม่กลับกอง ณ โรงเรียนบ้านเชียงหวางสร้างลาน อ.เพ็ญ จ.อุดรธานี จัดโดยสโมสรโรตารี่หมากแข้ง จังหวัดอุดรธานี

Page 24: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

วันพุธที่ 29 กรกฎาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการฯ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ และนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี เป็นวิทยากรโครงการฝึกอบรมเรื่อง “การคัดแยกขยะหรือน ากลับมาใช้ใหม่” ณ ศาลาวัดอัมพวัน บ้านดงยวด ต.นาข่า อ.เมือง จ.อุดรธานี จัดโดยเทศบาลต าบลนาข่า ในการฝึกอบรมมีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการระบบทิ้งขยะ การท าปุ๋ยหมักชีวภาพจากขยะอินทรีย์ การท าปุ๋ยจากการย่อยขยะอินทรีย์โดยใช้ไส้เดือนดิน และการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์

5. การจัดงานวันวิทยาศาสตร์-ราชภัฏอุดรธานีวิชาการ

ในวันที่ 18-20 สิงหาคม 2558 ที่ผ่านมา คลินิกเทคโนโลยีและศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ ได้เข้าร่วมจัดกิจกรรม “งานวันวิทยาศาสตร์-ราชภัฏอุดรธานีวิชาการ ประจ าปี 2558” โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเผยแพร่ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องค์ความรู้ที่มีอยู่ภายในศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ และเป็นการประชาสัมพันธ์ศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ ให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัย โดยได้มีการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ ในด้านการจัดการน้ า และมีการน าเสนอผลการด าเนินงานด้านต่างๆ ของศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาทิ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง การทดสอบคุณภาพน้ า การพัฒนาห้องปฏิบัติการทดสอบเพ่ือเข้าสู่มาตรฐาน ISO/IEC 17025 และห้องปฏิบัติการทดสอบในประเทศสมาชิกอาเซียนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน

ISO/IEC 17025 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ การผลิตเห็ดเศรษฐกิจ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และกึ่งอินทรีย์คุณภาพสูง คลินิกเทคโนโลยีที่พ่ึงของชุมชน เป็นต้น และในงานยังมีการบรรยายและสาธิตการทดสอบคุณภาพน้ าทางกายภาพ การผลิตปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง โดยนิทรรศการทั้งหมดของศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ ได้รับความสนใจและเข้าชมงานจากนักเรียน นักศึกษา ครูจากโรงเรียนต่างๆ และประชาชนทั่วไป ที่ลงทะเบียนมากกว่า 5,000 คน ซึ่งภายในงานได้ให้ผู้เข้าชมงานอ่าน ค้นคว้า และทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง ท าให้ผู้เข้าชมเกิดความรู้และความสนุกสนานเป็นอย่างมาก

Page 25: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

6. การเข้าร่วมประชุมกับทางคลินิกเทคโนโลยี

วันพุธที่ 22 ตุลาคม 2557 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการ ในฐานะผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมประชุมหารือการบูรณาการงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในจังหวัดอุดรธานี ประจ าปี งบประมาณ 2558 ณ ศาลากลางจั งหวั ด อุดรธานี จั ด โดย ศูนย์ ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยในการประชุมมีการแนะน าบทบาท หน้าที่และแนวทางการด าเนินงานของศูนย์ประสานงานฯ และชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ/กิจกรรมบูรณาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในจังหวัดอุดรธานี ประจ าปีงบประมาณ 2558 เพ่ือเป็นการสนับสนุนยุทธศาสตร์จังหวัด ซึ่งยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับภารกิจของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรให้ได้มาตรฐานในรูปแบบเกษตรปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน และยุทธศาสตร์ที่ 6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการภาครัฐ ทั้งนี้ทางคลินิกเทคโนโลยี โดยศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ จะได้น าข้อมูลมาพิจารณาเพื่อบูรณาการการด าเนินงานร่วมกันต่อไป

วันที่ 17-18 พฤศจิกายน 2557 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “แนวทางการด าเนินงานศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (ศวภ.2) ประจ าปีงบประมาณ 2558” ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ โรงแรมเซ็นทาราแอนด์คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น เพ่ือสร้างความเข้าใจ และพัฒนาความร่วมมือของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายคลินิกเทคโนโลยีในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน รวมทั้งในจังหวัดพ้ืนที่ให้บริการ เพ่ือน าไปสู่การด าเนินงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานในจังหวัดที่จะพัฒนาประเทศต่อไป

