372
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ โดย นางสาวนพนภา ออกดวง วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2547 ISBN 974-464-716-7 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน

เทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ

โดยนางสาวนพนภา ออกดวง

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทยภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากรปการศึกษา 2547

ISBN 974-464-716-7ลิขสิทธ์ิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

A COMPARATIVE STUDY OF MATTHAYOMSUKSA 2 STUDENTS’ACHIEVEMENT OF LEARNING WORDS AND WORD FUNCTIONS IN

THAI LANGUAGE INVOLVING DIFFERENT TEACHING METHODS OFTHE STAD COOPERATIVE LEARNING AND THE CONVENTIONAL

ByNopnapa Oxduang

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the DegreeMASTER OF EDUCATION

Department of Curriculum and InstructionGraduate School

SILPAKORN UNIVERSITY2004

ISBN 974-464-716-7

Page 3: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่อง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ” เสนอโดย นางสาวนพนภา ออกดวง เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

……………………………………………(รองศาสตราจารย ดร. จิราวรรณ คงคลาย)

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยวันที่……..เดือน…………..พ.ศ……..

ผูควบคุมวิทยานิพนธ1. อาจารย มณฑนา วัฒนถนอม2. ผูชวยศาสตราจารย สมพร รวมสุข3. รองศาสตราจารย วีรานันท พงศาภักดี

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ

…………………………………..ประธานกรรมการ ( อาจารย บัญญัติ เรืองศรี) ……../………./……..

…………………………………..กรรมการ …………………………………..กรรมการ (อาจารย มณฑนา วัฒนถนอม) (ผูชวยศาสตราจารย สมพร รวมสุข) ……../………./…….. ……../………./……..

…………………………………..กรรมการ …………………………………..กรรมการ(รองศาสตราจารย วีรานันท พงศาภักดี) (อาจารย สมปอง สกุลทับ) ……../………./…….. ……../………./……..

Page 4: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

K43465055 : สาขาวิชาการสอนภาษาไทยคําสําคัญ : คําและหนาท่ีของคําในภาษาไทย/การเรียนแบบรวมมือกัน

นพนภา ออกดวง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ ( A COMPARATIVE STUDY OF MATTHAYOMSUKSA 2 STUDENTS’ ACHIEVEMENT OF LEARNING WORDS AND WORD FUNCTIONS IN THAI LANGUAGE INVOLVING DIFFERENT TEACHING METHODS OF THE STAD COOPERATIVE LEARNING AND THE CONVENTIONAL. อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ : อ.มณฑนา วัฒนถนอม, ผศ.สมพร รวมสุข และ รศ.วีรานันท พงศาภักดี. 362 หนา. ISBN 974-464-716-7

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ตัวอยางที่ใชในการวิจัยไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนศาลาตึกวิทยา อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ท่ีกําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 จํานวน 48 คน จาก 2 หองเรียน หองเรียนละ 24 คน โดยใหหองหนึ่งเรียนโดยการเรียนแบบรวมมือกันดวยเทคนิค STAD และอีกหองหนึ่งเรียนโดยการสอนแบบปกติ ใชเวลาในการทดลอง 14 คาบ คาบละ 50 นาที

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนโดยการเรียนแบบ รวมมือกันเทคนิค STAD การวิเคราะหขอมูลใชสถิติวิเคราะหคาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบคาเฉลี่ยโดยใชการทดสอบ paired- samples t test

ผลการวิจัย1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยของนักเรียนที่ไดรับการสอน

โดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับนักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติแตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยกลุมที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD สูงกวากลุมที่ไดรับการสอนแบบปกติ

2. นักเรียนมีความพอใจตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ในระดับมากที่สุด

___________________________________________________________________________________ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2547ลายมือช่ือนักศึกษา………………………………………………………………………………………….ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 1. ………….……. 2 …………………… 3……………………...

Page 5: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

K43465055 : MAJOR : TEACHING THAI LANGUAGEKEY WORD : WORDS AND WORD FUNCTIONS IN THAI LANGUAGE/COOPERATIVE

LEARNINGNOPNAPA OXDUANG : A COMPARATIVE STUDY OF MATTHAYOMSUKSA 2

STUDENTS’ ACHIEVEMENT OF LEARNING WORDS AND WORD FUNCTIONS IN THAI LANGUAGE INVOLVING DIFFERENT TEACHING METHODS OF THE STAD COOPERATIVE LEARNING AND THE CONVENTIONAL. THESIS ADVISORS : MONTANA WATANATANOM, ASST. PROF. SOMPORN RUAMSUK, AND ASSOC. PROF. VEERANUN PONGSAPAKDEE. 362 pp. ISBN 974-464-716-7

The purposes of the research were to : 1) compare the Matayomsuksa two students’ achievement of learning words and word functions in Thai language between their involvement of the lesson constructs of the STAD cooperative learning and the conventional and 2) study the students’ opinions about the STAD cooperative learning method as the centre of learning activities. The sample consisted a total of two classes of 48 Matayomsuksa two students, Salatuek Wittaya School, Kamphaeng Saen district, Nakhon Pathom province. And a class of 24 students was designated as a controlled group of the conventional method whereas the other of the same number as an experimental group of the STAD cooperative learning method. The experiment covered the duration of 14 periods of 50 minutes each within semester one of the academic year 2004.

The instruments using to collect data included lesson plans, an achievement test as a measure before and after the learning sessions, and a questionnaire requesting the students’ opinions about the STAD cooperative learning method. The collected data were analyzed by the statistical means of Mean ( x ), Standard Deviation (S.D.), and paired-samples t test

The findings were as follows :1. On comparison, the students’ achievement scores of the two teaching methods were

statistically found significantly different at level of .05 whereas the class of the STAD cooperative learning obtained higher scores.

2. According to the questionnaire requesting opinions about the STAD cooperative learning activities, the students revealed their most satisfaction of the level.

_________________________________________________________________________________________Department of Curiculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2004.Student’s signature…………………………………………………………………………………………………Thesis Advisors’ signature 1…………….……..……...2……..…………...…………3………………………..…

Page 6: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ เร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิคSTAD กับการสอนแบบปกติ ฉบับนี้ สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณา ความเอาใจใส การให คําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนการตรวจแกไขขอบกพรองจาก อาจารยมณฑนา วัฒนถนอม ผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข รองศาสตราจารยวีรานันท พงศาภักดี อาจารยผูควบคุม วิทยานิพนธ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง

ขอขอบพระคุณ อาจารยบัญญัติ เรืองศรี ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ และอาจารยสมปอง สกุลทับ ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาใหคําปรึกษา แนะนําแกไขขอบกพรองและใหความรูเชิงวิจารณ เพื่อความสมบูรณของวิทยานิพนธ

ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญ ดร.สุจิตรา คงจินดา และอาจารยสะอาด เลิศหิรัญ หัวหนากลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม อาจารยตลับ ฉลาดแพทย อาจารย 3 ระดับ 8 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

ขอขอบพระคุณ อาจารยศิริวัฒน อาจองค ผูอํานวยการโรงเรียนศาลาตึกวิทยา อาจารยสุชาติ แกวขาว อาจารยสุเทพ เรืองเครือวงษ อาจารยวิภา อมรศิริอาภรณ คณะครู และนักเรียนโรงเรียนศาลาตึกวิทยาที่ใหความรวมมือและอํานวยความสะดวกในการวิจัยเปนอยางดี

ขอบคุณ คุณบุญสืบ สมัครราช ที่มีสวนชวยเหลือใหผูวิจัยมีเวลาในการทํางานวิจัย คร้ังนี้ ขอบคุณพี่ และเพื่อนรวมรุนสาขาวิชาการสอนภาษาไทยที่ใหกําลังใจตลอดมา

ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอมงคล คุณแมจิตต ออกดวง ผูเปนครูคนแรกอันเปนที่รักและเคารพสูงสุดในชีวิตที่ไดมอบความรัก ความเมตตา หวงใยและเปนกําลังใจแกผูวิจัยเสมอมา คุณคาและประโยชนของวิทยานิพนธฉบับนี้ขอมอบเปนเครื่องบูชาพระคุณบิดา มารดา ครูอาจารยทุกทานที่ไดอบรมสั่งสอน และสนับสนุนการศึกษาของผูวิจัยดวยความรักและปรารถนาดีตลอดมา

Page 7: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย………………………………………………………………………………….บทคัดยอภาษาอังกฤษ………………………………………………………………………กิตติกรรมประกาศ…………………………………………………………………….………สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………สารบัญภาพ…………………………………………………………………………………บทที่ 1 บทนํา…………………………………………………………………………………..

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา…………………….…………….วัตถุประสงคของการวิจัย…………………………………………………..สมมติฐานของการวิจัย……………………………………………………ขอบเขตของการวิจัย……………………………………………………….นิยามศัพทเฉพาะ…………………………………………….……………….

2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ……………………………………………………………หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย……………………………………………..วิธีสอนภาษาไทย………………………………………………………….วิธีสอนหลักภาษาไทย…………………………………….. ……………….การเรียนแบบรวมมือกัน…………………………………………………..การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ………………………………….วิธีสอนแบบปกติ………………………………………………………….คําและหนาที่ของคําทั้ง 7 ชนิด…………………………………………งานวิจัยที่เกี่ยวของ………………………………………………………

3 วิธีดําเนินการวิจัย…………………………………………………………………ขั้นเตรียมการ………………………………………………………………ขั้นการสรางและหาประสิทธิภาพเครื่องมือ……………………………………ขั้นทดลอง……………………………………………………………….ขั้นวิเคราะหขอมูลและทดสอบสมมติฐาน………………………………….

งจฉฌญ

111010111213

13172530435052657273778284

Page 8: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

บทที่ หนา 4 การวิเคราะหขอมูล………………………………………………………………….

ตอนที่ 1ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2ที่ไดรับการสอน โดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STADกับการสอนแบบปกติ……………………………………………..

ตอนที่ 2ผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD …………………

5 สรุปอภิปรายผลและขอเสนอแนะ………………………………………………….สรุปผลการวิจัย…………………………………………………………….อภิปรายผลการวิจัย………………………………………………………..ขอเสนอแนะ…………………………………………………………………

บรรณานุกรม………………………………………………………………………………..ภาคผนวก……………………………………………………………………………………

ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนรูกลุมทดลอง /แผนการจัดการเรียนรูกลุมควบคุม………………………………………..

ภาคผนวก ข แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน…………………………….ภาคผนวก ค แบบสอบถามความคิดเห็น………………………………………………ภาคผนวก ง การหาคาความเชื่อมั่น………………………………………………..ภาคผนวก จ รายนามผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ……………………………

ประวัติผูวิจัย………………………………………………………………………………….

86

86

899293939698109

110330341346360362

Page 9: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา1 การเทียบรายคูของกลุมทดลองและกลุมควบคุมเพื่อแบงคะแนนเปน 3 ระดับ……2 แสดงการแบงกลุมนักเรียนที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน(กลุมทดลอง)…………….3 ระยะเวลาและรายละเอียดในการทดลองสอนกลุมทดลองและกลุมควบคุม…………..4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย

(กอนเรียนและหลังเรียน) ของกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD ……………………………………………………………………

5 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย (กอนเรียนและหลังเรียน) ของกลุมควบคุมที่สอนโดยการสอนแบบปกติ………

6 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์กอนเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของ กลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับกลุมควบคุม ที่สอนโดยการสอนแบบปกติ……………………………………………………

7 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของ กลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับกลุมควบคุม ที่สอนโดยการสอนแบบปกติ……………………………………………………

8 ผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียน แบบรวมมือกันเทคนิค STAD……………………………………………………

9 แสดงคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย จํานวน 90 ขอ…………………………………………………………………..

10 แสดงคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยที่นําไปใช ในการทดลอง (pretest-posttest) จํานวน 40 ขอ………………………………

11 แสดงคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนโดยการสอนแบบรวมมือเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ…………………………………………………………...

12 คาสถิติการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนทั้งสองกลุม คํานวณโดยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS 11.0 for window ………………………

747683

87

87

88

88

89

347

351

353

354

Page 10: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 1 แสดงรูปแบบการเรียนแบบรวมมือกัน……………………………………………….. 2 แสดงถึงการเรียนที่เนนครูเปนศูนยกลาง……………………………………………… 3 แสดงถึงการเรียนที่เนนนักเรียนเปนศูนยกลาง………………………………………..

343939

Page 11: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

1

บทท่ี 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหากระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบัน ทําใหสภาพสังคมไทยเขาสูยุคโลกาภิวัตน

ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยขีอมลูขาวสาร ทกุสิง่ทกุอยางทีเ่กดิขึน้ทางดานสงัคม เศรษฐกจิ การเมอืงและวฒันธรรม ส่ิงเหลานีส้งผลใหประเทศไทยตองเตรียมพลเมืองที่มีคุณภาพและศักยภาพ เพื่อพัฒนาประเทศใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ดวยเหตุนี้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540 – 2544) จึงมีเปาหมายใหคนเปนศูนยกลางของการพัฒนาเศรษฐกิจจากเปาหมายดงักลาวทําใหแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติมุงเนนพัฒนาคนใหมีคุณลักษณะเปนผูใฝรูรูจักคิดวิเคราะหโดยใชเหตุผลเชิงวิทยาศาสตรมีความคิดรวบยอดมีจินตนาการและความคิดริเริ่มสรางสรรคตลอดจนพัฒนาความมีวินัยในตนเอง ความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม ดังนั้น จึงนับไดวาการศึกษาเปนหัวใจสําคัญในการเตรียมพัฒนาคนออกสูสังคมไทย

ภาษาไทยเปนเครือ่งมอือยางหนึง่ของมนษุย ทีช่วยทาํใหเกดิความสะดวกในการตดิตอ ส่ือสารทางดานความคดิ ความเขาใจใหตรงกันประเทศไทยมีภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติคนไทยทุกคนควรตระหนักและชวยกันรักษาไวใหเปนวัฒนธรรมที่ดีงามของชาติ ดังพระราชดํารัสใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลปจจุบัน เมื่อคราวเสด็จพระราชดําเนินไปในการประชุม ทางวิชาการ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2505 ณ หอประชุมจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความตอนหนึ่งวา “ภาษาเปนเครือ่งมอือยางหนึง่ของชาต ิ ฉะนัน้จาํเปนตองรักษาไวใหด…ี ประเทศไทยมภีาษาเปนของเรา ซ่ึงตองหวงแหน …เรานี้โชคดีที่มีภาษาเปนของตนเอง จึงควรอยางยิ่งที่จะรักษาไว” (กรมวิชาการ 2530 : 5)

จะเห็นไดวา ภาษาไทยมีความสําคัญมาก เพราะนอกจากจะเปนภาษาประจําชาติที่แสดงความเปนไทย เปนเครือ่งมอืในการตดิตอส่ือสารระหวางคนไทย ทาํใหเกดิความเขาใจตรงกนัเกดิ ความรูสึกเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน ภาษาไทยยังเปนวัฒนธรรมประจําชาติอยางหนึ่งที่นาภาคภูมิใจ เปนเครือ่งมอืในการศกึษาหาความรู เปนเครือ่งมอืในการประกอบอาชีพทุกสาขา ผูที่มีความสามารถทางภาษาสูง เมื่อใชภาษาไทยเปนเครื่องมือถายทอดความรู ความคิด ไปในทางที่ดีจะประสบ ความสําเร็จในชีวิตและเปนที่ยอมรับของคนในสังคม บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2525:1) กลาววา “ในการสื่อสาร …ภาษาไทยสําคัญยิ่งกวาอะไรทั้งส้ิน” แสดงใหเห็นวา ภาษาไทยมีความสําคัญ

1

Page 12: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

2

อยางยิ่งในฐานะที่เปนภาษาของชาติ เปนเครื่องมือในการสื่อสาร เปนพื้นฐานในการพัฒนา การศึกษาเปนที่มาของมรดก ของวัฒนธรรม เปนเอกลักษณซ่ึงควรรักษาไวและใชใหถูกตอง

กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสาํคัญดังกลาว จึงกาํหนดใหวิชาภาษาไทยเปน วิชาบังคับในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาสําหรับหลักสูตรช้ันมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ไดกําหนดจุดประสงควิชาภาษาไทยดังนี้(กรมวิชาการ 2533 : 9)

1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในเรื่องหลักภาษา2. เพื่อใหสามารถใชภาษาไดถูกตองเหมาะสมกับวัย3. เพื่อใหสามารถฟงและอานอยางมีวิจารณญาณ4. เพื่อใหมีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มีนิสัยรักการอาน การเขียน และมีรสนิยมใน

การเลือกอานหนังสือ5. เพื่อใหเห็นความสําคัญของภาษาไทย ในฐานะเปนเครื่องมือของคนไทยในชาติ

และเปนปจจัยในการสรางเสริมเอกภาพของชาติ6. เพื่อใหเห็นคุณคาของวรรณคดี และงานประพันธที่ใชภาษาอยางมีรสนิยมที่เปน

วัฒนธรรมของชาติ7. เพื่อใหสามารถใชภาษาเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูเพิ่มเติม

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 (กรมวิชาการ 2545 : 29) ไดกลาวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนโดยใหผูเรียนมีประสบการณและเนนการใชภาษาอยางถูกตองวา

กําหนดใหจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติให ทําได ทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง นอกจากนั้นยังไดเนนในเรื่องของภูมิปญญาไทยดวย ดังนั้น การจัดการเรียนรูวิชาภาษาไทย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงเนนแนวคิดใหม กลาวคือ ไมเนนการอานออกเขียนไดเพียงอยางเดียว แตจะเนนการสอนภาษาไทยเพื่อใหสามารถสื่อสารกับผูอื่นอยางมีประสทิธภิาพ ใชภาษาเพือ่แกปญหาในการดาํรงชวีติและปญหาสงัคม สอนภาษาในฐานะเครือ่งมอืของการเรยีนรูเพือ่ใหผูเรยีนสามารถแสวงหาความรูดวยตนเอง และนาํความรูไปใชในการพฒันาตนเอง นอกจากนีส้อนภาษาเพือ่พฒันาความคดิโดยมีประมวลคํามากพอที่จะสรางความคิดไดลึกซึ้งและคิดไดอยางชาญฉลาดและรอบคอบ

การสอนภาษาไทยจะตองเนนใหผูเรียนมีความรักภาษาในฐานะที่เปนวัฒนธรรมและ ถายทอดวฒันธรรมตามทีบ่รรพบุรุษไดสรางสรรคในรูปของหลักภาษา ไดแก กฎเกณฑการใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม ผูเรียนจะตองมีทักษะการใชภาษาอัน ไดแก ทักษะการฟง การพูด

Page 13: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

3

การอาน และการเขียนไดถูกตอง สละสลวยตามหลักภาษา อาน วรรณคดีและวรรณกรรมตาง ๆ เพื่อศึกษาเรื่องราวชีวิตที่จะทําใหชีวทัศนและโลกทัศนของผูอานกวางขวางขึ้นเขาใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมทั้งอดีต ปจจุบัน และสังคมในอนาคต รวมถึงศึกษาภูมิปญญาทางภาษาในทองถ่ินตาง ๆ

หลักภาษาไทยเปนวิชาที่มีความสําคัญดังที่ ฐะปะนีย นาครทรรพ (2541:14) กลาววา หลักภาษาไทย คือ ระเบียบแบบแผนของภาษาไทย ที่มีไวเพื่อใหผูใชถือเปนหลักรวมกันในการ ใชภาษาใหถูกตอง สวนสุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2525 : 10) กลาวถึง ความสําคัญและประโยชนของหลักภาษาวา “หลักภาษาชวยใหคนไทยใชภาษาไดถูกตอง มีความเปนอันหนึ่ง อันเดียวกันทั่วประเทศ หลักภาษาชวยอนุรักษภาษาไทย อันเปนเอกลักษณของชาติใหคงอยูตลอดไป และหลักภาษาชวยใหภาษางดงามอยางมีระเบียบ” ดังนั้นจะเห็นวา วิชาหลักภาษาไทยมีความสําคัญเพราะเปนระเบียบแบบแผนของการใชภาษา ซ่ึงจะชวยใหนักเรียนและผูใชภาษาใชภาษาไทยได อยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย แบงเปน 5 สาระ คือ สาระการอาน สาระการเขยีน สาระการฟง การดแูละการพดู สาระหลกัการใชภาษา และสาระวรรณคดแีละวรรณกรรม โดยมมีาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นเปน แนวทางการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองตาม มาตรฐานการเรียนรูที่กําหนด

สาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ที่กลาวถึงหลักการใชภาษา คือ สาระที่ 4 กําหนดมาตรฐานดังนี้

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทย ไวเปนสมบัติของชาติและกําหนด มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) ดังนี้

1. เขาใจการสรางคําไทยตามหลักเกณฑของภาษา2. สามารถใชประโยคสามัญ และประโยคซับซอน ในการสื่อสาร ไดชัดเจนและ

สละสลวย3. สามารถใชภาษา แสดงความคิดเห็น สรางความเขาใจ โนมนาวใจ ปฏิเสธ เจรจา

ตอรองดวยภาษา และกิริยาทาทางที่สุภาพ ใชคําราชาศัพทไดถูกตองตามฐานะบุคคล คิดไตรตรอง และลําดับความคิดกอนพูดและเขียน

4. เขาใจธรรมชาติของภาษา การนําคําตางประเทศมาใชในภาษาไทย มีวงคําศัพท เพิ่มขึ้นตามความเจริญทางวิชาการและเทคโนโลยี

Page 14: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

4

5. สามารถแตงบทรอยกรองประเภท กาพย กลอน และโคลง โดยแสดงความคิด เชิงสรางสรรค

6. สามารถรองหรือถายทอดเพลงพื้นบานและบทกลอมเด็กในทองถ่ินอยางเห็น คุณคา

มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน ซ่ึงมาตรฐาน การเรียนรูชวงชั้นที่ 3 (ม.1 – ม.3) มีดังนี้

1. สามารถใชทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู ระดมความคิด การประชุม การวิเคราะห การประเมินการทํางาน และใชเทคโนโลยีการสื่อสาร พัฒนาความรู และใชในชีวิตประจําวัน

2. เขาใจระดับของภาษาที่เปนทางการ และภาษาที่ไมเปนทางการ และใชภาษาพูดและภาษาเขียน ไดถูกตองตามหลักการใชภาษา ใชภาษาในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ ในการพัฒนาความรู เห็นคุณคา การใชตัวเลขไทย

3. ใชภาษาอยางสรางสรรค เปนประโยชนตอสวนรวมและพัฒนาบุคลิกภาพ สอดคลองกับขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ยกยองผูใชภาษาไทยอยางมีคุณธรรมและวัฒนธรรม เขาใจการใชภาษาของกลุมบุคคลในวงการตาง ๆ ในสังคม (กรมวิชาการ 2544 : 7)

จะเห็นไดวา หลักภาษาไทย เปนวิชาที่มีความสําคัญ แตการเรียนการสอนหลักภาษาไทยในปจจุบันยังไมประสบความสําเร็จตามจุดมุงหมายเทาที่ควร ทั้งนี้อาจเปนเพราะคนสวนมากมัก คดิวาการสอนภาษาไทยนัน้ใคร ๆ กส็อนได เพราะปกติคนไทยใชภาษาไทยเปนประจําอยูแลว ทําใหหลายคนรวมทั้งผูบริหารการศึกษา มองขามการพิจารณาเลือกสรรครูและบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเพื่อสอนวิชานี้ เมื่อวิชาภาษาไทยขาดครูที่มีประสิทธิภาพ ก็จะทําใหการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยประสบปญหาหลายดาน โดยเฉพาะการสอนหลักภาษาไทย

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2522 : 145) ไดประมวลปญหาเกี่ยวกับ การสอนหลักภาษาไทย สรุปไดวา ครูชอบสอนวิชาหลักภาษาไทยนอยกวาวิชาอ่ืน ๆ ในหมวดวิชาภาษาไทยดวยกัน ครูมีความคิดเห็นวาหลักภาษาไทยสอนยาก อุปกรณและตําราที่ใชประกอบ การสอนมีไมเพียงพอ ครูใชวิธีการสอนแบบเดิม คือ อธิบายแลวบอกใหนักเรียนจดไมใครไดทํา กิจกรรมประกอบการสอนหลักภาษาไทย ครูเกิดความทอแทใจ เพราะไมไดรับการยกยองจาก ผูบริหาร เพื่อนครูและนักเรียน เนื้อหาที่ปรากฏในหลักสูตร และแบบเรียนมีความซ้ําซอนกันในทุกระดับชั้น ทําใหเกิดการซ้ําซาก นาเบื่อหนาย เนื้อหาหลักภาษาไทยยาก และไมใครเปนประโยชนตอการใชภาษาในชีวิตประจําวันของนักเรียน นักเรียนมีทัศนคติที่ไมดีตอวิชาภาษาไทย

Page 15: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

5

และไมชอบเรียนภาษาไทยมากที่สุด นักเรียนมีความคิดเห็นวาเนื้อหาที่เรียนในวิชาหลักภาษาไทยยาก เรียนยาก ไมสนุก และไมนาสนใจ เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาอ่ืนในหมวดวิชาภาษาไทยแลว นักเรียนสนใจเรียนวิชาอ่ืน เชน วิชาวรรณคดีมากกวา

หลักภาษาไทยมีเนื้อหาที่เปนระเบียบแบบแผนของภาษา ตองอาศัยการทองจําและ การฝกฝนอยางตอเนื่อง สมถวิล วิเศษสมบัติ (2525:95) กลาวถึงปญหาการสอนหลักภาษาไทยวา นักเรียนสวนมากมีเจตคติไมดีตอวิชาหลักภาษาไทย ออยทิพย ชาติมาลากร (2532:1) กลาวถึงการสอนหลักภาษาไทยวา “นักเรียนสวนใหญไมชอบเรียนหลักภาษาไทย เพราะมีความเห็นวา หลักภาษาไทยเปนวิชาที่ยาก นาเบื่อ และไมสนุกสนาน สวนวรรณี ภิรมยคํา (2546 : 6) ไดสัมภาษณครูหัวหนากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยของโรงเรียนในอําเภอบางเลน จํานวน 4 โรงเรียน ถึงสาเหตุที่ทําใหนักเรียนไมประสบความสําเร็จในการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย พบวา เกิดจากสาเหตุดังนี้ หลักสูตรไมสอดคลองกับสภาพปจจุบัน โดยนักเรียนเรียนหลักภาษาไทยแบบดั้งเดิมไมมีการเชื่อมโยงมาสูการใชภาษาไทยในปจจุบัน ระบบบริหารใหความสําคัญกับครูภาษาไทยนอยกวาวิชาอ่ืน เพราะเห็นวาครูคนไหนก็สอนได ทําใหไมมีการปรับปรุงวิธีการสอน ใหเหมาะสมกับ เนื้อหา ครูขาดอุปกรณการสอนที่นาสนใจ เนื้อหาสวนใหญเปนความรูซ่ึง นักเรียนตองทองจําจึงจะนําไปใชได นักเรียนไมเห็นความสําคัญของวิชาภาษาไทย มองวายากและ ไมนาสนใจ

จากขอความดังกลาวจะเห็นวา ปญหาและขอบกพรองในการภาษาไทยคือ ผูสอนขาดวิธีการสอนที่ดี ไมสอนใหนักเรียนรูจักคิด ไมมุงนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ไมนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม ๆ มาใชประกอบการสอนทําใหนักเรียนเกิดความเบื่อหนายและมีเจตคติไมดีตอวิชาภาษา จากสภาพปญหาหาดังกลาว ในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทย ควรปรับปรุงเรื่องวิธีการสอนของครูมากที่สุดซึ่งสอดคลองกับกรมวิชาการ (2546 : 113) ที่กลาวถึง แนวการสอนหลักภาษาไทยวา

การสอนหลักเกณฑทางภาษาไทยใหแกนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานครูตองใชเทคนิคการสอนอยางหลากหลายใชวิธีสอดแทรกหลักภาษาไทยไปในกระบวนการสอน อานเขียนอยางผสมกลมกลืน นั่นก็หมายความวาครูตองรูวิธีสอนหลักภาษาไทย โดยผสมผสานไปกับการสอนการใชภาษา โดยครูควรจัดกิจกรรมการสอนที่เนนการนําไปใชจริง เชน การวิเคราะห การใชภาษาไทยของหนังสือพิมพ ภาษาโฆษณา ภาษาที่ใชในการพากยภาพยนตร สังเกต และรวบรวมการใชคําชนิดตาง ๆ ท้ังท่ีผิดและถูกตอง โดยครูจะตองเอาใจใสฝกให นักเรียนเกิดทักษะและความชํานาญ

Page 16: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

6

จะเห็นไดวาวิธีการสอนของครู เปนปจจัยสําคัญที่จะสรางเจตคติที่ดีตอวิชาภาษาไทย (บุญเหลือ เทพยสุวรรณ 2520 : 11) ซ่ึงจะกอใหเกิดผลดีตาง ๆ ตามมา เชน ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น นักเรียนมีความสนใจ ขยัน และรับผิดชอบมากขึ้น กรมวิชาการ (2543 : 1 – 2) ไดกลาวถึงวิธีสอนที่ชวยใหนักเรียนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองใหไดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญมีดังนี้ วิธีสอนแบบใชเกม (educational game) วิธีการสอนใชสถานการณจําลอง (simulation) วิธีสอนแบบใชกรณีตัวอยาง (case study) วิธีสอนแบบบทบาทสมมติ (role – play) วิธีสอนแบบแกปญหา (problem – solving) วิธีสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูป (programmed instruction) วิธีสอนแบบศูนยการเรียน (learning center) วิธีสอนโดยใชชุดการสอน (instructional package) วิธีสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน (computer assisted instruction) วิธีสอนแบบ โครงงาน (project method) วิธีสอนแบบทดลอง (experimentary) วิธีสอนแบบถามตอบ (question answer) วิธีสอนแบบอภปิรายกลุมยอย (small group discussion) วธีิสอนแบบกลุมสมัพนัธ (group process) วธีิสอนแบบรวมมอืกนั (cooperative learning) วิธีสอนแบบความคิดรวบยอด (concept attainment model) วิธีสอนแบบใหศึกษาคนควาดวยตนเอง (self directed learning) วิธีสอนแบบทัศนศึกษานอกสถานที่ (field trip) วิธีสอนแบบสืบสวน (inquiry method) วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรูเปนกลุม (group investigation)

การจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ มีหลายวิธีดังกลาวขางตน วิธีหนึ่งที่ นาจะทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นคือ การเรียนแบบรวมมือกัน(cooperative learning) เนื่องจากเปนการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนเรียนเปนกลุมเล็ก โดยกําหนดใหสมาชิกในกลุม มีความแตกตางกันในดานความสามารถทางการเรียน ลักษณะเดนของการเรียนแบบนี้ จะเนน ความรวมมอื รวมแรงกนัระหวางสมาชกิกลุมทกุคน สมาชกิแตละคนจะมหีนาทีแ่ละความรบัผิดชอบ ที่จะเรียนรูกระบวนการ แกปญหาจากกิจกรรมตาง ๆ รวมกัน การเรียนแบบนี้สมาชิกในกลุม ทุกคนจะตองรับผิดชอบตอหนาที่ครูผูสอนไดมอบหมายใหและใหความรวมมือในการทําใบงาน และชวยเหลือซ่ึงกันและกันเพื่อทุกคนจะไดรับความสําเร็จรวมกัน จะเห็นไดวาการเรียนแบบ รวมมือเปนการจัดการเรียนการสอนที่มุงใหนักเรียนไดทํากิจกรรมดวยตนเอง จัดนักเรียนเปน กลุมยอย ๆ ใหรูจกัรวมคดิ รวมใจกันแกปญหาจนสําเร็จตามเปาหมายของกลุม (สมศักดิ์ ขจรชัยกุล 2538 : 19) ซ่ึงสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 หมวดที่ 4 วาดวยเร่ืองแนวการจัดการศึกษา ตามมาตราที่ 22 ถึงมาตราที่ 24 ที่วา

การจดัการศกึษาตองยดึหลกัวา ผูเรยีนทกุคนมคีวามสามารถเรยีนรูและพฒันาตนเองได และถอืวาผูเรยีนสาํคัญทีส่ดุ กระบวนการจดัการศกึษาตองสงเสรมิใหผูเรยีนสามารถพฒันาตามธรรมชาตแิละเตม็ศักยภาพ การจดักระบวนการเรยีนรู ตองจดัเนือ้หา

Page 17: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

7

และกจิกรรมโดยคาํนงึถงึ ความแตกตางระหวางบคุคล จดักจิกรรมใหผูเรยีนไดเรยีนจากประสบการณจรงิ ไดฝกปฏบัิตใิหทําได คิดเปน ทําเปน การจดัการเรียนการสอนตองผสมผสานความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน (กรมวิชาการ 2545 :12)จากการศึกษารูปแบบการเรียนแบบรวมมือจากเอกสารและงานวิจัยตาง ๆ พบวามีหลาย

รูปแบบ ไดแก รูปแบบ learning together พบไดในงานวิจัยของ Johnson และคณะ (1985:207-220) รูปแบบ group Investigation (GI) พบในงานวจิยัของ Okebukola (1985 : 501-509) สวนงานวจิยัท่ีใชการเรยีนแบบรวมมอืรูปแบบ students – teams – achievement division (STAD) และ teams – games toumament (TGT) พบในงานวิจัยของ Okebukola (1985:501-509 และ 1986:673-682) และรูปแบบ Jigsaw II พบในงานวิจัยของ Stull (1995 : 1658) เปนตน ซ่ึงการเรียนแบบรวมมือแตละรูปแบบ มีความเหมาะสมในดานเนื้อหา และวิธีสอนที่แตกตางกัน

ผูวิจัยสนใจที่จะนํารูปแบบการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD มาใชสอนวิชา หลักภาษาไทย เนื่องจากเปนวิธีสอนที่สงเสริมการทํางานรวมกัน มีความรับผิดชอบรวมกัน ซ่ึงสมาชิกกลุมมีความสามารถที่แตกตางกัน จากการศกึษาวจิยัของไพศาล ไกรสทิธ ิ (2524, อางถึงใน อารมณ ชอบศลิประกอบ 2542 : 2) เร่ือง วฒันธรรมการทาํงานของคนไทย พบวา ไมมีการวางแผนในการทํางานมีสมรรถภาพในการทํางานคนเดียว ไมมีประสิทธิภาพในการทํางานเปนหมูคณะ และไมมีวินัยในการทํางาน ซ่ึงสอดคลองกับขอเขียนของทวีป อภิสิทธิ์ (2528:45-46) เกี่ยวกับจุดออนประจําตัวของคนไทยพบวา คนไทยมคีวามรูความสามารถเฉพาะตวัสูง แตถาใหทาํงานเปนกลุม เปนทมีแลวมกัจะไมประสบความสาํเรจ็เทาทีค่วรทีเ่ปนเชนนีเ้พราะมกัจะแตกแยกทางความคดิ และมคีวามเช่ือมัน่ในตวัเองสงูมาก และนอกจากนีย้งัมงีานวจิยัของศรไกร รุงรอด (2533) มยุรี สาลีวงษ (2535) โกเมน อรัญเมศ (2538) จุฑามาศ สดแสงจันทร (2540) และวารุณี อุนเรือน (2540) ซ่ึงศึกษา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD ซ่ึงพบวา นักเรียนที่เรียนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD เปนกลุมที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมที่เรียนโดยการเรียนแบบปกติ ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจที่จะนําการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD มาประยุกตใชสอนวิชาหลักภาษาไทย

Student Teams – Achievement Sivisions หรือ STAD เปนการเรียนแบบรวมมือ ที่เหมาะสมกับครูผูสอนที่จะเริ่มนําการเรียนแบบรวมมือมาใชในการเรียนการสอน โดยครูสอนตามวิธีปกติแตส่ิงที่นําเสนอในการเรียนจะแตกตางจากการสอนตามปกติตรงที่ครูจะตองกําหนดจุดมุงหมายทางการเรียนแบบ STAD ในแตละหนวยใหชัดเจน แตละกลุมประกอบดวยนักเรียนจํานวน 4-5 คน เปนกลุมคละความสามารถ นักเรียนทุกคนตองรวมกันเรียนรู และจะตองชวยกันศึกษาใบงานหรืออุปกรณตาง ๆ ชวยกันพิจารณาปญหารวมกัน เปรียบเทียบคําตอบ และตรวจแก

Page 18: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

8

มโนคติที่คลาดเคลื่อนถาสมาชกิในกลุมเกดิความเขาใจผดิ หลังจากการเรยีนจะมกีารทาํแบบทดสอบเปนรายบุคคล แลวนําคะแนนจากการสอนมาคิดเปนคะแนนพัฒนาการของนักเรียน ซ่ึงคะแนนพัฒนาการของนักเรียนแตละคนไดจากความแตกตางระหวางคะแนนพื้นฐานกับคะแนนที่นักเรียนสอบไดในการทดสอบยอยนั้น ๆ สวนคะแนนกลุม (team score) ไดจากการรวมคะแนนพัฒนาการของนักเรียนในกลุมเขาดวยกัน โดยคิดมาจากการรวมคะแนนพัฒนาการของนักเรียนเปน คะแนนกลุม แลวตัดสินใหประกาศนียบัตร หรือรางวัลอ่ืน ๆ โดยมอบใหเปนกลุม

กาญจนา คุณารักษ (2541 : 69) สมศักดิ์ ขจรชัยกุล (2538 : 2) และสุมณฑา พรหมบุญ (2541 : 38-39) ยังไดกลาวถึงประโยชนและคุณคาของการเรียนแบบรวมมือกันสรุปไดดังนี้

1. ชวยพฒันาการเรยีนรูของผูเรยีน ชวยใหการเรยีนรูของผูเรยีนเปนไปอยางกวางขวาง เพราะเปนการรวมมือกันเรียนภายในกลุมนักเรียนที่มีความแตกตางกันในดานเพศและระดับ ความสามารถทางการเรยีน ภมูหิลัง นกัเรยีนภายในกลุมไดเรียนรูพรอมกันแบงบทบาทหนาที่ และ แกปญหารวมกัน มีการเสนอแนะซักถาม คนควาหาความรูจากแหลงความรูตาง ๆ และสงเสริม ใหฝกการคิดในระดับการวิเคราะห การสังเคราะหและการประเมินคา

2. ผูเรียนไดเรียนรูวิธีการที่จะแสวงหาความรูดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ3. เปนการชวยเตรียมผูเรียนใหพรอมที่จะเผชิญกับชีวิตจริง เพราะลักษณะของ

การเรียนแบบรวมมือกัน เปดโอกาสใหผูเรียนไดรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเองเชนเดียวกับการเรียนรู ของกลุมไดลงมือปฏิบัติทํากิจกรรมกลุม ฝกฝนทักษะการเปนผูนําผูตามและไดเรียนรูส่ิงตาง ๆ ที่มีความสัมพันธสอดคลองกับชีวิตจริงของผูเรียนมากที่สุด

4. ชวยเสริมสรางบรรยากาศการเรียนรูที่ดี ชวยใหผู เรียนไดฝกฝนความเปนประชาธิปไตย ฝกการชวยเหลือเกื้อกูลกัน ฝกการอยูรวมกันอยางเปนสุข ชวยใหผูเรียนเกิดเจตคติ ที่ดีตอการเรียน เพื่อน ครู สถานศึกษา สังคม และประเทศชาติตอไป

5. ผู เรียนสามารถจดจําส่ิงที่ เรียนไดนานขึ้น มีความสามารถในการใชเหตุผล รักการทํางาน และมีใจจดจออยูกับงาน ยินดีใหความรวมมือในเรื่องตาง ๆ

6. ผูเรียนมีโอกาสฝกทักษะทางสังคม มีหัวหนากลุม มีผูชวย มีเพื่อนรวมกลุมเปน การเรียนรูวิธีการทํางานเปนกลุมชวยพัฒนาทักษะทางสังคมซึ่งเปนประโยชนมากเมื่อตองเขาสูระบบการทํางานในชีวิตจริง

7. สงเสริมความรูสึกเปนสวนหนึ่งของกลุม การรวมกันเรียนภายในกลุม ผูเรียน ทุกคนชวยกันสนับสนุนซึ่งกันและกัน ใหความไววางใจกัน มุงมั่นใหงานของกลุมบรรลุเปาหมายจนเกิดความรูสึกวางานตนคืองานกลุมและงานกลุมคืองานตน

Page 19: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

9

8. สงเสริมใหนักเรียนไดรูจักตนเองและเห็นคุณคาของตนรวมถึงไดรูจักผูอ่ืนและ เหน็คณุคาของผูอ่ืนดยีิง่ขึน้ เกิดการยอมรับซึ่งกันและกัน มีอัตมโนทัศนตอตนเองในทางบวก

9. เพิ่มความเต็มใจในการใหความรวมมือกับผูอ่ืน การใหความสนใจในตัวผูอ่ืน และการใชเวลาทํางานอยางมีประสิทธิภาพ

10. ชวยลดปญหาทางวินัยในช้ันเรียน เนื่องจากผูเรียนทุกคนไดฝกฝนจนกระทั่ง เกิดวินัยในตนเอง ผูเรียนแตละคนจะไดรับการยอมรับจากครู จากเพื่อน ไดมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ทําใหยอมรับตนเองและผูอ่ืนมีความสุขในการอยูรวมกับเพื่อนๆ ปญหาทางวินัยจึงลดนอยลง และหมดไปในที่สุด

11. ผูเรียนเรียนดวยความรูสึกสบายใจมีความเพลิดเพลินบรรลุผลสําเร็จในการเรียน ผลสัมฤทธิท์างการเรยีนโดยเฉล่ียของผูเรียนทั้งชั้นสูงขึ้น มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์สูงขึ้น การชวยเหลือกันในกลุมเพื่อนทําใหผูเรียนเขาใจสิ่งที่เรียนไดดียิ่งขึ้น ทําใหผูเรียนเรียนไดดีขึ้น

12. ผูเรียนทีเ่รียนออน มโีอกาสแสดงความคดิเหน็ ทาํกจิกรรม และประสบความสาํเรจ็ในการเรยีน สวนผูเรียนที่เรียนเกงจะมีบทบาททางสังคมในชั้นเรียนมากขึ้น มีความรูสึกวาตนเอง มีหนาที่ตอเพื่อนรวมกลุม มีหนาที่ตอสังคมมากขึ้น มิใชทํางานเฉพาะของตนเทานั้น รูจักการเปน ผูใหมากยิ่งขึ้น

นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยที่สนับสนุนการเรียนแบบรวมมือกันวาสามารถชวยเพิ่ม ผลสัมฤทธิท์างการเรยีน ดงัเชน ธนาลัย ตปนีย (2535:บทคัดยอ) ไดศึกษาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ และทักษะทางสังคมดวยเทคนิคการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบปกติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน แบบรวมมือสูงกวาแบบปกติ แตไมพบความแตกตางกันของทักษะทางสังคม ที่เรียนดวยการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบปกติ ปยาภรณ รัตนากรกุล (2535:บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องผลของ การเรียนแบบรวมมือโดยใชการแบงกลุม แบบกลุมสัมฤทธิ์ที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ผลการศึกษาพบวา นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบรวมมือ โดยใชการแบงกลุมแบบกลุมสัมฤทธิ์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงกวานักเรียนที่เรียนคณิตศาสตรดวยวิธีการเรียนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปาริชาติ จิตรฉ่ํา (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาการพัฒนาสัมฤทธิ์ผล เจตคติ และทักษะการทํางาน รวมกันในวิชาสังคมศึกษา ส 504 ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ผลปรากฏวาวิธีการเรียนแบบรวมมือ โดยเทคนิคดังกลาวสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติและทักษะ การทํางานรวมกันไดจริง วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ (2542 : บทคัดยอ) ไดเปรียบเทียบผลสมัฤทธ์ิ ทางการเรยีนคณติศาสตรเร่ือง ความนาจะเปนและเจตคตติอวชิาคณติศาสตร ระหวางกลุมทีส่อนโดย

Page 20: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

10

การเรยีนแบบรวมมือ กับกลุมที่สอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือสูงกวากลุมที่สอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เจตคติ ตอวชิาคณติศาสตรของกลุมทีส่อนโดยการเรยีน แบบรวมมอืสูงกวากลุมทีส่อนแบบปกต ิ นอกจากนี ้ สวรนิทร วโิรจนชูฉตัร (2542:บทคัดยอ) ไดศึกษาการพัฒนาการอานงานวรรณกรรม โดยใชกระบวนการเรียนรูแบบรวมมือในชั้นเรียนภาษาฝร่ังเศส สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเซนตฟรังซิสซาเวียรคอนแวนต โดยใชแบบฝกพบวา แบบฝกทักษะพัฒนาการอานงานวรรณกรรมโดยใชกระบวนการเรียนรูแบบรวมมือในชั้นเรียนภาษาฝรั่งเศส ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพเทากับ 78.06/78.62 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน ที่กําหนดไว ผลการทดลองกอนและหลังเรียนดวยแบบฝก แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และพรรัตน ศิลกุล (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการทํางานรวมกันและเจตคติในวิชาสังคมศึกษา (ส 503) โดยใชการเรียนแบบรวมมือกับ การเรียนแบบกลุมเดิม โรงเรียนหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุมทดลองมีเจตคติที่ดีตอการเรียนแบบรวมมือ

การวิจัยเกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือ เทาที่ผานมาเปนการศึกษาวิชาอ่ืน ยังไมมีการนํามาใชในวิชาภาษาไทย โดยเฉพาะหลักภาษา ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะวิจัยเพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาหลักภาษาไทยเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD กบัการเรยีน แบบปกต ิ ซ่ึงผลของการวจิยัในครัง้นีจ้ะเปนแนวทางในการพฒันาการเรยีนการสอนวชิาหลักภาษาไทยตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ

2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน

เทคนิค STAD

สมมติฐานของการวิจัยการวิจัยครั้งนี้กําหนดสมมติฐานดังนี้

Page 21: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

11

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD สูงกวาการสอนแบบปกติ

2. นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีตอวิธีการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD

ขอบเขตของการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทาง

การเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ มีขอบเขตของการวิจัย ดังนี้

1. ประชากรและตัวอยาง1.1 ประชากร คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนศาลาตึกวิทยา อําเภอ

กําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 จํานวน 5 หองเรียน ซ่ึงมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคละกันในแตละหองเรียน มีนักเรียนทั้งส้ิน 200 คน

1.2 กลุมตวัอยาง คอื นกัเรยีนชัน้มธัยมศกึษาปที ่ 2 โรงเรียนศาลาตกึวทิยา จํานวน 2 หองเรียน ซ่ึงไดมาโดยการสุมตัวอยางอยางงาย จากนั้นจับฉลากเปนกลุมทดลอง และ กลุมควบคมุอยางละ 1 หอง ดงันี้

1.2.1 กลุมทดลอง คือ นักเรียนหอง 2/2 จํานวน 24 คน ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD

1.2.2 กลุมควบคุม คอื นักเรียนหอง 2/3 จํานวน 24 คน ไดรับการสอนแบบปกติ

2. ตัวแปรที่ศึกษา คือ2.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ประกอบดวยวิธีสอน 2 วิธีคือ

2.1.1 การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD2.1.2 การสอนแบบปกติ

2.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ2.2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของ

นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ2.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค

STAD

Page 22: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

12

3. เนื้อหาที่ใชในการทดลอง คือหลักภาษาไทยเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ประกอบดวย คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คําสันธาน และคําอุทาน จากหนังสือเรียนภาษาไทย ท 203 และพิจารณาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยสาระที่ 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

4. ระยะเวลาในการทดลอง ผูวิจัยทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 โดยกําหนดระยะเวลาในการทดลอง 2 สัปดาห สัปดาหละ 4 คาบในแตละกลุม คาบละ 50 นาที

นิยามศัพทเพื่อใหเกิดความเขาใจและสื่อความหมายไดตรงกัน ผูวิจัยจึงกําหนดนิยามศัพทเฉพาะ

ของการวิจัยดังนี้1. การเรียนแบบรวมมือกัน หมายถึง การจัดการเรียนการสอนโดยแบงนักเรียน

ออกเปนกลุมยอย มีสมาชิกตั้งแต 4-6 คน คละทั้งเพศ เชื้อชาติ ความสามารถระดับเกง ปานกลาง ออน ทํากิจกรรมรวมกัน มีการชวยเหลือซ่ึงกันและกันเด็กเกงจะชวยเหลือเด็กออน สมาชิกทุกคนในกลุมตองรวมมือชวยเหลือกันเพื่อใหกลุมประสบความสําเร็จ

2. การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Division) หมายถึง การจัดการเรยีนการสอนโดยแบงกลุมยอย 2-6 คน สมาชกิแตละคนในกลุมมผีลสัมฤทธิ ์ ทางการเรยีนคละกนั การเรยีนดวยเทคนิค STAD มีลําดับขั้นตอนคือ ขั้นนําเสนอความรูใหม ขั้นทํางานเปนกลุม ขั้นทดสอบยอย ขั้นหาคะแนนปรับปรุงและ ขั้นใหรางวัลกลุม

3. การสอนแบบปกติ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรู โดยมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นนําเขาสูบทเรียน ขั้นดําเนินการสอน ขั้นสรุป

4. คําและหนาที่ของคําในภาษาไทย หมายถึง คําและหนาที่ของคําทั้ง 7 ชนิด ไดแก คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ คําบุพบท คําสันธานและคําอุทาน

5. ผลสัมฤทธิท์างการเรยีนเร่ืองคาํและหนาทีข่องคาํในภาษาไทย หมายถงึ คะแนนทีไ่ดจากการทาํแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เร่ืองคําและหนาที่ของคําที่ผูวิจัยสรางขึ้น

6. ความคิดเห็นของนักเรียน หมายถึง ความคิดเหน็ของนักเรียนที่มีตอการเรียนรูและการทํางานกลุมเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD

Page 23: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

13

บทท่ี 2วรรณกรรมที่เก่ียวของ

การวิจัยเรื่อง “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง คําและหนาที่ของคําใน ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ” ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อเปน พื้นฐานสําหรับการดําเนินการวิจัยดังนี้ คือ

1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย2. วิธีสอนภาษาไทย3. วิธีสอนหลักภาษาไทย4. การเรียนแบบรวมมือกัน5. การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD6. วิธีสอนแบบปกติ7. คําและหนาที่ของคําทั้ง 7 ชนิด8. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เปนหลักสูตรที่มีลักษณะเปน หลักสูตรมาตรฐาน (standard – based curriculum) และมีลักษณะเปนหลักสูตรสมรรถฐาน (competency – based curriulum) คือ หลักสูตรจะมีสาระการเรียน (strand) เปนกลุมเนื้อหาและทักษะที่ตองสอน แตละสาระการเรียนรูจะมีมาตรฐานการเรียนรู (standard) เปนตัวกําหนด คุณภาพของการจัดการศึกษา แตละมาตรฐานการเรียนรูจะมีมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น (benchmark) เปนสมรรถฐานที่ผูเรียนเรียนจบการศึกษาแตละชวงชั้น จะตองมีความรูความสามารถในการเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูและมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ดังนั้น มาตรฐานการเรียนรูจึงเปนขอกําหนดคุณลักษณะและความสามารถของผู เรียนที่ครูจะจัดการเรียนรูใหผู เรียนมี คุณลักษณะและความสามารถดังกลาว

13

Page 24: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

14

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับพุทธศักราช 2544 (กรมวิชาการ 2544 : 2 – 7) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยไดกําหนดคุณภาพของผูเรียน เมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแลวผูเรียนตองมีความรูความสามารถ ดังนี้

1. สามารถใชภาษาสื่อสารไดอยางดี2. สามารถอาน เขียน ฟง ดู และพูดไดอยางมีประสิทธิภาพ3. มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผลและคิดเปนระบบ4. มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรูและใชภาษาในการพัฒนาตนและ

สรางสรรคงานอาชีพ5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใชภาษาและความเปนไทยภูมิใจและชื่นชมในวรรณคดี

และวรรณกรรมซึ่งเปนภูมิปญญาของคนไทย6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ

และถูกตองตามกาลเทศะและบุคคล7. มีมนุษยสัมพันธที่ดี และสรางความสามัคคีในความเปนไทย8. มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิสัยทัศน โลกทัศนที่กวางไกลและลึกซึ้งนอกจากนี้ยังไดกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อจบชวงชั้นที่ 3 (ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 – 3)

ผูเรียนตองมีความรู ความสามารถดังนี้1. สามารถอานอยางมีสมรรถภาพและอานไดเร็วยิ่งขึ้น2. เขาใจวงคําศัพทที่กวางขึ้น สํานวนและโวหารที่ลึกซึ้ง แสดงความคิดเห็น

เชิงวิเคราะหประเมินคาเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล3. เลือกอานหนังสือและสื่อสารสนเทศ4. เขียนเรียงความ ยอความและจดหมาย เขียนอธิบาย ช้ีแจง รายงาน เขียนแสดง

ความคิดเห็น แสดงการโตแยง และเขียนเชิงสรางสรรค5. สามารถสรุปความ จับประเด็น วิเคราะห วินิจฉัยขอเท็จจริง ขอคิดเห็นและ

จุดประสงคของเรื่องที่ฟงและดู6. รูจักเลือกใชภาษาเรียบเรียงขอความไดอยางประณีต จัดลําดับความคิดขั้นตอนใน

การนําเสนอตามรูปแบบของงานเขียนประเภทตาง ๆ7. พูดนําเสนอความรู ความคิดการวิเคราะหและการประเมินเรื่องราวตาง ๆ พูด

เชิญชวนอวยพร และพูดในโอกาสตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม8. เขาใจธรรมชาติของภาษาและการนําภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย

Page 25: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

15

9. สามารถใชภาษาแสดงความคิดเห็น สรางความเขาใจ โนมนาวใจ ปฏิเสธ เจรจา ตอรองดวยภาษาและกิริยาทาทางที่สุภาพ

10. ใชทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู การทํางาน และใชอยางสรางสรรค เปนประโยชน

11. ใชหลักการพินิจคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม พิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรม ใหเห็นคุณคาและนําประโยชนไปใชในชีวิต

12. สามารถแตงกาพย กลอน และโคลง13. สามารถรองเลนหรือถายทอดเพลงพื้นบาน และบทกลอมเด็กในทองถ่ิน14. มีมารยาทการอานการเขียน การฟง การดูแลและการพูด และมีนิสัยรักการอาน

และการเขียนสาระและมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีดังนี้

สาระที่ 1 : การอานมาตรฐานที่ ท 1.1 : ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ

แกปญหา และสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอานสาระที่ 2 : การเขียนมาตรฐาน ท 1.2 : ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ

และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูล สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

สาระที่ 3 : การฟง การดู และการพูดมาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดง

ความรู ความคิด ความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรคสาระที่ 4 : หลักการใชภาษามาตรฐาน ท 4.1 : เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง

ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ซ่ึงกําหนด มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) ดังนี้

1. เขาใจและสรางคําไทยตามหลักเกณฑทางภาษา2. สามารถใชประโยคสามัญและประโยคซับซอนในการสื่อสารไดอยาง ชัดเจนและ

สละสลวย

Page 26: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

16

3. สามารถใชภาษาแสดงความคิดเห็น สรางความเขาใจ โนมนาวใจ ปฏิเสธ เจรจา ตอรองดวยภาษาและกริยาที่สุภาพใชคําราชาศัพทไดถูกตองตามฐานะของบุคคล คิดไตรตรองและลําดับความคิดกอนพูดและเขียน

4. เขาใจธรรมชาติของภาษา การนําคําภาษาตางประเทศมาใชในภาษาไทย ทําให ภาษาไทยมีวงคําศัพทเพิ่มขึ้นตามความเจริญทางวิชาการและเทคโนโลยี

5. สามารถแตงบทรอยกรองประเภทกาพย กลอน และโคลง โดยแสดง ความคิดเชิงสรางสรรค

6. สามารถรองหรือถายทอดเพลงพื้นบานและบทกลอมเด็กในทองถ่ินอยางเห็น คุณคา

มาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม อาชีพสังคมและชีวิตประจําวัน ซ่ึงกําหนดมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 3 (ม.1-ม.3) ดังนี้

1. สามารถใชทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู ระดมความคิด การประชุม การวิเคราะห การประเมินการทํางานและใชเทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาความรูและใชในชีวิตประจําวัน

2. เขาใจระดับของภาษาที่เปนทางการและภาษาที่ไมเปนทางการและใชภาษาพูดและภาษาเขียนไดถูกตองตามหลักการใชภาษา ใชภาษาในกลุมสาระการเรียนรูตางๆในการพัฒนาความรู เห็นคุณคาการใชตัวเลขไทย

3. ใชภาษาอยางสรางสรรค เปนประโยคตอสวนรวมและพัฒนาบุคลิกภาพสอดคลองกับขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม เขาใจการใชภาษาของกลุมบุคคลในวงการตาง ๆ ในสังคม

สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรมมาตรฐาน ท 5.1 : เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม

ไทยอยางเห็นคุณคา และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริงจะเห็นวาหลักสูตรไดแบงสาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยออกเปน 5

สาระดวยกัน คือ การอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด หลักการใชภาษา และวรรณคดีและวรรณกรรม ซ่ึงแตละสาระไดกําหนดเกณฑคุณลักษณะของผูเรียนอยางชัดเจน จึงเปนหนาที่ของครู ผูสอนที่จะจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สอดรับกับสาระการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนมีประสิทธิผลตามมาตรฐานของหลักสูตร

Page 27: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

17

วิธีสอนภาษาไทย

การจัดการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 จะตองสอดคลองกับการจัดการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542ซ่ึงกําหนดวาการจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด ทําใหผูสอนตองปรับบทบาทจากการใหความรูเปนการวางแผนจัดกิจกรรมเพื่อให ผูเรียนไดปฏิบัติและเกิดการเรียนรูดวยตนเอง โดยผูสอนเปนที่ปรึกษาแกศิษย กรมวิชาการ (2538 : 4) กลาวถึงลักษณะการจัดการเรียนการสอนของครูภาษาไทยไววา ครูผูสอนควรเขาใจในการจัด หลักสูตร โดยเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มีความเขาใจเนื้อหาภาษาไทยเปนอยางดี และใชภาษาในการสื่อสารไดดีเพื่อเปนแบบอยางแกผูอ่ืน ดานการจัดกิจกรรมควรมีความคิดริเร่ิม สรางสรรคเปนผูใฝรูพัฒนาตนเองใหทันตอเหตุการณอยูเสมอ

ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยในแตละครั้งครูควรสอนใหผู เรียนไดตระหนักถึงความสําคัญของภาษาไทยในแตละเรื่องนั้น ๆ ดวยการนําไปใชใหถูกตอง อีกทั้งปลูกจิตสํานึกที่จะชวยกันธํารงรักษาไวและเกิดความภาคภูมิใจในภาษาไทย

รองรัตน อิศรภักดี และ เทือก กุสุมา ณ อยุธยา (2505 : 20 – 21) กลาวถึง ส่ิงที่ครูตองศึกษาเกี่ยวกับตัวเด็ก เพื่อเปนประโยชนในการสอนภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษา คือ

1. หลักจิตวิทยาเด็กวัยรุน อารมณ ความรูสึก ความคิดริเร่ิม การรูจักเหตุผล เพื่อจะไดจัดการสอนใหเหมาะสมกับความตองการและความสนใจของเด็ก

2. หลักความแตกตางระหวางบุคคลทางดานสติปญญา ความสนใจทัศนคติ เพื่อเปดโอกาสและสงเสริมใหนักเรียนเรียนตามความถนัดและความชอบของตน

3. หลักจิตวิทยาแหงการเรียนรู เพื่อดูความสนใจและความตองการและปรับวิธี การสอนใหตรงกับจุดสนใจของเด็ก สุจริต เพียรชอบ (2531 : 140 – 146) กลาวถึงการสอนภาษาไทยวาตองอาศัยจิตวิทยา บางประการ เพื่อสรางบรรยากาศและสภาพการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพสรุปได ดังนี้

1. ความแตกตางระหวางบุคคล (individual difference) ครูภาษาไทยตองคํานึงถึงอยูเสมอวานักเรียนแตละคนมีความรู ความถนัดและความสามารถทางภาษาตางกัน

2. ความพรอม (readiness) โดยปกติแลวเด็กที่เขามาเรียนในโรงเรียนมัธยมจะตอง มีความพรอมพอควร แตก็ยังมีความแตกตางกันในดานนี้

3. กระบวนการเรียนรู (learning process) การเรียนรูเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียน ซ่ึงเปนผลมาจากประสบการณตรงของนักเรียน

Page 28: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

18

4. การเรียนรูโดยมีจุดมุงหมาย (purposeful learning) การเรียนรูโดยมีจุดมุงหมาย หากครูและนักเรียนรวมกันทํากิจกรรม และจัดประสบการณใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางแทจริงและ นําความรูที่ไดไปปรับใชในสถานการณอ่ืนได

5. การเรียนรูโดยการกระทํา (learning by doing) การเรียนภาษาไทยซึ่งเปนวิชาทักษะ จะตองฝกใหนักเรียนเกิดความชํานาญ โดยอาศัยการลงมือกระทําเพื่อใหเกิดประสบการณตรงหากนักเรียนไดปฏิบัติจริงแลว นักเรียนก็จะไดรับประโยชนจากการเรียนมากที่สุด

6. การเรียนโดยการฝกฝน (law of exercise) การฝกฝนเปนกฎของการเรียนรู ขอหนึ่ง ซ่ึงนักจิตวิทยาชื่อธอรนไดค (Thorndike)ไดกลาววาการเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดีถามีการฝกฝน

7. กฎแหงผล (law of effect) เมื่อเสร็จสิ้นการเรียนการสอนแลวนักเรียนยอมตองการทราบผลของการปฏิบัติงานในแตละครั้ง ดังนั้นผูสอนควรสนองตอบโดยตรวจงานคืน ทุกครั้งที่ทําแบบฝก แลวควรสงคืนนักเรียนโดยเร็วจากนั้นควรติดตามผลงาน หรือประเมินผล การทํางานของนักเรียน ซึ่งครูผูสอนควรใชจิตวิทยาในการพูดเพื่อใหผูเรียนเกิดกําลังใจใน การศึกษาหาความรูตอไป

8. กฎของการใชและไมไดใช (law of use and disuse) ภาษาไทยเปนวิชาทักษะดังที่กลาวมาแลว หากมิไดใชนาน ๆ อาจจะลืมได ควรจัดการเรียนรูใหนักเรียนไดปฏิบัติเสมอ เชน สอนหลักภาษาไทย ใหนักเรียนแบงกลุมและกําหนดประธาน รองประธาน เลขานุการ การกําหนดแตละหนาที่ตองมีภารกิจใหทํา ดังนั้น ครูผูสอนควรอธิบายบทบาทและหนาที่ของ แตละคนเพื่อใหนักเรียนเขาใจมากขึ้น การสอนในแตละครั้งควรแทรกความรูไปดวย และที่สําคัญเนื้อหาสาระในบางครั้งอาจมีการเปลี่ยนแปลงครูควรมีความรูที่ทันสมัยอยูเสมอ เพื่อใหทันตอ การสื่อสารและนําไปใชในการสอนผูเรียนอยางถูกตอง

9. แรงจูงใจ (motivation) แรงจูงใจเปนสิ่งสําคัญมากโดยเฉพาะดานการสอน ภาษาไทย ครูควรพยายามสรางสถานการณตาง ๆ เพื่อเปนสิ่งเราใหนักเรียนสนใจและตั้งใจที่จะ ฝกฝนทักษะทางภาษามากขึ้น แรงจูงใจมี 2 ประเภท คือ

9.1 แรงจูงใจภายนอก (extrinsic motivation) คือ แรงจูงใจที่ครูจัดหรือกําหนด ใหเกิดขึ้น เชน การสรางบรรยากาศในหองเรียน การจัดกิจกรรม และประสบการณที่นาสนใจ สนุกสนาน ทําใหผูเรียนเกิดการกระตือรือรนที่จะเรียน

9.2 แรงจูงใจภายใน (intrinsic motivation) แรงจูงใจแบบนี้จะเกิดขึ้นในตัวของ ผูเรียนเองเปนความกระตือรือรนความใครรูใครเรียน ความรูสึกอยากรวมทํากิจกรรมอยาก เสาะแสวงหาความรูที่เกิดขึ้น

Page 29: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

19

ดังนั้นครูจึงเปนบุคคลสําคัญที่สุดที่จะจัดกิจกรรมการเรียน และสรางแรงจูงใจภายนอกที่ชวยใหนักเรียนสนุก เกิดความศรัทธาจนเกิดแรงจูงใจภายในขึ้น

10. การเสริมกําลังใจ (Reinforcement) การเสริมกําลังใจเปนสิ่งสําคัญ สกินเนอร (Skinner) พยายามที่จะใหมีการเสริมกําลังใจในทางบวกเพื่อใหนักเรียนเกิดความภาคภูมิใจใน ตนเอง วิธีเสริมกําลังใจมีหลายวิธีดวยกัน แตที่นิยมใช คือ การเสริมกําลังใจดวยวาจา การเสริมกําลังใจดวยทาทาง การเสริมกําลังใจดวยการใหนักเรียนมีสวนรวม การเสริมกําลังใจโดยสุม นักเรียนและการเสริมกําลังใจดวยการใหรางวัล

การสอนภาษาไทยนอกจากครูจะตองศึกษาจิตวิทยาบางประการแลว วิธีสอนของครูก็เปนสวนสําคัญ ดังที่ สมถวิล วิเศษสมบัติ (2525 : 99) ไดกลาวไววา การสอนภาษาไทยถาจะใหไดผลดีควรมีวิธีสอนหลาย ๆ วิธี เพื่อใหบรรยากาศในการจัดกิจกรรมมีการเปลี่ยนแปลงมีส่ิงแปลก ใหมเกิดขึ้น นักเรียนจะไดตื่นตาตื่นใจกับบทเรียนอยูเสมอ ซ่ึงสอดคลองกับประคอง กองเงิน ครูตนแบบป 2542 วิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนตน (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ 2545 : 5 – 9) กลาวถึง วิธีการสอนภาษาไทยวาไมมีการสอนใดดีที่สุด และเหมาะกับ ผูเรียนทุกคนไดในชวงเวลาเดียวกัน หากแตครูตองมีวิธีสอนที่หลากหลาย เพื่อใหเหมาะสมกับ ผูเรียนกลุมหนึ่งหรือผูเรียนแตละคน เพราะผูเรียนแตละคนยอมมีความแตกตางกัน

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2522 : 148) ยังไดกลาวถึงการสอน หลักภาษาไทยวา ถาจะใหไดผลดีควรพยายามใชวิธีสอนหลายวิธีเพื่อสรางบรรยากาศในการสอนใหมีการเปลี่ยนแปลง โดยวิธีการสอนที่ครูอาจนํามาใช ไดแกการสอนแบบบรรยาย การสอนแบบอนุมานวิธี การสอนแบบอุปมานวิธี การสอนโดยการอภิปราย การสอนโดยการแบงกลุมใหนักเรียนทํางาน การสอนโดยวิธีการแกปญหา

นอกจากนี้กองวิจัยทางการศึกษา (กรมวิชาการ 2544 : 73) วิเคราะหงานการวิจัย เกี่ยวกับนวัตกรรมการเรียนการสอน ไดรวบรวมรูปแบบการสอนที่เหมาะสมพบวิธีการสอนภาษาไทยที่มีประสิทธิภาพ รวม 10 วิธีดังนี้

1. วิธีสอนแบบการเรียนเพื่อรอบรู (mastery learning)1.1 ความหมายของการสอนแบบการเรียนเพื่อรอบรู

เปนการจัดการเรียนการสอนที่ทําใหผู เ รียนทุกคนประสบความสําเร็จ ตามเกณฑที่ตั้งไวใหมากที่สุด โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล และกําหนดเวลาใหเหมาะสมกับผูเรียนแตละคน หากผูเรียนคนใดยังไมผานเกณฑก็ตองสอนซอมเสริมจนกวาจะ ผานเกณฑ ซ่ึงไมควรตั้งไวสูงเกินรอยละ 80

1.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมแบบการเรียนเพื่อรอบรู มี 8 ขั้นตอน ไดแก

Page 30: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

20

ขั้นที่ 1 แบงบทเรียนออกเปนหนวยยอยตามที่เห็นสมควรขั้นที่ 2 ช้ีแจงโดยบอกเกณฑและขอตกลงใหผูเรียนทราบขั้นที่ 3 ตรวจสอบความรูพื้นฐานกอนเรียนดวยแบบทดสอบวินิจฉัยขั้นที่ 4 เสริมสรางพื้นฐานเปนรายบุคคลกับผูเรียนที่มีขอบกพรองขั้นที่ 5 กอนเริ่มเรียนใหแจงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของแตละหนวยและ

เกณฑที่ใชประเมินผลในตอนทายบทเรียนขั้นที่ 6 สรางแบบทดสอบ 2 ชุด (ชุด ก. และ ข.) ซ่ึงคลุมเนื้อหาและ

วัตถุประสงคเชงิพฤติกรรมเดียวกันขั้นที่ 7 หลังจากจบการเรียนแตละหนวยทําการทดสอบยอยดวยแบบทดสอบ

ชุด ก. หากผูเรียนคนใดไมผานเกณฑรอยละ 80 ตองทําการสอนซอมเสริม โดยครูอธิบายเปน รายบุคคลหรือใหกลุมเกงสอนกลุมออน

ขั้นที่ 8 หลังจากสอนซอมเสริมแลว ทดสอบอีกครั้งดวยแบบทดสอบชุด ข. ถาผานเกณฑรอยละ 80 จึงจะเรียนหนวยตอไป

2. วิธีสอนแบบอุปมาน (Inductive Method)2.1 ความหมายของการสอนแบบอุปมาน

เปนการสอนใหผูเรียนเรียนรูสวนยอย หรือสอนจากตัวอยางนําไปสรุปเปนสวนรวมอันเปนหลักการตาง ๆ โดยครูเปนผูแสดงตัวอยางของจริงที่เห็น แลวใหผูเรียนรูจักการสังเกต สรุป คิดคนอยางมีเหตุผล วิธีสอนแบบนี้นอกจากจะเหมาะกับการสอนภาษาไทยแลวยังเหมาะกับการสอนวิชาเกี่ยวกับการคํานวณ การคนควา ทดลองตาง ๆ ดวยเชน วิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร

2.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบอุปมาน มี 5 ขั้นตอน ไดแก

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม ทบทวนความรูเดิม จูงใจ เปนขั้นเราความสนใจ และอธิบายความมุงหมายใหผูเรียนเขาใจ

ขั้นที่2 ขั้นสอน เปนการเสนอกรณีหรือตัวอยางที่ตองการสอนแก ผูเรียนจะตองมีหลายกรณีใหมากพอที่จะสังเกตและสรุปไดจากตัวอยาง

ขั้นที่3 ขั้นเปรียบเทียบและรวบรวม เปนขั้นหาองคประกอบรวมจาก ตัวอยางเพื่อเตรียมสรุปกฎเกณฑ

ขั้นที่ 4 ขั้นสรุป เปนการสรุปกฎเกณฑ นิยาม หลักการหรือสูตรดวยตัวผูเรียนไมใชตัวครู

Page 31: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

21

ขั้นที่ 5 ขั้นนําไปใช เปนขั้นทดสอบความเขาใจของผูเรียนใหเกิด การพัฒนานําหลักการไปใชแกปญหาทําแบบฝกหัด

3. วิธีสอนแบบอนุมาน (Deductive Method)3.1 ความหมายของการสอนแบบอนุมาน

เปนการสอนใหผูเรียนเรียนรูเกี่ยวกับกฎเกณฑ หรือหลักความจริงโดยทั่ว ๆ ไปกอน แลวจึงสอนสวนปลีกยอยอยางละเอียด มุงเนนที่จะฝกหัดใหผูเรียนเปนคนมีเหตุผลไมเชื่ออะไรงาย ๆ โดยปราศจากการพิสูจน

3.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบอนุมาน มี 4 ขั้นตอน ไดแกขั้นที่ 1 อภิปรายปญหาขั้นที่ 2 อภิปรายสรุปขั้นที่ 3 ลงใจเปนขั้นเลือกขอสรุป กฎหรือนิยามที่จะนํามาใชในการ

แกปญหาขั้นที่ 4 พิสูจน เมื่อพิสูจนแลวเปนความจริงจึงยอมรับไดวาเปนความรู

ถูกตอง4. วิธีสอนแบบศูนยการเรียน

4.1 ความหมายของการสอนแบบศูนยการเรียนเปนการจัดประสบการณการเรียนรูที่ใหผูเรียนไดประกอบกิจกรรมการเรียนรู

ดวยตนเองมากที่สุด โดยอาศัยส่ือการสอนแบบประสม และหลักการของกระบวนการ กลุมสัมพันธเขาชวยในการเรียนการสอน ซ่ึงเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูอยางหลากหลาย ตรวจสอบผลการเรียนรูดวยตัวเองทันที ประสบการณที่ไดรับทําใหเกิดความภาคภูมิใจในความสําเร็จและเกิดความรูทีละนอยตามลําดับ

4.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมแบบศูนยการเรียน มี 6 ขั้นตอน ไดแกขั้นที่ 1 แบงผูเรียนออกเปน 4 – 6 กลุม เรียกวา ศูนยกิจกรรมขั้นที่ 2 แตละศูนยประกอบกิจกรรมแตกตางกันไปตามที่กําหนดไวใน

ชุดการสอนขั้นที่ 3 แตละศูนยกิจกรรมมีการกําหนดเวลาใหประมาณ 15 – 25 นาทีขั้นที่ 4 เมื่อผูเรียนทุกศูนยประกอบกิจกรรมเสร็จแลวก็จะมีการเปลี่ยนศูนย

กิจกรรมจนกระทั่งครบทุกศูนย จึงจะถือวาเรียนเนื้อหาในแตละหนวยครบตามกําหนดขั้นที่ 5 ครูทําหนาที่ประสานงานการสอน คอยดูแลและกระตุนการเรียน

ของผูเรียนแตละคน

Page 32: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

22

ขั้นที่ 6 ชุดการสอนที่ใชในแตละศูนยจัดระบบไวแลวมีคํานําวิธีการดําเนิน กิจกรรมและบทสรุป

5. วิธีสอนแบบกลุมสัมพันธ5.1 ความหมายของการสอนแบบกลุมสัมพันธ

เปนกระบวนการที่ชวยใหผูเรียนไดมีพัฒนาการในดานเจตคติ คานิยมและ พฤติกรรมที่บกพรอง เปนปญหา สมควรแกไข กิจกรรมกลุมสัมพันธจึงเปนวิธีการที่เปดโอกาสใหผูเรียนเขาใจความตองการของตนเองและของผูอ่ืน โดยการสัมผัสดวยการปฏิบัติ จึงเกิดการ คนพบสิ่งที่ตองการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงจะทําใหเกิดประโยชนตอการปฏิบัติตนในการอยูรวมกันกับผูอ่ืน

5.2 ขั้นตอนการสรางกิจกรรมกลุมสัมพันธ มี 3 ขั้นตอน ไดแกขั้นที่ 1 วิเคราะหลักษณะของผูเรียนที่ตองการจะศึกษาและพัฒนา เชน

ตองการใหผูเรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง ก็ศึกษาในดานการแสดงออก การกลาตัดสินใจ เปนตนขั้นที่ 2 นําลักษณะที่วิเคราะหไดมาตั้งเปนวัตถุประสงคของกิจกรรม

กลุมสัมพันธ โดยแตละกิจกรรมมุงพัฒนาลักษณะตาง ๆ ที่ไดวิเคราะหในขั้นที่ 1ขั้นที่ 3 สรางกิจกรรมกลุมสัมพันธใหตรงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวซ่ึงควร

ไดรับการตรวจกอนจากผูเชี่ยวชาญดานกลุมสัมพันธในเรื่องของความสอดคลองของกิจกรรมกับ จุดมุงหมาย

6. วิธีสอนภาษาไทยโดยใชประสบการณทางภาษา (ม.ป.ภ.)6.1 ความหมายของการสอนภาษาไทยโดยใชประสบการณทางภาษา

เปนการสอนที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยสรางประสบการณทางภาษา ใหแกผูเรียน ใหไดคิด ฟง พูด อาน และเขียนเปนหลัก การสอนอานโดยใชประสบการณทางภาษานี้จะสัมพันธกับการพูด ฟง และเขียน

6.2 ขั้นตอนการสอนแบบมุงประสบการณทางภาษา มี 5 ขั้นตอน ไดแกขั้นที่ 1 สรางประสบการณรวมเปนการสนทนาหรือเลาเรื่องหรืออานเรื่อง

ใหผูเรียนฟงขั้นที่ 2 กระตุนใหคิดหลังจากฟงเรื่องแลวมีการซักถามใหคิดและอภิปราย

รวมกันขั้นที่ 3 บันทึกขอความ เมื่อผูเรียนเขาใจเรื่องตรงกันแลวใหผูเรียน เลาเรื่อง

ที่ฟงครูบันทึกขอความของผูเรียนบนกระดานหรือแผนภูมิหากผูเรียนใชภาษาผิดครูจะชวยแกไขให

Page 33: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

23

ขั้นที่ 4 อานขอความที่บันทึก เมื่อครูเขียนขอความในขั้นที่ 3 แลวให ผูเรียนฝกอานใหคลองทั้งชั้นพรอมกัน และรายบุคคล

ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเขียน7. วิธีสอนภาษาไทยโดยใชหนังสือเรียน

7.1 ความหมายของการสอนภาษาไทยโดยใชหนังสือเรียนเปนการสอนภาษาไทย ซ่ึงไดจัดลําดับเนื้อหาตามความยากงายของบทเรียนไวแลวบทเรียนแตละบทเนนการอานการสะกดคําและการใชภาษา คําที่อยูในเนื้อหาจะเปนคําคุนตาที่ผูเรียนรูจักและคําพื้นฐานที่จําเปนตองใชในชีวิตประจําวัน การสอนจะใหอานเปนคําและเปนประโยค ดูภาพประกอบเพื่อใหรูความหมายและจําคําได จากนั้นจึงสอนสะกดคําเพื่อนําไปสูการอานคําใหมดวยตนเอง และสอนเนื้อหาตาม หลักภาษาเพื่อใหใชภาษาไดถูกตอง

7.2 ขั้นตอนการสอนโดยใชหนังสือเรียน มี 5 ขั้นตอน ไดแกขั้นที่ 1 นําเขาสูบทเรียนโดยการสรางความสนใจในการเรียนใหแกผูเรียน

และทบทวนประสบการณพื้นฐาน เพื่อเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมในบทเรียนขั้นที่ 2 สอนคําใหมทบทวนคําเดิม โดยการสอนคําใหม คํายาก บทเรียน

และอานทบทวนคําที่เคยเรียนมาแลวในบทเรียนขั้นที่ 3 สอนความหมายของคําโดยใชภาพหรือแสดงทาทางประกอบขั้นที่ 4 นําคําที่สะกดแลวมาอานเปนคําโดยไมตองสะกด คําใดอานไมได

จึงใชการสะกดชวย โดยใหคิดหรือเขียนตามคําบอกจนจําไดขั้นที่ 5 นําคําที่อานไดแลวมาใชในสถานการณตาง ๆ ทั้ง ฟง พูด อาน

และเขียน โดยเนนการอานและเขียนบอย ๆ8. วิธีสอนภาษาไทยโดยการอานหนังสือเปนรายบุคคล

8.1 ความหมายของการสอนภาษาไทยโดยการอานหนังสือเปนรายบุคคลเปนการสอนภาษาไทยโดยใหผูเรียนอานหนังสือเปนรายบุคคล เพื่อชวยให

ผูเรียนการอานหนังสือ8.2 ขั้นตอนการสอนภาษาไทยโดยการอานหนังสือเปนรายบุคคล มี 5 ขั้นตอน

ไดแกขั้นที่ 1 เลือกหนังสือ ผู เ รียนจะเลือกหนังสืออานตามความสนใจ

ความสามารถของแตละคน ครูควรนําหนังสือมาใหผูเรียนดูแลวใหเลือกอานโดยครูเปนปรึกษาขั้นที่ 2 ตั้งจุดมุงหมายและวางแผน ใหผูเรียนตั้งจุดมุงหมายในการอาน

เชน อานแลวทํากิจกรรมอะไรบาง จะใชเวลาอานนานเทาใดจะใหจบในกี่วัน เปนตน

Page 34: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

24

ขั้นที่ 3 ปฏิบัติ ผูเรียนจะทํางานตามแผนที่วางไว และอาจเสนอผล การอานตอครูเปนระยะ ๆ มีการอภิปรายหรือเสนอแนวคิดจากเรื่องที่อาน

ขั้นที่ 4 ทํากิจกรรมหลังการอาน ผูเรียนแตละคนจะทํากิจกรรมหลัง การอาน

ขั้นที่ 5 เสนอและประเมินผลงาน โดยนํากิจกรรมในขั้นที่ 4 มาเสนอ ใหครูและเพื่อนทราบและประเมินผลงานนั้น

9. วิธีสอนภาษาไทยโดยใชวิธีการทางหลักภาษา9.1 ความหมายของการสอนภาษาไทยโดยใชวิธีการทางหลักภาษา

เปนการสะกดคํา แจกลูก ผันอักษร เร่ิมจากใหผูเรียนรูจักเสียงพยัญชนะ สระ และจํารูปพยัญชนะ สระใหไดเสียกอน จึงจะนํามาสะกดคําและแจกลูก โดยฝกผูเรียนใหสะกดคําและแจกลูกปากเปลาจนคลองกอน แลวจึงสังเกตรูปคําและเขียนคําพรอมกับสะกดคํา ไปดวย จะชวยใหผูเรียนอานและเขียนไดถูกตอง 9.2 ขั้นตอนการสอนภาษาไทยโดยใชวิธีการทางหลักภาษา มี 5 ขั้นตอน ไดแก

ขั้นที่ 1 ฝกสะกดคําใหคลอง โดยใหดูรูปแลวสะกดปากเปลาเปนกลุมและ รายบุคคล

ขั้นที่ 2 สังเกตการวางพยัญชนะ สระ แลวฝกสะกดขั้นที่ 3 สอนความหมายของคําโดยใชภาพหรือแสดงทาทางประกอบขั้นที่ 4 นําคําที่สะกดแลวมาอานเปนคํา คําใดอานไมได จึงใชการสะกด

ชวย โดยใหพูดหรือเขียนตามคําบอกจนจําไดขั้นที่ 5 นําคําที่อานไดแลวมาใชในสถานการณตาง ๆ ทั้ง ฟง พูด อาน

และเขียนโดยเนนการอานและเขียนบอย ๆ10. วิธีสอนภาษาไทยโดยใชวิธีประสมประสาน

10.1 ความหมายของการสอนภาษาไทยโดยใชวิธีประสมประสานเปนการสอนที่นําวิธีการมุงประสบการณทางภาษา ใชหนังสือเรียน

ใชการอานหนังสือเปนรายบุคคล และใชวิธีการทางหลักภาษา มารวมกันในการสอน ซ่ึงจะชวยใหการสอนภาษาไทยมีประสิทธิภาพมากขึ้น

10.2 ขั้นตอนการสอนภาษาไทยโดยใชวิธีประสมประสาน มี 7 ขั้นตอน ไดแกขั้นที่ 1 การสอนโดยใชประสบการณทางภาษาจากหนังสือเรียนเปน ขั้นที่

นําเนื้อหาในบทเรียนจากหนังสือเรียนมาสรางประสบการณทางภาษา มี 2 ขั้นตอนยอย คือ1) การสรางประสบการณทางภาษา

Page 35: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

25

2) การสรางประสบการณการสะกดคําปากเปลาขั้นที่ 2 การสอนอานในใจจากหนังสือเรียน เปนขั้นที่ใหผูเรียนอานในใจ

ตามลําดับ คือ 1) อานออกเสียงใหมในบทเรียนและทบทวนคําเกา

2) สรางจุดมุงหมายการอาน3) อานในใจ4) เขียนตามจุดมุงหมายการอาน

ขั้นที่ 3 การสอนสะกดคําจากแบบฝกหัดในหนังสือเรียนขั้นที่ 4 การอานออกเสียงจากหนังสือเรียนขั้นที่ 5 การฝกการใชภาษาขั้นที่ 6 การจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะทางภาษาและการอานรายบุคคลขั้นที่ 7 การสอนซอมเสริม

วิธีสอนภาษาไทย มีหลายวิธีดังกลาวมาขางตนดังนั้นในการสอนครั้งหนึ่ง ๆ ของผูสอนสามารถเลือกรูปแบบการสอนหลายรูปแบบมาผสมผสานกันโดยอาศัยส่ือการสอนเขามามีสวนรวมในการเรียนรูและจัดประสบการณทําใหผูเรียนเกิดเจตคติที่ดีและประสบความสําเร็จตามเกณฑ ที่ตั้งไว

วิธีสอนหลักภาษาไทย

หลักภาษา คือ ระเบียบแบบแผนของภาษาที่มีไวเพื่อใหผูที่ใชภาษายึดถือเปนหลักในการใชภาษาใหถูกตอง นอกจากนี้ยังเปนหลักเกณฑที่จะชวยควบคุมใหคนไทยไดใชภาษาไทยใหเปนแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2522 : 142 – 143) ไดกลาวถึงประโยชนของการสอนหลักภาษาวามีหลายประการ คือ

1. ครูที่สอนหลักภาษาไทยไดดีจะชวยใหนักเรียนไดเห็นความสําคัญของภาษาไทย ซ่ึงเปนภาษาประจําชาติและเห็นความจําเปนที่จะตองมีหลักภาษาไว เพื่อเปนระเบียบแบบแผนที่จะใหคนไทยไดใชภาษาไทยใหถูกตองและมีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันทั่วประเทศ

2. การสอนหลักภาษาจะชวยใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับภาษาไทยเปนอยางดีและสามารถนําความรูที่ไดเรียนไปแลวไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางถูกตอง

3. เปนการอนุรักษภาษาไทย ซ่ึงเปนภาษาประจําชาติและเปนเอกลักษณของชาติไทยใหคงอยูตลอดไป

Page 36: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

26

4. เปนหลักยึดในการรักษาภาษาใหคงรูป แมภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือวิวัฒนาการไปบางตามธรรมชาติของภาษา ก็จะไมเปลี่ยนแปลงไปมากหรือรวดเร็วจนเกินไปนัก

5. หลักภาษาจะชวยใหวิวัฒนาการหรือความงอกงามของภาษาเปนไปอยางมีระเบียบแบบแผน

6. เพื่อใหนักเรียนไดซาบซึ้งในคุณคาของภาษาไทย และเห็นความจําเปนในการที่จะตองใชภาษาไทยใหถูกตองตามลักษณะของภาษา

7. การสอนหลักภาษาที่ดีจะชวยใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานในการเรียน เกิดความรูสึกสนใจที่จะศึกษาหาความรูเกี่ยวกับภาษาไทย และเลนสนุกสนานกับภาษา ทําใหนักเรียนมีความงอกงามทางภาษามากยิ่งขึ้น

8. การสอนหลักภาษาที่ดีจะชวยใหนักเรียนมีพื้นฐานความรูทางภาษาที่ดี และเปน แรงกระตุนหรือแรงบันดาลใจใหนักเรียนไดศึกษาตอในแขนงภาษาในระดับอุดมศึกษาตอไป

9. การสอนหลักภาษาโดยการที่ใหนักเรียนไดศึกษาคนควาหรือรวบรวมขอมูลทางภาษาตาง ๆ และเปนแนวทางสําคัญในการสํารวจหรือวิจัยคนควาทางภาษาตอไป

จะเห็นไดวาจุดประสงคหลักของการสอนหลักภาษาไทย คือ ตองการใหเด็กนักเรียนไดทราบแบบแผน ลักษณะโครงสรางทางภาษา เพื่อนําไปใชในชีวิตไดอยางถูกตอง

สมพร มันตะสูตร (2526 : 157) ใหขอเสนอแนะในการสอนหลักภาษาไทยดวยวิธีการตาง ๆ ดังนี้

1. ครูตองศึกษาหาความรูในเรื่องหลักภาษาไทยใหแมนยําและทันสมัยอยูเสมอ2. ครูตองสรางศรัทธาใหเกิดขึ้นทั้งในตัวครูและตอวิชาภาษาไทย โดยเนนใหเห็น

ความสําคัญของหลักภาษากับชีวิตประจําวันวามีความเกี่ยวพันกันอยางไร3. หาตัวอยางประกอบการสอนใหมาก4. ตัวอยางที่จะนํามาประกอบการสอน ควรนํามาจากที่นักเรียนพบเห็นอยูเสมอ เชน

ในหนังสือพิมพ ในสื่อมวลชนตาง ๆ5. ครูอาจใหนักเรียนชวยรวบรวมคํา วลี และประโยค ที่ใชอยูในหนังสือพิมพ

นํามารวมกันวิเคราะหเพื่อดูขอมูลของการสงสาร ส่ือสารและรับสารวาหากการใชภาษาไมถูก หลักภาษาแลวจะทําใหเกิดความไขวเขวในทางการสื่อความหมายมากนอยเพียงใด

6. ครูฝกใหนักเรียนเปนคนชางสังเกตและมีเหตุผล การแกไขขอบกพรองในการใชภาษาของนักเรียน ครูตองแสดงเหตุผลใหชัดแจงวาเพราะเหตุใดจึงตองแกไข

7. ใหนักเรียนคนควา รวบรวม การสะกด การันต การใชประโยคในพจนานุกรมในหนังสือแบบเรียน ในหนังสือพิมพ

Page 37: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

27

8. จัดกิจกรรมเสริมการสอนหลักภาษา เชน ใหมีการแขงขันหาชื่อบุคคล สถานที่ ที่เปนคําสมาส สนธิ คําผสม คําพอง และการทายความหมายของคําในแงตาง ๆ

9. การจัดหาอุปกรณชวยสอน เชน บัตรคํา แถบประโยค แผนภูมิ ฯลฯ10. ครูพยายามใหนักเรียนเปนผูเสนอการสรุปหลักเกณฑ หลังจากรวบรวมขอมูลทาง

ภาษาไดมากพอ แลวครูเสนอแนะหลักเกณฑที่ถูกตองผนวกลงไปในความคิดเห็นของนักเรียน ฐะปะนีย นาครทรรพ (อางถึงใน สมพร มันตะสูตร 2526 : 159) ไดใหขอเสนอแนะ

ในการสอนหลักภาษาไทยวาครูควรเนนคุณสมบัติเหลานี้นึกสนุก บุกไมเบื่อเอื้อวิชา กลายืนหยัดถนัดกิจกรรม ทําอุปกรณสอนการใช ใชหลักเกณฑเลนรอยกรอง1. นึกสนุก คือ ครูผูสอนจะตองนึกสนุกในวิชาหลักภาษาเสียกอน ถาไมนึกสนุก