Page 26: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ในวันศุกร์ที่ 9 มกราคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี เข้าร่วมประชุมหารือแนวทางการด าเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาความต้องการของเกษตรกรและการจัดท าแผนบูรณาการเพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรฯ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนต าบลโนนสูง อ.เมือง จ.อุดรธานี ซึ่งทางส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี ได้จัดโครงการพัฒนาเกษตรครบวงจรในพ้ืนที่ที่มีศักยภาพ มุ่งเน้นการท างานร่วมกันแบบบูรณาการของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเครือข่ายทุกภาคส่ วน โดยค านึงถึงศักยภาพของพ้ืนที่และความต้องการของชุมชน มุ่งหวังให้เกิดประโยชน์โดยตรงแก่เกษตรกรในการเพ่ิมประสิทธิภาพด้านการผลิต การเพ่ิมมูลค่า การตลาด และการบริหารจัดการ

วันที่ 18-20 มีนาคม 2558 นางโสภิตา เลิศสุบิน หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ/รองผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การขับเคลื่อนงานด้าน วทน. ร่วมกับรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ท าหน้าที่ผู้บริหารวิทยาศาสตร์จังหวัดระดับสูง สู่การพัฒนาพื้นที่จังหวัด ชุมชนและท้องถิ่น ประจ าปี พ.ศ.2558” ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือชี้แจงแนวทางการด าเนินงานขับเคลื่อนงานด้าน วทน. สู่การพัฒนาจังหวัด ชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก าหนดกรอบแนวทางการจัดท าแผน/โครงการพัฒนาจังหวัดด้วย วทน. รวมถึงการบูรณาการการท างานร่วมกันระหว่างกระทรวงวิทยาศาสตร์และกระทรวงมหาดไทย ภายใต้บันทึกข้อตกลงที่ลงนามโดยปลัดกระทรวงทั้ง 2 กระทรวง

Page 27: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

วันอังคารที่ 31 มีนาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการ เข้าร่วมประชุมเรื่อง “การจัดท าแผนงาน/โครงการด้าน วทน. เพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด ครั้งที่ 1/2558” ณ ห้องประชุมสบายดี ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี เพ่ือหารือและรับข้อเสนอเพ่ิมเติมโครงการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ในปีงบประมาณ 2559 รวมทั้งแผนงาน/โครงการด้าน วทน.ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดอุดรธานีในปีงบฯ 2560

วันที่ 19-21 มีนาคม 2558 ด้วยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ด าเนินการจัดสัมมนาโครงการส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพระดับชุมชนอย่างไรให้ยั่งยืน ครั้งที่ 4 ร่วมกับภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ณ โรงแรมปั้นหยา จังหวัดอุดรธานี และมีก าหนดการลงพ้ืนที่ศึกษาดูงานด้านการผลิตก๊าซชีวภาพใช้ในครัวเรือนของจังหวัดอุดรธานี ในวันที่ 20 มีนาคม 2558 ซึ่งนายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล และนายอัศวิน บุญชัย ในฐานะผู้ประสานงานในจังหวัดอุดรธานี ได้เป็นตัวแทนของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ในการประสานงานเรื่องสถานที่จัดสัมมนา รวมทั้งประสานและเตรียมสถานที่ศึกษาดูงาน และเข้าร่วมสัมมนาในฐานะเครือข่ายฯ ที่มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีววภาพด้วย

วันที่ 7 เมษายน 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมฝึกอบรมเรื่อง “การบริหารจัดการเครือข่าย การติดตามประเมินผลและรายงานผลโครงการ” ณ โรงแรมราชาวดี ขอนแก่น และมหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดโดยส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในข้อเสนอโครงการที่ได้รับการสนับสนุน เครื่องมือการติดตามประเมินผล และรายงานผล รวมทั้งการบริหารเครือข่ายที่มีการท างานร่วมกับศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ประจ าภูมิภาค (ศวภ.) และจังหวัด แก่หน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ภายใต้กิจกรรมส่งเสริมการน าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมฯ ประจ าปีงบประมาณ 2558

Page 28: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

วันที่ 23 - 25 เมษายน 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี ร่วมศึกษาดูงานแหล่งผลิต การแปรรูป การตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย ณ จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดยโสธร ซึ่งจัดโดยส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุดรธานี ในฐานะคณะอนุกรรมการบูรณาการแผนปฏิบัติการพัฒนาการเกษตรระดับจังหวัด ซึ่งได้ขานรับนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในโครงการพัฒนาการเกษตรครบวงจรในพื้นที่ท่ีมีศักยภาพ โดยมีเจตนารมณ์เพ่ือบูรณาการการท างานของส่วนราชการทุกระดับและท้องถิ่นท่ีมีศักยภาพ ตั้งแต่การแปรรูปและการตลาดครบวงจร ตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปีปัจจุบัน โดยการจัดกิจกรรมการศึกษาดูงานในครั้งนี้ เพ่ือต้องการให้การด าเนินงานกิจกรรมดังกล่าวบรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ให้กับกลุ่มเกษตรกรของจังหวัดอุดรธานีที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 24 มิถุนายน 2558 เข้าร่วมประชุม นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการฯ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ ได้เข้าร่วมประชุมดังนี้ “การด าเนินงานโครงการส่งเสริมการผลิตก๊าซชีวภาพระดับครัวเรือน เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 88” ใน ณ ห้องประชุมดู่ทอง อาคาร 1 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยราชมงคลอิสาน วิทยาเขตขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือติดตั้งระบบก๊าซชีวภาพ ให้กับครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนพลังงาน และพ้ืนที่ที่มีวัตถุดิบผลิตพลังงาน แต่ยังไม่มีการน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจให้เกษตรกรในชนบทได้พ่ึงพาตนเองในด้านพลังงานทดแทน

Page 29: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

วันที่ 25 มิถุนายน 2558 ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “เครือข่ายความร่วมมือด้าน วทน. พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนระดับกลุ่มจังหวัด” ครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุมศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ ชั้น 1 อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือวิเคราะห์โจทย์ความต้องการของจังหวัดด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) และเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการจัดท าเอกสารเชิงหลักการ (Concept paper)

วันที่ 30 มิถุนายน 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการฯ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ พร้อมด้วยนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ “การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอพื้นบ้านนาโน” ณ ห้องประชุมสิริคุณากร 4 ชั้น 2 อาคารอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ค าแนะน าเรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าให้กั บกลุ่มผู้ประกอบการทอผ้าพื้นเมือง เป็นการพัฒนาและยกระดับสินค้าพ้ืนเมืองให้มีมาตรฐานต่อไป

วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการ/ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยีฯ นายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี และนายจักรัตน์ บุญภา ผู้ประสานงานโครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ ได้ลงพื้นที่ส ารวจความพร้อมและศักยภาพในการด าเนินงานหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ประจ าปีงบประมาณ 2559 ใน 3 พ้ืนที่ของจังหวัดหนองบัวล าภู คือ ต.เก่ากลอย อ.นากลาง ต.ฝั่งแดง อ.นากลาง และ ต.ศรีบุญเรือง อ.ศรีบุญเรือง เพ่ือเป็นหมู่บ้านตัวอย่างของการน าความรู้ด้าน วทน. ไปพัฒนาพ้ืนที่และสนับสนุนการด าเนินงาน แบบบูรณาการร่วมกับจังหวัดหนองบัวล าภูต่อไป

Page 30: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ในวั นที่ 9 - 11 สิ งหาคม 2558 นายอรุณศั กดิ์ ไชยอุบล ผู้ จั ดการคลิ นิ กเทคโนโลยี และนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมประชุมเครือข่ายความร่วมมือเพ่ือการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ประจ าปี 2558 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพมหานคร จัดโดยส านักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยในงานนี้ คลินิกเทคโนโลยี มรภ.อุดรธานี ได้รับโลห์เชิดชูเกียรติและขอบคุณในฐานะคลินิกเทคโนโลยี และเครือข่าย วทน.จังหวัดจากกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ นับได้ว่าเป็นก าลังใจและความภาคภูมิใจให้กับคณะท างานและมหาวิทยาลัย

วันที่ 19-20 สิงหาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล นักวิชาการ เข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตร "การสร้ างภาวะผู้น าและการพัฒนาทีมงาน " จัดโดย ส านัก เสริมศึกษาและบริการสั งคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น วันที่ 21-22 สิงหาคม 2558 นายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี เข้าร่วมการฝึกอบรมหลักสูตร เรื่อง "การเขียนหนังสือราชการและการตอบโต้เอกสาร" จัดโดย ส านักเสริมศึกษาและบริการสังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ โรงแรมโฆษะ จังหวัดขอนแก่น