แลวก็ไมมีทางที่จะสอนใหสนุกได2. บุกไมเบื่อ คําวาบุกในที่นี้ก็คือบุกหาความรูนั่นเอง การบุกหาความรูนี้เปน

การเสริมประสบการณตรงของครูผูสอนซ่ึงจะทําใหเกิดความมั่นในในการสอนมากยิ่งขึ้นเพราะเมื่อมีความรูดีและนึกสนุกในการสอนแลว การสอนยอมจะไดผล

3. เอื้อวิชา คําวา “เอื้อ” คือ เอื้อเฟอ โดยเห็นแกวิชาภาษาไทยจริง ๆ นั่นคือเอ้ือแกวิชาภาษาไทยและเอื้อแกการสอน เมื่อศึกษาหาความรูจากตําราหลาย ๆ เลมแลวก็เก็บบันทึกไวเปน หลักฐาน ซ่ึงจะทําใหเห็นแงที่นาสนุก นาพิศวง นาคิดนาทํา นานําไปสอน

4. กลายืนหยัด คําวากลายืนหยัดหมายถึงการแสดงความมั่นใจวาจะสอนวิชานี้ไดหลักจากที่ได นึกสนุก บุกไมเบื่อ และเอื้อวิชามามากพอสมควรแลว เราจะตองยืนหยัดอยูเพื่อเชิดชูคุณคาของวิชาหลักภาษา ซ่ึงเปนหลักประกันในความมั่นคงของภาษาไทย

5. ถนัดกิจกรรม แมครูภาษาไทยจะไมคอยถนัดกิจกรรมหรือไมเคยถนัดมากอน ก็จะตองหันมาสนใจกับการจัดกิจกรรมเสริมการสอนภาษาไทยมากขึ้นกวาเดิม เพราะเด็กชอบ การเปลี่ยนแปลงและชอบความแปลกใหม

6. ทําอุปกรณ อุปกรณการสอนเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหเรียนสนุกสนาน มีชีวิตชีวาขึ้นในการจัดทําอุปกรณนั้นควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นเลือกสรรและ ทําอุปกรณที่ตนเองสนใจและสามารถรวมกันทําดวยไดจะดีอยางยิ่ง

Page 38: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

28

7. สอนการใช การสอนภาษาไทยนั้นตองสอนเพื่อมุงใหนักเรียนไดนําไปใชใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวันใหมากที่สุด

8. ใชหลักเกณฑ ในการสอนภาษาไทยนั้นตองพยายามสอนจากตัวอยางหากฎเกณฑเพื่อนักเรียนจะไดมีความเขาใจและจดจําไดแมนยํา เสร็จแลวจึงรวบรวมเปนรายงานสรุปสั้น ๆ เพื่อเตือนความจํา

9. เลนรอยกรอง คือ การสอนดวยการอาศัยรอยกรองมาเปนส่ือในการสอน อาจจะดวยการนํารอยกรองที่ไพเราะมาอานใหฟงแลวใหนักเรียนวิจารณหรือครูอาจวิจารณนํารองกอน ก็ได หรืออาจใหนักเรียนฝกแตงรอยกรองที่สัมพันธกับเรื่องที่สอนอยู แลวใหผูอ่ืนชวยกันวิจารณงานเขียนของนักเรียน หรืออาจใหนักเรียนหัดแตงรอยกรองจากภาพวาด ภาพถาย

นอกจากนี้ประภาศรี สีหอําไพ (2524 : 361) ไดกลาวถึงขอควรคํานึงถึงสําหรับ การสอนหลักภาษาไทย ดังนี้

1. ตั้งจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหชัดเจนเพื่อประเมินผลตามลําดับโดยบอก จุดประสงคใหผูเรียนรูดวย

2. กําหนดงานทักษะการใชภาษา แลวนําหลักภาษาไปเปนเกณฑในการปฏิบัติงานและตรวจแกไขทุกครั้ง

3. เนนที่การนําไปใชมากกวาความรูความจํา ใหนักเรียนนําความรูเกี่ยวกับหลักภาษาไทยไปใชในการฟง พูด อาน เขียนอยางถูกตอง

4. อภิปรายคุณคาของวิชาหลักภาษาในฐานะที่เปนแบบแผนไวเปนหลักในการใช รวมกัน

5. ใหนักเรียนสังเกตและพิจารณาลักษณะตาง ๆ ของภาษาไทย สามารถนําตัวอยาง มาสรุปหลักเกณฑไดถูกตองแบบวิธีสอนอนุมาน

6. นําเอาวรรณคดีและวรรณกรรมปจจุบันมาเปนอุปกรณการสอนหลักภาษาและ การใชภาษาอยางสัมพันธกันเหมือนกับที่ใชจริง ๆ ในชีวิตประจําวัน

7. สงเสริมใหศึกษาคนควาสังเกตคําและลักษณะของภาษาไทยไดดวยตนเองรวบรวมเปนสมุดเนื้อหาประกอบหรือเขียนรายงานเปนงานกลุมหรือรายบุคคลตามความเหมาะสม

8. ฝกการแตงรอยแกวและรอยกรอง แลวนําผลงานของนักเรียนมาสัมพันธกับ หลักภาษา

9. สรุปประโยชนของหลักภาษาทุกครั้งเพื่อใหนักเรียนไดรับความรูตามจุดประสงค และเกิดความรักภาคภูมิใจวาจะรักษาภาษาไทย และเห็นคุณคาของการใชศิลปะทางภาษาที่ถูกตอง

Page 39: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

29

10. นําเขาสูบทเรียนดวยการเราความสนใจดวยส่ือการสอนหรือทบทวนเรื่องโดยให นักเรียนไดแสดงออกในกิจกรรมตาง ๆ ใหมากที่สุด เชน นําชื่อตัวละครในวรรณคดีมาสังเกตหลักคําสมาสและสนธิ เปนตน

11. แบงกลุมตั้งคําถามหรืออภิปรายหลักเกณฑของภาษาอยางกวางขวาง เพื่อเปน แนวทางในการกําหนดงานศึกษาคนควาตอไป

12. แขงขันสะกดคํา รวบรวมหมวดหมูคําศัพท ทายปญหา ฯลฯ ตามวิธีสอน แบบกระบวนการกลุมสัมพันธ

13. นําคําประพันธเนื้อหาหลักภาษาที่มีผูแตงไวแลวมาใหสังเกตหลักภาษา แยกคําออกมาใหเห็นชัดเจน

14. นําหลักภาษามาชวยกันแตงคําประพันธ เพื่อความไพเราะและจําไดงาย15. สังเกตการใชภาษาของสื่อมวลชน นํามาใชเปรียบเทียบกับภาษามาตรฐาน

ในหลักภาษาทั้งในชั้นเรียน โดยใชส่ือการสอน หรือกําหนดงานใหทําเปนครั้งคราว16. ใชหนังสืออุเทศ เชน พจนานุกรม หลักภาษา ฯลฯ เปนเนื้อหาประกอบ

อยางกวางขวาง17. มีการนําเพลงประกอบบทเรียนมาใชจากที่กลาวมาจะเห็นวาการสอนหลักภาษาไทยใหประสบความสําเร็จ และเปนวิชา

ที่นาสนใจนาเรียนนั้นสวนใหญอยูที่ครูผูสอน สุจริต เพียรชอบ (2522 : 145)ไดกลาวถึงลักษณะของครูผูสอนหลักภาษาไทยไววา

1. มีความรูทางหลักภาษาดี คือ มีความรูอยางลึกซึ้ง แมนยํา และถูกตอง หากความรูทางภาษาศาสตรเปนอยางดีดวยก็ยิ่งดี

2. มีความรูพิเศษที่สามารถจะนํามาใชในการสอนหลักภาษาไดเปนอยางดี เชน ความสามารถในการแตงคําประพันธ แตงเพลง ขับรอง ฟอนรําไดเปนลําดับ

3. เปนผูที่ใครเรียน หมั่นแสวงหาความรูเปนเนืองนิจ รูสึกสนุก และกระตือรือรนที่จะแสวงหาความรูซ่ึงอาจไดมาจากการคนควาจากตํารา การสัมภาษณ การสํารวจ การเก็บรวบรวมคําหรือการศึกษาภาษาถิ่น เปนตน

4. มีศรัทธา คือ มีความรักที่จะสอนหลักภาษา มีทัศนคติที่ดีและรูสึกสนุกในการสอนหลักภาษา

5. มีความกระตือรือรน เปนกันเองกับนักเรียนและเพื่อนครูตลอดจนบุคคลฝายตาง ๆ ที่ตนไปเกี่ยวของดวย

Page 40: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

30

6. เปนคนมีเหตุผล มีวิจารณญาณดี รูจักคิดวิเคราะหวิพากษวิจารณส่ิงตาง ๆ ดวยใจเปนธรรม ในขณะเดียวกันก็เปนคนใจกวางยอมรับฟง และเคารพความคิดเห็นของผูอ่ืน โดยเฉพาะ นักเรียนที่ตนสอน

จะเห็นวาในการสอนหลักภาษาไทย ครูผูสอนมีความสําคัญ เพราะตองเปนแบบอยางที่ดีมีใจรักในการสอน รักการคนควาและที่สําคัญตองมีความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรูหลักภาษาไทยเปนอยางดี

การเรียนแบบรวมมือกัน

ความหมายของการเรียนแบบรวมมือกันการเรียนแบบรวมมือกัน (Cooperative Learning) มีนักวิชาการหลายทานไดให

คําจํากัดความเกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือกันไวดังนี้ฐิติมา อุนใจ (2538 : 28) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือหมายถึง กระบวนการเรียนรู

โดยครูตองจัดสภาพการณและเงื่อนไขใหผูเรียนทํางานประสานกัน เปนกลุมตั้งแต 2 คนขึ้นไป โดยปกติจะประกอบดวยสมาชิก 2 – 5 คน ที่มีความสามารถและมีบทบาทในกลุมแตกตางกัน ผูเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการแกไขปญหา ภายในกลุมเพื่อทุกคนจะไดรับความสําเร็จรวมกัน

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2539 : 85) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือ หมายถึงการจัดการเรียนที่แบงผูเรียนออกเปนกลุมเล็ก ๆ สมาชิกในกลุมมีความสามารถแตกตางกันมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นมีการชวยเหลือ สนับสนุนซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบรวมกัน ทั้งในสวนตัวและในสวนรวมเพื่อใหกลุมไดรับความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนด

กนกพร แสงสวาง (2540:11) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จัดนักเรียนออกเปนกลุม ๆ โดยการจัดใหสมาชิกแตละกลุมมีความหลากหลายทั้งในดานความสามารถ ความสนใจ เพศและอื่น ๆ โดยแตละคนจะมีบทบาทหนาที่ และ ความรับผิดชอบที่ตองพึ่งพาอาศัยกัน โดยเนนกระบวนการรวมมือกันมากกวาการแขงขัน ความสําเร็จของตนเองจะตองควบคูไปกับความสําเร็จของกลุม

จุฑามาศ สดแสงจันทร (2540 : 9) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือหมายถึงกระบวนการเรียนการสอนที่เกิดจากการผสมผสานระหวางทักษะของการอยูรวมกันเปนสังคมและทักษะ ในดานเนื้อหาวิชาการตาง ๆ เปนการเรียนการสอนที่ยึดนักเรียนเปนจุดศูนยกลางโดยจัดใหนักเรียนมีความสามารถตาง ๆ กัน (mixed ability) เรียนและทํางานดวยกันเปนกลุม กลุมละ 2 – 4 คน

Page 41: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

31

โดยมีจุดมุงหมาย (goal) เดียวกันชวยเหลือกันและกันภายในกลุม ผูที่เรียนเกงชวยเหลือผูที่ออนกวาและตองยอมรับซึ่งกันและกันเสมอความสําเร็จของกลุมขึ้นอยูกับสมาชิกทุกคนภายในกลุม

อรพรรณ พรสีมา (2540 : 1 – 4) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือ หมายถึงวิธีการเรียน ที่เนนการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนใหนักเรียนไดเรียนรูรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ แตละกลุมประกอบสมาชิกที่มีความรู ความสามารถแตกตางกัน แตละคนจะตองมีสวนรวมอยางแทจริงใน การเรียนรูและในความสําเร็จของกลุม ทั้งโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้ง การเปนกําลังใจแกกันและกัน

สลาวิน (Slavin 1983 : 3) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือกันหมายถึงวิธีการสอน ที่ประกอบดวยผูเรียนซึ่งมีความสามารถแตกตางกัน แบงเปนกลุมมีสมาชิกในกลุมประมาณ 4 – 6 คน โดยสมาชิกภายในกลุมตองรวมมือกันสงเสริมกิจกรรมการเรียนรู

จอหนสัน (Johnson 1991 : 55, อางถึงใน ชัยยา โพธ์ิแดง 2540:7) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือหมายถึงการเรียนที่มีปฏิสัมพันธกับภายในกลุมนักเรียน เชน มีการอภิปรายรวมกัน การชวยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน

นาททีฟ วินตสกี และดริคกี (Nattiv and Drieky 1991,อางถึงใน อนุสรณ สุชาตานนท 2536 : 9) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือหมายถึง วิธีการสอนซึ่งจัดใหนักเรียนเรียนดวยกัน เปนกลุมเล็ก ๆ เพื่อบรรลุเปาหมายแตกตางกัน เชน เปนผูประสานงาน ผูจดบันทึก ผูรวบรวม บทบาทนี้จะหมุนเวียนไป

แวน เดอ เคล (Van Der Kley 1991, อางถึงใน วรรณทิพา รอดแดงคา 2541 : 45) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือหมายถึงการที่นักเรียนมีปฏิสัมพันธรวมกันในการทํางานชวยเหลือเกื้อกูลสนับสนุนความสําเร็จของกันและกัน โดยที่นักเรียนแตละคนในกลุมจะมีความรับผิดชอบงานของตนเอง การทํางานที่ไดรับมอบหมายของนักเรียนแตละคนจะมีการตรวจสอบและการนําผลการทํางานเสนอในกลุม กลุมจะทําหนาที่ชวยเหลือวาใครออนดานใดคนที่เกงจะชวยเหลือดานนั้นซ่ึงจะทําใหการทํางานเขมแข็งขึ้น

จากความหมายของการเรียนแบบรวมมือดังที่กลาวมา สามารถสรุปไดวา การเรียน แบบรวมมือ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการแบงนักเรียนออกเปนกลุมยอย กลุมละ 2 – 6 คน คละทั้งเพศ เชื้อชาติ ความสามารถระดับเกง ปานกลาง ออน ทํากิจกรรม รวมกันมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เด็กเกงจะชวยเหลือเด็กออน สมาชิกทุกคนตองรวมมือกัน จึงจะทําใหกลุมประสบความสําเร็จได

Page 42: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

32

หลักการของการเรียนแบบรวมมือจอหนสันและจอหนสัน (Johnson and Johnson, 1987 อางถึงใน วรรณทิพา

รอดแรงคา 2541 : 132 ) กลาววาการเรียนแบบรวมมือมีองคประกอบที่สําคัญอยู 5 ประการ ถาขาดองคประกอบใดองคประกอบหนึ่งจะเปนการทํางานเปนกลุม (group work) และไมใชเปนการเรียนแบบรวมมือ (cooperative learning) องคประกอบทั้ง 5 ไดแก

1. Face to Face Interaction เปนการจัดนักเรียนเขากลุมในลักษณะคละกันทั้งเพศ อายุ ความสามารถหรืออ่ืน ๆ เพื่อใหนักเรียนไดชวยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกันในการทํางาน รวมกัน

2. Individual Accountability นักเรียนแตละคนตองมีความรับผิดชอบรวมกัน ในการทํางานกลุมเพื่อใหงานสําเร็จลุลวงออกมาดวยดี จึงเปนหนาที่ของแตละกลุมที่ตองคอยตรวจสอบดูวาสมาชิกทุกคนไดเรียนรูหรือไม โดยมีการประเมินวา ทุกคนรูเร่ืองหรือเห็นดวยหรือไมกับงานของกลุม อาจมีการสุมถามนักเรียนคนใดคนหนึ่งใหรายงานผลวาเปนอยางไร ซ่ึงอาจมีบางคนไมเขาใจหรือสับสน นักเรียนคนอื่น ๆ ในกลุมก็จะไดชวยกันอธิบายจนเขาใจ สมาชิกคนใดคนหนึ่งในกลุมสามารถอธิบายไดทันทีเมื่อมีการเรียกใหรายงานหนาชั้นเรียน

3. Cooperative Social Skills นักเรียนตองใชทักษะความรวมมือในการทํางานใหมีประสิทธิภาพซึ่งไดแกทักษะการสื่อความหมาย การแบงปน การชวยเหลือซ่ึงกันและกันรวมมือกัน งานจะบรรลุผลตามจุดมุงหมายอยางมีประสิทธิภาพสูงถาทุกคนไววางใจและยอมรับความคิดเห็นของกันและกัน

4. Positive Interdependence นักเรียนตองเขาใจวาความสําเร็จของแตละคนในกลุมขึ้นอยูกับความสําเร็จของกลุม งานจะบรรลุจุดประสงคหรือไมขึ้นอยูกับสมาชิกในกลุมที่จะตองชวยเหลือพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน โดยที่ครูตองกําหนดวัตถุประสงคของงานใหชัดเจน ตลอดจนกําหนดบทบาทการทํางานของสมาชิกแตละคนในกลุมใหแนชัดวา สมาชิกคนใดมีหนาที่และมี ความรับผิดชอบอะไร กับงานของกลุม

5. Group Processing นักเรียนตองชวยกันประเมินประสิทธิภาพ การทํางานของกลุม และประเมินวาสมาชิกแตละคนในกลุมสามารถปรับปรุงการทํางานของตนเองใหดีขึ้นไดอยางไร สมาชิกทุกคนในกลุมควรชวยกันแสดงความคิดเห็นซึ่งกันและตัดสินไดวางานครั้งตอไปจะมี การเปลี่ยนแปลงหรือไม หรือควรปฏิบัติเชนเดิมอีก หรือข้ันตอนการทํางานขั้นตอนใดที่ยัง ขาดตกบกพรองและยังไมดี ควรมีการปรับปรุงแกไขอะไรอยางไร

การเรียนแบบรวมมือนี้มีหลักการที่ครูควรคํานึงถึงอยู 3 ประการ

Page 43: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

33

1. รางวัลหรือเปาหมายของกลุม ซ่ึงครูจะตองตั้งรางวัลไวเพื่อกระตุนใหนักเรียน มีความพยายามในการเรียนรูมากขึ้น และพยายามปรับพฤติกรรมของตนเพื่อความสําเร็จ ของกลุมรางวัลที่กําหนดอาจเปนสิ่งของ ประกาศนียบัตร คําชมเชย เปนตน โดยท่ีแตละกลุมจะไดรับเมื่อกลุมทําคะแนนไดถึงเกณฑที่ตั้งไว ภายในเวลาที่กําหนด และครูควรชี้แจงใหนักเรียนทราบวากลุมไมควรแขงขันกันเพื่อตองการรางวัลเพียงอยางเดียว

2. ความรับผิดชอบรายบุคคล สมาชิกทุกคนในกลุมจะตองมีความรับผิดชอบ ในการเรียน และพยายามทําความเขาใจในบทเรียน สมาชิกทุกคนตองชวยกันอธิบายใหสมาชิก ในกลุมเขาใจ เนื่องจากครูจะทําการวัดความกาวหนาของกลุม ซ่ึงจะวัดจากความ สามารถของ แตละบุคคลในกลุมแลวนําคะแนนจากการทดสอบรายบุคคลไปเฉลี่ยเปนคะแนนของกลุม ดังนั้นจึงนับไดวาความสําเร็จหรือความกาวหนาของกลุมจะขึ้นอยูกับความสามารถของแตละบุคคล เปนสําคัญ

3. โอกาสในการประสบผลสําเร็จที่เทาเทียมกัน หมายถึง สมาชิกทุกคนในกลุม มีโอกาสที่จะทําใหดีที่สุด และประสบผลสําเร็จในการเรียนเทาเทียมกันการชวยเหลือซ่ึงกันและกันของสมาชิกทุกคนในกลุมจึงเปนสิ่งที่มีคา

รูปแบบการเรียนแบบรวมมือการเรียนแบบรวมมือมีหลายรูปแบบ ใชไดหลายเนื้อหาวิชา เชน คณิตศาสตร

วิทยาศาสตร สังคมศาสตร และภาษา เปนตน รูปแบบของการเรียนแบบรวมมือไว 3 รูปแบบ ดังนี้

1. รูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Johnson และ Johnson2. รูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Slavin3. รูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Shlomo และ Sharan

อาจสรุปรูปแบบการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรูตามรูปแบบตาง ๆ ไดดังแผนภาพตอไปนี้ (นาตยา ปลันธนานันท 2540 : 5)

Page 44: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

34

ภาพที่ 1 แสดงรูปแบบการเรียนแบบรวมมือ

รูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Johnson และ Johnson (1990 : 105 – 107) จากมหาวิทยาลัย Minnesota หรือเรียกอีกอยางวาการเรียนแบบรวมมือกัน (learning together) ซ่ึงการเรียนแบบนี้จะแบงนักเรียนเปนกลุม ๆ ละ 4 – 5 คน โดยคละความสามารถ แลวใหแตละกลุมศึกษาเอกสารที่กําหนดให ซ่ึงแตละคนจะศึกษาดวยตนเองกอนที่จะทํางาน รวมกันอยางจริงจัง และเนนการอภิปรายในกลุมวาสมาชิกในกลุมทํางานรวมกันไดดีเพียงใด ซ่ึงยึดหลักการเบื้องตน 5 ประการดวยกัน คือ

1. การพึ่งพาอาศัยกันในทางบวก สมาชิกทุกคนตองทํางานเพื่อเปาหมายเดียวกันของกลุมและผลงานของแตละคนก็เปนผลงานของกลุม ซ่ึงกลุมจะสําเร็จหรือลมเหลวขึ้นกับทุกคนและสมาชิกในกลุมตองชวยเหลือซ่ึงกันและกัน มีความสัมพันธที่ดีตอกัน โดยทุกคนตองระลึกอยูเสมอวาทุกคนตองพึ่งพาอาศัยกัน นอกจากนั้นสมาชิกแตละคนตองยอมรับวาผลงานของคนอื่น มีความสําคัญตอตนเองและตอกลุมดวย

2. การมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน การมีปฏิสัมพันธจะเกิดขึ้นเมื่อทุกคนในกลุม ชวยเหลือและใหกําลังใจซึ่งกันและกัน มีการสนับสนุนผลงานที่ดีของสมาชิก การอธิบาย ขยายความในบทเรียนที่เรียนมาใหแกเพื่อนในกลุมเขาใจ การทําความเขาใจ การสรุปเรื่องและการใชเหตุผลตาง ๆ ตลอดจนมีการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เพื่อ เปดโอกาสใหสมาชิกไดเสนอแนวความคิดใหม ๆ เพื่อเลือกสิ่งที่ดี ส่ิงที่ถูกตองและเหมาะสมที่สุด

รูปแบบการเรียนแบบรวมมือ

Johnson และ Johnson Slavin Shlomo, Sharan

รูปแบบการเรียนแบบรวมกัน

รูปแบบการเรียนแบบรวมมือกันเปนทีม

รูปแบบการเรียนที่มุงความสําเร็จของทีม

STAD TGT TAI CIRC JIGSAW II GI

Page 45: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

35

3. ความรับผิดชอบของแตละบุคคล ส่ิงที่นักเรียนไดทํางานรวมกันเปนกลุมจะทําให นักเรียนสามารถทําไดดวยตนเองในวันขางหนา นักเรียนตองรับผิดชอบในผลการเรียนของตนเองและของเพื่อนสมาชิก ทุกคนในกลุมจะรูวาใครตองการความชวยเหลือ สงเสริมสนับสนุนในเรื่องใด มีการกระตุนกันและกันใหทํางานที่รับมอบหมายใหสมบูรณ และบรรลุผลสําเร็จไปไดดวยดี แตละกลุมมีหนาที่คอยตรวจสอบดูวาสมาชิกทุกคนในกลุมเกิดการเรียนรูหรือไม โดยมี การประเมินผลงานของสมาชิกแตละคนซึ่งรวมเปนผลงานของกลุม ใหสมาชิกทุกคนไดรายงานหรือมีโอกาสแสดงความคิดเห็นโดยทั่วถึงและมีการใหขอมูลยอนกลับทั้งของกลุมและรายบุคคล ซ่ึงจะมีการตรวจสอบผลการเรียนเปนรายบุคคลหลังจากจบบทเรียน

4. ทักษะมนุษยสัมพันธและทักษะการทํางานเปนกลุม การทํางานรวมกัน จะเสริมสรางความสามารถไดดีกวาการทํางานคนเดียว และทําใหงานนั้นมีประสิทธิภาพได ซ่ึงจะตองเกิดจากการที่สมาชิกทุกคนรวมใจกันทํางานและอาศัยความไววางใจตอกันของสมาชิกทุกคนในกลุม ซ่ึงมีการสื่อสารกันอยางถูกตองและเปดเผย มีการยอมรับและสนับสนุนกัน และแกปญหาขอขัดแยงที่เกิดขึ้นดวยกัน

5. กระบวนการกลุม เกิดขึ้นเมื่อสมาชิกกลุมอภิปรายถึงการทําอยางไร จะทําให การทํางานบรรลุเปาหมาย โดยจุดมุงหมายของกระบวนการกลุม คือ การเนนกระบวนการ หนาที่ บทบาทที่ชัดเจนของสมาชิกที่จะทําใหการทํางานไดผลดีตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว กลุมตองอธิบายการกระทําของสมาชิกเพื่อใหสมาชิกไดทราบวาสิ่งใดที่เปนประโยชนตอความสําเร็จใน การทํางานของกลุม และตัดสินเกี่ยวกับพฤติกรรมใดควรดําเนินการตอไป พฤติกรรมใดควรตอง เปลี่ยนแปลง โดยท่ีสมาชิกเรียนรูกระบวนการสรางความสัมพันธที่ดีใน การทํางานรวมกันเพื่อใหเกิดการเรียนรูและทักษะการทํางาน ดังนั้นกระบวนการกลุมจึงเปนเครื่องมือที่สําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จของการเรียนแบบรวมมือ

รูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Slavin และคณะ ( 1990 : 2 – 12) จากมหาวิทยาลัย John Hopkins ไดพัฒนาเทคนิคการเรียนแบบรวมมือแบบตาง ๆ จากผลวิธีการสอนในทุกรูปแบบของ Slavin จะยึดหลักของการเรียนแบบรวมมือ 3 ประการดวยกัน คือ รางวัลและเปาหมายของกลุม ความรับผิดชอบรายบุคคลและโอกาสในการประสบความสําเร็จที่เทาเทียมกัน ซ่ึงรูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Slavin ที่เปนที่ยอมรับกันแพรหลายมีดังตอไปนี้

1. การเรียนแบบกลุมแขงขัน (student team learning variations)1.1 การเรียนแบบ STAD1.2 การเรียนแบบ TGT1.3 การเรียนแบบ TAI

Page 46: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

36

1.4 การเรียนแบบ CIRC2. การเรียนแบบตอบทเรียน (jigsaw)การเรียนแบบกลุมแขงขันมี 4 แบบ ดังนี้การเรียนแบบ STAD (student teams achievement divisions) เปนรูปแบบ การสอน

ที่สามารถดัดแปลงใชไดเกือบทุกวิชา และทุกระดับชั้น เพื่อเปนการพัฒนาสัมฤทธิผลของการเรียนและทักษะสังคมเปนสําคัญ ซ่ึงเปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีองคประกอบของการเรียน 5 ประการดังนี้ (Alavin 1990 : 71 – 73)

1. การนําเสนอสิ่งที่ตองเรียน (class presentations) เปนกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นแรกของ STAD เปนการสอนเนื้อหาสาระ ตลอดจนสื่อตาง ๆ ในชั้นเรียน ซ่ึงครูเปนผูนําเสนอส่ิงที่นักเรียนตองเรียนไมวาจะเปนความคิดรวบยอด ทักษะ และ/หรือกระบวน โดยใชวิธี การบรรยาย การอภิปรายรวมไปถึงการใชวิดีทัศน การนําเสนอสิ่งที่ตองเรียนตามรูปแบบ STAD จะแตกตางจากการสอนโดยทั่วไป คือ ครูควรใชกิจกรรมที่เหมาะสมกับบทเรียน ทั้งนี้ทําให นักเรียนเขาใจวิธีการของ STAD ไดอยางแจมชัดและนักเรียนตองตั้งใจอยางจริงจังระหวาง การเรียนการสอน เพราะการตั้งใจอยางจริงจังจะชวยทําใหคะแนนทดสอบของพวกเขาดีขึ้น และคะแนนจากการทดสอบจะเปนตัวตัดสินคะแนนของกลุม

2. การทํางานเปนกลุม (teams) ในแตละกลุมประกอบไปดวยนักเรียน 4 – 5 คน ซ่ึงแตละกลุมจะคละความสามารถทางการเรียน และดานตาง ๆ โดยที่ครูตองชี้แจงใหนักเรียน ในกลุมไดทราบถึงหนาที่ของกลุมวานักเรียนตองชวยเหลือกัน เรียนรวมกัน อภิปรายปญหา รวมกัน ชวยกันตรวจสอบคําตอบและชวยกันแกไขขอผิดพลาดของสมาชิกในกลุม ซ่ึงสมาชิก ทุกคนในกลุมตองทํางานใหดีที่สุด เพื่อใหเกิดการเรียนรูและเตรียมการใหสมาชิกกลุมทําคะแนนจากแบบทดสอบไดดีทุกคน หลังจากที่ครูเสนอเนื้อหาสาระตลอดจนสื่อตาง ๆ ในชั้นเรียน เสร็จแลว

3. การทดสอบยอย (quizzes) หลังจากที่ครูไดเสนอบทเรียนไปแลว 1 – 2 คน มีการทดสอบยอยกับนักเรียน โดยนักเรียนตางคนตางทํา ซ่ึงไมเปดโอกาสใหมีการปรึกษากัน ในขณะที่ทําการทดสอบยอย ดวยเหตุผลนี้นักเรียนแตละคนตองมีความรับผิดชอบตอตนเอง ในการรับความรูจากครูและเพื่อน

4. คะแนนพัฒนาการของนักเรียนแตละคน (individual improvement score) แนวคิดหลักของคะแนนพัฒนาการของนักเรียนแตละคนเปนตัวกระตุนใหนักเรียนทํางานหนักขึ้น และแสดงความสามารถไดดีกวาครั้งกอน นักเรียนทุกคนสามารถทําคะแนนสูงสุดใหกลุมของตนได

Page 47: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

37

คะแนนพัฒนาการนี้ ไดมาจากคะแนนการทําแบบทดสอบของนักเรียน แลวนําไปเปรียบเทียบกับคะแนน พื้นฐานของตนเองซึ่งคิดมาจากคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบที่ผานมาตั้งแตตน

5. การตระหนักถึงความสําเร็จของกลุม (team recognition) การที่กลุมจะไดรับรางวัลก็ตอเมื่อกลุมนั้นไดรับความสําเร็จเหนือกลุมอ่ืน ซ่ึงจะตัดสินดวยการนําคะแนนพัฒนาการของสมาชิกทุกคนในกลุมมาเฉลี่ยเปนคะแนนของกลุม

การเรียนแบบ TGT (teams games tournament) เปนรูปแบบที่ไดพัฒนาเริ่มแรกโดย David De Vries และ Keith Edwards (Slavin 1990 : 6) ซ่ึงการเรียนแบบรวมมือนี้ไดพัฒนามาจากรูปแบบ student team learning (STL) เพื่อใหเหมาะสมกับลักษณะวิชาทั่วไปและทุกระดับ การศึกษา วิธีนี้จัดกลุมเชนเดียวกับ STAD หลังจากครูสอนบทเรียนแตละบทแลว กลุมจะตองเตรียมสมาชิกทุกคนในกลุมใหพรอมสําหรับการแขงขันตอบคําถามที่ครูจะใหมีขึ้นในวันตอไป โดยมีการชวยสอนและถามกันในกลุมตามเนื้อหาในเอกสารที่ครูแจกให โดยปกติการแขงขันจะมีสัปดาหละครั้ง ประกอบดวยคําถามสั้น ๆ เกี่ยวกับบทเรียนที่ครูสอนไปแลวและที่ปรากฏ ในเอกสาร ใชเวลาแขงขันครั้งละประมาณ 40 นาที ในการแขงขันครูจะจัดใหนักเรียนที่มีผล การเรียนในระดับเดียวกันแขงขันกัน โดยจัดใหนักเรียนที่ไดคะแนนสูงสุด 3 คนแรกในการแขงขันคร้ังกอนไดแขงขัน และคนที่ไดคะแนนรองลงไปแขงขันชุดละ 3 คน ตามลําดับ คะแนน ที่สมาชิกในกลุมแตละคนทําไดจะนํามารวมกันเปนคะแนนกลุม เมื่อเสร็จการแขงขันแตละครั้ง ครูจะออกจุลสารประจําหองลงประกาศชมเชย ผูที่ทําคะแนนไดสูงสุด และกลุมที่ทําคะแนน ไดมากที่สุด

การเรียนแบบ TAI (team assisted individualization) เปนรูปแบบที่ไดพัฒนาโดย Slavin Leavey และ Madden ( Slavin 1990 : 7) ซ่ึงนํารูปแบบการเรียนของ STAD และ TGT มาปรับเขาดวยกัน เพื่อพัฒนาใหเหมาะสมสําหรับวิชาคณิตศาสตรในระดับประถมศึกษาปที่ 3 – 6 วิธีนี้ จัดกลุมเชนเดียวกับ STAD แตขั้นแรกจะมีการทดสอบความสามารถในวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกอนจัดนักเรียนเขากลุมคละกัน กลุมละ 4 คน นักเรียนแตละคนจะเริ่มบทเรียน ไมเหมือนกัน เพราะมีระดับความสามารถตางกันแตทํางานรวมกันเปนทีม นักเรียนทุกคนจะไดรับการสอนเปนรายบุคคล (individualized instruction) เฉพาะที่อยูในระดับความสามารถเทากัน ตามความยากงายของเนื้อหาวิชาที่จะสอนแตกตางกัน เสร็จแลวทุกคนกลับมานั่งรวมกลุมทํางาน ที่ไดรับมอบหมายของแตละคน แตจะมีการชวยเหลือกัน ซ่ึงนักเรียนที่เรียนลํ้าหนาไปแลวจะชวยนักเรียนออนในการทํางานและชวยตรวจแบบฝกหัดใหดวย เมื่อจบหนวยการเรียนแตละหนวย ครูจะทดสอบนักเรียนโดยใชขอสอบแตกตางกัน แตละสัปดาหครูจะนับจํานวนบทเรียนที่เด็ก

Page 48: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

38

แตละกลุมทําไดสําเร็จ หากกลุมใดทําไดมากกวาเกณฑที่ครูกําหนดไวกลุมนั้นจะไดรางวัล และยังเพิ่มคะแนนใหกับแบบฝกหัดที่ถูกทุกขอและแบบฝกหัดที่ทําเสร็จทุกขอดวยเปนพิเศษ

การเรียนแบบ TAI ออกแบบขึ้นเพื่อชวยเหลือนักเรียนที่มีปญหาในการเรียนคณิตศาสตร เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจกระจางชัด อยางไรก็ตาม กอนที่นักเรียนจะไดแกไข ขอบกพรองทางคณิตศาสตรของตน นักเรียนจะตองมีความเขาใจความมุงหมายของการทํางานกลุมกอน ซ่ึงในจุดนี้ครูจะตองเปนผูสรางใหเกิดขึ้นกับตัวนักเรียน

การเรียนแบบ CIRC (cooperative integrated reading and composition) เปนรูปแบบ ที่ไดพัฒนาโดย Steven ( Slavin 1990 : 7) ซ่ึงเปนการเรียนแบบรวมมือที่เหมาะสําหรับวิชาการอานและการเขียน และทักษะอื่น ๆ ทางภาษา ที่จะสามารถอธิบายถึงเหตุผลพัฒนาการ และชวยให การอานและเขียนเรียงความมีความสมบูรณยิ่งขึ้น การเรียนแบบ CIRC นี้เหมาะสําหรับชั้นประถมศึกษาและมีจุดประสงคอยางเดียวกันกับการเรียนแบบ TAI คือ ใชความรวมมือในการที่จะเรียนรู ซ่ึงเปนเครื่องมือที่จะชวยใหเกิดการเรียนรูได วิธีนี้จัดกลุมนักเรียนกลุมละ 4 คน โดยแบงนักเรียนเปน 2 กลุม คือ กลุมเกง กับกลุมออน แลวจับคูกัน ครูจะแยกสอนทีละกลุม ขณะที่ครูสอน กลุมหนึ่ง กลุมที่เหลือจะจับคูทํางานกัน ในกิจกรรมตาง ๆ ดังตอไปนี้ อานใหเพื่อนฟง ทํานายวาเร่ืองที่อานจะจบลงอยางไร เลาเรื่องยอใหเพื่อนฟง ตอบคําถามทายบท ฝกจดจําและสะกดคําและคนควาหาความหมายของศัพทตาง ๆ ที่ปรากฏในทองเร่ือง จากนั้นใหนักเรียนเกงและนักเรียนออนจับคูกันและทํางานรวมกันเปนทีม

การเรียนแบบตอบทเรียน (jigsaw) การเรียนแบบนี้บางทีเรียกวา การเรียนแบบ ตอช้ินสวนหรือการศึกษาเฉพาะสวนออกแบบโดย Aronson และคณะ (Slavin 1990 : 6) การเรียนวิธีนี้เปนกิจกรรมการเรียนที่แบงนักเรียนเปนกลุม ๆ ละ 5 – 6 คน ที่คละความสามารถและเพศนักเรียน ทุกกลุมจะไดรับมอบหมายใหทํากิจกรรมเชนเดียวกัน มีการแบงเนื้อหาของเรื่องที่จะเรียนออกเปนสวน ๆ แลวมอบหมายใหนักเรียนแตละคนในกลุมยอย รับผิดชอบกันไปคนละสวน นักเรียนแตละคนตองทําการศึกษาเนื้อหาสวนนั้น ๆ ใหเขาใจอยางถองแท จนถึงระดับกลายเปน “ผูเชี่ยวชาญ” (expert group) จากนั้นแตละคนจะกลับเขากลุมเดิมของตนเพื่ออธิบายใหสมาชิก ในกลุมฟง เพื่อใหทั้งกลุมไดรับเนื้อหาครบทุกสวน และวัดผลดวยการทดสอบความเขาใจใน เนื้อหาที่เปนภาพรวมทั้งหมด ตอมา Slavin ไดนําการเรียนแบบนี้มาดัดแปลงใหมเรียกวา Jigsaw II โดยสมาชิกภายในกลุมตองศึกษาเนื้อหาทั้งหมดที่ครูให แลวจึงแบงใหแตละคนศึกษาเฉพาะสวน และที่สําคัญคือมีการทดสอบเปนรายบุคคลหลังจากจบบทเรียนแลว และนําคะแนนของสมาชิก แตละคนมารวมกันเปนคะแนนกลุม เมื่องานหมดไปแตละเรื่องและเสนอตอเพื่อนเรียบรอยแลว

Page 49: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

39

กลุมจะรวมกันใหมเพื่อทํางานชิ้นตอไป การเรียนแบบนี้มักใชกับวิชาสังคมศึกษา หรือวิชาอื่น ๆ ที่ยึดเนื้อหาของวิชาเปนสําคัญ

รูปแบบการเรียนแบบรวมมือตามแนวคิดของ Shlomo และ Sharan การสืบสวน สอบสวนเปนกลุม (group investigation) รูปแบบการสอนนี้ไดรับการพัฒนาโดย Shlmo และ Yael Sharan ( Slavin 1990) แหงมหาวิทยาลัย Tel Aviv ซ่ึงการเรียนแบบนี้ นักเรียนจะทํางานดวยกันเปนกลุมยอย ๆ โดยใชการสืบคนแบบรวมมือกันมีการอภิปรายเปนกลุม รวมทั้งวางแผนงานและโครงการตาง ๆ นักเรียนแบงกลุมกันเอง แตละกลุมมีสมาชิก 2 – 6 คน หลังจากกลุมเลือก หัวขอจากเรื่องที่จะเรียนแลวสมาชิกแตละคนจะตองฝกทําความเขาใจเปนพิเศษแลวนํามารวมกันเปนรายงานกลุม จากนั้นก็จะเสนอผลงานแกเพื่อนรวมหองถึงส่ิงที่ไดคนความา

จะเห็นวารูปแบบการจัดการเรียนการสอนนั้น ถาพิจารณาระหวางการจัดสภาพ หองเรียนแบบเดิม และแบบรวมมือ จะมีความแตกตางกันออกไป ซ่ึงครูมิใชเปนแหลงความรู ที่คอยปอนใหกับนักเรียนแตจะมีบทบาทเปนผูคอยแนะนําใหความชวยเหลือ จัดหาและชี้แนะแหลงขอมูลใน การเรียนของนักเรียน ตัวนักเรียนเองจะเปนแหลงความรูซ่ึงกันและกันในกระบวนการเรียนรู และนักเรียนภายในกลุมทุกคนตองรวมมือกันและมีปฏิสัมพันธตอกันอยางทั่วถึง ไมใชเปนเพียงการจัดนักเรียนนั่งรวมกลุม แลวตางคนตางทํากิจกรรมของตนเอง (Artzt และ Newman 1990 : 20 – 21) ดังแสดงภาพที่ 2 และภาพที่ 3 ตอไปนี้

ภาพที่ 2 แสดงถึงการเรียนที่เนน ครูเปนศูนยกลาง

ภาพที่ 3 แสดงถึงการเรียนที่เนน นักเรียนเปนศูนยกลาง

Page 50: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

40

ขั้นตอนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือ1. ขั้นเตรียม

ครูสอนทักษะในการเรียนแบบรวมมือ จัดกลุมนักเรียนบอกวัตถุประสงคของ บทเรียนและวัตถุประสงคของการทํางานรวมกัน

2. ขั้นสอนเร่ิมแรกครูนําเขาสูบทเรียน เพื่อทบทวนเรื่องที่เรียนมาแลว และทบทวนในเรื่อง

บทบาทของการทํางานกลุม การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน หลังจากนั้นครูสอนเนื้อหาหรือบทใหมดวยวิธีสอนที่เหมาะสม แลวใหงาน

2.4.3. ขั้นทํางานกลุมมีการแจกสื่อการเรียนการสอนหรืองานที่จะใหนักเรียนเรียนรูรวมกัน

เปนกลุมยอยแตละคนมีบทบาท หนาที่ของตนชวยกันแกปญหา อภิปราย และแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกันเพื่อหา คําตอบที่ดีที่สุดมากกวาดูเฉลยคําตอบหรือรอคําเฉลยจากครู

2.4.4. ขั้นระดมสมองขั้นนี้เปนการนําเสนอผลงาน เสนอแนวคิดรวมกันทั้งหอง ใหแตละกลุมไดมี

โอกาสแสดงความคิดเห็น โดยครูจะตองมีบทบาทคอยถามเพื่อใหนักเรียนไดเสนอความคิดเห็น ไดเต็มที่ และทุกคนไดมีสวนรวมในการเรียน

2.4.5. ตรวจสอบผลงานอาจใหสมาชิกในกลุมหนึ่งคนอธิบายวิธีการหาคําตอบของเขาที่ไดจากการ

เรียนรูรวมกันภายในกลุม ถาตอบไมไดใหเพื่อนในกลุมชวยกันตอบ2.4.6. ขั้นสรุปบทเรียน

ครูและนักเรียนชวยกันสรุปบทเรียน และประเมินผลการทํางานกลุมโดยอภิปรายถึงผลงานที่นักเรียนทํา และวิธีการทํางานของนักเรียนรวมถึงวิธีการปรับปรุงการทํางานของกลุมดวย ซ่ึงจะทําใหนักเรียนรูความกาวหนาของตนเองทั้งทางดานวิชาการและดานสังคม

2.4.7. ขั้นทดสอบในการเรียนแตละครั้งเมื่อจบบทเรียนหนึ่งๆ นักเรียนทุกคนจะตองไดรับ

การทดสอบ เพื่อที่จะไดรูวาเขาสามารถประสบผลสําเร็จในการเรียนมากนอยแคไหน และนําคะแนนที่ไดมาคิดเปนคะแนนของกลุม ซ่ึงจะเปนคะแนนของสมาชิกทุกคนในกลุม

2.4.8. ขั้นใหการเสริมแรงในขั้นนี้เปนการยอมรับในผลสําเร็จของนักเรียนและของกลุม ซ่ึงจะเปน

การใชคําพูดหรือใชโครงสรางเกี่ยวกับรางวัลเปนการสรางกําลังใจใหแกนักเรียนและกลุม

Page 51: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

41

บทบาทของครู1. เปนผูจัดกลุม ซ่ึงจะพิจารณาตามความเหมาะสม และอธิบายใหนักเรียนทุกคน

ในชั้นเรียนไดเขาใจถึงวิธีการเรียนแบบรวมมือ2. เตรียมบทเรียน และส่ือการเรียนการสอนเพราะกิจกรรมที่นักเรียนจะรวมกันเรียน

นั้นขึ้นอยูกับเนื้อหาบางบทเรียนอาจจะใหนักเรียนรวมทดลองศึกษาเองหรือใหแกปญหาโจทย รวมกัน