วันที่ 24 สิงหาคม 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และนายอัศวิน บุญชัย ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี พร้อมด้วยกลุ่มเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี สิ่งทอพ้ืนบ้านนาโน ได้แก่ กลุ่มทอผ้าย้อมคราม ต.หนองอ้อ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี กลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมบ้านเชียงยืน ต.เชียงยืน จ.อุดรธานี และกลุ่มทอผ้าไหมผ้าแสงบูรพา ต.พังงู อ.หนองหาน จ.อุดรธานี ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “แนวทางการสร้างเครือข่ายสัมพันธมิตรสิ่งทอพ้ืนบ้านนาโน ภาตะวันออกเฉียงเหนือ”(Northeast nano native textiles consortium)” ครั้งที่ 3 /2558 ณ ลานโปรโมชั่น ชั้น 1 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น โดยภายในงานมีการจัดประกวดผลิตภัณฑ์สิ่งทอพ้ืนบ้านนาโน ซึ่งผ้าทอจากกลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมบ้านเชียงยืน ต.เชียงยืน จ.อุดรธานี ได้รับรางวัลขวัญใจประชาชน (popular vote) ในการประกวดครั้งนี้ด้วย

Page 31: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

วันศุกร์ที่ 18 กันยายน 2558 นายอรุณศักดิ์ ไชยอุบล ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “แนวทางการด าเนินงานด้าน วทน. ในพ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เพ่ือสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560” ณ ห้องประชุมสิริคุณากร 4 ชั้น 2 อาคารอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพ่ือระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการด าเนินโครงการปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 และผลักดันโครงการเข้าสู่แผนพัฒนาจังหวัด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จัดโดย ศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจ าภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน (ศวภ.2) โดยการประชุมครั้งนี้ คลินิกเทคโนโลยี มรภ.อุดรธานี ได้มีสาวนร่วมน าเสนอผลการด าเนินงานที่ผ่านมาและแนวทางการด าเนินงานโครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี “การผลิตก๊าซชีวภาพฯ” ในอนาคตด้วย

Page 32: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

7. ผลการประเมินการบริการให้ค าปรึกษา ปี 2558 ได้ด าเนินการประเมินโดยใช้แบบวัดความพึงพอใจต่อการให้บริการ มีรายละเอียดดังนี้

7.1 ข้อมูลของผู้ตอบแบบวัดความพึงพอใจ การบริการให้ค าปรึกษา ของคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มีผู้เข้ารับการบริการทั้งหมด จ านวน 146 คน และได้มีผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จ านวน 141 คน

7.2 ประเด็นในการวัดความพึงพอใจ แบบวัดความพึงพอใจ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ความพึงพอใจต่อการให้บริการ

ความสามารถในการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ และช่องทางการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ มีผลการวัดความ พึงพอใจในประเด็นต่างๆ ดังนี้

7.2.1 ด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการ (รายละเอียดดังตารางท่ี 2) 7.2.1.1 ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

1) มีช่องทางการให้บริการที่หลากหลาย มีผลการประเมินอยู่ ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 55.56

2) การ ให้ บริ การขั้ นตอน ไม่ ยุ่ ง ย าก ซับซ้ อน มี ผลการประ เมินอยู่ ใ น ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 53.47

3) การให้บริการมีความสะดวก รวดเร็ว มีผลการประเมินอยู่ ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 54.86 7.2.1.2 ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

1) การให้บริการด้วยความสุภาพ เต็มใจ ยินดี มีผลการประเมินอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 47.22

2) การให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว มีผลการประเมินอยู่ ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 59.03

3) การให้บริการตอบข้อซักถามปัญหาได้น่าเชื่อถือ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 54.17 7.2.1.3 ด้านข้อมูล

1 ) ได้ รั บค ว าม รู้ เ พ่ิ มขึ้ น มี ผ ลกา รประ เมิ นอยู่ ใ น ร ะดั บมาก คิ ด เป็ น ร้อยละ 48.67

2) ข้อมูลมีความถูกต้องตรงความต้องการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 55.56

3) ข้อมูลที่ได้รับมีประโยชน์ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก คิดเป็น ร้อยละ 51.39

7.2.1.4 ภาพรวมความพึงพอใจในการให้บริการ มีผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 45.83

Page 33: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ตารางท่ี 2 แสดงร้อยละความพึงพอใจต่อการให้บริการให้ค าปรึกษาและบริการข้อมูลคลินิกเทคโนโลยี

การให้บริการ ระดับความพึงพอใจ/ร้อยละ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด

1.ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 1.1 มีช่องทางการให้บริการที่หลากหลาย 1.2 การให้บริการขั้นตอน ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน 1.3 การให้บริการมีความสะดวก รวดเร็ว

25.69 25.69 31.21

55.56 53.47 54.86

18.06 17.36 10.42

0.69 3.47 2.78

0.00 0.00 0.69

2. ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 2.1 การให้บริการด้วยความสุภาพ เต็มใจ ยินดี 2.2 การให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว 2.3 การให้บริการตอบข้อซักถามปัญหาได้น่าเชื่อถือ

43.75 25.00 31.94

47.22 59.03 54.17

6.94 15.28 13.19

1.39 0.69 0.69

0.69 0.00 0.00

3. ด้านข้อมูล 3.1 ได้รับความรู้เพ่ิมข้ึน 3.2 ข้อมูลมีความถูกต้องตรงความต้องการ 3.3 ข้อมูลที่ได้รับมีประโยชน์

42.36 29.86 34.03

48.61 55.53 51.39

8.33 12.50 13.19

0.69 1.39 0.69

0.00 0.69 0.65

4. ภาพรวมความพึงพอใจในการให้บริการ 45.83 44.44 8.33 1.39 0.00 7.2.2 ด้านความสามารถในการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ (รายละเอียดดังตารางท่ี 3 )

7.2.2.1 การประเมินสามารถในการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ 1) สามารถน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ มีผลการประเมิน คิดเป็นร้อยละ 100 2) ไม่สามารถน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 0

ตารางท่ี 3 แสดงร้อยละความสามารถในการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

ความสามารถในการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 1. การน าใช้ประโยชน์ได้ 2. น าไปใช้ประโยชน์ไม่ได้

100 0

Page 34: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

7.2.3 ด้านช่องทางการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ (รายละเอียดดังตารางท่ี 4 ) ผู้ที่ได้รับบริการให้ค าปรึกษาหรือรับข้อมูลเทคโนโลยี มีช่องทางในการน าความรู้ไป

ใช้ประโยชน์ได้ในลักษณะต่างๆ โดยส่วนใหญ่ มีช่องทางการน าไปใช้ประโยชน์ในด้านการลดรายจ่ายมากที่สุด ร้อยละ 64.58 รองลงมาน าไปใช้ด้านคุณภาพชีวิต ด้านการเพ่ิมรายได้ และด้านการแก้ไขปัญหาเทคโนโลยี คิดเป็นร้อยละ 15.28 ร้อยละ 11.81 และร้อยละ 8.33 ตามล าดับ

ตารางท่ี 4 แสดงร้อยละลักษณะ/ช่องทางในการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

ลักษณะ/ช่องทางการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 1. ด้านการเพ่ิมรายได ้2. ด้านการลดรายจ่าย 3. ด้านคณุภาพชีวิต 4. ด้านการแก้ปัญหาเทคโนโลยี

11.81 64.58 15.28 8.33

Page 35: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

ภาคผนวก

Page 36: รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการบริการให้ค าปรึกษา · ส่วนที่ 2 ผลการด าเนินงานโครงการบริการให้ค

แบบวัดความพึงพอใจ เพ่ือประโยชน์การวัดความพึงพอใจและการปรับปรุงการให้บริการค าปรึกษา ข้อมูลเทคโนโลยี และเผยแพร่ ของคลินิกเทคโนโลยีเครือข่าย จึงใคร่ขอให้ท่านให้ความเห็นตามที่เป็นจริง ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ ...........................................................................................เบอร์โทร..................................... เลขบัตรประจ าตัวประชาชน (เพ่ือประโยชน์ในการให้บริการ) ท่านเคยใช้บริการของคลิกเทคโนโลยี ค าถาม

วัน/เดือน/ปี (ของค าถาม) 5. ท่านคาดว่าสามารถน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้หรือไม่

1 ใช้ประโยชน์ได้ (ตอบข้อ 6 ด้วย) 2 ใช้ประโยชน์ไม่ได้ (ไม่ต้องตอบข้อ 6)

6. การน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในลักษณะ 1 เพ่ิมรายได ้ 2 ลดรายจ่าย 3 คุณภาพชีวิต 4 แก้ปัญหาเทคโนโลยี

รายการ ระดับความคิดเห็น

ม า กที่สุด (5)

มาก (4)

ป า นกลาง (3)

น้อย (2)

น้ อ ยที่สุด (1) 1. ท่านมีความพึงพอใจในค าถามต่อไปนี้เพียงใด

1. ด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 1.1 มีช่องทางการให้บริการที่หลากหลาย 1.2 การให้บริการขั้นตอน ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน 1.3 การให้บริการมีความสะดวก รวดเร็ว

2. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 2.1 ให้บริการด้วยความสุภาพ เต็มใจ ยินดี 2.2 ให้บริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว 2.3 ให้บริการตอบข้อซักถามปัญหาได้น่าเชื่อถือ

3. ด้านข้อมูล 3.1 ได้รับความรู้เพ่ิมข้ึน 3.2 ข้อมูลมีความถูกต้องตรงความต้องการ 3.3 ข้อมูลที่ได้รับมีประโยชน์

4. ภาพรวมความพึงพอใจในการให้บริการ

IDProject = ……………………

IDPersonal = ……………………

(Autonumber)