3. การใหความรูนักเรียนในเรื่องของบทบาท หนาที่ความรับผิดชอบ แนวปฏิบัติสําหรับการทํางานของกลุม และชวยใหนักเรียนไดเขาในกฎกติกาของกลุมในการดําเนินงาน และการฝกทักษะทางสังคมเพื่อใหงานกลุมมีประสิทธิภาพ ติดตามดูพฤติกรรมของนักเรียน ตลอดจนใหความรูเพิ่มเติมในสวนที่นักเรียนยังไมไดอภิปรายซึ่งเปนเรื่องหรือจุดมุงหมายที่กําหนดไวในการสอนแตละครั้ง รวมทั้งเก็บผลงานของนักเรียนมาศึกษาปญหาขอบกพรอง เพื่อมาปรับปรุง แกไขตอไป

4. ครูตองเปนผูที่คอยติดตามและสังเกตการทํางานของแตละกลุม คอยใหคําปรึกษาและแนะนํานักเรียนอยูเสมอ เมื่อนักเรียนมีปญหาในขณะที่รวมกิจกรรม

5. ครูจะตองติดตามวัดผลและประเมินผล จะตองมีการตกลงกับนักเรียนวาจะประเมินผลอยางไร เพราะบางครั้งครูอาจจะประเมินผลเปนกลุม บางครั้งอาจจะประเมินเดี่ยว

6. ครูควรจะคอยเสริมกําลังใจและใหรางวัลกับนักเรียน โดยใหนักเรียนไดรายงานความกาวหนาและชมเชยเมื่อทําถูกตองและในขณะเดียวกันก็ตองใหกําลังใจแกผูที่ทําผิดโดยให คําแนะนําชวยเหลือและเสริมกําลังใจ ดวยคําพูดวา “เธอเกือบจะทําถูกแลวนะ พยายามอีกนิดหนึ่ง” ครูไมควรยกยองกลุมใดกลุมหนึ่งจนเกินไป อาจจะทําใหกลุมอ่ืนหมดกําลังได

7. ครูที่สอนแบบนี้จะตองรูหลักจิตวิทยา เปนประชาธิปไตยและมีมนุษยสัมพันธอําพวรรณ ทิวไผงาม (2536 : 6 – 8) ไดใหขอเสนอแนะตอการปฏิบัติของครูใน

การจัดใหนักเรียนเรียนแบบรวมมือไวดังนี้กรณีที่นักเรียนบางคนชอบทํางานตามลําพัง1. ช้ีใหเห็นประโยชนคุณคาและความจําเปนในการทํางานรวมกับผูอ่ืน2. ใหแรงเสริมทางบวก เชน ชมเชย การยอมรับ ใหรางวัล

กรณีที่นักเรียนบางคนขาดแรงจูงใจ1. สํารวจความสนใจและพยายามนําส่ิงที่สนใจมาใชเปนแนวทางการทํางานกลุม2. พยายามมอบหนาที่ใหตรงตามความสามารถของนักเรียน

Page 52: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

42

3. มอบหมายใหชวยนักเรียนที่ออนกวาเพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจ

กรณีที่นักเรียนบางคนติดตามบทเรียนไมทัน1. ลดปริมาณงาน2. อนุญาตใหเตรียมตัวลวงหนา3. มอบงานที่สามารถทําได4. ใหคําชมเชยและกําลังใจ

กรณีที่นักเรียนบางกลุมทํางานเสร็จชา1. ครูควรชวยเหลือช้ีแนะ และพิจารณาวา ตองการงานนั้นมากนอยเพียงใด2. อาจใหทําเปนการบาน3. ใหกลุมที่เสร็จเร็วชวย

กรณีที่สงเสียงดัง1. กําหนดเปนขอตกลงกอนวา หามใชเสียงดัง2. ชมเชยกลุมที่ทํางานเงียบ3. ใชสัญญาณเตือนเมื่อมีเสียงดังMathews (1992 : 48 – 52, อางถึงใน สุรศักดิ์ หลาบมาลา 2536 : 5) ไดใหขอแนะนํา

วาเด็กเกงไมคอยชอบการเรียนแบบรวมมือ ครูควรแกไขดังนี้1. ครูควรใหแบบฝกหัดที่เด็กทุกคนตองชวยกันทํา2. จัดใหมีกิจกรรมที่ตองอาศัยความสามารถหลายดานของเด็กหลายคนชวยกัน3. สงเสริมกระบวนการกลุม โดยใหเด็กทุกคนมีความรับผิดชอบเฉพาะงานรวมกัน4. ใหทั้งกลุมกําหนดเปาหมายของงานดวย5. ฝกเด็กใหรูจักวิธีคนหาขอมูล ใชขอมูลขอความชวยเหลือหรือชวยคนอื่น6. ใหเด็กเกงอยูในกลุมเด็กเกงดวยกันบาง เพื่อไมใหเกิดความเบื่อหนายเกินไป7. จัดงานหรือกิจกรรมที่ใหเด็กออนเปนผูมีโอกาสทําหรืออธิบายใหคนอื่นไดฟง

บทบาทของนักเรียนAdam และ Hamm (1990 : 26 – 27) ไดกําหนดบทบาทและหนาที่ที่สําคัญของ

สมาชิก ในกลุมแตละคน เพื่อรับผิดชอบการทํางานภายในกลุมไปสูเปาหมายที่ตั้งไว ดังนี้

Page 53: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

43

1. ผูช้ีแนะหรือผูอํานวยความสะดวก มีหนาที่จัดสรรงานใหกับกลุมและเปนผูใหความชวยเหลือในการอํานวยความสะดวก ซ่ึงทําใหทุกคนเขาใจงานของกลุมโดยถือวาเปนบทบาทของผูนํากลุมในการรวมกันแกปญหาหรือรวมกันทํางานที่ไดรับมอบหมาย

2. ผูบันทึกเวลา เปนผูบันทึกหรือผูรายงานของกลุมที่ไดจากการบันทึกในการอภิปรายหรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือการปฏิบัติกิจกรรมของสมาชิกในกลุม

3. ผูควบคุมเวลาหรือผูอานคําสั่งซึ่งในการทํางานตองมีผูคอยควบคุมเวลาวางาน แตละชิ้น ขั้นตอนใดใชเวลานานเทาไร หรือมีหนาที่อานปญหาหรือคําชี้แจง และแนะนําใหกับสมาชิกในกลุม

4. ผูจัดอุปกรณ หรือผูตรวจสอบ ในการเรียนแตละชั่วโมงตองมีผูรับผิดชอบใน การจัดการเรื่องอุปกรณการเรียนที่ไดรับจากครูผูสอน หรือมีหนาที่ตรวจสอบสมาชิกของกลุมวา เขาใจในงานของตนมากนอยอยางไร และดูวาทุกคนเห็นดวยกับขอเสนอแนะและขออธิบายของกลุมหรือไม

5. ผูกระตุน มีหนาที่ใหกําลังหรือแรงเสริมแกสมาชิกในกลุม เพื่อกอให เกิดความรูสึกที่ดีในการทํางานรวมกัน และใหคําอธิบายเพิ่มเติมแกเพื่อนสมาชิก

การเรียนแบบรวมมือเปนการจัดกิจกรรมที่มุงเนนการทํางานรวมกัน มีการกําหนด บทบาทของครูและนักเรียนไวอยางชัดเจน เพื่อใหการจัดการเรียนรูบรรลุผลตามเปาหมายที่ตั้งไว

การเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD

ความหมายของการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STADการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD มีนักการศึกษาไดใหความหมายไวหลายทาน ดังนี้สุรศักดิ์ หลาบมาลา (2531 : 4) ไดกลาววา การเรียนแบบรวมมือที่ใชเทคนิค STAD

หมายถึง การเรียนโดยแบงกลุมนักเรียนตามสังกัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทั้งนี้กําหนดใหนักเรียนที่มีความสามารถตางกันมาทํางานรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ โดยปกติในกลุมหนึ่ง ๆจะมีสมาชิก 4 คน เปนนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน เรียนปานกลาง 2 คน และเรียนออน 1 คน ผลการทดสอบของ นักเรียนเปนรายบุคคล การทดสอบทั้ง 2 คร้ัง นักเรียนตางคนตางสอบแตเวลาเรียนตองรวมมือกัน

กรมวิชาการ (2535 ก : 23) ไดกลาววา การเรียนแบบรวมมือที่ใชเทคนิค STAD หมายถึง วิธีการเรียนที่จะตองมีเปาหมายของกลุมและชวยเหลือกัน เพื่อความสําเร็จของกลุม สวนหลักการของการเรียนแบบรวมมือนั้น กําหนดใหใชเวลาในชั้นเรียน มีการทํางานรวมกัน

Page 54: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

44

เปนกลุมประมาณ 4 – 5 คน โดยสมาชิกในกลุมจะตองมีความสามารถแตกตางกัน และเทคนิคนี้ตองใชการเสริมแรง เชน รางวัล คําชมเชย เปนตน เพื่อกระตุนใหนักเรียนรวมมือกันทํางาน

ณัตจรี แสงพันธุ (2536 : 31) ไดกลาววา การเรียนแบบรวมมือ ที่ใชเทคนิค STAD หมายถึง การแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 – 5 คน สมาชิกในกลุม ชวยกันทํากิจกรรมในกลุม หลังจากนั้นครูจะใหทําแบบทดสอบ คะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบจะแปลงเปนคะแนนของแตละกลุมโดยใชระบบที่เรียกวา “กลุมสัมฤทธิ์” (Achivement Division)

สุจินต วิศวธีรานนท (2536 : 15 ) ไดกลาววา การเรียนแบบรวมมือ ที่ใชเทคนิค STAD หมายถึง ครูผูสอนจะมอบหมายงานใหนักเรียนทําเปนกลุมขนาดเล็กที่มีสมาชิก 2 – 4 คน สมาชิกในกลุมจะมีคุณสมบัติแตกตางกัน สมาชิกของแตละกลุมทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จโดยรวมมือกันทํางานอยางใกลชิด ในการจัดกิจกรรมการเรียนแบบรวมมือ ความแตกตางระหวางสมาชิกในกลุมทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนมุมมอง แนวคิด ความเขาใจและไดพึ่งพาความสามารถ ของกันและกันในการเรียนรู

กิ่งดาว กล่ินจันทร (2537 : 14) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือที่ใชเทคนิค STAD หมายถึงการแบงกลุมกลุมละ 4 – 5 คน สมาชิกมีความหลากหลายในความสามารถในกลุมนี้ จะไมมีการเลนเกมแขงขัน เมื่อสมาชิกในกลุมชวยกันทบทวนบทเรียนพรอมแลวใหทํา แบบทดสอบเปนเวลาประมาณ 15 นาที คะแนนที่ไดจากการทําแบบทดสอบจะแปลงคะแนนของแตละกลุม โดยใชระบบที่เรียกวา “กลุมสัมฤทธิ์” จะมีโอกาสไดคะแนน ตั้งแตอันดับที่ 1 – 6 เทากันทุกกลุม คะแนนที่แปลงไดจะนําไปรวมกับคะแนนของเพื่อนในกลุม STAD ของตนเปนคะแนนรวมของกลุมวงจรกิจกรรมกลุมSTADไดแก การบรรยาย การอภิปรายในชั้นเรียน 40 นาที การทบทวนบทเรียน 40 นาที (โดยใหเพื่อนชวยสอนกันในกลุม) และการทําแบบสอบ 15 – 20 นาที วงจรนี้จะใชสัปดาหละ 2 ครั้ง

สลาวิน (Slavin 1987 : 23 – 24) ไดกลาววาการเรียนแบบรวมมือ ที่ใชเทคนิค STAD หมายถึง เปนการเรียนแบบรวมมือแบบแรกที่ไดรับการพัฒนาขึ้น ที่มหาวิทยาลัยจอหน ฮอบกิ้นส (John Hopkins University) เปนวิธีการสอนอีกแบบหนึ่งซ่ึงกําหนดใหนักเรียนที่มีความสามารถตางกัน ทํางานรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ โดยปกติจะมี 4 คน เปนเด็กเรียนเกง 1 คน เรียนปานกลาง 2 คน และเรียนออน 1 คน ผลการเรียนของเด็กจะพิจารณาเปน 2 ตอน ตอนแรกจะพิจารณา คาเฉลี่ยของกลุม ตอนที่ 2 จะพิจารณาคะแนนสอบเปนรายบุคคลการสอบทั้ง 2 คร้ังเด็กตางคน ตางสอบ แตเวลาเรียนตองรวมมือกัน ดังนั้นเด็กนักเรียนที่เรียนเกงจึงพยายามชวยเด็กออน เพราะจะทําใหคะแนนของทั้งกลุมดีขึ้นและครูมีรางวัลเปนแรงเสริมใหดวย หากคาเฉลี่ยของกลุมใด เกินเกณฑที่ครูตั้งไว

Page 55: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

45

การเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD ประกอบดวยกิจกรรมที่เปนวงจรตามลําดับขั้น ดังนี้ (Slavin 1990 อางถึงใน สุจินต วิศวธีรานนท 2536 : 17)

1. ขั้นสอน ครูดําเนินการสอนเนื้อหา ทักษะหรือวิธีการเกี่ยวกับบทเรียนนั้น ๆ อาจเปนกิจกรรมที่ครูบรรยาย สาธิต ใชส่ือประกอบการเรียนการสอนหรือใหนักเรียนทํากิจกรรมทดลอง

2. ขั้นทบทวนความรูเปนกลุม แตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 4 – 5 คน ที่มี ความสามารถทางการเรียนแตกตางกัน สมาชิกในกลุมตองมีความเขาใจวา สมาชิกทุกคนจะตองทํางานเพื่อชวยเหลือกันและกัน ในการศึกษาเอกสารและทบทวนความรู เพื่อเตรียมพรอมสําหรับ การสอบยอย โดยครูเนนใหนักเรียนทําดังนี้

1) ตองใหแนใจวา สมาชิกทุกคนในกลุมสามารถตอบคําถามไดถูกตองทุกขอ2) เมื่อมีขอสงสัยหรือปญหา ใหนักเรียนชวยเหลือกันภายในกลุมกอนที่จะถาม

ครูหรือถามเพื่อนกลุมอ่ืน3) ใหสมาชิกอธิบายเหตุผลของคําตอบของแตละคําถามใหได โดยเฉพาะ

แบบฝกหัดที่เปนคําถามปรนัยแบบใหเลือกตอบ3. ขั้นทดสอบยอย ครูจัดใหนักเรียนทําแบบทดสอบยอย หลังจากนักเรียนเรียนและ

ทบทวนเปนกลุมเกี่ยวกับเรื่องที่กําหนดนักเรียนทําแบบทดสอบคนเดียไมมีการชวยเหลือกัน4. ขั้นหาคะแนนปรับปรุง คะแนนปรับปรุงเปนคะแนนที่ไดจากการพิจารณา

ความแตกตางระหวางคะแนนการทดสอบครั้งกอน ๆ กับคะแนนการทดสอบครั้งปจจุบันซึ่ง มีเกณฑการใหคะแนนกําหนดไว ดังนั้นจะตองมีการกําหนดคะแนนพื้นฐานของนักเรียนแตละคน ซ่ึงอาจไดจากคาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบ 3 คร้ังกอน หรืออาจใชคะแนนทดสอบครั้งกอน หากเปนการหาคะแนนปรับปรุงโดยใชรูปแบบการสอน STAD เปนครั้งแรก

การหาคะแนนปรับปรุงอาศัยเกณฑดังนี้คะแนนจากแบบทดสอบ คะแนนปรับปรุงต่ํากวาคะแนนพื้นฐานมากกวา 10 0ต่ํากวาคะแนนพื้นฐานระหวาง 1 – 10 10เทากับคะแนนพื้นฐานถึงมากกวา 10 20มากกวาคะแนนพื้นฐานตั้งแต 10 ขึ้นไป 30

เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลว จึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากคาเฉลี่ยของคะแนนปรับปรุงของสมาชิกทุกคน

Page 56: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

46

5. ขั้นใหรางวัลกลุม กลุมที่ไดคะแนนปรับปรุงตามเกณฑที่กําหนดจะไดรับคําชมเชยหรือติดประกาศที่บอรในหองเรียน

เกณฑการไดรับรางวัลมีดังนี้คะแนนปรับปรุงเฉล่ียของกลุม ระดับรางวัล

15 ดี20 ดีมาก25 ดีเยี่ยม

การจัดกิจกรรมรูปแบบ STAD อาจนําไปใชกับบทเรียนใด ๆ ก็ได เนื่องจากขั้นแรกเปนการสอนที่ครูดําเนินการตามปกติ แลวจึงจัดใหมีการทบทวนเปนกลุม

จากที่กลาวมาขางตนสรุปไดวาการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD หมายถึง การเรียนรูแบบรวมมือรูปแบบหนึ่ง ที่มีการแบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุมยอย ประกอบดวย สมาชิก 3 – 5 คน ซ่ึงสมาชิกแตละคนมีความสามารถแตกตางกันการทดสอบแตละครั้งตางคน ตางทํา แตเวลาเรียนตองรวมมือกันชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เด็กเกงจะชวยเหลือเด็กออน เพราะจะทําใหคะแนนของกลุมดีขึ้น และมีการเสริมแรงกระตุนใหนักเรียนรวมมือกันทํางาน โดยการใหรางวัล เชน คําชมเชย เปนตน ผลการทดสอบของนักเรียนจะแบงเปน 2 สวน สวนแรกจะพิจารณาคาเฉลี่ยของกลุม สวนที่ 2 จะพิจารณาคะแนนสอบเปนรายบุคคล

แนวคิดทางทฤษฎีการเรียนรูในกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือกันเทคนิค STADนักจิตวิทยาและนักการศึกษาที่ไดศึกษาความคิดการสอนแบบ STAD มีความคิดเห็น

แตกตางกันออกไปตามพื้นฐานประสบการณและความเชื่อ ดังทฤษฎีตอไปนี้1. ทฤษฎีสนาม (Field Thcory)

ทิศนา แขมมณี (2522 : 10 – 12) ไดกลาวถึงแนวความคิดเกี่ยวกับทฤษฎีสนาม (Field Theory) ของเคิรท เลวิน (Kurt Lewin) ซ่ึงมีแนวคิดที่สําคัญของทฤษฎี ดังนี้

1) พฤติกรรมจะเปนผลมาจากพลังความสัมพันธของสมาชิกในกลุม2) โครงสรางของกลุมเกิดจากการรวมกลุมของบุคคลที่มีลักษณะแตกตางกัน3) การรวมกลุมแตละครั้งจะตองมีปฏิสัมพันธระหวางสมาชิกในกลุมโดยเปน

ปฏิสัมพันธในรูปการกระทํา (act) ความรูสึก (fecl) และความคิด (think)4 ) องคประกอบตาง ๆ ดังที่กลาวมาไวในขอ 3) จะกอใหเกิดโครงสรางของกลุม

แตละครั้ง ซ่ึงมีลักษณะแตกตางกันออกไปตามลักษณะของสมาชิกในกลุม

Page 57: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

47

5) สมาชิกในกลุมจะมีการปรับตัวเขาหากัน และพยายามชวยกันทํางานซึ่งการที่บุคคลพยายามปรับบุคลิกภาพของตนที่มีความแตกตางกันนี้จะกอใหเกิดความเปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน และทําใหพลังหรือแรงผลักดันของกลุมที่ทําใหการทํางานเปนไปดวยดี

2. ทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalytic Oricntation) ซิกมันด ฟรอยด (Sigmund Freud) มีความคิดที่สําคัญเกี่ยวกับทฤษฎี นี้เมื่อบุคคลอยูรวมกันเปนกลุม จะตองอาศัยความจูงใจ (motivation process) ซ่ึงอาจเปนรางวัล หรือผลจากการทํางานกลุม

3. ทฤษฎีแรงจูงใจ (Motivation Theory) อารีย พันธมณี (2534 : 198 – 200) ไดกลาวถึงหลักการสําคัญของการสรางแรงจูงใจในกระบวนการเรียนการสอน ดังนี้

1) การคนควาหาความรูดวยตนเอง ครูควรสงเสริมใหนักเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเอง ดวยการเสนอแนะหรือกําหนดหัวขอที่จะทําใหนักเรียนสนใจใครรู เพื่อใหเด็ก คนควาเพิ่มเติมดวยตนเอง หัวขอเหลานี้ อาจเปนเรื่องราวที่นาสนใจ นาสงสัย ไมแนใจหรือเกิดความรูสึกขัดแยงก็ได ซ่ึงอาจทําใหนักเรียนเกิดความสนใจ จนกวาจะสามารถคนควาหาความรูมา สนองตอบความสนใจนั้นได อยางไรก็ตามการกําหนดหัวขอตองพึงระวัง อยาใหเกินความสามารถหรือตองใชเวลามากเกินไป เพราะจะทําใหนักเรียนเบื่อหนายและหมดความสนใจ และทําให เกิดผลเสียตอการเรียนรูของนักเรียนคนนั้นได

2) การใชวิธีการแปลกใหม ควรนําเสนอวิธีการแปลกใหมเพื่อเราความสนใจโดยใชวิธีการใหม ซ่ึงนักเรียนไมคาดคิดหรือมีประสบการณมากอน เชน การใหนักเรียนรวมกันวางโครงการประเมินผลการสอน ใหนักเรียนชวยกันคิดกิจกรรมตาง ๆ ซ่ึงแปลกไปกวาที่เคยทําวิธีการแปลกและใหมจะชวยใหนักเรียนเกิดความสนใจและมีแรงจูงใจในการเรียนมากขึ้น

3) เกมและการเลนละคร การสอนใหเด็กไดปฏิบัติจริงทั้งในการเลนเกมและแสดงละคร ทําใหเด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน สงเสริมความสัมพันธระหวางผูเรียนและชวยใหเขาใจบทเรียนไดดีขึ้นดวย

4) ตั้งรางวัลสําหรับงานที่มอบหมาย ครูควรตั้งรางวัลลวงหนาแกงานที่นักเรียนทําเสร็จเพื่อยั่วยุใหนักเรียนพยายามมากขึ้น และการใหรางวัลกอนการเรียนรูก็ได เพื่อใหนักเรียนทราบผลการเรียนรูใหม ครูควรพยายามใหเด็กมีโอกาสไดรับแรงเสริมกําลังอยางทั่วถึง ไมควรใหเฉพาะผูชนะในการแขงขันเทานั้น แตอาจใหรางวัลในการแขงขันกับตนเอง

5) การชมเชยและการตําหนิ ทั้งการชมเชยและการตําหนิจะมีผลตอการเรียนรูของเด็กดวยกันทั้งสองอยาง โดยท่ัวไปแลวการชมเชยจะใหผลดีกวาการตําหนิบางเล็กนอย เด็กโตชอบการชมเชยมากกวาตําหนิ เด็กที่เร่ิมเรียนดีนั้นเมื่อถูกครูตําหนิจะมีความพยายามมากกวาเมื่อ ไดรับคําชมเชย

Page 58: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

48

จากหลักการของทฤษฎีแรงจูงใจ สามารถนํามาใชกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กลาวคือ การใหรางวัล การชมเชย หรือการตําหนิจะเปนแรงเสริมอยางหนึ่งที่ทําใหผูเรียนมีความพยายามในการศึกษาคนความากขึ้น ซ่ึงจะทําใหผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้นดวย

4. ทฤษฎีการใหแรงเสริมชูศักดิ์ แสนปญญา (2537 : 62 – 65) ไดกลาวถึง ประเภทของตัวเสริมแรงมี 3

ประเภทดังนี้1) ตัวเสริมแรงทางสังคม เชน การยิ้ม การสัมผัส การปลอบโยน การชมเชย

การเอาใจใส การใหความใกลชิด เปนตน2) ตัวเสริมแรงที่เปนวัสดุ เชน ขนม อาหาร ของเลน ลูกกวาด เงินเหรียญ

เปนตน3) ตัวเสริมแรงที่เปนกิจกรรม เชน การใหเลนเกม การใหอิสระเมื่อทํางานเสร็จ

การใหอานการตูน การใหดูโทรทัศน เปนตนจากหลักการของทฤษฎีการใหแรงเสริม สามารถนํามาใชกับการจัดกิจกรรม การเรียน

การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือ ที่ใชเทคนิค STAD กลาวคือ การใหแรงเสริมเปนการกระตุนการพัฒนาพฤติกรรมของนักเรียนทั้งในดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย

กิจกรรมการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STADการจัดกิจกรรมการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD มีรูปแบบการเรียนซ่ึงเทื้อน

ทองแกว (2537 : 44) ไดกลาวถึง รูปแบบการเรียนแบบ STAD ประกอบดวยการนําเสนอขอมูล การทํางานรวมกัน การทดสอบ การปรับปรุงคะแนน และการตัดสินผลงานของกลุม

การนําเสนอขอมูล ครูจะเปนผูนําเสนอ ขอมูลอาจเปนการใชเอกสาร หรือการบรรยาย เพื่อใหนักเรียนไดเกิดความสนใจเรื่องที่จะเรียน และเห็นแนวทางที่จะทํากิจกรรมกลุมตอไป

การทํางานรวมกัน นักเรียนจะทํางานรวมกันเปนกลุมกลุมหนึ่งมี 4 คน ซ่ึงมี ผลสัมฤทธ์ิและเพศคละกัน หนาที่สําคัญของกลุมคือการชวยเหลือกัน อภิปรายปญหารวมกัน รวมทั้งการตรวจสอบคําตอบ การแกไขคําตอบ หัวใจสําคัญอยูที่สมาชิกแตละคน ทุกคนจึงตองทําใหดีที่สุด สมาชิกเรียนรู ใหกําลังใจ และเขาใจรวมกัน การทดสอบเมื่อครูสอนไปประมาณ 1 – 2 คร้ัง นักเรียนทุกคนจะเขาทําการทดสอบในสาระที่เรียน ตางคนตางสอบจะชวยเหลือกันไมได

การปรับปรุงคะแนน จะเปดโอกาสใหนักเรียนไดพัฒนาความสามารถของตน อยางเต็มที่ จึงใหนักเรียนสามารถปรับปรุงคะแนนของตนเองไดสูงขึ้น

Page 59: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

49

การตัดสินผลงานของกลุม จะพิจารณาผลรวมของปรับปรุงคะแนนของสมาชิกในกลุม กําหนดระดับผลความสําเร็จตามคะแนนที่ไดของกลุม อาจเปนคําชมเชยประกาศนียบัตร รางวัล เปนตน

การจัดนักเรียนเขากลุม สลาวิน (Slavin 1990 : 58 – 64) ไดกําหนดนักเรียนเขากลุม เพื่อใหสมดุล มีวิธีการคือ ในแตละกลุม นักเรียนจะมีความสามารถแตกตางกัน มีทั้งนักเรียนเกง ปานกลาง ออน จะอยูในกลุมเดียวกัน เชน ในชั้นหนึ่งมีนักเรียน 34 คน จัดกลุม ๆ ละ 4 คน จึงสามารถจัดได 8 กลุม โดยจัดเรียงตามลําดับความสามารถของนักเรียนจากผลสัมฤทธิ์สูง ไปหาต่ํา

การดําเนินการสอนแบบรวมมือเทคนิค STAD1. บอกเปาหมายและแนวทางการเรียน เปนการจูงใจใหนักเรียนสนใจเรียน ไดแก

การบอกจุดประสงคการเรียนรู แลวทบทวนความรูเดิม หรือเสนอปญหาที่จะเชื่อมโยงมาสู การเรียนเรื่องใหม

2. การนําเสนอขอมูลใหมที่จะสอน อาจใชการบรรยาย ใหดูส่ือการสอนประกอบ เพื่อนําเขาสูกิจกรรมกลุม

3. กลุมนักเรียนที่จะทํากิจกรรมกลุมตามที่ไดจัดเตรียมไวแลวเริ่มกิจกรรมการเรียน การสอน เชน

3.1 เขียนขั้นตอนการทํางาน เชน3.1.1 นักเรียนนั่งประจําที่3.1.2 นักเรียนสงตัวแทนมารับเอกสาร3.1.3 นักเรียนอานคําชี้แจง 10 นาที3.1.4 เมื่อครูใหสัญญาณ ใหลงมือปฏิบัติกิจกรรม3.1.5 เมื่อหมดเวลา ใหกลุมนําสงผลงานและเสนอผลงาน

3.2 บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานใหชัดเจน อาจทดสอบความเขาใจ โดยให นักเรียน 2 – 3 คน ทบทวนคําส่ัง

3.3 ใหนักเรียนตั้งชื่อกลุมครูกําหนดสถานที่กลุมและวิธีการทํางานกลุมใหชัดเจน3.4 การชวยเหลือนักเรียนทํางานกลุม โดยแนวคิดการเรียนรวมกลุมจะ

เปดโอกาสใหนักเรียนทํางานของตนเองอยางเต็มที่ และเปนอิสระครูจะเขาไปชวยเหลือนอยที่สุดส่ิงที่ครูจะชวยเหลือจะเปนการใหขอเสนอแนะ หรือใหแนวทางการแสวงหาความรู

Page 60: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

50

3.5 การทดสอบยอย และการนําผลงานไปตัดสินกลุม สลาวิน (Slavin) ไดให แนวทางในการประเมินผลกลุมประกอบดวย การกําหนดคะแนนพื้นฐาน การทดสอบยอย การปรับปรุงคะแนนและการตัดสินประเมินผลกลุม ดังนี้

3.5.1. การกําหนดคะแนนพื้นฐาน คะแนนพื้นฐานเปนคะแนนเฉลี่ย ซ่ึงไดจากการทดสอบยอย 3 ครั้ง หรือมากกวา หรือจะใชคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปที่แลว ก็ได

3.5.2. การทดสอบยอย เปนการทดสอบยอยที่ครูจัดตามใบงานหรือ กิจกรรมที่นักเรียนทํา

3.5.3 การหาคะแนนปรับปรุงโดยวิธีการเปรียบเทียบคะแนนยอยกับคะแนนพื้นฐาน เพื่อหาความแตกตางและปรับเปนคาคะแนนปรับปรุง

3.5.4 หาคะแนนกลุม โดยการนําคะแนนปรับปรุงของสมาชิกมาใสใน ตารางเพื่อตัดสินกลุม ในการตัดสินกลุมจะใชเกณฑในการตัดสินดังนี้

เกณฑ รางวัล 15 ดี 20 ดีมาก 25 ดีเยี่ยม

จะเห็นไดวา กิจกรรมการเรียนแบบรวมมือกันที่ใชเทคนิค STAD ครูจะเปนผูนําเสนอขอมูลนักเรียนจะทํางานรวมกันเปนกลุมซึ่งมีผลสัมฤทธิ์และเพศคละกันมีการทดสอบตางคนตางสอบ การปรับปรุงคะแนนจะเปดโอกาสใหนักเรียนสามารถปรับปรุงคะแนนของตนเองไดสูงขึ้นการตัดสินผลงานของกลุมจะพิจารณาผลรวมของการปรับปรุงคะแนนของสมาชิกในกลุมกําหนดระดับผลสําเร็จตามคะแนนที่ไดจากกลุม

วิธีสอนแบบปกติ

วิธีสอนปกติเปนการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยครูเปนผูเตรียมเรื่องที่จะสอนจากแหลง การเรียนรูตางๆแลวถายทอดใหนักเรียนดวยการบรรยาย การบอก การใชส่ือประกอบซึ่งครูและ นักเรียนรวมกันอภิปรายซักถาม พัชรี ลินิฐฏา (2534:11)ไดกลาวถึงความหมายของการสอน แบบปกติ วา “เปนการสอนตามแผนการสอนปกติ ซ่ึงสวนมากเปนการบรรยายประกอบกับการใชส่ือการสอน มีการอภิปราย ศึกษาคนควารวมถึงการแสดงบทบาทสมมุติ “ ซ่ึงสอดคลองกับ อมรรัตน ฉายศรี (2535 : 27) วา “การสอนแบบปกติจะเนนการสอนแบบบรรยายสวนใหญ และ

Page 61: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

51

การสอนจะยึดตามคูมือครูของกรมวิชาการเปนหลัก” นอกจากนี้ กรมวิชาการ (อางถึงใน วรรณี ภิรมยคํา 2546 : 77) ยังไดกลาวถึงความหมายของการสอนแบบปกติวา

การสอนแบบปกติ หมายถึง การจัดการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรูโดยครู เปนผูเตรียมการศึกษาหาความรูความเขาใจในเรื่องท่ีจะสอนจากตํารา แบบเรียนหรือหนังสืออางอิงตางๆ แลวรวบรวมเรื่องราวท้ังหมดมาถายทอดใหนักเรียนโดยการบรรยาย การบอก การใชสื่อประกอบการสอน ซึ่งครูและนักเรียนจะรวมกันอภิปรายซักถาม ตลอดจนชวยกันสรุปเนื้อเรื่องตลอดจนสิ่งท่ีไดจากการเรียน

จากขางตนสามารถสรุปไดวา การสอนแบบปกติ หมายถึง การจัดการเรียนการสอนโดยครูเตรียมเนื้อหาจากแหลงการเรียนรูตาง ๆ เนนการถายทอดความรูแบบบรรยายและใชส่ือประกอบการสอนเปนสวนใหญ ซ่ึงมีลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคลายกับวิธีการสอนตามคูมือครูของกรมวิชาการ (2533 : 24) ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี้

1) ขั้นนําเขาสูบทเรียน เปนการทบทวนความรูเดิมแจงจุดประสงคการเรียนรูและดึงผูเรียนสูเนื้อหาใหม โดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน เกม บทบาทสมมติ นิทาน เพลง เปนตน

2) ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดวย การเสนอเนื้อหาการเรียนใหกับ ผูเรียนโดยใหนักเรียนใชวิธีการตาง ๆ เชน การอธิบาย การสนทนาซักถาม ตอบปากเปลา อภิปราย การทําแบบฝกหัดการทํากิจกรรมตามใบงานหรือทํางานกลุมประกอบกับการใช ส่ือการสอนของจริง รูปภาพ ใบงาน หรือสัญลักษณประกอบการเรียนการสอน

3) ขั้นสรุปบทเรียน ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักการและสาระรวมกัน4) ขั้นวัดและประเมินผล เปนการตรวจสอบเพื่อวินิจฉัยวานักเรียนบรรลุวัตถุ

ประสงคการเรียนรูที่กําหนดไวหรือไม ถานักเรียนยังไมบรรลุวัตถุประสงคก็จะไดรับการสอนซอมเสริมกอนเรียนเนื้อหาตอไป โดยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม การตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด และการตรวจแบบทดสอบ

คําและหนาท่ีของคําท้ัง 7 ชนิด

คํานามคํานาม คือ คําที่แสดงความหมายถึง บุคคล สัตว ส่ิงของ สภาพ อาการ และ

ลักษณะ ทั้งนี้รวมถึงส่ิงที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม เชน โรงเรียน ชาง

Page 62: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

52

ทหาร เกาอ้ี ฯลฯ เปนคํานามเรียกสิ่งที่เปนรูปธรรม หรือ เวลา อายุ จิตใจ ความดี ฯลฯ เปน คํานามสิ่งที่เปนนามธรรมเปนตน

คํานาม แบงตามความหมายเปน 5 ประเภท ดังนี้1. สามานยนาม หรือคํานามสามัญ คือ คํานามที่เปนชื่อทั่วไปไมช้ีเฉพาะเจาะจงวา

เปนคนไหนอันไหน เชน คน หมี ประเทศ เปนตนการใชสามานยนามเรียกชื่อชนิด พันธของคน สัตว พืช ในภาษาไทยนิยมใชเปน

2 ช้ัน คือสามานยนามใหญ เชน คน เสือ หญาสามานยนามยอย เชน คนจีน เสือชีตา หญาแพรก เปนตน

2. วิสามานยนาม คือ คํานามที่เปนชื่อสมมุติตั้งขึ้นสําหรับเรียกคน สัตว หรือส่ิงของ หรือสถานที่บางแหง เพื่อใหรูชัดวาเปนคนไหนตัวไหน อันไหนหรือแหงไหนเปนตน เชน สมชาย ( ช่ือคน ) ตินติน ( ช่ือสุนัข ) สหรัฐอเมริกา ( ช่ือประเทศ )

วิสามานยนามนี้ มีเจตนาเปนคําเรียกชื่อคนๆเดียวสัตวตัวเดียวส่ิงของสิ่งเดียว หรือสถานที่แหงเดียว แตหากบังเอิญมีช่ือซํ้ากันก็จัดเปนวิสามานยนาม ทั้งนี้ก็อาจเติมรายละเอียดลงไปทายชื่อเพื่อใหสังเกตได

3. สมุหนามหรือคํานามรวมหมู คือ คํานามที่เปนชื่อของคน สัตว และสิ่งของที่อยูในสภาพรวมกัน เชน ทหารหลายคนรวมกัน เรียกวา กอง

ชางหลายตัวรวมกัน เรียกวา โขลงสมุหนามถาจะใหรูรายละเอียดตอไปก็ใชเติมสามานยนาม หรือ วิสามานยนาม

เขาขางทาย เชน ฝูงนก รัฐบาลไทย โขลงชาง เปนตน ขอสังเกต สามานยนามที่เปนชื่อสถานที่ เชน บานเมือง ศาล สโมสร ฯลฯ หากไมมี

ความหมายถึงสถานที่ แตหมายถึงที่ประชุมชนที่ทําการกันอยูในที่นั้น ตองนับวาเปน สมุหนาม เชน

บานเมืองตองลงโทษคนทําผิดแน ๆศาลพิพากษาคดีของนายแดงแลวสโมสรมีมติใหชวยเหลือษมาชิกที่ประสบอุบัติภัย

คําที่ขีดเสนใตนี้เปนคําสมุหนาม แตในประโยคบานเมืองของเรานี้งดงามมากศาลตั้งอยูใกลสนามหลวงสโมสรอาจารยเปนของสมาชิกทุกคน

Page 63: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

53

คําที่ขีดเสนใตในประโยคขางตนนี้เปนคําสามานยนาม4. อาการนาม หรือ คํานามธรรม หมายถึง คํานามที่บอกความหมายถึงส่ิงที่ไมเปน

รูปราง ไมมีขนาด แตเราเขาใจ เชน ปญญา ความสุจริต หรือที่เราเรียกกันวา คํานามธรรมนั่นเองขอสังเกต คือคําที่ใชคําวา การ หรือ ความ นําหนาอาการนั้น ๆ

การ มักใชนําหนาคํากริยาที่แสดงอาการ เชน การกิน การเดินการออกกําลังกาย การพักผอน เปนตน

ความ มักนําหนาคํากริยาที่ไมแสดงอาการ เชน ความคิด ความรัก ความรูสึก ความเขาใจ เปนตน

5. ลักษณนาม คือ คํานามที่บอกลักษณะของสามานยนาม เปนคําตามหลังจํานวนนับ บอกลักษณะของนามที่อยูขางหนา เชน ตัว ลํา รูป คําลักษณนามบางคําใชซํ้ากับคํานาม ขางหนา เชน โครงการ 3 โครงการ , ประเทศหลายประเทศ ฯลฯ ลักษณะนามเชนนี้เรา เรียกวา ลักษณนามซ้ําชื่อ การใชลักษณนามพอสังเกตไดดังนี้

1) ลักษณนามบอกชนิดพระองค ใชกับ ผูที่นับถืออยางสูง เทวดาที่เปนใหญ

เจานายชั้นสูงองค ใชกับ เจานาย เทวดา ส่ิงที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา

คํานามราชาศัพทรูป ใชกับ ภิกษุ สามเณร ชี นักพรตตน ใชกับ ยักษ ภูติ ผีปศาจ นักสิทธิ์คน ใชกับ มนุษยตัว ใชกับ สิ่งของบางอยาง

ฯลฯ2) ลักษณนามบอกหมวดหมู

กอง ใชกับ คนทํางานรวมกัน ของที่วางรวมกันฝูง ใชกับ สัตวที่เปนพวกเดียวกันไปทีละมาก ๆ โรง ใชกับ มหรสพที่มีโรงเลนวง ใชกับ คนชุดหนึ่งลอมวงกันตับ ใชกับ ของที่ทําใหติดเรียงกันเปนพืด

3) ลักษณนามบอกสัณฐานหลัง ใชกับ ของที่มีรูปเปนหลังคา

Page 64: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

54

วง ใชกับ ของที่มีรูปเปนวงแผน ใชกับ ของที่มีรูปแบบผืน ใชกับ ของที่มีรูปแบนกวางใหญแถบใชกับ ของที่แบบบางแคบแตยาวบาน ใชกับ ของที่เปนแผนที่มีกรอบลูก ใชกับ ของที่มีรูปกลม ไตกอน ใชกับ ของที่มีรูปเปนกอนคัน ใชกับ ของที่มีสวนสําหรับถือและลาก รูปยาว ๆ

ฯลฯ4) ลักษณนามบอกจํานวนและมาตรา

คู ใชกับ ของที่มีชุดละ 2 ส่ิงโหล ใชกับ ของที่รวมกัน 12 ส่ิงกุลี ใชกับ ผาหอหนึ่งที่รวมกัน 20 ผืนช่ือมาตราตาง ๆ เชน โยชน ช่ัง เกวียน ใชกับของที่ช่ัง ตวง วัดและ เวลาช่ือภาชนะตางๆ เชน ตุม ไห ใชกับ ของที่ตวงดวยภาชนะนั้น

5) ลักษณนามบอกอาการจีบ ใชกับ ของที่เปนจีบมวน ใชกับ ของที่เปนมวนมัด ใชกับ ของที่เปนมัดพับ ใชกับ ของที่เปนพับ

ฯลฯ

หนาท่ีของคํานามคํานามทําหนาที่ไดหลายหนาที่ในประโยค คือ1. ทําหนาที่เปนประธาน

การออกกําลังกายตอนเชาทําใหสุขภาพดีนักเรียนทําการบาน

2. ทําหนาที่เปนกรรมครูตีนักเรียน เสือกินคน

Page 65: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

55

3. ทําหนาที่เปนกรรมตรงและกรรมรองแมใหเงินนองโรงเรียนมอบรางวัลใหแกนักเรียนพี่ชายสงดอกไมใหแกวารีเจาภาพถวายปจจัยแดพระสงฆ

กรรมตรง ไดแก เงิน รางวัล ดอกไม ปจจัย (ส่ิงของ)กรรมรอง ไดแก นอง นักเรียน วารี พระสงฆ (บุคคล)

4. ทําหนาที่ขยายคํานามอื่นๆเด็กนักเรียนชอบเลนกีฬา (ใชสามานยนามขยาย)ควายฝูงนี้ตองใชเรือ 3 ลํา บรรทุก (ใชลักษณนามขยาย )

5. ทําหนาที่ขยายกริยาบอกสถานที่ ทิศทางหรือเวลา เชนเขาไปโรงเรียนนกออกหากินกลางวัน

6. ทําหนาที่เปนสวนเติมเต็มใหแกคํากริยาพวกเราเปนนักเรียนปลากัดคลายปลากริมโรงเรียนคือสถานที่ใหความรู

7. ทําหนาที่เรียกขานในฐานะประธาน กรรม หรือเรียกขานลอย ๆ เชนคุณครูครับผมนําสมุดพกมาคืนครับเจาดิ๊ก อยากัดรองเทาฉันนะเพื่อน ๆ คุณครูส่ังการบานอีกแลว

คําสรรพนามคําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานามที่ผูพูดหรือผูเขียนไดกลาวแลว หรือเปนที่เขาใจกัน

ระหวางผูฟงและผูพูด เพื่อไมตองกลาวคํานามซ้ํา แบงออกเปน 7 ชนิดคือ1. คําสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใชแทนการพูดจา แบงเปน

- สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใชแทนผูพูด เชน ฉัน ผม ขาพเจา กู ขา ตู อ๊ัว ขอย เปนตน- สรรพนามบุรุษที่ ๒ ใชแทนตัวผูฟง หรือผูที่เราพูดดวย เชน ล้ือ เอ็ง มึง คุณ

เธอ ใตเทา พระองค พระคุณเจา ทาน เปนตน

Page 66: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

56

- สรรพนามบุรุษที่ ๓ ใชแทนผูที่กลาวถึงเชน เขา มัน ทาน หลอน พระองค เปนตน

2. ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใชเชื่อมประโยค 2 ประโยค ใชแทนนาม ที่อยูติดตอกันขางหนาใหมีความสัมพันธ มี 4 คําคือ ผู ที่ ซ่ึง อัน

ตัวอยาง- คนซึ่งเกียจครานตองลําบาก- ฉันชอบนักเรียนที่มีมารยาทดี- ครูยกยองนักเรียนผูรักษาความสะอาด- โคลงบทแรกอันเปนบทไพเราะที่สุดเปนโคลงสี่สุภาพ

3. ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่มีความหมายเปนคําถาม ไดแกคําวา ใคร ไหน อะไร อันไหน อยางไร ผูใด ส่ิงใด ฯลฯ

ตัวอยาง- ใครทําหมอบุบ- ไหนเปนบานของเธอ- อะไรอยูในกลองกระดาษ

4. วิภาคสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามเพื่อแบงแยกนามนั้นออกเปน สวน ๆ จะมีคําวา แตละพวก แตละสิ่ง แตละคน ตาง บาง กัน

ตัวอยาง- เขากําลังคุยกัน- นักเรียนตางทําการบาน- ชาวบานบางก็นั่งบางก็นอน

5. นิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามที่กลาวมาแลว หรือที่ปรากฎอยูเฉพาะหนาเพื่อบอกความกําหนดชี้เฉพาะใหชัดเจน ไดแกคําวา นี่ นั่น โนน ฯลฯ

ตัวอยาง- นี่คือบานของฉัน- โนนคือดอยสุเทพ- นั่นเปนมติของคณะกรรมการ

6. อนิยมสรรพนาม คือคําสรรพนามที่ใชแทนนามทั่วไปที่ไมกําหนดแนนอนชี้เฉพาะเจาะจง ไดแกคําวา ใคร อะไร ไหน ใด ฯลฯ ซ่ึงไมใชคําถาม

Page 67: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

57

ตัวอยาง- อะไรฉันก็กินได- ใครจะกลับบานกอนก็ได- ไหนก็สุขสูบานของฉันไมได

7. สรรพนามที่ใชเนนนามที่อยูขางหนา เปนคําบุรุษสรรพนามตาง ๆ ที่เรียงไว หลังคํานาม เพื่อเนนความรูสึกตาง ๆ ของผูพูด

ตัวอยาง- นายแกวนแกเปนตลกยี่เกมากอน- เจาแตมมันชอบเหาคนใสเสื้อแดง- เพื่อน ๆ ของลูกเขาจะมากินเล้ียงในตอนเย็น

หนาท่ีของคําสรรพนาม1. เปนประธานของประโยค เชน เธอโกรธเขามาก, ทานจะไปไหนวันนี้ เปนตน2. เปนกรรมของประโยค เชน เขาถูกแดงเตะ, คุณแมตีมันตายแลว เปนตน3. เปนสวนเติมเต็ม เชน จารุณีเหมือนเธอมากนะแดง, นองมีหนาตาคลายฉันมากเลย

เปนตน

คํากริยาคํากริยา คือ คําแสดงอาการกระทําของคํานามหรือคําสรรพนาม หรือแสดงการกระทํา

ของประธานในประโยค แบงออกเปน 4 ชนิด คือ1. สกรรมกริยา คือ คํากริยาที่ไมสมบูรณในตัวเองจะตองมีกรรมมารับขางทาย จึงจะ

ไดความสมบูรณตัวอยาง

- ลูกเสือกินขาว- นกจิกขาวโพด- คุณแมเขียนจดหมาย

2. อกรรมกริยา คือ คํากริยาที่มีความหมายครบถวนสมบูรณในตัวเอง ไมจําเปนตองมีกรรมมารับขางทาย

ตัวอยาง- นายกรัฐมนตรีปวย- นกเขาของเขาตายแลว

Page 68: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

58

- ไฟวันเฉลิมพระชนมพรรษาปนี้สวย3. วิกตรรถกริยา หรือ กริยาที่ตองอาศัยสวนเติมเต็ม เปนกริยาที่ไมมีความสมบูรณใน

ตัวเองตองมีคํานาม สรรพนาม หรือวิเศษณมาขยายหรือมีคํามาเติมขางทายจึงจะมีความสมบูรณ กริยาพวกนี้ไดแกคําวา เปน เหมือน คลาย เทา คือ ดุจวา เสมือน ประหนึ่ง ราวกับ ฯลฯ

ตัวอยาง- ฉันเปนครู- คนดีคือผูมีเกียรติ- เขาเสมือนนักโทษคดีอุกฉกรรจ

4. กริยานุเคราะห คือ กริยาที่ทําหนาที่ชวยหรือประกอบกริยาสําคัญในประโยคใหมีความหมายชัดเจนขึ้นมี 2 ลักษณะ คือ

ลักษณะที่ 1 เปนคําที่จะมีความหมายไดก็ตอเมื่อไดชวยคํากริยาอื่นเทานั้นเชนคําวา จง อยู นาจะ ตอง แลว เปนตน

ลักษณะที่ 2 เปนคําที่ไมมีความหมายเปนของตัวเอง ตองอาศัยคํากริยาอื่น ๆ จึงจะเกิดความหมาย และมีความหมายก็จะเปลี่ยนไดตามความประสงคของผูพูดเชนคําวา เถอะ นะ ซิ หรอก เปนตน

ตัวอยาง- ฝนนาจะตก- โปรดงดสูบบุหร่ี- เราตองทํางานเดี๋ยวนี้

หนาท่ีของคํากริยา1. ทําหนาที่เปนตัวแสดงในภาคแสดของประโยค เชน คนไทยทุกคนควรอนุรักษ

สภาวะแวดลอม, ลูกเสือปฏิญาณตนตอหนาธงประจําหมู เปนตน2. ทําหนาที่ขยายนาม เชน ดอกไมรอยมาลัยเปนสีชมพูทั้งหมด, สุรีย เปลี่ยนรายการ

เครื่องดื่มเลี้ยงแขก เปนตน3. ทําหนาที่ขยายกริยา เชน เธอวิ่งเลนตอนเชา, คุณพอเดินหารองเทา เปนตน4. ทําหนาที่เหมือนคํานาม เชน ฉันชอบวิ่งเร็ว ๆ, เที่ยวกลางคืนมักมีอันตราย เปนตน

คําวิเศษณคําวิเศษณ คือ คําที่มีความหมายบงชี้ลักษณะตาง ๆ เชน ขนาด สัณฐาน (รูปทรง) สี กล่ิน

รส นอกจากนี้ยังบงชี้ สถานที่ ปริมาณ จํานวน เปนตน

Page 69: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

59

1. ลักษณวิเศษณ คือ คําวิเศษณบอกลักษณะ ชนิด สี ขนาด สัณฐาน เสียง อาการ กล่ิน รส ความรูสึก ไดแกคําวา ช่ัว ดี ขาว ดํา กลม แบน เล็ก โครม เปรี้ยง เร็ว ชา หอม เหม็น เปรี้ยว หวาน เย็น รอน ฯลฯ

ตัวอยาง- แกงปานี้มีรสเผ็ด- ดอกมะลิมีกลิ่นหอม- ในโลกนี้มีทั้งคนดีและคนชั่ว

2. กาลวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกเวลาไดแกคําวา ในอดีต ปจจุบัน อนาคต เชา สาย บาย เย็น ค่ํา ฯลฯ

ตัวอยาง- เขาแสดงละครเย็นนี้- คนโบราณนับถือผีสางเทวดา- หนาหนาวนักเรียนมักจะมาสาย

3. สถานวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกสถานที่ หรือระยะทาง ไดแกคําวา ใกล ไกล เหนือ ใต ขวา ซาย หนา บน หลัง ฯลฯ

ตัวอยาง- โรงเรียนอยูไกล- เขาอาศัยอยูช้ันบน- เขาเดินทางไปทางทิศใต

4. ประมาณวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกจํานวนหรือปริมาณ ไดแกคําวา มาก นอย หมด หนึ่ง สอง สามฯ ทั้งหมด ทั้งส้ิน จุ ฯลฯ

ตัวอยาง- คุณสูบบุหร่ีมากไมดี- เขาหยุดขายของหลายวัน- เพื่อนทั้งหมดที่มากินจุทั้งสิ้น

5. นิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความชี้เฉพาะแนนอนไดแกคําวา นี่ นั่น โนน นี้ นั้น โนน แน เอง ทั้งนี้ ทั้งนั้น อยางนั้น อยางนี้ ทีเดียว ฯลฯ

ตัวอยาง- บานนี้มีคนซื้อไปแลว- ขนมโนนฉันทําเองทั้งนั้น

Page 70: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

60

- ฉันเองเปนคนเลาใหเขาฟง6. อนิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความไมช้ีเฉพาะ ไมกําหนดแนนอนไดแกคําวา

ใด อัน ใด ไย ไหน ทําไม เชนไร เหตุใด ฯลฯ (แตไมใชคําถาม)ตัวอยาง

- คนไหนจะนอนกอนก็ได- ปนี้เธอจะมีอายุเทาไรก็ชางเธอซิ- ซ้ือหนังสืออะไรมาใหฉันก็ไดทั้งนั้น

7. ปฤจฉาวิเศษณ คือ วิเศษณที่บอกเนื้อคําถามหรือความสงสัยไดแกคําวา ใด อะไร ไหน ทําไม ฯลฯ

ตัวอยาง- คนไหนไมสงการบาน- ขนมอะไรที่เธอซื้อมา- การเลนเทนนิสมีกติกาอยางไร

8. ประติชญาวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่แสดงถึงการขานรับในการเจรจาโตตอบ ไดแก คําวา จํา ครับ คะ ขา ขอรับ วะ โวย จะ พระพุทธเจา ฯลฯ

ตัวอยาง- ผมจะรับทํางานนี้ขอรับ- อาจารยขา หนูทําสมุดหายคะ- คุณครับรถไฟจะออกเดี๋ยวนี้แลว

9. ปฏิเสธวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความปฏิเสธไมยอมรับ ไดแกคําวา ไม ไมได หามิได บ ฯลฯ

ตัวอยาง- ฉันมิไดโกรธคุณ- นองไมอานหนังสือ- ฉันตามหาเขาแตไมพบ

หนาท่ีของคําวิเศษณคําวิเศษณมักทําหนาที่เปนสวนขยายในประโยคไดแก1. ขยายคํานาม เชน บานเกาทาสีใหม, ตนไมนีต้องโคนทิ้ง เปนตน2. ขยายคําสรรพนาม เชน ชายคนนั้นตองเปนเขาแน , เธอทั้งหลายโปรด

อยูในความสงบ เปนตน

Page 71: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

61

3. ขยายคํากริยา เชน นกบินสูง, กรุณาพูดชา ๆ เปนตน4. ขยายคําวิเศษณ เชน ฉันทําเองจริง ๆ, เด็กคนนั้นกินจุมาก เปนตน5. เปนคําอกรรมกริยา หรือกริยาที่ไมตองการกรรม เชน ด.ญ.สายฝนสวย แต ด.

ญ.น้ําคาง ฉลาด, ตึกหลังนี้สูง เปนตน

คําบุพบทคําบุพบท แปลวา คําที่มาขางหนาในการสื่อสาร คําบุพบททําหนาที่โยงคําหนึ่งหรือ

กลุมคําหนึ่งใหสัมพันธกับคําอ่ืน หรือกลุมคําอ่ืน เพื่อแสดงความหมายตาง ๆ เชน ลักษณะ เหตุผล เวลา สถานที่ เจาของ เปนตน ไดแกคําวา ใน แก จน ของ ดวย โดย กับ แต ตอ ใกล ไกล ฯลฯ

ตัวอยาง- ครูใหความรูแกลูกศิษย- โจทยยื่นคํารองตอศาล- เขาเดินทางโดยเครื่องบิน- ฉันซอนเงินใตหมอน- ครูตองเสียสละเพื่อศิษย- นองไปเที่ยวกับเพื่อน- อุทยานเขาใหญอยูที่จังหวัดนครราชสีมา- เขาตอวาจนสาแกใจ- นักเรียนตองมาโรงเรียนแตเชา- ฉันถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ- วาวติดอยูบนตนไม- เขาทํางานอยูเกือบ ๑๐ ปจึงใชหนี้หมด- รถของคุณพอถูกชน- บานของฉันอยูริมถนน

หนาท่ีของคําบุพบท1. นําหนาคํานาม เชน สุรียไปกับพอ, หนังสือของจารุณีหายไป เปนตน2. นําหนาคําสรรพนาม เชน ผมจะอยูใกลคุณเสมอ, เขามายืนอยูขางฉันตลอดเวลา

เปนตน3. นําหนาคํากริยา เชน เรากินเพื่ออยู, สมพงษทํางานจนลมเจ็บ เปนตน4. นําหนาคําวิเศษณ เชน คุณตองมาหาผมโดยเร็ว เปนตน

Page 72: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

62

5. นําหนาประโยค เชน ทานใหรางวัลเฉพาะนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเดนเทานั้น เปนตน

คําสันธานคําสันธาน คือ คําที่ทําหนาที่เชื่อมคํากับคํา ประโยคกับประโยค ขอความกับขอความ

หรือเชื่อมความใหสละสลวย คําสันธานมี 3 ชนิด คือ

1. เชื่อมใจความที่คลอยตามกัน ไดแกคําวา กับ, ทั้ง…และ, ทั้ง…ก็, คร้ัน…จึง, พอ…ก็ฯลฯ

ตัวอยาง- คร้ันไดเวลาเธอจึงออกไปพูดบนเวที- พอพระอาทิตยลับขอบฟาฝูงนกก็บินกลับรัง- หนอยและหนิงเปนนักกีฬาที่มีความสามารถ

2. เชื่อมใจความที่ขัดแยงกัน ไดแกคําวา แต, แตวา, ถึง…ก็, กวา…ก็ ฯลฯตัวอยาง

- เขาอยากรวยแตใชเงินฟุมเฟอย- กวาตํารวจจะมาถึงคนรายก็หนีไปแลว- ถึงฝนตกหนักฉันเดินฝาสายฝนกลับบาน

3. เชื่อมใจความที่ใหเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง ไดแกคําวา หรือ, หรือไมก็, ไมเชนนั้น, มิฉะนั้นก็, ไม…ก็ ฯลฯ

ตัวอยาง- คุณจะทานขาวหรือขนมปง- ไมเธอก็ฉันตองจายเงินคาอาหารมื้อนี้- เราตองเลิกทะเลาะกันมิฉะนั้นงานจะไมสําเร็จ

หนาท่ีของคําสันธาน1. เชื่อมคํากับคํา เชน เธอชอบมะลิหรือกุหลาบ, สมบัติปลูกกุหลาบ ซอนกล่ินและ

จําป, เด็กชายดํากับเด็กชายแดงเรียนหองเดียวกัน เปนตน2. เชื่อมขอความ เชน การสงเสียงดังในหองสมุดเปนการกระทําที่ไมดีรบกวนผูอ่ืน

เพราะฉะนั้นจึงตองมีกฎหามสงเสียงดังติดประกาศไว, คนเราตองการอาหาร เสื้อผา เครื่องนุงหม ที่

Page 73: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

63

อยูอาศัยและยารักษาโรคดวยเหตุนี้เราจึงจําเปนตองประกอบอาชีพเพื่อใหไดเงินมาซื้อส่ิงจําเปน เหลานี้เปนตน

3. เชื่อมประโยคกับประโยคเชน นองไปโรงเรียนไมได เพราะไมสบาย,พี่สวยแตนอง ขี้เหร, เขาเกียจครานเขาจึงสอบตก เปนตน

4. เชื่อมความใหสละสลวย เชน เราก็เปนคนจริงคนหนึ่งเหมือนกัน, คนเรากต็องมี ผิดพลาดบางเปนธรรมดา เปนตน

คําอุทานคําอุทาน คือ คําที่เปลงออกมาเพื่อแสดงอารมณ หรือความรูสึกของผูพูดอาจจะเปลง

เสียงออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ หรือประหลาดใจก็ได โดยมากคําอุทานจะไมมีความหมายตรงถอยคํา แตจะมีความหมายทางเนนความรูสึกและอารมณของผูพูดเปนสําคัญ

เสียงที่เปลงออกเปนคําอุทานนั้น แบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ1. เปนคํา เชน แหม! วาย! โอย! โถ! โอย! เปนตน2. เปนวลี เชน คุณพระชวย! ตายละวา! พุทโธเอย! โอโฮ! เปนตน3. เปนประโยค เชน ไฟไหมเจาขา! แผนดินไหวเจาขา! เปนตน

คําอุทานมี ๒ ชนิด คือ1. อุทานบอกอาการ หรือ อุทานโดยตรง ใชเปลงเสียงเพื่อบอกอาการและความรูสึก

ตาง ๆ ของผูพูด เชน อาการรองเรียก อาการโกรธแคน ประหลาดใจ ตกใจ สงสาร ปลอบโยน เขาใจ หรือ รับรู เจ็บปวด สงสัย หรือถาม หาม หรือทักทวง และโลงใจ เปนตน

ตัวอยาง- รองเรียก หรือบอกใหรูตัว ใชคําวา เฮย! แนะ! นี่แนะ! เฮ! โวย!- โกรธเคือง ใชคําวา ซะๆ! เหม! ดูดู! ชิชะ!- ตกใจ ประหลาดใจ ใชคําวา วุย! วาย! ตายแลว! แหม! ตายจริง! คุณพระชวย!

เออแนะ! แมเจาโวย! เออเฮอ! โอโฮ!- สงสารหรือปลอบโยนใชคําวา โถ! โธ! พุทโธ! พุทโธเอย! อนิจจา! นองเอย!

โอ!- เขาใจ หรือรับรู ใชคําวา ออ! หื้อ! เออ! เออแนะ! เอาละ! ออ! จริง! เออวะ!

เอา!- เจ็บปวดใชคําวา อุย! โอย! โอย!- สงสัยหรือไตถาม ใชคําวา เอะ! หือ! หา! ฮะ!

Page 74: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

64

- โลงใจ ใชคําวา เฮอ!- ขุนเคือง อาฆาต ใชคําวา ฮึ่ม! ดีละ! บะ! แลวกัน! อุวะ!- ทักทวง ใชคําวา ไฮ! ฮา!- ดูถูกเหยียดหยาม เยาะเยย ใชคําวา เชอะ! ชะ! หนอยแน! หนอย! เฮย!- ประหมา เกอเขิน ใชคําวา เออ! อา!- ชักชวน หรือเตือน ใชคําวา นะ! นา!

2. อุทานเสริมบท เปนคําอุทานที่ผูพูดกลาวเพิ่มเติมถอยคําเสริมขึ้น โดยไมไดตั้งใจใหมีความหมายแตอยางใด คําอุทานเสริมบทนิยมนํามาเติมขางหนา ตอทายหรือแทรกตรงกลางคําที่พูดเพื่อเนนความหมายของคําที่จะพูดใหชัดเจนขึ้น

ตัวอยาง- ฉันไมเคยใหสัญญิงสัญญากับใครทั้งส้ิน- จะสอบแลวปานนี้หนังสือหนังหายังไมดูเลย- เธออยามาโกหกพกลมฉันหนอยเลย- เขาหลงผูหญิงจนไมรูจักลืมหูลืมตาเสียบาง- แวะบานฉันกินน้ํากินทากอนซิ ประเดี๋ยวคอยไปตอ

ถาคําที่นํามาเขาคูนี้เนื้อความมีความหมายไปในแนวเดียวกันก็ไมนับวาเปนคําอุทานเสริมบทเชน “ไมดูไมแล”, “ไมหลับไมนอน”, “รองรําทําเพลง” เปนตน คําเหลานี้เรียกวา คําซอน

ขอสังเกต1. คําอุทานบอกอาการมักจะเขียนอยูหนาประโยคและจะตองมีเครื่องหมายอัศเจรีย

(!) กํากับเสมอ2. คําอุทานเสริมบท จะวางอยูที่ใดในประโยคก็ไดสุดแลวแตวาตองการจะกลาวหรือ

เนนเสียงที่คําใด และหลังคํานั้นไมตองมีเครื่องหมายอัศเจรียกํากับหนาท่ีของคําอุทานเนื่องจากคําอุทานไมจัดวาเปนสวนใดสวนหนึ่งของประโยค ดังนั้นจึงไมมีหนาที่ใน

ประโยค

Page 75: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

65

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยภายในประเทศจรรยา เปรมมณี (2540 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร

และปฏิสัมพันธของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาชางกอสราง ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาคณิตศาสตร 2 วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม โดยการสอนตามรูปแบบ STAD โดยใชกลุมตัวอยาง 2 กลุม แบงเปนกลุมที่ไดรับการสอนตามรูปแบบ STAD เปนกลุมทดลอง 1 กลุม จํานวน 38 คน และกลุมที่สอนตามปกติเปนกลุมควบคุม จํานวน 37 คน ผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาชางกอสรางกลุมทดลองที่ไดรับการสอนตามรูปแบบ STAD และกลุมควบคุมที่สอนตามปกติ ไมแตกตางกันที่ระดับความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ปาริชาติ จิตรฉ่ํา (2540 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเพื่อศึกษาเรื่อง การเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์เจตคติและทักษะการทํางานรวมกันในรายวิชา ส 504 สังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน และ โรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา 1) สัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของ นักเรียนในกลุมทดลองระหวางแผนการเรียนที่ 1 และแผนการเรียนที่ 2 มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) เจตคติของนักเรียนที่มีตอวิธีการเรียนแบบรวมมือของนักเรียนในแผนการเรียนที่ 1 และแผนการเรียนที่ 2 ไมแตกตางกัน โดยนักเรียนทั้ง 2 แผน มีเจตคติที่ดีตอวิธีการเรียนแบบรวมมือที่สามารถพัฒนาใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีขึ้นตอเนื้อหาวิชา มีการฝกดานทักษะการทํางานรวมทั้งมองเห็นคุณคาและประโยชนของการเรียนแบบรวมมือ 3) ดานทักษะ การทํางานรวมกัน นักเรียนแผนการเรียนที่ 1 และแผนการเรียนที่ 2 มีทักษะการทํางานรวมกันไมแตกตางกัน โดย ผลการวิจัยพบวา วิธีการเรียนแบบรวมมือเปนวิธีที่ฝกการทํางานรวมกัน ไดเปนอยางดี รูจักใหความสําคัญแกตนเองและผูอ่ืนมากขึ้นอันจะนําไปประยุกตใชกับชีวิต ประจําวันไดเปนอยางดี

อามัดไญนี อาโอะ (2541 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเร่ืองผลของการเรียนแบบรวมมือตอสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนภาษาอังกฤษและเจตคติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนแสงธรรมวิทยา จังหวัดนราธิวาส จํานวน 74 คน โดยเปนนักเรียนหญิง 39 คน และนักเรียนชาย 35 คน ซ่ึงแยกกันเรียน ผูวิจัยใชเวลาใน การทดลองจํานวน 8 สัปดาห ๆ ละ 4 คาบ ผลของการวิจัยพบวา นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่ไดจาก

Page 76: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

66

การทดสอบหลังสอนโดยใชวิธีการเรียนแบบรวมมือสูงกวากอนการสอน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ นักเรียนสวนใหญมีเจตคติที่ดีตอการเรียนแบบรวมมือ

พรรัตน ศิลกุล (2543 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการทํางานรวมกันและเจตคติในรายวิชา ส 503 สังคมศึกษา โดยใชการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบกลุมเดิมโรงเรียนหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ ผลการวิจัยปรากฏวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมทดลอง และกลุมควบคุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนในกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีทักษะการทํางานรวมกันแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีเจตคติที่ดีตอการทํางานรวมกันแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนกลุมทดลองมีเจตคติที่ดีตอวิธีการเรียนแบบรวมมือ

พูลสวัสดิ์ เรืองหิรัญวนิช (2543 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชางานเกษตรพื้นฐานเรื่อง “หลักการใชปุยและการคํานวณสูตรปุย” ระหวางการสอนโดยใชเทคนิคการเรียนแบบ STAD กับการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนบางลี่วิทยา จังหวัดสุพรรณบุรี ผลการวิจัยพบวา 1) คะแนนพัฒนาการของ นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยการใชเทคนิคการเรียนแบบ STAD คิดเปนรายบุคคลและรายกลุมโดยรวมมีคะแนนพัฒนาการอยูในระดับที่สูง 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เร่ือง “หลักการใชปุยและการคํานวณสูตรปุย” ระหวางการสอนโดยใชเทคนิค การเรียนแบบ STAD กับการสอนแบบปกติมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนกลุมที่ไดรับการสอนโดยการใชเทคนิคการเรียนแบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติ

สุรศักดิ์ นิ่มนวล (2543 : บทคัดยอ) ไดวิจัยศึกษาผลของการเรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีและทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนรอนพิบูลเกียรติวสุนธราภิวัฒก จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยปรากฏวา 1) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจํานวนนักเรียนที่มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีผานเกณฑการประเมินคิดเปนรอยละ 92.5 2) คาเฉลี่ยของคะแนนทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) คาเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมในการเรียนแบบรวมมือกันหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 4) นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์อยูในระดับดี 5) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีกับคะแนนทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ

Page 77: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

67

มีความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาเคมีกับคะแนนพฤติกรรมในการเรียนแบบรวมมือและคะแนนทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณกับคะแนนพฤติกรรมในการเรียนแบบรวมมือไมมีความสัมพันธกัน

วัสริน ประเสริฐศรี (2544 : บทคัดยอ) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองเศษสวนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองเศษสวนที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนตามแนวคูมือครูและเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนตามแนวคูมือครูกลุมตัวอยางไดแก นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2544 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ จังหวัดนครปฐม โดยการสุมอยางงาย จํานวน 104 คน แบงเปน กลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมละ 52 คน โดยกลุมทดลองสอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันและกลุมควบคุมสอนตามแนวคูมือครู ผลการวิจัยพบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ือง เศษสวน ที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันอยูในระดับดี และการสอนตามแนวคูมือครู อยูในระดับคอนขางดี 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองเศษสวน ที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันสูงกวาการสอนตามแนวคูามือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3) นักเรียน มีความคิดเห็นตอการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันดังนี้ นักเรียนสวนมากชอบการเรียน แบบรวมมือกัน มีความสนุกสนาน ไดชวยกันคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน ๆ ทําให พวกเขามีความกระตือรือรนในการเรียนและเกิดความมั่นใจในตนเอง สวนนักเรียนที่เรียนดวย การสอนตามแนวคูมือครูมีความคิดเห็นวา พวกเขาสามารถเรียนรูเขาใจการอธิบายของครู มีโอกาสใกลชิดซักถามไดตลอดเวลา และสามารถทําแบบฝกหัดไดดวยตนเอง

อารยา หาญกลา (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตหนวยการเมืองการปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอนดวยวิธี การสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและวิธีการสอนตามคูมือครู โรงเรียนอนุบาลหนองหญาไซ (วัดหนองหลวง) อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 80 คน พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการสอนดวยวิธีการแบบรวมมือกันเรียนรู มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกวาการที่ไดรับการสอนดวยวิธีการสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ นักเรียนมีความคิดเห็นตอการจัดการสอนดวยวิธีการสอนแบบรวมมือกันเรียนรูดังนี้ มีอิสระใน การเรียน ไมเครียด ไดรับความรู ประสบการณ ในการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู เขาใจวิธี การทํางานกลุมมากขึ้น มีการทดสอบและมอบรางวัลทําใหตั้งใจเรียน สวนนักเรียนทีไดรับ การสอนดวยวิธีสอนตามคูมือครูมีความคิดเห็นวาบรรยากาศในการเรียนสนุกสนานไดรับความรู ความเขาใจในการทํางานกลุมเพิ่มมากขึ้น

Page 78: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

68

สรรเสริญ เลาหสถิตย (2546 : บทคัดยอ) ไดพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือสําหรับครูมัธยมศึกษา จังหวัดเพชรบุรี โดยใชหลักสูตรกับครูมัธยมศึกษาในกลุมโรงเรียนเอกชน จังหวัดเพชรบุรี จํานวน 20 คน ผลการวิจัยพบวา 1) ครูมีความตองการในการเขารับการอบรมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือ โดยการรวบรวมเชิงวิชาการและเนนการฝกปฏิบัติในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อนําไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตอไป 2) หลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือ มีความเหมาะสมสอดคลองกับความตองการของผูเขาอบรม 3) กอนและหลังการอบรมครูมีความรูความเขาใจในการจัดการเรียนการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการอบรมครูมีความรูความเขาใจในการจัดการเรียนการสอนโดยการเรียน แบบรวมมือกันสูงกวากอนการอบรม และผูเขารับการอบรมมีความคิดเห็นวาหลักสูตรมี ความเหมาะสมในระดับมากที่สุด คือเนนประโยชนตอการนําไปใชในการพัฒนาการเรียนการสอน สามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใช การเรียนแบบรวมมือแบบการแขงขันระหวางกลุมดวยเกม เปนรูปแบบที่ครูนําไปใชมากที่สุดปรับปรุงแกไขหลักสูตรโดยปรับเนื้อหาสาระและเพิ่มเวลา ในการเตรียมการฝกปฏิบัติจาก 30 นาที เปน 1 ช่ัวโมง

อังคณา ปานนก (2546 : บทคัดยอ) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนดวยวิธีการสอนแบบปกติกลุมตัวอยางไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่6 โรงเรียนวัดบึงลาดสวาย อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ผลการวิจัยพบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ไดรับการสอนดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือกัน STAD วิธีสอนแบบปกติแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยวิธีเรียนแบบรวมมือกันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนดวยวิธีการสอนแบบปกติ 2) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอการสอนดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือกัน STAD และการสอนดวยวิธีการสอนแบบปกติแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนักเรียน ที่ไดรับการสอนดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือกันมีความคิดเห็นดานการจัดบรรยากาศและการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในระดับเห็นดวยมากที่สุด ครูจัดหองเรียนโดยมีส่ือการสอน และ ศูนยการเรียนเพื่อใหนักเรียนไดศึกษาคนควาครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใหนักเรียนทํางานเปนกลุมครูใชส่ือการสอนที่หลากหลายมาประกอบการสอนสําหรับนักเรียนที่ไดรับการสอนดวยวิธีสอนแบบปกติมีความเห็นตอการจัดบรรยากาศในการเรียนในระดับเห็นดวยปานกลางคือ ภายในหองเรียนมีส่ิงอํานวยความสะดวกมีส่ือการสอน ศูนยการเรียนจัดไวบริการนักเรียน หองเรียนสะอาดสวยงาม ครูมีความกระตือรือรน ยิ้มแยมแจมใส ขณะทําการสอนแตไมใหอิสระกับ

Page 79: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

69

นักเรียนในการประกอบกิจกรรม ทําใหนักเรียนมีความวิตกกังวลในชั่วโมงภาษาอังกฤษและ มีความคิดเห็นตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับเห็นดวยนอย คือ การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนไมเนนการจัดกิจกรรมเปนกลุมยอย ครูใชส่ือการสอนซ้ํา ๆกัน ทําใหไมนาสนใจครูมักใหนักเรียนทํากิจกรรมพรอมกันทั้งชั้นทําใหนักเรียนที่เกงประสบผลสําเร็จ สวนนักเรียน ที่เรียนระดับปานกลาง และระดับออน มีความวิตกกังวลเพราะกลัวจะทํากิจกรรมไมได

งานวิจัยตางประเทศMevarech (1985, อางถึงใน วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ 2542 : 64) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์

และปฏิสัมพันธระหวางกลุมของนักเรียนเกรด 5 ประเทศอิสราเอล กลุม 2 ไดรับการสอนโดยใช การเรียนแบบ STAD กลุมที่ 3 ไดรับการสอนโดยใชการเรียนแบบรอบรู กลุมที่ 4 ไดรับ การสอนโดยใชการเรียนแบบ STAD ผสมกับการเรียนแบบรอบรู ใชเวลาทดลอง 15 สัปดาห ๆ ละ 4 คาบ รวม 60 คาบ ๆ ละ 50 นาที ผลการวิจัยพบวาการเรียนแบบ STAD ชวยเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีความสามารถสูง การเรียนแบบรอบรูชวยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่มีความสามารถต่ํา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับ การสอน 3 แบบหลัง แตกตางกับนักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่ไดรับการสอน 3 แบบหลังไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และนักเรียนที่ใชการเรียนแบบ STAD มีปฏิสัมพันธระหวางกลุมสูงกวากลุมอ่ืน ๆ

Scott (1985, อางถึงใน วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ 2542 : 65) เรียนแบบ STAD ที่มีตอความสัมพันธระหวางกลุมเพื่อน เจตคติตอตนเองและโรงเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางดานการสะกดคําของกลุมนักเรียนระดับประถมศึกษา กลุมตัวอยางเปนนักเรียนเกรด 4-6 จาก 3 โรงเรียน จํานวน 16 หองเรียน รวม 452 คน ซ่ึงประกอบไปดวยคน 4 กลุม คือ กลุมคนอเมริกากลางและใต (เม็กซิกัน) กลุมคนผิวขาว (ยุโรป) กลุมคนผิวดํา (นิโกร) และกลุมคนเอเชีย ผลการวิจัยพบวา นักเรียนกลุมทดลองที่เรียนโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบ STAD มีความสัมพันธระหวางกลุมเพื่อสูงกวานักเรียนในกลุมควบคุมที่สอนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ แตทางดาน ความนับถือตนเองทั้งสองกลุมไมแตกตางกัน แมจะมีการพัฒนาทางดานความนับถือตนเองสูงขึ้นทั้ง 2 กลุม สวนเจตคติตอโรงเรียน กลุมควบคุมมีเจตคติตอโรงเรียนดีกวากลุมทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติสวนทางดานผลสัมฤทธิ์ในการสะกดคําไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ แตกลุมทดลองมีแนวโนมการที่จะประสบผลสําเร็จมากกวากลุมควบคุม

Slavin (1987 : 7-13, อางถึงใน จุฑามาศ สดแสงจันทร 2540 : 44) ไดเปรียบเทียบระหวางการเรียนรูโดยการรวมมือกับหองเรียนแบบปกติจากการวิจัย 38 เร่ือง พบวารายงาน

Page 80: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

70

การวิจัย 33 เร่ือง แสดงถึงหองเรียน ซ่ึงเรียนโดยการรวมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวา หองปกติ

สวนเกรจ แอ็ล (Greg L. 1991, อางถึงใน วารุณี อุนบุญ 2540 : 81) แหง Ball State University ไดทําการวิจัยเร่ืองผลของการใชรูปแบบการสอน Cooperative Learning ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการอานสะกดคําในโรงเรียนประถมศึกษา งานวิจัยช้ินนี้เปนงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงคในการวิจัย คือ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการอานสะกดคําของนักเรียนที่ไดรับการสอน ตามรูปแบบ Cooperative Learning ตามวิธี Student Teams Achievement Division (STAD) และ นักเรียนที่ไดรับการสอนตามวิธีปกติ กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาจํานวน 6 กลุม จํานวนนักเรียน 135 คน โดย 3 กลุมแรกจํานวน 67 คน จะไดรับการสอนตามรูปแบบ Cooperative Learning และ 3 กลุมหลัง จํานวน 68 คน ไดรับการสอนตามวิธีปกติระยะเวลา ที่ใชในการทดลอง 7 สัปดาหสถิติที่ใชในการวิจัยใช t – Test ผลการวิจัยปรากฏวา

1. นักเรียนที่ไดรับการสอนตามรูปแบบ Cooperative Learning มีผลสัมฤทธิ์ทาง การอานสะกดคําสูงกวานักเรียนที่เรียนตามวิธีปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

2. นักเรียนกลุมออนมีผลสัมฤทธิ์ทางการอานสะกดคําแตกตางจากนักเรียนกลุมเกงและปานกลางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Nichols (1994, อางถึงใน วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ 2542 : 66) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความกระตือรือรน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เรียนวิชาเรขาคณิต จํานวน 81 คน ที่ไดรับการสุมเขากลุม 2 กลุมคือ กลุมที่เรียนแบบรวมมือแบบ STAD และอีกกลุมที่สอน แบบปกติโดยการบรรยาย เมื่อสอนจบเนื้อหา 4 สัปดาหแลวมีการทดสอบหลังเรียน หลังจากนั้น 4 สัปดาห มีการทดสอบความคงทน ผลการวิจัยพบวากลุมที่เรียนแบบรวมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมที่สอนแบบปกติโดยการบรรยาย

จากวรรณกรรมและผลการวิจัยที่กลาวมาขางตน พอสรุปไดวาหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 สาระการเรียนรูภาษาไทย ในชวงชั้นที่ 3 (ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3) ในมาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และมาตรฐาน ท 4.2 สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพและความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน การสอนหลักภาษาไทยเพื่อใหบรรลุผลนั้นตองอาศัยองคประกอบดานจิตวิทยาและวิธีการจัด การเรียนรู

Page 81: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

71

การจัดกิจกรรมการเรียนแบบรวมมือกัน เปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนไดชวยเหลือกัน เรียนรูแบบรวมมือกันเปนวิธีสอนที่ชวยพัฒนาทักษะทางสังคม และกระบวนการ กลุมของนักเรียนโดยเฉพาะการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิคSTAD จากผลการวิจัย ที่เกี่ยวของทั้งในและตางประเทศ โดยนําการเรียนรูแบบรวมมือกันเทคนิค STAD มาใชจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ทําใหนักเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียน และชวยให ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น

Page 82: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

72

บทท่ี 3วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําใน ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ มีวัตถุประสงค ดังนี้

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับ การสอนแบบปกติ

2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยใชแบบแผน การทดลองแบบ Control Group Pretest – Posttest Design (Tuckman 1999 : 162) ซ่ึงมีแบบแผนการวิจัยดังนี้

กลุม สอบกอน ทดลอง สอบหลัง

E T1 X T1

C T2 ~X T2

สัญลักษณที่ใชในการทดลองE แทน กลุมทดลองที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือC แทน กลุมควบคุมที่ไดรับการสอนโดยวิธีสอนแบบปกติT1 แทน สอบกอนเรียนT2 แทน สอบหลังเรียนX แทน การสอนดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือกัน~X แทน วิธีสอนแบบปกติ

72

Page 83: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

73

ขั้นตอนในการวิจัยผูวิจัยดําเนินการตามขั้นตอนตางๆ ดังนี้1. ขั้นเตรียมการ2. ขั้นการสรางเครื่องมือและหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ3. ขั้นทดลอง4. ขั้นวิเคราะหขอมูลและทดสอบสมมติฐาน

1. ขั้นเตรียมการ1.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

1.1.1 ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนศาลาตึกวิทยา อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 จาํนวน 5 หองเรียน ซ่ึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคละกันในแตละหองเรียน มีนักเรียนทั้งส้ิน 200 คน

1.1.2 กลุมตัวอยาง ผูวิจัยสุมตัวอยางโดยมีขั้นตอนดังนี้

1.1.2.1 สุมตัวอยาง หองเรียน 2 หองเรียน จากจํานวน 5 หองเรียน ดวยวิธีการสุมอยางงายโดยการจับฉลาก

1.1.2.2. นําหองเรียน 2 หองเรียน มาจับฉลากเพื่อแบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุมซ่ึงไดแกนักเรียนหอง 2/2และ 2/3

1.1.2.3. ใหนักเรียนหอง 2/3 เปนกลุมควบคุมที่เรียนโดยวิธีสอนแบบปกติและนักเรียนหอง 2/2 เปนกลุมทดลองที่เรียนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD

1.1.2.4. นําผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ประจํา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 ของนักเรียนหอง2/2และ2/3มาเรียงลําดับจากมากไปหานอยเพื่อเทียบรายคูแลว คัดเลือกมากลุมละ24 คน

1.1.2.5 จัดแบงชวงคะแนนนักเรียนเปน 3 ระดับ คือ เกง ปานกลาง และออน

Page 84: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

74

ตารางที่ 1 การเทียบรายคูของกลุมทดลองและกลุมควบคุมเพื่อจัดแบงชวงคะแนนเปน 3 ระดับ

กลุมทดลอง (หอง 2/2) กลุมควบคุม (หอง 2/3)

ลําดับ คะแนน (100) ระดับ ลําดับ คะแนน (100)

1

2

3

4

5

6

84

81

81

78

78

74

เกง

1

2

3

4

5

6

85

82

80

78

78

74

7

8

9

10

11

12

70

70

69

68

65

65

ปานกลางเกง

7

8

9

10

11

12

71

70

68

68

65

64

13

14

15

16

17

18

63

62

60

60

60

59

ปานกลางออน

13

14

15

16

17

18

63

62

60

60

60

59

Page 85: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

75

ตารางที่ 1 (ตอ)

กลุมทดลอง (หอง 2/2) กลุมควบคุม (หอง 2/3)

ลําดับ คะแนน (100) ระดับ ลําดับ คะแนน (100)

19

20

21

22

23

24

58

57

57

56

55

54

ออน

19

20

21

22

23

24

58

57

57

56

55

55

1.1.2.6 จากนั้นจัดแบงกลุมสําหรับนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือ เทคนิค STAD (กลุมทดลอง) ออกเปน 6 กลุมโดยสมาชิกในแตละกลุมจะประกอบไปดวยนักเรียนที่มีคะแนนทั้ง 3 ระดับ คือเกง ปานกลาง และออน

Page 86: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

76

ตารางที่ 2 แสดงการแบงกลุมนักเรียนที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือ (กลุมทดลอง)

กลุมทดลอง (หอง 2/2) กลุม STAD

ลําดับ คะแนน (100) กลุม STAD กลุมที่

1

2

3

4

84

81

81

78

1

2

3

4

1

5

6

7

8

78

74

70

70

4

3

2

1

2

9

10

11

12

69

68

65

65

1

2

3

4

3

13

14

15

16

63

62

60

60

4

3

2

1

4

17

18

19

20

60

59

58

57

1

2

3

4

5

Page 87: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

77

ตารางที่ 2 (ตอ)

กลุมทดลอง (หอง 2/2) กลุม STAD

ลําดับ คะแนน (100) กลุม STAD กลุมที่

21

22

23

24

57

56

55

54

4

3

2

1

6

2. ขั้นการสรางและหาประสิทธิภาพเครื่องมือผูวิจัยไดสรางเครื่องมือที่ใชในการทดลอง ซ่ึงไดแก แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย และแผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียน แบบรวมมือกันเทคนิค STAD และแผนการเรียนแบบปกติ แบบสอบถามความคิดเห็น โดยมีวิธีสรางและหาประสิทธิภาพตามลําดับขั้นตอนดังนี้

2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําใน ภาษาไทยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยเปน ขอสอบแบบ 4 ตัวเลือก จํานวน 1 ฉบับ 40 ขอ มีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้

1. ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 กลุมสาระการเรียนรู วิชาภาษาไทย

2. ศึกษาเอกสารและตําราที่เกี่ยวของกับวิชาหลักภาษาไทยภาษาไทย เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย

3. ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหนังสือ ตํารา และเอกสารที่เกี่ยวของ

4. วิเคราะหเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรู ทําตารางวิเคราะหเนื้อหา โดยแบงพฤติกรรมการเรียนรูออกเปน 6 ดานคือ

4.1 ความรู – ความจํา

Page 88: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

78

4.2 ความเขาใจ4.3 การนําไปใช4.4 การวิเคราะห4.5 การสังเคราะห4.6 การประเมินคา

5. สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 1 ฉบับ 90 ขอ เพื่อใชเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

6. นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนออาจารยที่ปรึกษาผูควบคุมวิทยานิพนธ เพื่อปรับปรุงแกไข

7. นําแบบทดสอบที่ปรับปรุงแลวไปเสนอผูเชี่ยวชาญทั้ง 3 ทาน ซ่ึงประกอบดวยผูเชี่ยวชาญดานภาษา เพื่อตรวจสอบความตรงของเนื้อหา จากนั้นนํามาปรับปรุงแกไขใหสมบูรณ

8. นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยที่ปรับปรุงจํานวน 90 ขอไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนลาดหญาพิทยาคม อําเภอลาดหญา จังหวัดกาญจนบุรี ซ่ึงไมใชกลุมตัวอยางแตนักเรียนมีความสามารถและบริบทใกลเคียงกับโรงเรียนที่ใชเปนกลุมตัวอยาง โดยใชนักเรียนชั้น ม.2/3 จํานวน 40 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 ใชเวลาในการทดสอบ 60 นาที จํานวน 90 ขอ แลวรวบรวมกระดาษคําตอบมาตรวจใหคะแนนใชเกณฑตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน โดยกําหนดใหขอสอบที่ผานการคัดเลือกตองมีคาความยากงาย (p) ระหวาง 0.20 – 0.80 และ คาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป

9. นําผลคะแนนที่ไดมาวิเคราะหหาคาความยากงาย (p) โดยคํานวณจาก สัดสวนจํานวนผูตอบขอสอบในแตละขอถูกตอจํานวนผูสอบทั้งหมด คาความยากงาย (p) ที่ถือวาผานการคัดเลือกจะตองมีคาระหวาง 0.20 – 0.80

10. นําคะแนนจากการทดสอบมาหาคาอํานาจจําแนก (Discrimination) โดยเรียงลําดับคะแนนจากมากไปหานอย จากนั้นแบงคะแนนออกเปนกลุมสูงและกลุมต่ําอยางละคร่ึงหนึ่งของผูสอบจํานวนทั้งหมด นําไปแทนคาในสูตร คาอํานาจจําแนก (r) ของขอสอบที่ผาน การคัดเลือกตองมีคา 0.20 ขึ้นไป

11. นําขอสอบที่มีคาความยากงาย (p) ระหวาง 0.20 – 0.80 และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.2 ขึ้นไป มาคัดใหไดจํานวน 40 ขอ

Page 89: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

79

12. หาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย โดยใชสูตรคูเดอรริชารดสัน 20 (K.R.–20) ไดคาความเชื่อมั่น .9721

2.2 แผนการจัดการเรียนรู มี 2 ลักษณะ คือ2.2.1 การสรางแผนการจัดการเรียนรูที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน

เทคนิค STAD เร่ือง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทย มีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบ คุณภาพ ดังนี้

1) ศึกษาหลักสูตร จุดมุงหมาย ขอบเขตเนื้อหา และหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 กลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย

2) ศึกษาเอกสารและตําราที่เกี่ยวของกับหลักภาษา เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย

3) ศึกษาวิธีการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD จากเอกสาร ตาง ๆ และวิทยานิพนธรวมทั้งขอคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญและอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ

4) จัดทําแผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD จํานวน 7 แผน ใชเวลาสอนแผนละ 50 นาที

แตละแผนการการเรียนรูมีองคประกอบ ดังนี้1. สาระสําคัญ2. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง3. จุดประสงคการเรียนรู4. เนื้อหาสาระ

5) กิจกรรมการเรียนรู มีขั้นตอนดังนี้5.1 ขั้นการสอนของครู โดยสอนเนื้อหาใหมพรอมทั้ง

ยกตัวอยาง5.2 ขั้นการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD

5.2.1 นักเรียนเขากลุมตามที่ครูกําหนดให5.2.2 อธิบายการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD

ดังนี้(1) บทบาทที่นักเรียนตองปฏิบัติขณะทํางานกลุม(2) ขอตกลงที่นักเรียนทุกคนในหองตองปฏิบัติ

คือการชวยเหลือ ซ่ึงกันและกันในกลุม

Page 90: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

80

(3) หนาที่ของสมาชิกในกลุม คือ การถายทอด ความรูใหแกเพื่อนสมาชิกดวยกันและชวยกันทําใบงานใหสําเร็จตามเปาหมาย

5.2.3 อธิบายพฤติกรรมที่ครูและผู เ รียนสังเกตขณะ ทํางานกลุม

5.2.4 อธิบายการประเมินผลโดยใชแบบทดสอบและ แบบสังเกตพฤติกรรม การทํางานกลุม

5.2.5 นักเรียนอภิปรายรวมกันถึงส่ิงที่ไดเรียนรู5.3 ขั้นทดสอบนักเรียน5.4 แจงผลการประเมินใหนักเรียนทราบ5.5 ส่ือการเรียนรู5.6 การวัดและประเมินผล

6) นําแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นเสนออาจารยผูควบคุม วิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาตรวจสอบเนื้อหาแลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

7) นําแผนการจัดการเรียนรูที่ปรับปรุงแกไขแลวไปใหผูเช่ียวชาญจํานวน 3 ทานตรวจความถูกตองของภาษา เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู ความสอดคลองของ จุดประสงคการเรียนรู แลวนํามาปรับปรุงแกไข

8) นําแผนการเรียนรูที่ปรับปรุงแลวไปใชกับนักเรียนกลุมทดลอง2.2.2 การสรางแผนการจัดการเรียนรูที่สอนโดยการเรียนแบบปกติ

เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย มีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้แผนการสอนแบบปกติ มีขั้นตอนการสรางดังนี้1. ศึกษาหลักสูตร จุดมุงหมาย ขอบเขตเนื้อหา และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พ.ศ. 2544 กลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทย2. ศึกษาเอกสารและตําราหลักภาษา เร่ือง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทย3. จัดเนื้อหาเหมือนแผนการจัดการเรียนรูกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวม

มือกันเทคนิค STAD4. จัดทําแผนการเรียนรู 7 แผน แตละแผนประกอบดวย

4.1 สาระสําคัญ4.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง4.3 จุดประสงคการเรียนรู4.4 เนื้อหาสาระ

Page 91: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

81

4.5 กิจกรรมเรียนรู- ขั้นนําเขาสูบทเรียน- ขั้นดําเนินการสอน- ขั้นสรุป

4.6 ส่ือการเรียนรู4.7 การวัดและประเมินผล

5. นําแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นเสนออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาตรวจสอบเนื้อหาแลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

6. นําแผนการจัดการเรียนรูที่ปรับปรุงแกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน ตรวจความถูกตองของเนื้อหาภาษา และกิจกรรมการเรียนการสอน ความสอดคลองของ จุดประสงคการเรียนรู แลวนํามาปรับปรุงแกไข

7. นําแผนที่ปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญไปใชกับนักเรียกลุมควบคุม2.3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกัน

เทคนิค STADแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกัน

เทคนิค STAD ผูวิจัยไดดําเนินการสรางตามขั้นตอน ดังนี้1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถาม เพื่อ

เปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม2. สรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบ

รวมมือกันเทคนิค STAD เปนมาตราสวนประมาณคาของลิเคิรต ชนิด 5 ตัวเลือก คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด โดยมีเกณฑการใหคะแนนเปน 5, 4, 3, 2, 1 จํานวน 10 ขอ

3. นําแบบสอบถามความคิดเห็น ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเสนออาจารยผูควบคุม วิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาตรวจสอบแลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

4. นําแบบสอบถามความคิดเห็นที่ปรับปรุงแกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญ ตรวจสอบความตรง

5. นําผลการพิจารณาของผูเช่ียวชาญมาหาคาดัชนีความสอดคลอง IOC (Index of Item Objective Congruence)

+1 หมายถึง แนใจวาขอคําถามนั้นสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย หรือพฤติกรรมที่ตองการวัด

Page 92: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

82

0 หมายถึง ไมแนใจวาขอคําถามนั้นสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย หรือพฤติกรรมที่ตองการวัด

-1 หมายถึง แนใจวาขอคําถามนั้นไมสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัยหรือพฤติกรรมที่ตองการวัด

6. นําผลการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญมาหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC)6.1 ถาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) มากกวาหรือเทากับ .50

แสดงวาขอคําถามนั้นสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัยหรือพฤติกรรมที่ตองการวัด6.2 ถาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) นอยกวา .50 แสดงวาขอคําถาม

นั้นไมสอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัยหรือพฤติกรรมที่ตองการวัดตองนําไปปรับปรุงแกไขใหม7. นําแบบสอบถามความคิดเห็น ไปใชกับนักเรียนกลุมทดลองที่ไดรับ

การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันที่ใชเทคนิค STAD3. ขั้นทดลอง

ในการทดลองตามแผนการวิจัย Experimental Design แบบ Control Group Pretest – Posttest Design ผูวิจัยไดดําเนินการทดลอง ดังนี้

3.1 แบงกลุมตัวอยาง 2 หองเรียน โดยหองเรียนทั้ง 2 หอง ไดผานกระบวน การวิเคราะหแลววามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยไมแตกตางกัน มาจับฉลากกลุมเพื่อ แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม ซ่ึงไดนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หอง 2/2 เปน กลุมทดลองจํานวน 24 คน และหอง 2/3 เปนกลุมควบคุม จํานวน 24 คน

3.2 ทดสอบกอนเรียนกับนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุมโดยใช แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เร่ือง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทย จํานวน 40 ขอ ที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อวัดความรูพื้นฐานในเนื้อหาที่จะเรียน

3.3 ผูวิจัยดําเนินการสอนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยทั้งกลุมทดลองและกลุมควบคุม ซ่ึงใชเนื้อหาเดียวกัน แตใชวิธีสอนที่แตกตางกัน ดังนี้

3.3.1 กลุมทดลอง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หอง 2/2 สอนโดย การเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD

3.3.2 กลุมควบคุม คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หอง 2/3 สอนโดย วิธีสอนแบบปกติ

3.4 ทดสอบหลังเรียนกับกลุมทดลองและกลุมควบคุม โดยใชแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย เปนชุดเดียวกับที่ใชทดสอบกอนเรียน

Page 93: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

83

3.5 ใหนักเรียนกลุมทดลองหอง 2/2 ทําแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีตอ การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ที่ผูวิจัยสรางขึ้น

ตารางที่ 3 ระยะเวลาและรายละเอียดในการทดลองสอนกลุมทดลองและกลุมควบคุม

112233445566778899

10

ทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลองควบคุมทดลอง

ทดสอบกอนเรียนทดสอบกอนเรียน

คําและหนาที่ของคํานามคําและหนาที่ของคํานาม

คําและหนาที่ของคําสรรพนามคําและหนาที่ของคําสรรพนามคําและหนาที่ของคํากริยาคําและหนาที่ของคํากริยาคําและหนาที่ของคําวิเศษณคําและหนาที่ของคําวิเศษณคําและหนาที่ของคําบุพบทคําและหนาที่ของคําบุพบทคําและหนาที่ของคําสันธานคําและหนาที่ของคําสันธานคําและหนาที่ของคําอุทานคําและหนาที่ของคําอุทาน

ทดสอบหลังเรียนทดสอบหลังเรียน

ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น

อังคารพุธ

พฤหัสบดีศุกรอังคารพุธ

พฤหัสบดีศุกรอังคารพุธ

พฤหัสบดีศุกรอังคารพุธ

พฤหัสบดีศุกรอังคารพุธ

พฤหัสบดี

13.50 – 14.408.30 – 9.10

11.10 – 12.0013.00 – 13.5013.50 – 14.408.30 – 9.10

11.10 -12.0013.00 – 13.5013.50 – 14.408.30 – 9.10

11.10 – 12.0013.00 – 13.5013.50 – 14.408.30 – 9.10

11.10 – 12.0013.00 – 13.508.30 – 9.10

11.10 – 12.0013.00 – 13.50

4. ขั้นวิเคราะหขอมูลและทดสอบสมมุติฐานผูวิจัยนําขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะหดวยวิธีการทางสถิติสรุปเปนผลการทดลองและ

ทดสอบสมมติฐานตามลําดับ ดังนี้

คาบที่ กลุม เนื้อหา วันที่ทดลอง เวลาที่ทดลอง

Page 94: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

84

4.1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางวิธีสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกับวิธีสอนแบบปกติ โดยการเปรียบเทียบคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และผลตางของคาเฉลี่ยระหวางกลุมและคาเฉลี่ย Pretest – Posttest ของแตละกลุม โดยใชสูตร (กนกทิพย พัฒนาพัวพันธ 2529 : 258) ดังนี้

t =nSd/d-d µ−

d แทนความแตกตางของคาตัวแปรตามแตละคูn แทนจํานวนคู-d แทนคาเฉลี่ยของ dSd แทนคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของ d

dµ แทนศูนย4.2 วิ เคราะหคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย4.2.1 คาความยากงาย (ไพศาล หวังพานิช 2526 : 182)

จากสูตร P = NR

เมื่อ P แทน คาความยากงาย R แทน จํานวนคนที่ทําขอสอบรายขอนั้นถูก

N แทน จํานวนคนที่ทําขอสอบรายขอทั้งหมด4.2.2 คาอํานาจจําแนก (ไพศาล หวังพานิช 2526 : 182)

จากสูตร r =

2N

LH−

เมื่อ r แทน คาอํานาจจําแนก H แทน จํานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุมสูง

L แทน จํานวนนักเรียนที่ตอบถูกในกลุมต่ํา N แทน จํานวนนักเรียนที่ทําขอสอบทั้งหมด

4.3 วิเคราะหคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยโดยใชสูตร K.R. 20 ของคูเดอรริชารดสัน(ไพศาล หวังพานิช 2526 : 177)

Page 95: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

85

× 100

จากสูตร rtt = 2SΣpq[1

1nn

−−

เมื่อ rtt แทน ดัชนีคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบn แทน จํานวนขอสอบในแบบทดสอบp แทน จํานวนนักเรียนที่ตอบถูกตอจํานวนq แทน 1 – pS2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนที่ไดจากการทํา

แบบทดสอบทั้งฉบับ4.4 นําผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่นักเรียนมีตอวิธีการสอนโดย

การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิคSTAD มาวิเคราะหดวยวิธีการแจกแจงความถี่แลวคิดเปนอัตราสวนรอยละ (ประคอง กรรณสูตร 2525 : 73)

รอยละ = จํานวนนักเรียนที่แสดงความคิดเห็นจํานวนนักเรียนทั้งหมด

Page 96: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

86

บทท่ี 4การวิเคราะหขอมูล

การวิจัยคร้ังนี้เปนการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ และศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูล จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนศาลาตึก อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม เปนกลุมตัวอยาง 2 กลุม กลุมละ 24 คน รวมเปน 48 คน โดยแบงเปนกลุมทดลอง ที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD จํานวน 24 คน และ กลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีการสอนแบบปกติ จํานวน 24 คน ซ่ึงผูวิจัยไดดําเนินการทดลองดวย ตนเอง ผูวิจัยเสนอผลการวิเคราะหขอมูลโดยแบงเปน 2 ตอน ตามสมมุติฐาน ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําใน ภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ

ตอนที่ 2 ผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD

การวิเคราะหขอมูลเพื่อตอบสมมติฐานของการวิจัย เร่ืองการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ มีรายละเอียด ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองคําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิคSTAD กับการสอนแบบปกติ

86

Page 97: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

87

ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย(กอนเรียนและหลังเรียน) ของกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ปรากฏผลดังนี้

กลุมทดลอง คะแนนเต็ม N X S.D. t Sig.(2-tailed)

กอนเรียน 40 24 26.17 3.384หลังเรียน 40 24 33.46 3.349

11.273 .000

p-value = sig/2 = 0.000<0.05

ผลการวิเคราะหขอมูลจากตารางที่ 4 พบวา คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กอนเรียน ( X = 26.17, S.D. = 3.384) และหลังเรียน ( X = 33.46, S.D. = 3.349) มี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงหมายความวา หลังการทดลองนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD มีความสามารถทางการเรียนเร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยสูงกวากอนเรียน

ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย (กอนเรียนและหลังเรียน) ของกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติปรากฏผลดังนี้

กลุมควบคุม คะแนนเต็ม N X S.D. t Sig.(2-tailed)

กอนเรียน 40 24 25.96 3.316หลังเรียน 40 24 31.33 3.279

13.978 .000

p-value = sig/2 = 0.000<0.05

ผลการวิเคราะหขอมูลจากตาราง 5 พบวา คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติกอนเรียน ( X = 25.96, S.D. = 3.316) และหลังเรียน ( X = 31.33, S.D. = 3.279) มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซ่ึงหมายความวาหลังการทดลองนักเรียนกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอน แบบปกติมีความสามารถทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยสูงกวากอนเรียน

Page 98: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

88

ตารางที่ 6 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยระหวางกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิคSTAD กับกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีแบบปกติ ปรากฏผลดังนี้

กลุมตัวอยาง คะแนนเต็ม N X S.D. t Sig.(2-tailed)

กลุมทดลอง 40 24 26.167 3.384กลุมควบคุม 40 24 25.96 3.316

.232 .806

p-value = 0.806>0.05

ผลการวิเคราะหขอมูลจากตาราง 6 พบวา คะแนนเฉลี่ยของคะแนนสอบกอนเรียนของกลุมทดลอง ( X = 26.167, S.D. = 3.384) และกลุมควบคุม ( X = 25.96, S.D. = 3.316) ไมแตกตางกันทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงหมายความวากอนการทดลอง นักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุม มีความสามารถทางการเรียนเร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยไมแตกตางกัน

ตารางที่ 7 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ระหวางกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STADกับกลุมควบคุม ที่สอนโดยวิธีแบบปกติ ปรากฏผลดังนี้

กลุมตัวอยาง คะแนนเต็ม N X S.D. t Sig.(2-tailed)

กลุมทดลอง 40 24 33.46 3.349กลุมควบคุม 40 24 31.33 3.279

4.472 .000

p-value = sig/2 = 0.000<0.05

ผลการวิเคราะหขอมูลจากตาราง 7 พบวา คะแนนเฉลี่ยของคะแนนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของกลุมทดลอง ( X = 33.46, S.D. = 3.349) และกลุมควบคุม ( X = 31.33, S.D. = 3.279) แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงหมายความวาหลัง การทดลองนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันทางเทคนิค STAD มีความสามารถทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยสูงกวากลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติ

Page 99: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

89

ตอนที่ 2 ผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิคSTADการวิเคราะหขอมูลเพื่อทราบความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลองจํานวน 24 คน ที่มี

ตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD ผูวิจัยนําผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นมาวิเคราะห ขอมูลโดยหาคาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ไดดังนี้

ตารางที่ 8 ผลการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ดานการจัดการเรียนรูและการทํางานกลุม

ขอ ขอความ / ความรูสึก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

1

2

3

4

5

6

ความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการเรียนรูนักเรียนรูสึกชอบเมื่อถึงเวลาเรียนสาระการเรียนรูภาษาไทยที่ค รูสอนดวยเทคนิค STADนักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและความคิดสรางสรรคในขณะที่เรียนเสมอนัก เ รี ยนมี โอกาสซักถามปญหากับอาจารยและเพื่อเมื่อไมเขาใจนักเรียนรูสึกเสียดายเมื่อหมดเวลาเรียนสาระการเรียนรูภาษาไทยนักเรียนรูสึกสบายใจเมื่อถึงเวลาทํากิจกรรมตามเทคนิค STAD ที่ไดรับมอบหมายนั ก เ รี ยนรู สึ กว าก ารจั ดกิ จกรรมการสอนตามเทคนิคSTAD สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

41.7

87.5

83.3

41.7

79.2

95.8

41.7

12.5

16.7

45.8

20.8

4.2

16.6

12.5

Page 100: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

90

ขอ ขอความ / ความรูสึก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด7

8

9

10

11

12

13

14

15

นักเรียนเห็นวาวิธีสอนตามเทคนิ ค S T A D ช ว ย ให นั ก เ รี ย น เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู อยางแทจริงนักเรียนเห็นวาวิธีการสอนตามเทคนิค STAD ฝกให นักเรียนมีความรับผิดชอบมากขึ้นนักเรียนเห็นดวยที่การเรียนดวยเทคนิค STAD เนนใหนักเรียนมีทักษะทางสังคมนักเรียนเห็นวาการทํางานดวยเทคนิค STAD เนนวิธีการทํางานกลุมความคิดเห็นเ ก่ียวกับการทํางานกลุมนัก เรี ยนยอมรับฟ งความ คิดเห็นของเพื่อนมากขึ้นนักเรียนปฏิบัติตามบทบาท ที่ ไ ด รั บมอบหม า ยอ ย า ง เครงครัดนักเรียนพอใจในผลงานที่รวมกันทําภายในกลุมนักเรียนมีการปรึกษาหารือรวมกันในขณะทํางานนัก เรียนชวยกันแกปญหา ใหกลุม

91.7

95.8

100

100

95.8

83.3

83.3

87.5

83.3

8.3

4.2

4.2

16.7

8.3

12.5

12.5

8.3

4.2

Page 101: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

91

จากตารางที่ 8 วิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลองที่มีตอ การจัดการเรียนรูและการทํางานกลุม ของนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ไดดังนี้ ชวงที่ 1 เปนแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู ชวงที่ 2 เปนแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการทํางานกลุมเมื่อพิจารณารายละเอียด พบวา

ชวงที่ 1 นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูระดับมากที่สุด คือ วิธีสอนตามเทคนิค STAD เปนวิธีการทํางานกลุมและฝกใหนักเรียนมีทักษะทางสังคม (รอยละ 100 ) ฝกใหนักเรียนมีความรับผิดชอบมากขึ้นและสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได (รอยละ 95.8) ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางแทจริง (รอยละ 91.7) มีโอกาสแสดงความคิดเห็น สรางสรรคในขณะที่เรียนเสมอ (รอยละ 87.5 ) มีโอกาสซักถามปญหากับอาจารยและเพื่อนเมื่อ ไมเขาใจ (รอยละ 83.3) นักเรียนรูสึกสบายใจเมื่อถึงเวลาทํากิจกรรมที่ไดรับมอบหมาย (รอยละ 79.2) รูสึกชอบเมื่อถึงเวลาเรียนสาระการเรียนรู ภาษาไทย ดวยเทคนิค STAD และรูสึกเสียดายเมื่อหมดเวลาเรียนสาระการเรียนรูภาษาไทย (รอยละ 41.7)

ชวงที่ 2 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทํางานกลุม ระดับมากที่สุด พบวา นักเรียนยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อน (รอยละ 95.8) มีการปรึกษาหารือรวมกันในขณะทํางาน(รอยละ 87.5 ) ปฏิบัติตามบทบาทที่ไดรับมอบหมายอยางเครงครัด ชวยแกปญหาใหกลุม และพอใจในผลงานที่รวมกันทําภายในกลุม(รอยละ 83.3)

นอกจากนี้ผูวิจัยไดเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นตอวิธีการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD โดยเปนขอคําถามปลายเปดเพื่อใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ เพื่อใหผูวิจัยไดขอมูลที่หลากหลาย และความรูสึกที่แทจริงของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD ผลการสรุปความคิดเห็นที่มีตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD นักเรียนสวนใหญแสดงความคิดเห็นที่สอดคลองกันวา การเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD มี การชวยเหลือซ่ึงกันและกันทําใหเกิดการยอมรับเพื่อนมากขึ้นลดความเห็นแกตัวและเห็นความสําคัญของ การทํางานกลุมมากขึ้น มีการชวยเหลือเพื่อนเต็มที่เพื่อความสําเร็จของกลุม บรรยากาศในการเรียนมีการพูดคุยกันมากขึ้น ปรึกษาหารือกันมากขึ้น ปญหาในการเรียนสวนใหญ คือ เนื้อหายากทําใหมีเวลาทํางานในกลุมนอยและตองทํางานแขงกับเวลา

Page 102: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

92

บทท่ี 5สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ และศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอน โดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ตัวอยางที่ใชในการวิจัยไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 2 โรงเรียนศาลาตึกวิทยา อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม ซึ่งไดมากจากการสุมแบบงาย จํานวน 2 หองเรียน จาก 5 หองเรียน หองเรียนละ 24 คน โดยกลุมทดลองสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD และกลุมควบคุม สอนโดยวิธีสอนแบบปกติ

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ไดแก แผนการจัดการเรียนรูแบบรวมมือกันเทคนิค STAD แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงเปน แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน 40 ขอ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอการเรียนรูแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ดานกิจกรรมการเรียนรูและการทํางานกลุม จํานวน 15 ขอ เลือกแผนการวิจัยแบบมีการทดลองกอนและหลังการทดลอง (control group pretest-posttest design) ผูวิจัยเปนผูดําเนินการสอนดวยตนเองทั้ง 2 กลุม โดยทดสอบความสามารถของนักเรียนดวยแบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้นและหาคุณภาพแลว เมื่อทดลองสอนครบ 14 คาบ จึงทดสอบ อีกครั้งโดยใชแบบทดสอบชุดเดิมหลัง จากนั้นจึงนําผลการทดลองมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่สอนโดย การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติวิเคราะห คาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบคาเฉลี่ยโดยใชการทดสอบ paired samples t-test การวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนเร่ืองคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD วิเคราะหคารอยละแลวนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในรูปของตารางและความเรียง

92

Page 103: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

93

สรุปผลการวิจัย

ผลการวิจัยสามารถสรุปไดดังนี้1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียน

กลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STADกับกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD สูงกวากลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติ

2. นักเรียนพอใจตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ในระดับมากที่สุด

อภิปรายผลการวิจัย

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทนของนักเรียน กลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน เทคนิค STADกับกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD สูงกวากลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติ อาจเนื่องมาจากการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD เปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่จัดใหนักเรียนเรียนเปน กลุมเล็ก ๆ แตละกลุมประกอบดวยนักเรียนที่มีความสามารถในการเรียนเกง ปานกลาง และออนคละกันไป นักเรียนทุกคนตองมีสวนรวมในการเรียนรูรวมกัน มีการชวยเหลือกันในการเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหมและชวยกันคิด แลกเปลี่ยนความรูจนทําใหกลุมประสบความสําเร็จ การที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหนักเรียนพึ่งพาอาศัยกันอยางสม่ําเสมอ จะทําใหผูเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดของสลาวิน (Salavin 1982 : 20-21)ที่วาการสอนแบบรวมมือกันจะทําใหผูเรียนพัฒนาความภาคภูมิใจในตนเอง การจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือกัน เทคนิค STAD มีการทดสอบเพื่อตรวจสอบความกาวหนาของผูเรียนและในการทดสอบแตละครั้ง นักเรียนแตละคนจะไดคะแนนพัฒนา จากนั้นก็จะนําคะแนนของแตละคนในกลุมมารวมกันแลวคิดเปนคะแนนเฉลี่ยของกลุมถากลุมใดไดคะแนน ถึงเกณฑที่กําหนดก็จะไดรับรางวัลซ่ึงเปนเครื่องหมายแหงความสําเร็จของกลุม ดังนั้นสมาชิก ภายในกลุมจะตองเรียนรูและชวยเหลือกัน ถาไดคะแนนนอยก็จะทําใหคะแนนของกลุมนอยลงไปดวย ซ่ึงสมาชิกในกลุมจะตองชวยกัน การที่ผูเรียนมีโอกาสทํางานรวมกันจะทําใหเกิดการ

Page 104: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

94

เปลี่ยนแปลงความคิด และการที่เด็กเกงไดชวยเหลือเพื่อนที่เรียนชา ทําใหเด็กเกงมีความเขาในใจเนื้อหาความคิดรวบยอดในเรื่องนั้น ไดลึกซึ้งกวาเดิมและตองมีทักษะการถายทอดความรูความคิดอธิบายใหกลุมเกิดความเขาใจที่ถูกตองและตรงกัน (วารุณี อุนบุญ 2540 : 149-150) ซ่ึงสงผลให นักเรียนไดรับความสําเร็จทั้งกลุมและการใหรางวัลแกกลุมเปนการเสริมแรงทางบวกเปน การกระตุนใหผูเรียนมีความพยายามในการเรียนรูมากขึ้นและพยายามปรับพฤติกรรมของตนเองเพื่อความสําเร็จของกลุม ซ่ึงเปนไปตามแนวคิดพื้นฐานดานจิตวิทยาที่กลาววาการเสริมแรง เปนสิ่งที่ชวยกระตุนใหผูเรียนตองการที่จะเรียนมากขึ้น โดยเฉพาะการเสริมแรงทางบวกโดยการใหรางวัลและคําชมเชย นอกจากนี้การใหแรงเสริมอาจเปนการตรวจงานของนักเรียนและทําใหนักเรียน ไดทราบผลไดทันทีเพื่อจะไดปรับและแกไขขอบกพรองที่เกิดขึ้นจะสงผลใหนักเรียนเห็นผลงานตลอดจนความกาวหนาของตนเองและกลุมชัดยิ่งขึ้นซึ่งถือวาเปนการเสริมแรงสอดคลองกับ งานวิจัยของ Fiel และ Okey (1974 : 253) ที่พบวาควรจัดการเรียนการสอนโดยมีการแกไข ขอบกพรองเพื่อให นักเรียนแตละคนรูแจงในเนื้อหาแตละขั้นตอนกอนที่จะไปเรียนเนื้อหาอ่ืน

ผูวิจัยไดจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ทําให ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือสูงกวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุมควบคุมที่สอนโดยวิธีสอนแบบปกติ ซ่ึง ผลการวิจัยสอดคลองกับผลการวิจัยของ ศรไกร รุงรอด (2533) พบวาผลสัมฤธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือแบบSTADสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครูของสสวท. และผลงานวิจัยของ ชาญณรงค อินทรประเสริฐ (2534) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษทางดานการฟง เพื่อความเขาใจของนักเรียนโดยใชวิธีการเรียนแบบแบงกลุมตามสังกัดสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน STAD กับการสอนทั้งชั้น พบวา นักเรียนที่เรียนโดยการสอนแบบแบงกลุมตามสังกัดสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสูงกวานักเรียนแบบทั้งชั้น และชัยวัฒน ฤทธิ์ชุมพล (2539) ศึกษาสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนและเจตคติตอการสอน วิทยาศาสตรโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบ STAD พบวา นักเรียนที่เรียนวิทยาศาสตรโดย กิจกรรมการเรียนแบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นรอยละเทากับ 14.75

2. ความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลองที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD นักเรียนมีความพอใจในระดับมากที่สุดคือเนนวิธีการทํางานกลุมและทักษะทางสังคม ทั้งนี้เนื่อง มาจากการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิคSTADเปนการสอนการทํางานเปนกลุมมีการปรึกษาหารือกัน พูดคุย ซักถามและอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และชวยเหลือซ่ึงกันและกัน กอใหเกิด การบรรยายที่ดีในการเรียนและมีเจตคติที่ดีตอวิชา จึงสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับผลงานวิจัยของ De Vrids และคณะ(1978) ที่พบวาการเรียนแบบกลุมนักเรียน

Page 105: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

95

จะเรียนดวยความเขาใจ ประทับใจ จนทําใหจําเรื่องที่เรียนไดดีเปนพิเศษ เมื่อนักเรียนไดรับการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD จะชวยสงเสริมการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน เรียนรูสภาพการตางๆรวมกัน และเรียนดวยความเขาใจ เกิดความสนุกสนาน และกอใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียน นอกจากนี้การศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการทํางานกลุม นักเรียนรอยละ 95.9 ยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนมากขึ้น ทั้งนี้อาจเปนเพราะการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ไดทํางานรวมกันและเขียนสิ่งที่พบเห็นพรอมกันจาก การทํางานและกิจกรรมนั้นๆ ซ่ึงในการเรียนนักเรียนทุกคนตองตระหนักในการมีสวนรวมใน การทํางานเปนกลุมเพื่อใหกลุมประสบความสําเร็จ ทําใหนักเรียนที่ออนกวามีกําลังใจในการเรียนรูและมีความตั้งใจในการทํากิจกรรมตางๆมากขึ้นเพื่อตองการใหคะแนนกลุมไดผลดี ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ Young(1972:603) วาการที่นักเรียนวัยใกลเคียงกัน สามารถสื่อสารกันเขาใจงายกวาครู กลาที่จะซักถาม โตแยงกัน ทําใหเกิดผลดีตอการจัดการเรียนการสอนอีกทั้งยังสอดคลองกับงานเขียนของ Dunn(1972 : 154) ที่กลาววา การเรียนการสอนที่ดีควรชวยใหนักเรียนมีโอกาสทํางานกลุมรวมกัน ซ่ึงการสรางกลุมที่มีความสัมพันธตอกันจะสงเสริมบรรยากาศที่เปนกันเอง มีอิสระ และปองกันไมใหนักเรียนรูสึกวาอยูคนเดียว

จะเห็นวาการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ทําใหนักเรียนไดรวมมือชวยเหลือ ซ่ึงกันและกันสมาชิกที่แตกตางกันทางความสามารถจะชวยเหลือกันเปนการฝกทักษะการทํางานกลุมรวมกัน ผลงานของกลุมจะขึ้นอยูกับสมาชิกแตละบุคคลในกลุมสมาชิกตางไดรับความสําเร็จรวมกันครูเปนเพียงผูแนะนําและใหคําปรึกษาเทานั้น การเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD เปน การฝกความรับผิดชอบตอตนเองและตอกลุมซ่ึงถือวามีความสําคัญตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบรวมมือ จากผลการวิจัยจะเห็นวาการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD ทําใหพฤติกรรมการเรียนของผูเรียน ไปในทางที่ดี เกิดการทํางานรวมกัน ซ่ึงการจัดการเรียนแบบรวมมือเทคนิค STAD ผูวิจัยไดใชวิธีการเสริมแรงโดยการใหประกาศนียบัตรสําหรับกลุมที่ทําคะแนนไดดี 3 กลุมแรก และนําไปติดไวที่ปายนิเทศหนาหองเรียนเพื่อเปนการเสริมแรงและกระตุนใหผูเรียนพยายามในการเรียนใหมากขึ้น และเปนการสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะการทํางานรวมกันเปนกลุม นอกจากนี้ความรวมมือในการทํางานกลุมของนักเรียนพบวา นักเรียนตั้งใจและยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนไมรบกวนเพื่อนในขณะทํางานมีการปรึกษาหารือรวมกัน มีการแกปญหาในกลุมรวมกัน ประสานความคิดของสมาชิกในกลุม

การเรียนแบบปกติเปนการเรียนทั้งชั้นสามารถทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรูดวยเชนกัน เพราะมีขั้นตอนการสอนที่ใชกิจกรรมที่หลากหลายนาสนใจไดแก เกม การทํางานกลุม การอภิปราย ทั้งยังมีการวัดผลประเมินผลตลอดระยะเวลาที่สอน ทําใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ

Page 106: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

96

และปฏิบัติ กิจกรรมดวยตนเอง มีการสนทนาซักถาม อภิปรายรวมกัน ทําใหนักเรียนมีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนเพิ่มสูงขึ้นกวากอนเรียน แมวาผูวิจัยไดเลือกวิธีสอนที่หลากหลายและสามารถเพิ่ม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไดดีจริงแตยังไมสามารถดูแลนักเรียนไดอยางทั่วถึงเนื่องจากนักเรียนแตละคนความสามารถทางการเรียนรูตางกัน นักเรียนสวนใหญตางตนตางเรียนไมมีความรับผิดชอบ รวมกันไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ดังที่Davidson ( 1990:52-53) ไดกลาววา โดยปกติแลว นักเรียนแยกอิสระตอกัน และอาจมีการแขงขันกัน ทําใหนักเรียนมีความรูสึกโดดเดี่ยว วิตกกังวลและไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร นอกจากนักเรียนเกงเทานั้น ซ่ึงการวิจัยพบวานักเรียน ที่เรียนแบบปกติไมไดแสดงความคิดเห็นอยางเต็มความสามารถ ไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ในขณะอภิปราย นักเรียนไมมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นเทาที่ควร

จากการวิจัยการเรียนแบบปกติไมสามารถแกไขขอบกพรองของนักเรียนไดอยางทั่วถึงแตการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD เปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความสามารถไดอยาง เต็มที่มีการปรึกษาหารือ และชวยเหลือซ่ึงกันและกันจึงทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ รวมมือกันเทคนิค STAD สูงกวากลุมที่ไดรับการสอนแบบปกติ

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะจากการวิจัยคร้ังนี้1. จากผลการวิจัยพบวา การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ทําใหนักเรียนมี

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงกวาการสอนตามปกติ ดังนั้นจึงควรนําการสอนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ไปใชกับนักเรียนชวงชั้นอื่นและวิชาอ่ืนตอไป

2. จากการวิจัยพบวาพฤติกรรมการทํางานกลุมของนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดย การเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD เปนไปในลักษณะที่ดีนักนั้นควรนําการจัดการเรียน การสอนวิธีนี้ไปใชเพื่อสงเสริมใหนักเรียน คิดเปน ทําเปนและแกปญหาเปน

3. ครูควรศึกษารูปแบบของการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ใหเขาใจกอน นําไปใชและควรทําความเขาใจกับนักเรียนถึงรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ใหเขาใจกอนเพื่อใหการจัดการเรียนรูมีประสิทธิภาพสูง

4. การใหนักเรียนศึกษาเปนกลุมยอย ครูควรเนนใหนักเรียนไดตระหนักถึงหนาที่และบทบาทของตนเองในขณะที่ทํางาน รวมถึงการใหความชวยเหลือแกสมาชิกในกลุมที่มีความสามารถทางการเรียนตางกันดวยความจริงใจและนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในการทําคะแนนพัฒนาการของกลุม

Page 107: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

97

ขอเสนอแนะสําหรับการทําวิจัยคร้ังตอไป1. ควรศึกษาเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนวิชาภาษาไทยที่สอนโดยการเรียน

แบบรวมมือหลาย ๆ เทคนิค เชน แบบกลุมชวยสอนเปนรายบุคคล (TAI) , แบบกลุม การแขงขัน (TGT) กับวิธีสอนแบบอื่น ๆ เชน การสอนดวยโครงงาน การสอน MIND MAPPING เปนตน

2. ควรมีการวิจัยเพื่อศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรดานความคงทนในการเรียนรูทักษะ ทางสังคมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกัน โดยใชเทคนิคหลาย ๆ อยาง เชน แบบกลุมชวยสอนเปนรายบุคคล (TAI) แบบรวมกันคิด (NHT) แบบกลุมการแขงขัน (TGT)

Page 108: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

98

บรรณานุกรม

กนกพร แสงสวาง. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการทํางานรวมกันในวิชา ส 305 โลกของเราของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคจิกวอรกับการสอนตามปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.

กรมวิชาการ. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2533 (ฉบับปรับปรุง 2541).กรุงเทพ : โรงพิมพการศาสนา, 2535.

________. แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสรางเสริมคุณลักษณะดี เกง มีสุข. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพคุรุสภา, 2524.

กรมวิชาการ, ศูนยพัฒนาหลักสูตร. การประเมินการใชหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2541 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพคุรุสภา, 2538.

กระทรวงศึกษาธิการ. กรมวิชาการ. การวิเคราะหรูปแบบนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา, 2535.

________. ก แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาพุทธศาสนา.กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพการศาสนา, 2539.

________. ข เอกสารลําดับที่ 2 ชุดนวัตกรรมชวยการเรียนการสอนเปลี่ยนโฉมการเรียนรู.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, 2539.

________. “ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาปการศึกษา 2540.” 2540. (อัดสําเนา)

Page 109: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

99

กาญจนา คุณารักษ. “การเรียนรูแบบรวมมือกันในชั้นเรียนบูรณาการ.” ทับแกว. คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2, 4 (2541) 48-74.

กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : อมรการพิมพ 2533.

กิ่งดาว กิ่งจันทร. “ผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกมที่มีตอความสามารถในการอานเขาใจความภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่1.” วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาจิตวิทยา บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2537.

กุลยา เบญจกาญจน. “การอานแบบรวมมือ.” วิทยาจารย 9, 3 (มกราคม 2538) : 18.

จุฑามาศ สดแสงจันทร. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการทํางานกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันโดยใชเทคนิคสแตดกับการสอนตามปกติในรายวิชา ส 401 สังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4โรงเรียนสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.

ชวนพิศ อัตเนตร. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาไทยที่สอนโดยหนังสือการตูนกับวิธีสอนแบบปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.

ชัยยา โพธ์ิแดง. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษารายวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใตในโลกปจจุบัน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ระหวางกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเปนกลุมกับการเรียนตามปกติ.” รายงานการวิจัยผลงานทางวิชาการโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม นนทบุรี, 2540.

ชูศักดิ์ แสนปญญา. “การสอนโดยวิธีควบคุมการใชแรงเสริม.” สารพัฒนาหลักสูตร 1, 3(เมษายน-มิถุนายน 2537) : 38

Page 110: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

100

ฐะปะนีย นาครทรรพ. “สอนหลักภาษาอยางไรไมนาเบื่อ.” วิชาการ (11 พฤศจิกายน 2541) : 14.

ฐิติมา อุนใจ. “การเปรียบเทียบการคิดแบบอเนกนัยของเด็กปฐมวัยที่ไดรับประสบการณการเรียนแบบรวมมือกับประสบการณตามแผนปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2538.

ณัตจรี แสงพันธ. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 4 เรื่องเศษสวน ที่เรียนโดยวิธีแบบกลุมตามสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน (STAD) กับนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอนตามปกติ.”ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2536.

ดาวรุง เถียรทวี. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคําของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการสอนโดยใชบทเรียนโมดูลและการสอนตามแนวคูมือครู.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2541.

ทวีป อภิสิทธิ์. “กระบวนการกลุมกับการเรียนการสอน.” มิตรครู 7 (พฤษภาคม 2528) : 45-46.

ทิศนา แขมมณี และคณะ. “การเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด.” การปฏิรูปการเรียนรูตามแนวคิด 5 ทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2540.

ทิศนา แขมมณี และเยาวภา เตชะคุปต. กลุมสัมพันธทฤษฎีและแนวทางปฏิบัติเลม 1.กรุงเทพ : บูรพาศิลป, 2522.

________. “การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม จากทฤษฎีสูการปฏิบัติ.”สาระการศึกษา 80 ป. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, (2541)

Page 111: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

101

เทื้อน ทองแกว. “การประยุกตใชสถิติการเรียนรวมกลุม (Cooperative Learning)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน.” สารพัฒนาหลักสูตร 1, 6(มกราคม-มีนาคม 2537) : 43-47.

ธนาลัย ตปนีย. “การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษและทักษะทางสังคมดวยเทคนิคการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบปกติของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2535.

นาตยา ปลันธนานันท. “การเรียนแบบ Cooperative Learning.” เอกสารประกอบการสอนวิชาแนวโนมการสอนสังคมศึกษา (160256). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540.

นิคม ตังคะพิภพ. สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษา : มโนทัศนและการประยุกต. นครปฐม :โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร :สามเจริญพานิชย, 2535.

บุญเรียง ขจรศิลป. สถิติวิจัย 2. กรุงเทพมหานคร : กราฟฟค การพิมพ, 2537.

บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, หมอมหลวง. ภาษาไทยวิชาที่ถูกลืม. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพบรรณกิจ, 2523.

บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. การเรียนแบบรวมมือในการสรางความรู. กรุงเทพมหานคร :โรงเรียนหอวัง, 2541.

ประภาศรี สีหอําไพ. วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร :สํานักพิมพวัฒนาพานิช, 2524.

Page 112: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

102

ปาริชาติ จิตรฉ่ํา. “การเรียนแบบรวมมือเพื่อพัฒนาสัมฤทธิ์ผลเจตคติ และทักษะการทํางานรวมกันในวิชาสังคมศึกษา ส 504 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5.” กรุงเทพมหานคร :วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร-การสอน)สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ภาควิชาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2535.

พรรณรัศมิ์ เงาธรรมสาร. “การเรียนแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน.” สารพัฒนาหลักสูตร(กุมภาพันธ 2533) : 35-39.

________. “การเรียนแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน.” สารพัฒนาหลักสูตร 9 (กุมภาพันธ2540) : 35.

พรรณี ชูทัยเจนจิต. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : ตนออแกรมมี่, 2538.

พรรัตน ศิลกุล. “การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการทํางานรวมกัน และเจตคติในวิชาสังคมศึกษา (ส 503) โดยใชการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบกลุมเดิม โรงเรียนหนองไผ จังหวัดเพชรบูรณ.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร-การสอน) สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาภาควิชาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2543.

พิมพพันธ เดชะคุปต. “การเรียนแบบรวมมือ.” ครุปริทัศน 5 (พฤษภาคม 2541) : 37.

ฟองจันทร สุขยิ่ง และคณะ. คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรูสาระพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย (ชวงชั้นที่ 3). นนทบุรี : ไทยรมเกลา, 2546.

รองรัตน อิศรภักดี และเทือก กุสุมา ณ อยุธยา. ภาษาไทยตอน 1 วิธีสอนภาษาไทยช้ันมัธยมศึกษา. กรุงเทพ :คุรุสภา, 2505.

Page 113: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

103

ริวพล อุนลอย. “ผลของการเรียนแบบรวมมือตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนหนองเรือวิทยา จังหวัดขอนแกน.”วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร-การสอน)สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2546.

ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. หลักการวิจัยการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ทวีกิจการพิมพ,2524.

________. เทคนิคการวัดผลการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร : สุวิริยาสาสน, 2539.

วรรณทิพา รอดแรงคา. การเรียนแบบรวมมือ. กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2541.

________. Constructivism. กรุงเทพมหานคร : คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540.

วรรณวิศา หนูเจริญ. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันและการสอนตามแนวคูมือครู.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,2544.

วรรณี ภิรมยคํา. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเร่ือง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2ที่สอนโดยวิธีสอนแบบเอ็กซพลิซิท กับวิธีสอนแบบปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอนบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

Page 114: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

104

วสรินทร วิโรจนชูฉัตร. “การพัฒนาการอานวรรณกรรมโดยใชการเรียนแบบรวมมือในชั้นเรียนภาษาฝรั่งเศส สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเซนตฟรังซิสซาเวียรคอนแวนต.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร-การสอน)สาขาวิชาภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2542.

วัสริน ประเสริฐสรี. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ือง เศษสวนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนตามแนวคูมือครู.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

วารุณี อุนบุญ. “การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยเนนการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรูสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแกน, 2540.

วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ. “การเปรยีบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรเร่ืองความนาจะเปนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร ระหวางกลุมที่รับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกับการสอนแบบปกติของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการสอนคณิตศาสตร ภาควิชาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2542.

วิมลศิริ รวมสุข. การสอนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สถานสงเคราะหหญิงปากเกร็ด, 2522.

สมถวิล วิเศษสมบัติ. วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อักษรบัณฑิต,2525.

สมศักดิ์ ขจรชัยกุล. “รวมคิด รวมทํา รวมใจ ในการสอนรวมกลุมเรียนวิชาคณิตศาสตร.”สารพัฒนาหลักสูตร 14 (เมษายน-มิถุนายน 2538) : 19-21.

Page 115: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

105

สรรเสริญ เลาหสถิตย. “การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรบการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยการเรียนแบบรวมมือสําหรับครูมัธยมศึกษา จังหวัดเพชรบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาตางประเทศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. ก แผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544). กรุงเทพมหานคร : อรรถพลการพิมพ, 2540.

________. ข ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนากระบวนการคิด. กรุงเทพมหานคร :ไอเดียสแควร, 2540.

________. ค ทฤษฎีการเรียนรูแบบมีสวนรวม. กรุงเทพมหานคร : ไอเดียสแควร, 2540.

สํานักงานปฏิรูปการศึกษา. การปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพครุสภาลาดพราว, 2539.

สุจริต เพียรชอบ. “การพัฒนาการสอนภาษาไทย.” เอกสารคําสอน 414630 การพัฒนาการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2531.

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย. วิธีการสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา.พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536.

สุจินต วิศวธีรานนท. การจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนรวมมือกัน. ประมวลสารชุดวิชาสารัตถะและวิทยวิธีทางวิทยาศาสตร หนวยที่ 11. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2536.

สุมณฑา พรหมบุญ และคณะ. “การเรียนรูแบบมีสวนรวม.” การปฏิรูปการเรียนรูตามแนวคิด 5ทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพโอเดียนสแคว. 33-34.

สุมณฑา พรหมบุญ และอรพรรณ พรสีมา. “การเรียนรูแบบมีสวน.” วารสารครุศาสตร(กรกฎาคม-ตุลาคม 2540) : 28-29.

Page 116: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

106

สุรศักดิ์ หลาบมาลา. “การเรียนการสอนแบบรวมมือกัน.” วิทยาจารณ 6 (กุมภาพันธ 2531) : 4-8.

________. “ขอเสนอแนะบางประการเกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือ.” สารพัฒนาหลักสูตร.13 (มกราคม-มีนาคม 2536) : 3-5.

สุรศักดิ์ หลาบมาลา. “การสังเกตหองเรียนที่ใชวิธีเรียนแบบรวมมือ.” สารพัฒนาหลักสูตร 8(5 ตุลาคม-ธันวาคม 2535) : 96-99.

สุรีย บาวเวอร. “การเรียนรูโดยการรวมมือ.” วารสารวิชาการอุดมศึกษา 2 (กันยายน-ธันวาคม2535) : 14-20.

อรพรรณ พรสีมา “การเรียนแบบรวมมือรวมใจ.” โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2540.

ออยทิพย ชาติมาลากร. “การเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ผลการเรียนวิชาหลักภาษาไทย และความคงทนในการเรียนรู เร่ือง การจําแนกคําในภาษาไทยออกเปน 7 ชนิด โดยใชบทเพลงทํานองไทยสากล เกมประกอบการสอน และการสอนปกติ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,2532.

อังคณา ปานนก. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ทีไดรับการสอนดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือกับการสอนดวยวิธีการสอนแบบปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2546.

อารยา กลาหาญ. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตหนวยการเมืองการปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและวิธีสอนตามคูมือครู.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการนิเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.

Page 117: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

107

อารีย พันธมณี. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : เลิฟแอนดลิฟเพรส, 2534.

อุทุมพร จามรมาน. หลักสูตรวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เอกสารการสอนชุดการพัฒนาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. นนทบุรี :โรงพิมพมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2535.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, 2541.

ภาษาตางประเทศ

Adoms, D.M., and M.E. Hamm. Cooperative Learning:Critical Thinking and CollaborationAcross the Curriculun. London : Charles Thomas Publisher, 1990.

Johnson, D.W., and F.P Johnson. Joining Together : Group Theory and Group Skills. Englewood Cliffts, New Jersey, 1987.

Johnson, D.W., and R.T. Johnson. Learning Together and Alone : cooperative.Compepetitiveand Individualistic.Englewood Cliffs,London:Prentice-Hall Inc, 1987.

Johnson,D.W, and R.T. Johnson. Learning Together and Alone : Cooperative Comptitiveand Individualistic. New Jersey : Allyn and Bacon A Paramount CommunicationsCompany, 1994.

Nattive, A., N. Winitzky, and R. Drickey. “Using Cooperative Learning with PreserviceElementary and Secondary Education.” Journal of Teather Education. 4, 2 (May – June 1991) : 216-225.

Scott, T. M. “The Effects of Cooperative Learning Environments on Relationships with Peers, Attitude Toward Self and School and Achievement in Spelling of Ethnically Diverse Elementary Students.” Dissertation Abstracts International. 4, 6 (December 1985) : 1503-A.

Page 118: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

108

Slavin, R.E. Cooperative Learning Theory Research and Practice. Boston:Allyn and Bacon, 1995.

_________. Cooperative Learning.New York : Longman, 1983.

Tuckman, Bruce W.Conducting Educational Research. 5th ed. USA. : Harcourt Brace& Company, 1999.

Young, C. “Team Learning.” The Arithmetic Teacher. 19 (December 1972) : 630-634.

Zisk, J. F. “The Effects of a Cooperative Learning Program On the Academic Self-concept of High School Chemistry Students.” Dissertation Abstracts International 5, 4 (April 1994) : 3711-A.

Page 119: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

109

ภาคผนวก

Page 120: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

110

ภาคผนวก ก

แผนการจัดการเรียนรูกลุมทดลอง / แผนการจัดการเรียนรูกลุมควบคุม

Page 121: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

111

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ืองคํานาม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคํานาม หมายถึง คําที่ใชเรียกชื่อ คน สัตว ส่ิงของ สภาพและอาการตาง ๆ ทั้งรูปธรรมและ

นามธรรม จําแนกออกเปนหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่และวิธีใชตางกัน การศึกษาเรื่องคํานามใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปใชไดถูกตองเหมาะสม จะชวยใหใชภาษาสื่อสารไดอยางมี ประสิทธิภาพ

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คํานาม และใชคํานามไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคํานามได3.2 จําแนกชนิดของคํานามพรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคํานามแตละชนิด พรอมยกตัวอยางได3.4 นําคํานามไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคํานาม4.2 ชนิดของคํานาม4.3 หนาที่ของคํานาม

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนใหนักเรียนดูภาพเด็กกําลังเลนที่ชายทะเลแลวเขียนชื่อส่ิงตาง ๆ ที่นักเรียนเห็นมาใหมาก

ที่สุด (ใหเวลา 1 นาที) นักเรียนคนที่เขียนไดมากที่สุดออกมาพูดหนาชั้นเรียนวาตนเห็นอะไร ในภาพบาง จากนั้นใหนักเรียนชวยกันจัดกลุมคําที่นักเรียนเขียนเปนกลุมดังนี้

Page 122: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

112

กลุมที่ 1 คําที่เปนชื่อ คนกลุมที่ 2 คําที่เปนชื่อ สัตวกลุมที่ 3 คําที่เปนชื่อ ส่ิงของ

ขั้นดําเนินการสอนความรูใหม1. เมือ่นกัเรยีนจดักลุมคาํเรยีบรอยแลว ครนูาํแถบประโยคคาํประพนัธมาตดิบนกระดานดาํ

ใหนักเรียนอานและทายวาคําประพันธขางตนเปนความหมายของคําชนิดใด“คําที่เรียกชื่อ คน สัตว และส่ิงของ ลองตีความกอนดีไหม เรียกกันวาเปนคําชนิดใด ใครตอบไดตอบทีมีรางวัล”(เฉลย คําตอบ คือ คํานาม)

2. นักเรียนชวยกันสรุปความหมายของคํานามจากคําประพันธที่ครูยกมา3. ครูอธิบายเนื้อหาเกี่ยวกับคําและชนิดของคํานามประกอบการซักถาม จากนั้นให

นักเรียนศึกษาใบความรูเพิ่มเติม4. สุมนักเรียน 4-5 คน ใหยกตัวอยางคํานามแตละชนิดเพื่อใหเพื่อนในชั้นเรียนสังเกต

ตัวอยางคําและอธิบายความหมายของคํานามชนิดนั้น ๆ(แนวคําตอบ สามานยนาม คือ คํานามที่ใชเรียกชื่อไมช้ีเฉพาะ เชน นก ไก ชาย

หญิง มนุษย เปนตน วิสามานยนาม คือ คํานามที่เปนชื่อช้ีเฉพาะเจาะจงของคน สัตว และ ส่ิงของ เชน สุกัญญา ดอกกุหลาบ จังหวัดราชบุรี เปนตน)

5. นักเรียนชวยกันสรุปความหมายของคํานามแตละชนิด โดยครูเสริมและสรุปอีกครั้ง6. ครูนําแถบประโยคติดบนกระดานดํา ใหนักเรียนชวยกันบอกวามีคํานามใดบางและ

อยูสวนใดของประโยค ทําหนาที่อะไร(1) ทําหนาที่ประธานในประโยค เชน ตะวันขึ้น, การนอนหลับเปนการพักผอน(2) ทําหนาที่บทกรรมในประโยค เชน นักเรียนเขียนจดหมาย, พระสุริโยทัยมีความ

กลาหาญ(3) ทําหนาที่ขยายคํานามดวยกัน เชน นักเรียนชายชอบแอบกินขนมในหองเรียน,

เกาะสีชังเปนเกาะที่สวยท่ีสุดขั้นทบทวนความรูเปนกลุม

ใหนักเรียนทํางานรวมกันตามกลุมที่จัดเตรียมไว (กลุม STAD) โดยครูแจกใบงานให นักเรียนไดศึกษาชนิดและหนาที่ของคํานาม ชวยกันสรุปความหมายชนิดและหนาที่ของคํานาม เพื่อสอบเก็บคะแนนกลุม ดังนั้น นักเรียนในกลุมเดียวกันตองชวยเหลือกันแลกเปลี่ยนความรู

Page 123: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

113

ความคดิเหน็ และสามารถอธิบายเหตุผลของคําตอบในใบงาน เพื่อใหสมาชิกในกลุมทุกคนเขาใจในเนื้อหากอนที่จะถามครูหรือเพื่อนกลุมอ่ืนขั้นทดสอบยอย

หลังจากที่นักเรียน เรียนและทบทวนความรู เร่ือง คําและหนาที่ของคาํนาม เปนกลุม STAD แลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบเรื่อง คํานาม เปนรายบุคคลโดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกัน และกัน (ใหเวลา 10 นาที)ขั้นหาคะแนนปรับปรุง

คะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ ครัง้กอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิก ทุกคนขั้นใหรางวัล

กลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

6. สื่อการเรียนรู1. แถบประโยคคําประพันธ เร่ือง คํานาม2. แถบประโยค 6 ประโยค ไดแก

- ตะวันขึ้น- การนอนหลับเปนการพักผอน- นักเรียนเขียนจดหมาย- พระสุริโยทัยมีความกลาหาญ- นักเรียนชายชอบแอบกินขนมในหองเรียน- เกาะสีชังเปนเกาะที่สวยท่ีสุด

3. ใบงาน เร่ือง คํานาม4. ใบความรูเร่ือง คําและหนาที่ของคํานาม5. แบบทดสอบ เร่ือง คํานาม6. ภาพประกอบการสอนเรื่อง คํานาม (ภาพเด็กกําลังเลนที่ชายทะเล)

Page 124: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

114

7. การวัดและประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตการรวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากใบงาน1.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุมสําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 125: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

115

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คํานาม คือ คําที่เรียกชื่อ คน สัตว ส่ิงของ อาการ สภาพ และลักษณะสถานที่ทั้งส่ิงที่มีชีวิต และไมมีชีวิต ทั้งที่เปนนามธรรมและรูปธรรม ซ่ึงแบงออกเปน 5 ชนิดคือ

1. สามานยนาม คือ คํานามสามัญที่ใชเรียกชื่อส่ิงตาง ๆ โดยไมช้ีเฉพาะเจาะจง เชน คน นก พอ รถ แมน้ํา โรงเรียน เปนตน สามานยนามบางคํามีคํายอยเพื่อบอกชนิดยอยของนามนั้น ๆ เรียกวา สามานยนามยอย เชน คนจีน นกแกว รถไฟ กลวยน้ําวา พอบุญธรรม โรงเรียน ประถม ศึกษา เปนตน

ตัวอยาง- ชางชอบกินกลวย- เด็กเลนอยูในโรงเรียน- บานเปนปจจัยหนึ่งของมนุษย

2. วิสามานยนาม คือ คํานามที่ใชเรียกชื่อเฉพาะของคน สัตว ส่ิงของ หรือคําเรียกบุคคล ตลอดจนสถานที่ตาง ๆ เพื่อเจาะจงวาเปนคนไหน ส่ิงใด ที่ไหน เชน โรงแรมดุสิตธานี วรรณคดีเร่ืองอิเหนา วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นายสมศักดิ์ อําเภอแปดริ้ว เปนตนตัวอยาง

- ทิวาและราตรีเปนพี่นองกัน- เราไปสมัครงานที่กระทรวงสาธารณสุข- ภูพานราชนิเวศนเปนชื่อพระตําหนักอยูที่จังหวัดสกลนคร

3. ลักษณนาม คือ คํานามที่ทําหนาที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปราง สัณฐาน การจาํแนก ปริมาณ เวลา วิธีทํา และลักษณนามอื่น ๆ หรือคําซํ้าคํานามที่กลาวกอน ซ่ึงพระยาอุปกิตศิลปสารไดรวบรวมจําแนกไวดังนี้คือ

3.1 ลักษณนามบอกสณัฐาน ไดแกคาํวา วง หลัง แผน ผืน บาน ลูก ใบ แทง กอน คนั ตน ลํา เครือ่ง ดวง กระบอก เสน สาย ปาก ปน ซ่ี แพ เกลด็ ราง เมด็ ตบั ฯลฯ

ตวัอยาง- ทีบ่านตาอนิทรมเีปลอยู 2 ปาก- ฉนัซ้ือขาวเมาทอดมาจากตลาด 3 แพ- เวลาจะลางผักสดใหสะอาดตองใสดางทบัทมิในน้าํ 4-5 เกล็ด

Page 126: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

116

3.2 ลักษณนามบอกการจําแนก ไดแก คําวา กอง พวก เหลา หมวด หมู ฝูง โขลง คณะ นิกาย สํารับ ชุด ขอ โรง ครอก ขั้น ฉบับ ระดับ จําพวก อยาง ประการ ประเภท ชนิด แบบ ลักษณะ รูปแบบ ประเด็น ฯลฯ

ตัวอยาง- ปญหานี้มีขอโตแยงหลายประเด็น- เจาจุมปุกสุนัขที่บานออกลูกมา 1 ครอก- ในปาแถบเมืองกาญจนบุรีมีชางอยู 2-3 โขลง

3.3 ลักษณบอกปริมาณ ไดแกคําวา คู โหล กุลี บาท ช่ัง กิโลกรัม ชะลอม ขวด หีบ หยด กลอง ชอน ถวย ลิตร ตุม ไห โยชน กิโลเมตร ฯลฯ

ตัวอยาง- ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงเชียงใหมประมาณแปดรอยกวากิโลเมตร- ปใหมเพื่อนใหขนมเค็ก 1 กลอง- แมใชใหนองไปซื้อน้ําปลา 1 ขวด- ทองคํา 1 บาท มีน้ําหนัก 15 กรัม

3.4 ลักษณนามบอกเวลา ไดแกคําวา นาที ช่ัวโมง วัน เดือน ป ยก รอบ คร้ัง คราว สมัย ยุค หน ที ชวง ศตวรรษ กะ ฯลฯ

ตัวอยาง- เดือนหนาคุณปูจะทําบุญฉลองอายุครบ 7 รอบ- การชกมวยสากลสมัครเลนกําหนดใหชกกัน 3 ยก- ครูเตือนดิเรกหลายหนเร่ืองชอบแกลงเพื่อนในชั้นเรียน

3.5 ลักษณนามบอกวิธีทํา ไดแกคําวา จีบ มวน มัด พับ มวน กํา ฟอน หอ หยิบ จับ ผูก ฯลฯ

ตัวอยาง- หลวงตาเยี่ยมมีคัมภีร 3 ผูก- แมกินขนมจีนแค 3 จับ ก็อ่ิม- เกงไปเกี่ยวหญาใหแพะได 2 ฟอน

3.6 ลักษณนามอื่น ๆ ไดแกคําวา พระองค องค รูป ตน คน ตัว ใบ เร่ือง ส่ิง อัน เลา เชือก คัน เรือน เลม ช้ิน ดาม ฯลฯ

Page 127: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

117

ตัวอยาง- คุณปูมีขลุย 1 เลา- บานยายจันเล้ียงชางไว 1 เชือก- วัดพระเชตุพนฯ มีเจดียหลายองค

4. สมุหนาม คือ คํานามบอกหมวดหมูของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมาก ๆ ไดแกคําวา คณะ กอง หมู ฝูง โขลง พวก กลุม ฯลฯ

ตัวอยาง- กองทหารรักษาการณอยูตลอดทั้งวัน- โขลงชางทําลายไรขาวโพดเสียหายหมด- กลุม 10 มกราคมกําลังประชุมกันอยางเครงเครียด

5. อาการนาม คือ คําเรียกที่เปนนามธรรม คือ ใชเรียกสิ่งที่ไมมีรูปราง ไมมีขนาด แตสามารถเขาใจได สวนใหญจะมีคําวา “การ” และ “ความ” นําหนา

การใช “การ” และ “ความ” นําหนามีขอสังเกตดังนี้คือคําวา “การ” จะใชนําหนาคํากริยาทั้งหลาย เชน การเรียน, การเลน, การวิ่ง, การดื่ม,

การเจรจา, การอาน เปนตนคําวา “ความ”1. จะใชนําหนาคํากริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ หรือคําที่มีความหมาย ในทาง เกิด มีเปน

เจริญ เสื่อม เชน ความคิด, ความฝน, ความรู, ความเขาใจ, ความรัก, ความตาย, ความทุกข, ความเจริญ, ความเสื่อม เปนตน

2. จะใชนําหนาคําวิเศษณ เชน ความดี, ความสวย, ความเร็ว, ความหรูหรา,ความไว, ความถี่ เปนตน

ขอควรสังเกตคําวา “การ” และ “ความ” ถานําหนาคําชนิดอื่นที่ไมใชคํากริยา หรือคําวิเศษณ จะไม

นับวาเปนอาการนาม เชน การบาน, การเรือน, การพาณิชย, การเมือง, การประปา, การไฟฟา, ความแพง, ความอาญา เปนตน คําเหลานี้จัดวาเปน คําสามานยนาม

หมายเหตุ1. ลักษณะนามบางคํา ใชซํ้ากับคํานามที่กลาวมาแลว เชน โรงเรียนหลายโรงเรียน,

ประเภทหลายประเภท, คะแนนหลายคะแนน เปนตน

Page 128: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

118

2. สมุหนามบางคําใชซํ้ากับลักษณนาม จะทราบวาเปนสมุหนามหรือลักษณนาม มีขอสังเกตคือ สมุหนามจะอยูหนาคํานาม เชน ฝูงนก, โขลงชาง, กองทหาร เปนตน ลักษณนามจะอยูหลังจํานวนนับ หรือหนาจํานวนนับ เชน ดอกไมชอหนึ่ง, นก 1 ฝูง, ชาง 1 โขลง เปนตน

หนาท่ีของคํานาม1. เปนประธานของประโยค เชน ครูสอนนกัเรยีน, สมศรทีาํการบาน, สนุขักดัแมว เปนตน2. เปนกรรมของประโยค เชน สุนัขถูกรถชน, ไกจิกหนอน, รถชนตนไม เปนตน3. เปนกรรมตรงและกรรมรอง เชน

- เขาซื้อเนื้อใหสุนัข (เนื้อ เปนกรรมตรง, สุนัข เปนกรรมรอง)- ครูอธิบายคณิตศาสตรใหแกนักเรียน (คณิตศาสตรเปนกรรมตรง, นักเรียนเปน

กรรมรอง4. ทาํหนาทีข่ยายคาํนามอืน่ เชน คณุสมพงษพีช่ายของฉนัเปนหมอ, สมถวลิเพือ่นของ

ฉนัสอบติดพยาบาล เปนตน5. ขยายคํากริยาเพื่อบอกสถานที่หรือทิศทาง เชน คุณยายนอนอยูบาน, เขาไปโรงเรียน

เปนตน6. คํานามที่บอกเวลา ใชคําขยายกริยาหรือขยายคํานามอื่น ๆ เชน อากาศรอนมาก เวลา

กลางวัน, แดงชอบกินขนมเวลากลางคืน เปนตน7. ใชสําหรับเรียกขาน เชน คุณพอคะหนูขอไปดวย, คุณครูคะหนูไมสบายคะ เปนตน8. คํานามที่เปนสวนเติมเต็มใหกริยา เปน เหมือน คลาย เทา คือ ซ่ึงไมจัดวาเปนกรรม

ของกริยานั้น ๆ เชน วรนุชเหมือนคุณแมมาก, เพื่อนฉันเปนตํารวจ, แมวคลายเสือ เปนตน

Page 129: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

119

ใบความรู เร่ือง คํานาม

คํานาม คือ คําที่แสดงความหมายถึง บุคคล สัตว ส่ิงของ สภาพ อาการ และลักษณะ ทั้งนี้รวมถึงส่ิงที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม เชน โรงเรียน ชาง ทหาร เกาอ้ี ฯลฯ เปนคํานามเรียกสิ่งที่เปนรูปธรรม หรือ เวลา อายุ จิตใจ ความดี ฯลฯ เปนคํานามสิ่งที่เปนนามธรรม เปนตน

คํานาม แบงตามความหมายเปน 5 ประเภทดังนี้1. สามานยนาม หรือคํานามสามัญ คือ คํานามที่เปนชื่อทั่วไปไมช้ีเฉพาะเจาะจงวาเปน

คนไหน อันไหน เชน คน หมี ประเทศ เปนตนการใชสามานยนามเรียกชื่อชนิด พันธุของคน สัตว พืช ในภาษาไทยนิยมใชเปน

2 ช้ัน คือสามานยนามใหญ เชน คน เสือ หญาสามานยนามยอย เชน คนจีน เสือชีตา หญาแพรก เปนตน

2. วิสามานยนาม คือ คํานามที่เปนชื่อสมมุติตั้งขึ้นสําหรับเรียก คน สัตว หรือส่ิงของ หรือสถานที่บางแหง เพื่อใหรูชัดวาเปนคนไหนตัวไหน อันไหนหรือแทงไหน เปนตน เชน สมชาย (ช่ือคน) ตินติน (ช่ือสุนัข) สหรัฐอเมริกา (ช่ือประเทศ)

วสิามานยนามนี ้มเีจตนาเปนคาํเรยีกชือ่คน ๆ เดยีว สัตวตวัเดยีว ส่ิงของสิง่เดยีว หรือสถานที่แหงเดียว แตหากบังเอิญมีช่ือซํ้ากันก็จัดเปนวิสามานยนาม ทั้งนี้ก็อาจเติมรายละเอียดลงไปทายชื่อเพื่อใหสังเกตได

3. สมุหนามหรือคํานามรวมหมู คือ คํานามที่เปนชื่อของคน สัตว และสิ่งของที่อยูในสภาพรวมกัน เชน ทหารหลายคนรวมกัน เรียกวา กอง

ชางหลายตัวรวมกัน เรียกวา โขลงสมุหนามถาจะใหรูรายละเอียดตอไปก็ใชเติมสามานยนาม หรือวิสามานยนามเขาขางทาย

เชน ฝูงนก รัฐบาลไทย โขลงชาง เปนตน ขอสังเกตอกีประการหนึง่คอื สามานยนามทีเ่ปนชือ่สถานที่เชน บานเมือง ศาล สโมสร ฯลฯ หากไมมีความหมายถึงสถานที่ แตหมายถึงที่ประชุมชน ที่ทําการกันอยูในที่นั้น ตองนับวาเปนสมุหนาม เชน

บานเมืองตองลงโทษคนทําผิดแน ๆศาลพิพากษาคดีของนายแดงแลวสโมสรมีมติใหชวยเหลือสมาชิกที่ประสบอุบัติภัย

คําที่ขีดเสนใตนี้เปนคําสมุหนาม แตในประโยค

Page 130: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

120

บานเมืองของเรานี้งดงามมากศาลตั้งอยูใกลสนามหลวงสโมสรอาจารยเปนของสมาชิกทุกคน

คําที่ขีดเสนใตในประโยคขางตนนี้เปนคําสามานยนาม4. อาการนาม หรือ คาํนามธรรม หมายถงึ คาํนามทีบ่อกความหมายถงึสิง่ทีไ่มเปนรปูราง

ไมมีขนาด แตเราเขาใจ เชน ปญญา ความสุจริต หรือที่เราเรียกกันวา คํานามธรรมนั่นเองขอสงัเกต คอื คาํทีใ่ชคาํวา การ หรือ ความ นาํหนาอาการนัน้ ๆ

การ มกัใชนาํหนาคาํกรยิาทีแ่สดงอาการ เชน การกนิ การเดนิ การออกกาํลังกายการพกัผอน เปนตน

ความ มกันาํหนาคาํกรยิาทีไ่มแสดงอาการ เชน ความคดิ ความรกั ความรูสึกความเขาใจ เปนตน

5. ลักษณนาม คือ คํานามที่บอกลักษณะของสามานยนาม เปนคําตามหลังจํานวนนับ บอกลักษณะของนามที่อยูขางหนา เชน ตัว ลํา รูป คําลักษณนามบางคําใชซํ้ากับคํานามขางหนา เชน โครงการ 3 โครงการ, ประเทศหลายประเทศ ฯลฯ ลักษณะนามเชนนี้เราเรียกวา ลักษณนาม ซํ้าชื่อ

การใชลักษณนามพอสังเกตไดดังนี้1. ลักษณนามบอกชนิด

พระองค ใชกับ ผูที่นับถืออยางสูง เทวดาที่เปนใหญ เจานายชั้นสูงองค ใชกับ เจานาย เทวดา ส่ิงที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา

คํานามราชาศัพทรูป ใชกับ ภิกษุ สามเณร ชี นักพรตตน ใชกับ ยักษ ภูติผีปศาจ นักสิทธิ์คน ใชกับ มนุษยตัว ใชกับ สิ่งของบางอยาง

ฯลฯ2. ลักษณนามบอกหมวดหมู

กอง ใชกับ คนทํางานรวมกัน ของที่วางรวมกันฝูง ใชกับ สัตวที่เปนพวกเดียวกันไปทีละมาก ๆโรง ใชกับ มหรสพที่มีโรงเลนวง ใชกับ คนชุดหนึ่งลอมวงกัน

Page 131: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

121

ตับ ใชกับ ของที่ทําใหติดเรียงกันเปนพืด3. ลักษณนามบอกสัณฐาน

หลัง ใชกับ ของที่มีรูปเปนหลังคาวง ใชกับ ของที่มีรูปเปนวงแผน ใชกับ ของที่มีรูปแบบผืน ใชกับ ของที่มีรูปแบนกวางใหญแถบ ใชกับ ของที่แบบบางแคบแตยาวบาน ใชกับ ของที่เปนแผนที่มีกรอบลูก ใชกับ ของที่มีรูปกลม ไตกอน ใชกับ ของที่มีรูปเปนกอนคัน ใชกับ ของที่มีสวนสําหรับถือและลาก รูปยาว ๆ

ฯลฯ4. ลักษณนามบอกจํานวนและมาตรา

คู ใชกับ ของที่มีชุดละ 2 ส่ิงโหล ใชกับ ของที่รวมกัน 12 ส่ิงกุลี ใชกับ ผาหอหนึ่งที่รวมกัน 20 ผืนช่ือมาตราตาง ๆ เชน โยชน ช่ัง เกวียน ใชกับของที่ช่ัง ตวง วัด และเวลาช่ือภาชนะตาง ๆ เชน ตุม ไห ใชกับ ของที่ตวงดวยภาชนะนั้น

5. ลักษณนามบอกอาการจีบ ใชกับ ของที่เปนจีบมวน ใชกับ ของที่เปนมวนมัด ใชกับ ของที่เปนมัดพับ ใชกับ ของที่เปนพับ

ฯลฯ

Page 132: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

122

หนาท่ีของคํานาม

คํานามทําหนาที่ไดหลายหนาที่ในประโยค คือ1. ทําหนาที่เปนประธาน เชน

การออกกําลังกายตอนเชาทําใหสุขภาพดีนักเรียนทําการบาน

2. ทําหนาที่เปนกรรมครูตีนักเรียน เสือกินคน

3. ทําหนาที่เปนกรรมตรงและกรรมรองแมใหเงินนองโรงเรียนมอบรางวัลใหแกนักเรียนพี่ชายสงดอกไมใหแกวารีเจาภาพถวายปจจัยแดพระสงฆ

กรรมตรง ไดแก เงิน รางวัล ดอกไม ปจจัย (ส่ิงของกรรมรอง ไดแก นอง นักเรียน วารี พระสงฆ (บุคคล

4. ทําหนาที่ขยายคํานามอื่น ๆเด็กนักเรียนชอบเลนกีฬา (ใชสามานยนามขยาย)ควายฝูงนี้ตองใชเรือ 3 ลํา บรรทุก (ใชลักษณนามขยาย)

5. ทําหนาที่ขยายกริยาบอกสถานที่ ทิศทางหรือเวลา เชนเขาไปโรงเรียนนกออกหากินกลางวัน

6. ทําหนาที่เปนสวนเติมใหแกคํากริยาพวกเราเปนนักเรียนปลากัดคลายปลากริมโรงเรียนคือสถานที่ใหความรู

7. ทําหนาที่เรียกขานในฐานะประธาน กรรม หรือเรียกขานลอย ๆ เชนคุณครูครับผมนําสมุดพกมาคืนครับเจาดิ๊ก อยากัดรองเทาฉันนะเพื่อน ๆ คุณครูส่ังการบานอีกแลว

Page 133: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

123

แบบทดสอบเรื่องคํานาม

คําสั่ง เลือกคําตอบขอท่ีถูกท่ีสุดเพียงขอเดียว

1. ในภาษาไทยจําแนกคําตามความหมายและวิธีการใชคําในประโยคไดกี่ชนิด1. 3 ชนิด 2. 5 ชนิด3. 7 ชนิด 4. 9 ชนิด

2. คําที่แสดงความหมายถึง คน สัตว ส่ิงของ อาการ และลักษณะทั้งรูปธรรมและนามธรรม คือคําชนิดใด1. คํานาม 2. คําสรรพนาม3. คํากริยา 4. คําวิเศษณ

3. ขอใดเปนคําที่แสดงลักษณะเปนนามธรรมทุกคํา1. กางเกง เส้ือ รองเทา 2. ชีวิต ความหวัง อารมณ3. วัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย 4. สมชาย สมนึก สมศักดิ์

4. ประเภทของคํานามแยกยอยเปนกี่ชนิด1. 3 ชนิด 2. 5 ชนิด3. 7 ชนิด 4. 9 ชนิด

5. ขอใดจัดเปนคํานามสามัญทุกคํา1. การเขียน ความรัก ความดี 2. ทุเรียน หมาใน3. กรุงเทพฯ นครปฐม อยุธยา 4. โขลง ฝูง เหลา

6. “ผมจบจากโรงเรียนระบบอเมริกาชื่อวูดสต็อค เมืองมัสซูรี อยูหางเมืองริษเกศไมกี่สิบกิโล”ขอความนี้มีคําชื่อเฉพาะกี่คํา1. 1 คํา 2. 2 คํา3. 3 คํา 4. 4 คํา

7. “ปลาโกรเปอรยักษเมื่อโตเต็มที่จะยาวถึง 9 ฟุต หนัก 700 ปอนด” คําที่พิมพตัวหนาเปนคํานามชนิดใด1. คําชื่อเฉพาะ 2. คํานามรวมอยู3. คํานามธรรม 4. สามานยนามยอย

Page 134: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

124

8. ขอความในขอ 7 มีคําลักษณนามกี่คํา อะไรบาง1. 2 คํา คือ ปลา ยักษ 2. 2 คํา คือ ฟุต ปอนด3. 3 คํา คือ ปลา โกรเปอร ยักษ 4. 5 คํา คือ ปลา โกรเปอร ยักษ ฟุต ปอนด

9. คําที่พิมพตัวหนาในขอใดไมใชคํานาม1. คุณแมซ้ือหวีสวย ๆ มาหลายอัน 2. สงสัยวาหวีอันอันคงจะแซหวี3. แมคานํากลวยมาขายหลายหวี 4. คุณพอไมชอบหวีผม

10. ขอใดไมปรากฏคํานามรวมหมู1. เราแบงทรายเปน 3 กองเทา ๆ กัน 2. กลุมนักศึกษารวมตัวกันเพื่อฟงดนตรี3. ฝูงชนตางรอชมประธานาธิบดีกันแนนขนัด 4. มหาวทิยาลยัจะจดันกัศกึษาเขาหอพกัในวนันี้

11. ขอใดมีคํานามธรรมประกอบอยูดวย1. พวกหากินในวงการภาพยนตสมัยกอนอยูแถวหลังศาลาเฉลิมกรุง2. การทองเที่ยวแหงประเทศไทยประกาศรับสมัครบุคคลเขาทํางานในปนี้3. แขกสะดาหยีมีความกลาหาญในการรบอยางยิ่ง4. สมัยนี้ถาจายเช็คเดงนี่ถือเปนความอาญาเชียวนะ

12. “รายการดงูานเริม่ทีไ่ปเคารพผูหลักผูใหญของการประปามะนลิา แลวไปดกูารผลติ การจาํหนายการบริการตาง ๆ และการซอมทอ” คําในขอใดแตกตางจากขออ่ืน1. การประปา 2. การผลิต3. การบริการ 4. การซอมทอ

13. คําในขอใดจําเปนตองใชลักษณนามซ้ําชื่อ1. รถจักรยาน รม 2. เทวดา อมนุษย3. กวีนิพนธ ปญหา 4. จังหวัด โครงการ

14. ขอใดมีคํานามทําหนาที่เปนสวนเติมเต็มของประโยค1. คุณแมของเธอคลายเธอมากเลย 2. ผูเขียนเปนขาราชการโดยอาชีพ3. เราทุกคนเปนไทแกตัว 4. ฉันคลับคลายคลับคลาวาเคยพบตาคนนี้นะ

15. “ขาวอับนี่เด็กวัดชอบกินกันมาก” คํานามในขอใดทําหนาที่ประธานของประโยค1. ขาวอับ 2. เด็กวัด3. ขาว 4. วัด

16. คํานามในขอใดถือเปนกรรมรองของประโยค “พี่สาวถอดเข็มขัดทองจากเอวใหแมเสนหนึ่ง”1. พี่สาว 2. เข็มขัดทอง

Page 135: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

125

3. เอว 4. แม17. ขอใดใชลักษณนามไดเหมาะสม

1. รองเทา 1 คูมี 2 อัน 2. วัด 1 แหงมีพระสงฆหลายองค3. กลวยเครือหนึ่งมีหลายหวี 4. มะพราวชอหนึ่งมีหลายลูก

18. คํานามที่พิมพตัวหนาขอใดทําหนาที่แตกตางจากขออ่ืน1. ผมลงไปสุราษฎรธานีเปนครั้งที่เทาไรจําไมได2. มหาวิทยาลัยของเราอยูปตตานี3. เยอรมันโจมตีอังกฤษในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 24. ปดเทอมนี้ครอบครัวเราจะเที่ยวอเมริกากัน

19. ประโยคใดมีทั้งกรรมตรงและกรรมรอง1. ฝายหญิงเรียกฝายชายใหเปดประตูรับ 2. หนังสือที่ดีจะใหความรูเหมือนครูวา3. คนรักทําใหคนรักตองอกหักไดหรือ 4. พอทิ้งมรดกไวใหลูกหลายสิบลาน

20. คํานามที่พิมพตัวหนาในขอใดทําหนาที่ขยายคํานามอื่น1. ประเทศไทยผลิตรถยนตพลังงานไฟฟาไดสําเร็จ 2. เด็ก ๆ ควรมีความประพฤติเรียบรอย3. พระสงฆทําวัตรเวลาเย็น 4. เราคือคนไทยทั้งแทง

21. ขอใดมีคํานามที่ทําหนาที่กรรมของประโยค1. คนจีนกินตะเกียบเปนกันทุกคน 2. ลูกจางเดินโตะไปไหนหมด3. เที่ยวครั้งนี้เราไปเครื่องบินนะคะที่รัก 4. อานหนังสือทุกวันเชียวหลานรัก

22. “ผมสนใจ “ตราจักร” มานมนานและเคยคนควาเอาไวบาง” ขอความนี้มีคํานามชนิดใดและทําหนาที่อะไรในประโยค1. ลักษณนามทําหนาที่ขยายกริยา 2. คํานามธรรมทําหนาที่สวนเติมเต็ม3. คํานามสามัญทําหนาที่กรรม 4. คําชื่อเฉพาะทําหนาที่ประธาน

23. ขอใดใชลักษณนามไมเหมาะสม1. มวยไทยคูนี้ชกไมครบ 5 ยก 2. อาจารยทั้ง 3 คนสอนวิชาภาษาอังกฤษ3. ภรรยาทั้ง 4 คนของผมรักใครกันดี 4. ที่วัดเกา ๆ นั้นเราพบคัมภีรใบลานหลายผูก

24. คํานามที่ทําหนาที่กรรมขอใดเมื่อเรียงไวตนประโยคจะทําใหผูฟงสับสน1. กางเกงยีนสแมซ้ือใหลูกแลวนี่ 2. นมถั่วเหลืองฉันไมชอบกินเลย3. เงินนี่พอฝากพี่มาใหเธอ 4. หมาชาวบานรุมตีกันใหญเชียว

25. ขอใดไมมีคํานามทําหนาที่สวนเติมเต็ม1. ขาพเจาขอขอบพระคุณทานเปนอยางสูง 2. ความจริงเปนสิ่งไมตาย

Page 136: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

126

3. คุณยายคือแมยายของคุณพอ 4. อัปสรแปลวานางฟาเฉลยแบบทดสอบเรื่อง คํานาม

1. (3) 2. (1) 3. (2) 4. (2) 5. (2)6. (4) 7. (4) 8. (2) 9. (4) 10. (1)

11. (3) 12. (1) 13. (4) 14. (2) 15. (2) 16. (4) 17. (3) 18. (3) 19. (4) 20. (1) 21. (4) 22. (3) 23. (2) 24. (4) 25. (1)

Page 137: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

127

ใบงานเรื่อง คํานาม

คําสั่ง นักเรียนศึกษาประโยคที่กําหนดใหแลวอธิบายวาในประโยคนั้นมีคําใดเปนคํานามบางและทําหนาที่อะไร

1. ตะวันขึ้นคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

2. การนอนหลับเปนการพักผอนคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

3. นักเรียนเขียนจดหมายคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

4. พระสุริโยทัยมีความกลาหาญคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

5. นกเปนอาหารของมนุษยคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

Page 138: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

128

เฉลยใบงาน เร่ือง ประโยคคํานาม

คําสั่ง นักเรียนศึกษาประโยคที่กําหนดใหแลวอธิบายวาในประโยคนั้นมีคําใดเปนคํานามบาง และทําหนาที่อะไร

1. ตะวันขึ้นคํานาม คือ ตะวัน ทําหนาที่เปนประธานของประโยค

2. การนอนหลับเปนการพักผอนคํานาม คือ การนอนหลับ ทําหนาที่เปนประธานในประโยค การพักผอน ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

3. นักเรียนเขียนจดหมายคํานาม คือ นักเรียน ทําหนาที่เปนประธานในประโยค จดหมาย ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

4. พระสุริโยทัยมีความกลาหาญคํานาม คือ พระสุริโยทัย ทําหนาที่เปนประธานในประโยค ความกลาหาญ ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

5. นกเปนอาหารของมนุษยคํานาม คือ นก ทําหนาที่เปนประธานในประโยค อาหาร ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

มนุษย ทําหนาที่เปนกรรมรอง

Page 139: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

129

ใบงาน เร่ือง คํานาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และ หนาขอความที่ไมถูกตอง

…………1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชื่อส่ิงที่มีรูปราง เชน เวลา…………2. คํานามแบงออกเปนชนิดยอยดังนี้ สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณ

นาม และสมุหนาม…………3. “น้ําตาลสดแสนประเสริฐรสเชิดชู” น้ําตาลสด เปนคําสามานยนามยอย

…………4. “เกาะหนึ่งชื่อลองสโตนมีประภาคารตั้งอยู” ขอความนี้มีวิสามานยนาม 2 คํา…………5. “นายทัพนายกองมอญทั้งปวงเห็นสมิงอายมนทะยาวิ่งหนี” ขอความนี้มีสมุหนาม…………6. “คณะศิษยเกาจึงวางแผนการทดลองความอดทน” ขอความนี้มีสมุหนาม…………7. “พระยาตากพอใจมากเรียกเงินมาใหรางวัลถึง 5 ตําลึง” ขอคามนี้ไมมีลักษณนาม…………8. “ชาวเรายอมนับถือตอสูผูที่มีความกตัญตูอผูมีพระคุณแกโลก” ความกตัญู

เปนอาการนาม…………9. “บุตรสาวผูเฝาประภาคาร เกรซ ดาลิ่งตื่นขึ้นแตเชา” ประโยคนี้มีคํานามที่ทํา

หนาที่ ขยายคํานาม………..10. “งิ้วเร่ืองหนึ่งแกเลาครั้งเยาวอยู” เร่ือง เปนลักษณนาม

Page 140: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

130

เฉลยใบงาน เร่ือง คํานาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และ หนาขอความที่ไมถูกตอง

…… ……1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชื่อส่ิงที่มีรูปราง เชน เวลา…… ……2. คํานามแบงออกเปนชนิดยอยดังนี้ สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม

และสมุหนาม…… ……3. “น้ําตาลสดแสนประเสริฐรสเชิดชู” น้ําตาลสด เปนคําสามานยนามยอย…… ……4. “เกาะหนึ่งชื่อลองสโตนมีประภาคารตั้งอยู” ขอความนี้มีวิสามานยนาม 2 คํา…… ……5. “นายทัพนายกองมอญทั้งปวงเห็นสมิงอายมนทะยาวิ่งหนี” ขอความนี้มีสมุหนาม…… ……6. “คณะศิษยเกาจึงวางแผนการทดลองความอดทน” ขอความนี้มีสมุหนาม…… ……7. “พระยาตากพอใจมากเรียกเงินมาใหรางวัลถึง 5 ตําลึง” ขอคามนี้ไมมีลักษณนาม…… ……8. “ชาวเรายอมนับถือตอสูผูที่มีความกตัญตูอผูมีพระคุณแกโลก” ความกตัญู

เปนอาการนาม…… ……9. “บุตรสาวผูเฝาประภาคาร เกรซ ดาลิ่งตื่นขึ้นแตเชา” ประโยคนี้มีคํานามที่ทําหนาที่

ขยายคํานาม…… …..10. “งิ้วเร่ืองหนึ่งแกเลาครั้งเยาวอยู” เร่ือง เปนลักษณนาม

Page 141: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

131

เพลงประกอบการสอน เร่ือง คํานาม

ตั้งแตเรียนภาษาไทย ฉันเขาใจเรื่องราวไดดี ยิ่งเรียนก็ยิ่งสนุก ฉันมีสุขก็เรียนไดดี เรียนเรื่องคํานาม จําจนขึ้นฤดี หมายถึง คน สัตว ส่ิงของ ไมอยากหมนหมองตองจําใหดี รวมถึงสภาพอาการ ลักษณะนั้นก็ดูเขาที รูปธรรมนามธรรมถวนถ่ี แหม! ชางดีจัง ฮื่อ! ชางดีจริง

หนาที่ของพวกคํานามใชในยามตองการทุกที ใชเปนประธานก็ได แถมยังใชเปนกรรมก็ดี เชน ตํารวจ ทหาร ความจริงมั่นความดี นก แมว เกาอ้ี ขวด น้ํา และคํานามบอกลักษณะอยางนี้ บานนั้นเราเรียกเปนหลัง เล่ือยนั้นจงฟงเรียกปนคนดี ถาแหวนก็วงนะซิ แหม! ชางดีจัง ฮื่อ! ชางดีจริง

(ออยทิพย ชาติมาลากร 2532 : 109)

Page 142: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

132

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 143: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

133

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย

10

รวม

40

กลุมที่………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 144: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

134

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่……………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 145: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

135

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ือง คําสรรพนาม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคําสรรพนามเปนคําที่ใชแทนชื่อคน สัตว ส่ิงของ แตแยกออกเปน หลายชนิด แตละชนิด

มีหนาที่และวิธีใชตางกัน การศึกษาเรื่องคําสรรพนามเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถจําแนกประเภทของคําสรรพนามแตละชนิดไดถูกตองนําไปใชอยางเหมาะสม จะชวยใหใชภาษาสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่องคําสรรพนามและใชคําสรรพนามไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําสรรพนามได3.2 จําแนกชนิดของคําสรรพนามได3.3 บอกหนาที่ของคําสรรพนามแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําสรรพนามไปใชไดถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําสรรพนาม4.2 ชนิดของคําสรรพนาม4.3 หนาที่ของคําสรรพนาม

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. ครูสนทนากับนักเรียนแลวยกตัวอยางขอความใหนักเรียนหาคํามาแทนคํานาม ที่กําหนดใหเชน

- แดงเปนลูกชายของนายดํา แดงเปนคนขยัน คําวา แดง คําที่ 2 นาจะใชคําวาอะไรแทน (เขา)

Page 146: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

136

- สมศรีไปโรงเรียน สมศรีก็ไปทะเลาะกับเพื่อน คําวา สมศรี คําที่ 2 นาจะใชคําวาอะไรแทน (เธอ)

- แมวเปนสัตวที่นารัก แมวชอบกินหนูเปนอาหาร คําวา แมว คําที่ 2 นาจะใชคําวาอะไรแทน (มัน)

2. นักเรียนชวยกันสรุปคําวา เขา เธอ และมัน เปนคําที่ใชแทนคํานาม เรียกอีกอยางวา คําสรรพนามขั้นดําเนินการสอนความรูใหม

1. นกัเรยีนแบงกลุมตามแถวทีน่ัง่แลวสงตวัแทนมาจบัฉลากชนดิและหนาทีข่องคาํสรรพนามเพื่อศึกษาคนควาชนิดของคําสรรพนาม จากนั้นใหนักเรียนศึกษาใบความรูเพิ่มเติมพรอม ยกตัวอยางและจดบันทึกลงในสมุด

2. นกัเรยีนแตละแถวนาํชนดิและหนาทีข่องคาํสรรพนามทีแ่ยกชนดิและหนาทีม่ารวมกนัแตงบทสนทนากลุมละ 5 ประโยค แลวสงตัวแทนมาพูดสนทนาหนาชั้นเรียน

3. สุมนักเรียน 2-3 คน วิจารณผลงานการพูดของเพื่อนแตละแถววาถูกตองหรือ บกพรองอยางไร ครูชวยอธิบายเพิ่มเติม

4. นักเรียนรวมกันสรุปความหมายและชนิดของคําสรรพนามโดยครูชวยเสริมขั้นทบทวนความรูเปนกลุม

นักเรียนแบงกลุมเปนกลุม STAD รวมกันอภิปรายถึงชนิดและหนาที่ของคําสรรพนามจากนั้นสงตัวแทนมารับใบงานเรื่อง คําสรรพนาม เพื่อศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมดังนี้

- วิเคราะหเปรียบเทียบคําสรรพนามที่ปรากฏในเนื้อเร่ืองวามีความเหมาะสมหรือไม (ใหเวลา 5 นาที)

- เปลี่ยนคําสรรพนามที่ปรากฏในเรื่อง ใหเปนคําสรรพนามที่สุภาพ จากนั้นใหนักเรียนรายงานผลเปนกลุมหนาชั้นเรียน (ใหเวลา 10 นาที)

นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายถึงชนิดและหนาที่ของคําสรรพนามควรใชอยางไรจึงจะมีความถูกตองเหมาะสม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นภายในกลุมและระหวางกลุม เมื่อสมาชิกทุกคนในกลุมเขาใจเนื้อหาและสามารถตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องคําและหนาที่ของคําสรรพนามไดก็เตรียมตัวทดสอบขั้นทดสอบยอย

หลังจากที่นักเรียนเรียนและทบทวนความรู เร่ือง คําและหนาที่ของคําสรรพนาม เปนกลุม STAD แลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบเรื่อง คําสรรพนาม คนเดียวโดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกัน และกัน (ใหเวลา 10 นาที)

Page 147: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

137

ขั้นหาคะแนนปรับปรุงคะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ

ครัง้กอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิก ทุกคนขั้นใหรางวัล

กลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

6. สื่อการเรียนรู1. ใบความรูเร่ือง คําและหนาที่ของคําสรรพนาม2. ใบงานเรื่องคําสรรพนาม3. แบบทดสอบเรื่อง คําสรรพนาม

7. การวัดผลและประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตการรวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากใบงาน1.3 การรายงานหนาชั้นเรียน1.4 การประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุมสําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 148: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

138

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานามที่ผูพูดหรือผูเขียนไดกลาวแลว หรือเปนที่เขาใจกันระหวางผูฟงและผูพูด เพื่อไมตองกลาวคํานามซ้ํา แบงออกเปน 7 ชนิดคือ

1. คําสรรพนาม- สรรพนามบุรุษที่ 1 ใชแทนผูพูด เชน ฉัน ผม ขาพเจา กู ขา ตู อ๊ัว ขอย เปนตน- สรรพนามบุรุษที่ 2 ใชแทนตัวผูฟง หรือผูที่เราพูดดวยเชน ล้ือ เอ็ง มึง คุณ เธอ

ใตเทา พระองค พระคุณเจา ทาน เปนตน- สรรพนามบุรุษที่ 3 ใชแทนผูที่กลาวถึงเชน เขา มัน ทาน หลอน พระองค

เปนตน2. ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใชเชื่อมประโยค 2 ประโยค ใชแทนนามที่อยู

ติดตอกันขางหนาใหมีความสัมพันธ มี 4 คําคือ ผู ที่ ซ่ึง อันตัวอยาง

- คนซ่ึงเกียจครานตองลําบาก- ฉันชอบนักเรียนท่ีมีมารยาทดี- ครูยกยองนักเรียนผูรักษาความสะอาด- โคลงบทแรกอันเปนบทไพเราะที่สุดเปนโคลงสี่สุภาพ

3. ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่มีความหมายเปนคําถาม ไดแกคําวา ใคร ไหนอะไร อันไหน อยางไร ผูใด ส่ิงใด ฯลฯ

ตัวอยาง- ใครทําหมอบุบ- ไหนเปนบานของเธอ- อะไรอยูในกลองกระดาษ

4. วิภาคสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามเพื่อแบงแยกนามนั้นออกเปนสวน ๆ จะมีคําวา แตละพวก แตละส่ิง แตละคน ตาง บาง กัน

ตัวอยาง- เขากําลังคุยกัน- นักเรียนตางทําการบาน- ชาวบานบางก็นั่งบางก็นอน

Page 149: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

139

5. นิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามที่กลาวมาแลวหรือที่ปรากฏอยู เฉพาะหนาเพื่อบอกความกําหนดชี้เฉพาะใหชัดเจน ไดแกคําวา นี่ นั่น โนน ฯลฯ

ตัวอยาง- นี่คือบานของฉัน- โนนคือดอยสุเทพ- นั่นเปนมติของคณะกรรมการ

6. อนิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามทั่วไปที่ไมกําหนดแนนอนช้ีเฉพาะเจาะจง ไดแกคําวา ใคร อะไร ไหน ใด ฯลฯ ซ่ึงไมใชคําถาม

ตัวอยาง- อะไรฉันก็กินได- ใครจะกลับบานกอนก็ได- ไหนก็สุขสูบานของฉันไมได

7. สรรพนามที่ใชเนนนามที่อยูขางหนา เปนคําบุรุษสรรพนามตาง ๆ ที่เรียงไวหลัง คาํนาม เพื่อเนนความรูสึกตาง ๆ ของผูพูด

ตวัอยาง- นายแกวนแกเปนตลกยีเ่กมากอน- เจาแตมมันชอบเหาคนใสเสือ้แดง- เพือ่น ๆ ของลูกเขาจะมากนิเลีย้งในตอนเยน็

หนาท่ีของคาํสรรพนาม1. เปนประธานของประโยค เชน เธอโกรธเขามาก, ทานจะไปไหนวนันี ้เปนตน2. เปนกรรมของประโยค เชน เขาถูกแดงเตะ, คณุแมตมัีนตายแลว เปนตน3. เปนสวนเตมิเตม็ เชน จารณุเีหมอืนเธอมากนะแดง, นองมหีนาตาคลายฉนัมากเลย

เปนตน

Page 150: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

140

ใบความรู เร่ือง คาํสรรพนาม

คาํสรรพนาม คอื คาํทีท่าํหนาทีแ่ทนคาํนาม ในการพดูหรือเขยีนขอความ ถาใชคาํนาม ซํ้ากันมากไปจะทําใหเกิดความซ้ําซาก ไมสละสลวยชวนฟง จําเปนตองใชคําสรรพนามแทนบาง คาํสรรพนามทีค่วรรู คอื

1. สรรพนามแทนนามในการสนทนา หรือบุรุษสรรพนาม2. สรรพนามแทนนามและชี้เฉพาะ หรือนิยมสรรพนาม3. สรรพนามแทนนามโดยไมช้ีเฉพาะ หรืออนิยมสรรพนาม4. สรรพนามแทนนามและเปนคําถาม หรือปฤจฉาสรรพนาม

1. บุรุษสรรพนามบุรุษสรรพนาม คือ คําแทนนามซึ่งใชในการสนทนาหรือเลาเรื่อง มี 3 ประเภทคือ

คําแทนผูพูด คําแทนผูฟงและคําแทนผูถูกกลาวถึงถาผูพูดกับผูฟงเปนบุคคลเสมอกัน เชน เปนเพื่อนกัน1. ผูพูดและผูฟงเปนชาย

คําแทนผูพูด ใชคําวา กัน ฉัน ผมคําแทนผูฟง ใชคําวา เพื่อน เธอ คุณ

2. ผูพูดเปนชาย ผูฟงเปนหญิงคําแทนผูพูด ใชคําวา ฉัน ผมคําแทนผูฟง ใชคําวา เธอ คุณ

3. ผูพูดเปนหญิง ผูฟงเปนชายคําแทนผูพูด ใชคําวา ฉัน ดิฉันคําแทนผูฟง ใชคําวา เธอ คุณ

ถาผูพูดเปนผูนอย ผูฟงเปนผูใหญที่เปนญาติ1. คําแทนผูพูดชาย ใชคําวา ผม กระผม หรือใชตามฐานะความสัมพันธระหวาง

ญาติวา ลูก หลาน นอง2. คําแทนผูพูดหญิง ใชคําวา ฉัน ดิฉัน หรือใชตามฐานะความสัมพันธระหวาง

ญาติวา ลูก หลาน นอง3. คําแทนผูฟงทั้งชายและหญิง ใชตามฐานะความสัมพันธระหวางญาติวา ปู ยา ตา

ยาย พอ แม ลุง ปา นา อา พี่ หรือใชคํา คุณ เติมขางหนาเปน คุณปู คุณลุง คุณพี่ ก็ได

Page 151: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

141

ถาผูพูดเปนผูนอย ผูฟงเปนผูใหญที่ไมใชญาติ1. คําแทนผูพูดชาย ใชคําวา ผม กระผม เกลากระผม2. คําแทนผูพูดหญิง ใชคําวา ฉัน ดิฉัน3. คําแทนผูฟงทั้งชายและหญิงที่มีตําแหนงหนาที่การงานหรือบรรดาศักดิ์ ใชตาม

ตําแหนงการงาน เชน คุณครู คุณครูใหญ ทานอาจารย ทานอาจารยใหญ ทานศึกษาธิการอําเภอ ทานนายอําเภอ ทานผูจัดการ คุณหมอ ทานเจาอาวาส หรือใชตามบรรดาศักดิ์เปน ทานขุน คุณหลวง คุณพระ คุณหญิง เจาคุณ เปนตน

4. คําแทนผูฟงทั้งชายและหญิงที่ไมปรากฏตําแหนงหนาที่การงาน หรือบรรดาศักดิ์ ใชคําวา คุณ ทาน ใตเทา

ถาผูพูดเปนผูนอย ผูฟงเปนเจานาย1. คําแทนผูพูดชาย ใชคําวา กระหมอม เกลากระหมอม ขาพระพุทธเจา2. คําแทนผูพูดหญิง ใชคําวา หมอมฉัน ขาพระพุทธเจา3. คําแทนผูฟง ใชคําวา ฝาพระบาท ใตฝาพระบาท ใตฝาละอองพระบาทถาผูพูดเปนสามัญชน ผูฟงเปนพระเจาแผนดินหรือพระราชินี1. คําแทนผูพูดทั้งชายและหญิง ใชคําวา ขาพระพุทธเจา2. คําแทนผูฟง ใชคําวา ใตฝาละอองธุลีพระบาทคําแทนผูถูกกลาวถึง1. ผูถูกกลาวถึงเปนสัตว ใชคําวา มัน2. ผูถูกกลาวถึงเปนผูใหญ ใชคําวา ทาน3. ผูถูกกลาวถึงเปนผูนอยหรือบุคคลเสมอกัน ใชคําวา เขา4. ผูถูกกลาวถึงเปนเทวดา เจานาย ใชคําวา ทาน พระองค5. ผูถูกกลาวถึงเปนพระพุทธเจา พระเจาแผนดิน พระราชินี ใชคําวา พระองค

พระองคทาน

2. นิยมสรรพนามนิยมสรรพนาม คือ คําแทนนามและบงชี้เฉพาะวาเปนคนใด สัตวใด และสิ่งใด

และแสดงระยะใกลไกลตางกันดวย สรรพนามชนิดนี้ไดแกนี่ นี้ แสดงระยะใกลนั่น นั้น แสดงระยะไกลกวา นี่ นี้โนน โนน แสดงระยะไกลกวา นั่น นั้น

Page 152: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

142

เชน นี่เปนหนังสือของฉันนั่นคืออาจารยใหญโนนเปนภูเขาชายแดน

หมายเหตุ คํา นี่ นี้ นั่น นั้น โนน โนน ที่เปนนิยมสรรพนาม จะตองทําหนาที่แทนนามโดยอยูลอย ๆ ไมประกอบหลังคํานาม ถาประกอบหลังคํานามจะเปนคําวิเศษณ ดังที่จะกลาวตอไปนี้ เชน ดินสอนี้เปนของฉัน เด็กคนโนนกําลังวิ่ง

3. ปฤจฉาสรรพนามปฤจฉาสรรพนาม คือ คําแทนนามที่เปนคําถาม ไดแก ใคร อะไร ไหนใครแตงเรื่องพระอภัยมณีพระอภัยมณีเรียนอะไรไหนเปนบานของพราหมณ

หมายเหตุ คํา อะไร ไหน ที่เปนปฤจฉาสรรพนาม จะตองทําหนาที่แทนนามโดยอยูลอย ๆไมประกอบหลังคํานาม ถาประกอบหลังคํานามจะเปนคําวิเศษณ ดังที่จะกลาวตอไปเชน พระอภัยมณีเรียนวิชาอะไร บานไหนเปนบานของพราหมณ

4. อนิยมสรรพนามอนิยมสรรพนาม คือ คําแทนนามทั่ว ๆ ไป ไมช้ีเฉพาะเจาะจงและไมเปนคําถาม

เชน ใคร อะไร ไหนใครจะไปก็ไดเขาไมรูอะไรเลยไหนจะเปนของฉันก็ได

หมายเหตุ คํา อะไร ไหน ที่เปนอนิยมสรรพนาม จะตองทําหนาที่แทนนามโดยอยูลอย ๆ ไมประกอบหลังคํานาม ถาประกอบหลังคํานามจะเปนคําวิเศษณ ดังที่จะกลาวตอไปเชน นักเรียนจะเลือกอานหนังสืออะไรก็ได วิชาไหนฉันก็ชอบเรียนทั้งนั้น

Page 153: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

143

หนาท่ีของคําสรรพนาม

คําสรรพนามเปนคําที่ใชแทนนาม จึงทําหนาที่ไดอยางนาม ดังนี้

1. ทําหนาท่ีเปนบทประธาน สรรพนามทุกชนิดทําหนาที่เปนประธานของประโยคไดเชน

เขาเปนคนดี บุรุษสรรพนามนี้คือสําเภายนต นิยมสรรพนามใครจะอยูก็ได อนิยมสรรพนามอะไรเกิดขึ้นกับเด็กเลี้ยงแกะ ปฤจฉาสรรพนาม

2. ทําหนาท่ีเปนบทกรรม สรรพนามทุกชนิดทําหนาที่บทกรรมของประโยคได เชนทุกคนพอใจเขา บุรุษสรรพนามนํานี่ไปดวย นิยมสรรพนามหยิบนั่นใหฉันหนอย นิยมสรรพนามเขาจะทําอะไรก็ได อนิยมสรรพนามเธอไมพอใจใครทั้งนั้น อนิยมสรรพนามหลอนจะชวยใคร ปฤจฉาสรรพนามเด็ก ๆ กําลังเลนอะไร ปฤจฉาสรรพนาม

3. ทําหนาท่ีขยายนาม สรรพนามที่ทําหนาที่ขยายนาม ไดแก บุรุษสรรพนาม เชนผูอํานวยการทานอยูในหองประชุมตอยตีวิดมันรองหวิด ๆ

Page 154: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

144

ช่ือ………………………………………………ช้ัน………………เลขที่……………

แบบทดสอบ เร่ือง คําสรรพนาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง (ขอละ 2 คะแนน)

1. คําสรรพนาม คือ ………………………………………………………………………………2. คําสรรพนามแบงออกเปน…………ชนิด

คือ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. “เมื่อไมใหใครจะวาเจาขาเอย นี่กลับเยยยกคําทิ่มตําผม” ขอความนี้มีคําสรรพนามอยู….…ชนิดคือ……………………………………………………………………………………………….

4. “ขาฟงเจาเลาไปก็ไดความ จึงเห็นตาพอแมรังแกตรง” ขอความนี้มีบุรุษสรรพนามอยู……..คําไดแก…………………………………………………………………………………………

5. “ตามเรื่องนั้นวามีเศรษฐีหนึ่ง เปนคนซึ่งสูงชาติวาสนา” คําวา ซ่ึง จัดเปนคํานามชนิด………….. ที่ใชแทนคํานามวา……………………………………………………………

6. “ทราบวาพอของขาเจาเขามาผนวชอยูนี่” คําวา นี่ เปนคําสรรพนามชนิด……………………... ทําหนาที่เปน………………………ในประโยค

7. “อยาวาแตแกวแหวนแสนสมบัติ ถึงจะจัดเอาอะไรมาใหฉัน” คําวา อะไร เปนคําสรรพนามชนิด…………………………ทําหนาที่เปน………………………………ของประโยค

8. “ไหน ชะลอมที่มึงวา” ไหน เปนสรรพนามชนิด…………………………ทําหนาที่เปน………. ………………………ของประโยค

9. “ฝายฝรั่งพรั่งพรอมตางนอมนบ” คําวา ตาง ในที่นี้เปนคําสรรพนามชนิด…………………….ใชแทนคํานามวา………………………………………………………………………………...

10. “ปลาชอนที่ควรจะมีอีกหลายตัวตองพลอยตายหมดไปดวย” คําวา ท่ี เปนคําสรรพนามทําหนาที่………………………โดยใชแทนคํานามวา…………………………………………..

Page 155: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

145

เฉลยแบบทดสอบ เร่ือง คําสรรพนาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง (ขอละ 2 คะแนน)

1. คําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานาม เพื่อไมใหเราใชคํานามซ้ําซาก2. คําสรรพนามแบงออกเปน 6 ชนิด คือ บุรุษสรรพนาม ประพันธสรรพนาม นิยมสรรพนาม

อนิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม วิภาคสรรพนาม3. “เมื่อไมใหใครจะวาเจาขาเอย นี่กลับเยยยกคําทิ่มตําผม” ขอความนี้มีคําสรรพนามอยู 3 ชนิด

คือ อนิยมสรรพนาม นิยมสรรพนาม บุรุษสรรพนาม4. “ขาฟงเจาเลาไปก็ไดความ จึงเห็นตาพอแมรังแกตรง” ขอความนี้มีบุรุษสรรพนามอยู 2 คํา

ไดแก ขา เจา5. “ตามเรื่องนั้นวามีเศรษฐีหนึ่ง เปนคนซึ่งสูงชาติวาสนา” คําวา ซ่ึง จัดเปนคํานามชนิด

ประพันธสรรพนาม ที่ใชแทนคํานามวา คน6. “ทราบวาพอของขาเจาเขามาผนวชอยูนี่” คําวา นี่ เปนคําสรรพนามชนิด นิยมสรรพนาม

ทําหนาที่เปน กรรม ในประโยค7. “อยาวาแตแกวแหวนแสนสมบัติ ถึงจะจัดเอาอะไรมาใหฉัน” คําวา อะไร เปนคําสรรพนาม

ชนิด อนิยมสรรพนาม ทําหนาที่เปน กรรม ของประโยค8. “ไหน ชะลอมที่มึงวา” ไหน เปนสรรพนามชนิด ปฤจฉาสรรพนาม ทําหนาที่เปน ประธาน

ของประโยค9. “ฝายฝรั่งพรั่งพรอมตางนอมนบ” คําวา ตาง ในที่นี้เปนคําสรรพนามชนิด วิภาคสรรพนาม

ใชแทนคํานามวา ฝร่ัง10. “ปลาชอนที่ควรจะมีอีกหลายตัวตองพลอยตายหมดไปดวย” คําวา ท่ี เปนคําสรรพนาม

ทําหนาที่ เชื่อมประโยค โดยใชแทนคํานามวา ปลาชอน

Page 156: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

146

ใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

1. จงขีดเสนใตคําสรรพนามที่ใชแทนนามในขอความตอไปนี้“ ทานเจาขา! พอแมรังแกฉัน เขาใฝฝนฟูมฟกฉันอักขูฉันทําผิดคิดระยํากลับค้ําชู จะวาผูรักลูกถูกหรือไรทานทายฉันนั้นถูกลูกเศรษฐี ผูกลีเลวกวาบรรดาไพรซ่ึงยังรูกอบการงานใด ๆ เล้ียงชีพไดเพียงพอไมขอทานโอย! ยิ่งเลายิ่งช้ําระกําเหลือ โปรดจุนเจือเถิดทานหมอขอขาวสารเหมือนชวยชีพขาเจาใหเนานาน จักเปนการบุญลนมีผลงาม…”

2. ใหนักเรียนพิจารณาคําที่ขีดเสนใตในประโยคตอไปนี้แลวบอกวาเปนคําสรรพนามชนิดใด1. เมื่อขาพเจาเดินทางไปยุโรปและอเมริกา

……………………………………………………………………………………………..2. ใครหนอรักเราเทาชีวี

……………………………………………………………………………………………..3. โนนเศษขยะเกลื่อนกลาดริมหาดทราย

……………………………………………………………………………………………..4. ฝายพระยาเกียรซ่ึงอยูในเมืองหงสาวดีนั้น ก็ยกทหารตีหักออกมาตามสัญญา

……………………………………………………………………………………………..5. ใดใดในโลกลวนอนิจัง

……………………………………………………………………………………………..6. ไหนเปนปากกาของเธอ

……………………………………………………………………………………………..7. นักเรียนตางตั้งใจทํางาน

……………………………………………………………………………………………...8. เธอจะไปไหนก็ไดไมมีใครวา

……………………………………………………………………………………………..9. พอโดยสารทานก็รับลงเรือมา

……………………………………………………………………………………………..10. จึงเห็นหนาลูกนอยกลอยฤทัย

……………………………………………………………………………………………...

Page 157: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

147

เฉลย ใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

1. จงขีดเสนใตคําสรรพนามที่ใชแทนนามในขอความตอไปนี้“ ทานเจาขา! พอแมรังแกฉัน เขาใฝฝนฟูมฟกฉันอักขูฉันทําผิดคิดระยํากลับค้ําชู จะวาผูรักลูกถูกหรือไรทานทายฉันนั้นถูกลูกเศรษฐี ผูกลีเลวกวาบรรดาไพรซ่ึงยังรูกอบการงานใด ๆ เล้ียงชีพไดเพียงพอไมขอทานโอย! ยิ่งเลายิ่งช้ําระกําเหลือ โปรดจุนเจือเถิดทานหมอขอขาวสารเหมือนชวยชีพขาเจาใหเนานาน จักเปนการบุญลนมีผลงาม…”

2. ใหนักเรียนพิจารณาคําที่ขีดเสนใตในประโยคตอไปนี้แลวบอกวาเปนคําสรรพนามชนิดใด1. เมื่อขาพเจาเดินทางไปยุโรปและอเมริกา (สรรพนามบุรุษที่ 1)2. ใครหนอรักเราเทาชีวี (ปฤจฉาสรรพนาม)3. โนนเศษขยะเกลื่อนกลาดริมหาดทราย (นิยมสรรพนาม)4. ฝายพระยาเกียรซ่ึงอยูในเมืองหงสาวดีนั้น ก็ยกทหารตีหักออกมาตามสัญญา

(ประพันธสรรพนาม)5. ใดใดในโลกลวนอนิจัง (อนิยมสรรพนาม)6. ไหนเปนปากกาของเธอ (ปฤจฉาสรรพนาม)7. นักเรียนตางตั้งใจทํางาน (วิภาคสรรพนาม)8. เธอจะไปไหนก็ไดไมมีใครวา (อนิยมสรรพนาม)9. พอโดยสารทานก็รับลงเรือมา (สรรพนามบุรุษที่ 1)10. จึงเห็นหนาลูกนอยกลอยฤทัย (สรรพนามบุรุษที่ 2)

Page 158: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

148

ใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

คําสั่ง จงบอกชนิดและหนาที่ของคําสรรพนามที่ขีดเสนใตในประโยคตอไปนี้1. ทานเจาขาพอแมรักแกฉัน2. เธอไปตลาดแตเชาเชียวนะจะ3. โปรดสงกระเปาใหผมดวย4. ครูชอบเด็กที่ขยันขันแข็ง5. สมบัติเห็นใครเขามาในหองนี้ไหม6. เด็ก ๆ กําลังเจริญอาหาร อะไร ๆ ก็กินหมดเกลี้ยง7. คนอยางมันสมควรตาย8. เอานี่ออกไปจากโตะฉันเดี๋ยวนี้9. ไมเห็นมีใครเขารานเลย10. คนที่ไดรับรางวัลคือเธอนั่นเอง

1. …………………………………… ……………………………………2. …………………………………… ……………………………………3. …………………………………… ……………………………………4. …………………………………… ……………………………………5. …………………………………… ……………………………………6. …………………………………… ……………………………………7. …………………………………… ……………………………………8. …………………………………… ……………………………………9. …………………………………… ……………………………………10. …………………………………… ……………………………………

Page 159: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

149

เฉลยใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

1. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่เปนกรรม2. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่เปนประธาน3. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่เปนกรรมรอง4. สรรพนามเชื่อมประโยค ทําหนาที่เชื่อมประโยคและแทนคํานาม เด็ก5. สรรพนามใชถาม ทําหนาที่กรรมตรง6. สรรพนามบอกความไมเจาะจง ทําหนาที่กรรมตรง7. สรรพนามใชเนนคํานามที่อยูขางหนา ทําหนาที่ประธาน8. สรรพนามใชช้ีระยะ ทําหนาที่กรรมตรง9. สรรพนามบอกความไมเจาะจง ทําหนาที่กรรมตรง10. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่สวนเติมเต็มของกริยา คือ

Page 160: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

150

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 161: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

151

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือ ในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย

10

รวม

40

กลุมที่……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 162: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

152

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่…………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 163: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

153

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ืองคํากริยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคาํกรยิา เปนคาํทีใ่ชแสดงอาการของนาม และสรรพนามหรอืแสดงการกระทาํของประธาน

ในประโยค เพื่อใหรูวาคํานามหรือสรรพนามนั้น ๆ ทําอะไร เปนอยางไร คํากริยาแบงออกเปนหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่และวิธีใชแตกตางกัน การเรียนรูเร่ืองคํากริยา ชวยใหสามารถนําไปใชผูกประโยคไดอยางถูกตองเหมาะสม

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่องคํากริยาและใชคํากริยาไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคํากริยาได3.2 จําแนกชนิดของคํากริยา พรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคํากริยาแตละชนิด พรอมยกตัวอยางได3.4 สามารถนําคํากริยาไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคํากริยา4.2 ชนิดของคํากริยา4.3 หนาที่ของคํากริยา

Page 164: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

154

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียน

1. เลนเกมสงแปงเพื่อเลือกนักเรียน 6 คนมารวมกิจกรรมปริศนาทาทางจากคํากริยา ดังนี้

- เด็กกําลังเตะฟุตบอบ - เด็กกําลังตักน้ํา- เด็กกําลังกินขาว - เด็กกําลังพายเรือ- เด็กกําลังนอน - เด็กกําลังเปาลูกโปง

2. นักเรียนทั้งหมดทําทาทางใหเพื่อนในหองเรียนดูใครทําทาทางใหเพื่อนทายถูก เปนผูชนะ ถาเพื่อนทายไมไดใหคนทําทาทางเตนรําเปนการทําโทษ

3. นักเรียนชวยกันพิจารณาทาทางของเพื่อนวาเปนลักษณะของคําชนิดใดแลวจดลงในสมุดขั้นดําเนินการสอนความรูใหม

1. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่องคํากริยาและใหนักเรียนทุกคนศึกษาใบความรูเร่ือง คํากริยา เพิ่มเติม ใหเวลา 5 นาที

2. สุมนกัเรยีน 3-4 คนแตงประโยค คนละ 1 ประโยค แลวสุมนกัเรยีนตอบวา ประโยคที่เพื่อนแตงนั้นมีคํากริยาวาอะไร ทําหนาที่อะไรในประโยค โดยครูชวยเสริม

ขั้นทบทวนความรูเปนกลุมนักเรียนเขากลุม STAD เพื่อรวมกันอภิปรายถึงการนําความรูที่ไดจากการเรียนเร่ืองคํา

และหนาที่ของคํากริยามาใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร จากนั้นใหนักเรียนสงตัวแทนมารับใบงานเร่ือง คํากริยา แลวรวมกันหาคําตอบ จากนั้นทบทวนความรูเพื่อเตรียมตัวสอบยอย โดยตองแนใจวาสมาชิกทุกคนในกลุมสามารถตอบคําถามและอธิบายเหตุผลของคําตอบแตละคําถามไดขั้นทดสอบยอย

หลังจากที่นักเรียน เรียนและทบทวนความรู เร่ือง คําและหนาที่ของคํากริยา เปนกลุม STAD แลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบเรื่อง คํากริยา คนเดียวโดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน (ใหเวลา 10 นาที)ขั้นหาคะแนนปรับปรุง

คะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ ครั้งกอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิกทุกคน

Page 165: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

155

ขั้นใหรางวัลกลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

6. สื่อการเรียนรู1. ใบความรูเร่ืองคํากริยา2. ใบงานเรื่องคํากริยา3. แปงที่ใชเลนเกม4. บัตรคําปริศนาทาทาง5. แบบทดสอบเรื่องคํากริยา

7. การวัดและประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตจากการรวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากใบงาน1.3 การประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุมสําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 166: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

156

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คาํกรยิา คอื คาํแสดงอาการกระทาํของคาํนามหรอืคําสรรพนาม หรือแสดงการกระทาํของประธานในประโยค แบงออกเปน 4 ชนิดคือ

1. สกรรมกริยา คือ คํากริยาที่ไมสมบูรณในตัวเอง จะตองมีกรรมมารับขางทาย จึงจะไดความสมบูรณตัวอยาง

- ลูกเสือกินขาว- นกจิกขาวโพด- คุณแมเขียนจดหมาย

2. อกรรมกริยา คือ คํากริยาที่มีความหมายครบถวนสมบูรณในตัวเอง ไมจําเปนตองมีกรรมมารับขางทาย

ตัวอยาง- นายกรัฐมนตรีปวย- นกเขาของเขาตายแลว- ไฟวันเฉลิมพระชนมพรรษาปนี้สวย

3. วิกตรรถกริยา หรือกริยาที่ตองอาศัยสวนเติมเต็ม เปนกริยาที่ไมมีความสมบูรณ ในตัวเอง ตองมีคํานาม สรรพนาม หรือวิเศษณมาขยายหรือมีคํามาเติมขางทายจึงจะมีความสมบูรณ กริยาพวกนี้ไดแกคําวา เปน เหมือน คลาย เทา คือ ดุจวา เสมือน ประหนึ่ง ราวกับ ฯลฯ

ตัวอยาง- ฉันเปนครู- คนดีคือผูมีเกียรติ- เขาเสมือนนักโทษคดีอุกฉกรรจ

4. กริยานุเคราะห คือ กริยาที่ทําหนาที่ชวยหรือประกอบกริยาสําคัญในประโยคใหมีความหมายชัดเจนขึ้นมี 2 ลักษณะ คือ

ลักษณะที่ 1 เปนคําที่จะมีความหมายไดก็ตอเมื่อไดชวยคํากริยาอื่นเทานั้น เชน คําวา จง อยู นาจะ ตอง แลว เปนตน

ลักษณะที่ 2 เปนคําที่ไมมีความหมายเปนของตัวเอง ตองอาศัยคํากริยาอื่น ๆ จึงจะ เกิดความหมาย และมีความหมายก็จะเปลี่ยนไดตามความประสงคของผูพูดเชน คําวา เถอะ นะ ซิ หรอก เปนตน

Page 167: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

157

ตัวอยาง- ฝนนาจะตก- โปรดงดสูบบุหร่ี- เราตองทํางานเดี๋ยวนี้

หนาท่ีของคํากริยา1. ทาํหนาทีเ่ปนตวัแสดงในภาคแสดงของประโยค เชน คนไทยทกุคนควรอนรัุกษสภาวะ

แวดลอม, ลูกเสือปฏิญาณตนตอหนาธงประจําหมู เปนตน2. ทําหนาที่ขยายนาม เชน ดอกไมรอยมาลัยเปนสีชมพูทั้งหมด, สุรีย เปลี่ยนรายการ

เครื่องดื่มเล้ียงแขก เปนตน3. ทําหนาที่ขยายกริยา เชน เธอวิ่งเลนตอนเชา, คุณพอเดินหารองเทา เปนตน4. ทําหนาที่เหมือนคํานาม เชน ฉันชอบวิ่งเร็ว ๆ, เท่ียวกลางคืนมักมีอันตราย เปนตน

Page 168: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

158

ใบความรูเร่ือง คํากริยาประโยคประกอบดวยบทประธานและบทกริยา หรือบทประธาน บทกริยาและบทกรรม

บทกริยาประกอบดวยคําซ่ึงตอบคําถาม “ทําอะไร” ได เชนฟารอง ทหารยิงปนน้ําไหล ชางลากซุง

เมื่อตั้งคําถามวา ฟา ทําอะไร คําตอบ คือ รองทหาร ทําอะไร คําตอบ คือ ยิงน้ํา ทําอะไร คําตอบ คือ ไหลชาง ทําอะไร คําตอบ คือ ลาก

คําวา รอง ยิง ไหล ลาก ซ่ึงทําหนาที่เปนบทกริยาของประโยค เรียกวา คํากริยา คํากริยาที่ควรรูในชั้นนี้มี 3 จําพวกคือ

1. คํากริยาที่มีใจความครบบริบูรณในตัวเอง ไมตองมีบทกรรมมารับ เชน รอง ไหล ไมจําเปนตองรูวา รองใครหรืออะไร และไหลใครหรืออะไร คํากริยาพวกนี้เรียกวา กริยาไมมีกรรมหรือ อกรรมกริยา

2. คํากริยาที่ยังไมมีใจความสมบูรณในตัวเอง ตองมีบทกรรมมารับ เชน ยิง ลาก จําเปนตองรูวา ยิงใครหรืออะไร และลากอะไร คํากริยาจําพวกนี้เรียกวา กริยามีกรรม หรือ สหกรรมกริยา

3. คํากริยาที่ยังไมมีใจความสมบูรณในตัวเอง ทําหนาที่ชวยประกอบกริยาอื่นให มีความหมายชัดเจนขึ้นเรียกวา กริยาชวยหรือกริยานุเคราะหเชน จะ กําลัง ได คง แลว อาจ ตอง จง โปรด ควรตัวอยาง

ฝนจะตกพายุกําลังพัดฉันไดไปที่นั่นมากอนจงทําแตความดีอากาศคงรอนจัดตะวันลับขอบฟาแลวราคาสินคาอาจลดลงอีกโปรดเอื้อเฟอแกเด็กและคนชราคนเราตองรักบานเกิดเมืองนอนคนไทยควรเห็นแกชาติไทย

Page 169: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

159

หมายเหตุ คํากริยานุเคราะหบางคําอาจทําหนาที่เปนสกรรมกริยาไดกริยานุเคราะห สกรรมกริยาฉันไดพบเธอเมื่อวานนี้ เขาไดคะแนนสูงสุดเขาทํางานแลว เขาแลวงานเมืองไทยคงเจริญกาวหนายิ่งขึ้น เขาคงความดีไวเหมือนเกลือคงความเค็มคนเราตองตาย สิ่งนี้ตองตาฉัน

หนาท่ีของคํากริยาคํากริยาทําหนาที่ในประโยคไดตาง ๆ ดังนี้1. ทําหนาท่ีบทกริยา คํากริยาทําหนาที่บทกริยาในประโยคได ตามชนิดของกริยานั้น ๆ

คือ เปนกริยาไมมีกรรม กริยามีกรรมและกริยาชวย ตามที่กลาวมาแลว2. ทําหนาท่ีขยายนาม ใชกริยาไมมีกรรมหรือกริยามีกรรมก็ได

หนังสือเรียน ยางลบ สมุดวาดเขียนวันไหวครู น้ําดื่ม งานลอยกระทง

3. ทําหนาท่ีเหมือนนาม คือ อาจเปนประธานหรือกรรมของประโยคนอนดึกใหโทษ ทําหนาที่ประธานตื่นเชาทําใหรางกายสดชื่น ทําหนาที่ประธานเธอไมชอบสูบบุหร่ี ทําหนาที่กรรมฉันฝกวายน้ํา ทําหนาที่กรรม

Page 170: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

160

แบบทดสอบเรื่อง คํากริยา

คําสั่ง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. คํากริยาแบงออกเปนกี่ชนิดก. 2 ชนิด ข. 4 ชนิดค. 6 ชนิด ง. 8 ชนิด

2. ขอใดมีคํากริยาไมตองมีกรรมก. นักเรียนไปโรงเรียน ข. ดูจบแลวหนังสือเร่ืองนี้นะค. คนดีกลายเปนคนรายไปได ง. กรุงศรีอยุธยาสรางเมื่อป 1893

3. คํากริยาในขอใดแตกตางไปจากขออ่ืนก. เจาตองหันเขาหาวิชาเบา ๆ ข. เจาเปนแตคนชั้นที่สองเทานั้นค. ขาขอถามเจาทั้งสามดวยปญหา ง. เจามีความบริบูรณดวยอาการสาม

4. คํากริยาในขอใดแตกตางจากขออ่ืนก. สมพรรักสมศรี ข. สมนึกลืมสมควรค. สมทรงเหมือนสมยศ ง. สมเดชเขาใจสมภพ

5. คํากริยาชวยในขอใดสรางความหมายใหแตกตางจากขออ่ืนก. เด็ก ๆ นาจะนอนไดแลว ข. หลอนนาจะมีอายุไมเกิน 15ค. ตึกนี้นาจะสรางในสมัยสงครามโลก ง. คําพูดนี้นาจะจําเขามาพูดมากกวา

6. คําชวยกริยาในขอใดแสดงใหเห็นวายังไมเกิดกริยานั้นก. ฉันตองทํา ข. ฉันใหทําค. ฉันทําแลว ง. ฉันจะทํา

7. ขอใดใชคําชวยกริยาไดถูกตองก. ปลาโลมาถูกมนุษยลาจนจะสูญพันธุแลวข. รายการโทรทัศนไทยไดรับการตําหนิวาไรสาระค. พอหลอนถูกชมเขาก็หนาแดงง. วันนี้ผูวาฯ ถูกเชิญใหไปออกงาน

8. คํากริยาขอใดไมทําหนาที่ตัวแสดงก. ครอบครัวบานเธอทําอาหารอรอยนาดู ข. หนาตาเขาคลายมหาโจรเสียจริงค. คุณไมเคยใชน้ํายาลางจานยี่หอนี้เลยหรือ ง. นกนอยบินลองลอยไปบนทองฟา

Page 171: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

161

9. คํากริยาในขอใดทําหนาที่ขยายคํากริยาก. แมคิดถึงความจริงขอนี้เสมอ ข. ปาฝนเห็นเลขเด็ดงวดนี้ค. พี่ชอบเพื่อนชายของงเธอจริง ๆ ง. นองเขาใจแจมแจงแลวคะ

10. ขอใดมีกริยาที่ทําหนาที่เหมือนคํานามก. ฟงดนตรีเย็น ๆ ทําใหหายเครียดได ข. โปรดอยาถามวาฉันเปนใครค. ไมมีเธอฉันก็อยูได ง. ทําการบานใหเสร็จกอนออกไปเลน

11. กริยาที่ทําหนาที่เหมือนคํานามจะใชคําใดเติมขางหนาไดโดยที่ความหมายไมเปลี่ยนแปลงก. ความ ข. วิธีค. เมื่อ ง. การ

12. คํากริยาในขอใดเปนอกรรมกริยาก. แกมองเห็นกระถางแตกนั่นไหม ข. คุณอวดแหวนแตงงานใหกับคนใชอีกแลวค. เธอสวยงามเหลือเกิน ง. น้ําซึมเขาไปในกระดาษชําระ

13. “คนเลี้ยงเด็กคนใหมนี้เขาทาดี” กริยาที่ขีดเสนใตนี้ทําหนาที่ใดก. ตัวแสดง ข. ขยายนามค. ขยายกริยา ง. เหมือนคํานาม

14. คํากริยาในขอใดเปนไดทั้งอกรรมกริยาและสกรรมกริยาก. เรียก ข. วิ่งค. ตัด ง. ขัน

15. ขอใดมีคํากริยาที่ตองอาศัยสวนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา)ก. ปยะคลายดาราภาพยนตรมาก ข. คนปวยควรกินอาหารออน ๆค. เราวิ่งแขงกันที่ชายหาด ง. ตนไมโคนเพราะลมแรง

Page 172: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

162

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คํากริยา

1. ข 2. ก 3. ข 4. ค 5. ก 6. ง 7. ก 8. ค 9. ข 10. ก11. ง 12. ค 13. ข 14. ง 15. ก

Page 173: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

163

ใบงาน เร่ือง คํากริยา

คําสั่ง ใหนักเรียนนําอักษรหนาขอทางขวามือ เติมในชองวางหนาขอความทางซายมือใหถูกตอง

……….1. แกวลืมคอน ก. อกรรมกริยา……….2. ยานี้ดีเหลือเกิน ข. สกรรมกริยา……….3. นายเสริมปราบนายแกวนไดทุกครั้ง ค. วิกตรรถกริยา……….4. นายเสริมเปนคูปรับของนายแกวน ง. กริยานุเคราะห……….5. พระยาพิชัย เปนบุคคลที่นายกยอง จ. คํากริยาที่ขยายนาม……….6. ความใหญโตของผลมะมวงเทาหมอ ฉ. คํากริยาทําหนาที่เหมือนคํานาม……….7. ในวันเกิดฉันตองการเพียงคําอวยพร……….8. นายวิภพยังแสดงบทบาทตัววายราย……….9. นายสายหัวเราะกราว ๆ……...10. เดินทางไกลเปนกิจกรรมหนึ่งของลูกเสือ

Page 174: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

164

เฉลยใบงาน เร่ือง คํากริยา

คําสั่ง ใหนักเรียนนําอักษรหนาขอทางขวามือ เติมในชองวางหนาขอความทางซายมือใหถูกตอง

……ข….1. แกวลืมคอน ก. อกรรมกริยา……ก….2. ยานี้ดีเหลือเกิน ข. สกรรมกริยา……ข….3. นายเสริมปราบนายแกวนไดทุกครั้ง ค. วิกตรรถกริยา……ค….4. นายเสริมเปนคูปรับของนายแกวน ง. กริยานุเคราะห……ง….5. พระยาพิชัย เปนบุคคลที่นายกยอง จ. คํากริยาที่ขยายนาม……ค….6. ความใหญโตของผลมะมวงเทาหมอ ฉ. คํากริยาทําหนาที่เหมือนคํานาม……จ….7. ในวันเกิดฉันตองการเพียงคําอวยพร……ง….8. นายวิภพยังแสดงบทบาทตัววายราย……ก….9. นายสายหัวเราะกราว ๆ……ฉ...10. เดินทางไกลเปนกิจกรรมหนึ่งของลูกเสือ

Page 175: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

165

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 176: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

166

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือ ในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบ เรียบ

รอย10

รวม

40

กลุมที่…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 177: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

167

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………

…..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..…

…..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..…

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 178: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

168

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ือง คําวิเศษณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคาํวเิศษณ เปนคาํทีท่าํหนาทีข่ยายคาํชนดิอ่ืน ๆ ใหมคีวามหมายแจมชดัขึน้ การศกึษาคาํวเิศษณ

จะทําใหรูจัก เลือกใชคําวิเศษณใหถูกตองตามหนาที่ ชวยใหใชภาษาไดสละสลวย ไดความชัดเจน บอกรายละเอียดของคําหรือขอความใหเขาใจยิ่งขึ้น สามารถสื่อความหมายไดตรงตามวัตถุประสงค

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําวิเศษณและใชคําวิเศษณไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําวิเศษณได3.2 จําแนกชนิดของคําวิเศษณพรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคําวิเศษณแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําวิเศษณไปใชไดถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําวิเศษณ4.2 ชนิดของคําวิเศษณ4.3 หนาที่ของคําวิเศษณ

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนสุมนักเรียน 1 คน ใหหยิบดอกมะลิขึ้นมาแลวถามเพื่อนวา ดอกมะลิมีลักษณะอยางไร

ดอกมีสีอะไร มีกล่ินอยางไร จากนั้นนักเรียนชวยกันทายวาสิ่งที่นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับมะลิ ทั้งหมดนี้ตรงกับความหมายของคําชนิดใด (เฉลย คําวิเศษณ)

Page 179: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

169

ขั้นดําเนินการสอนความรูใหม1. ครูอธิบาย เร่ืองคาํวิเศษณ และใหนักเรียนแบงกลุมตามจาํนวนแถวตอนลึกที่นั่ง

แตละกลุมมารบัใบความรู เร่ืองคาํวเิศษณ เพื่อศึกษาชนิดและหนาที่ของคําวิเศษณ เพิ่มเติมในเวลา 10 นาที

2. นักเรียนสงตัวแทนมาแถวละ 1 คน เพื่อหยิบบัตรคําส่ังใหเพื่อนดูวาแถวของตนเองจะเขียนคําวิเศษณชนิดใด จากนั้นนักเรียนแตละแถวเขียนคําวิเศษณที่ตนไดบนกระดานดําในชองของตนเองใหมากที่สุดในเวลา 2 นาที

3. ใหแตละกลุมนับจํานวนคําของกลุมตัวเอง โดยครูตรวจสอบความถูกตองอีกครั้งหากกลุมใดถูกตองและไดมากที่สุด กลุมนั้นจะชนะขั้นทบทวนความรูเปนกลุม

นกัเรยีนเขากลุม STAD และพจิารณาหาคาํวเิศษณจากใบงานทีไ่ดรับ มากลุมละ 5 คาํพรอมอธิบายชนดิและหนาทีข่องคาํวเิศษณนัน้ ๆ จากนัน้สงตวัแทนมารายงานหนาชัน้เรยีนโดยยกตวัอยางมากลุมละ 3 ประโยคเทานั้น โดยครูชวยเสริม จากนั้นนักเรียนรวมกันศึกษาทบทวนความรูเพื่อเตรียมตัวสอบยอยโดยแตละกลุมตองแนใจวาสมาชิกทุกคนในกลุมเขาใจเนื้อหาเปนอยางดีขั้นทดสอบยอย

หลังจากที่นักเรียน เรียนและทบทวนความรู เร่ือง คําและหนาที่ของคําวิเศษณ เปนกลุม STAD แลวใหนักเรียนทําแบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ คนเดียวโดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน (ใหเวลา 10 นาที)ขั้นหาคะแนนปรับปรุง

คะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ ครัง้กอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิก ทุกคนขั้นใหรางวัล

กลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

Page 180: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

170

6. สื่อการเรียนรู1. ใบความรูเร่ือง คําวิเศษณ2. ดอกมะลิ3. บัตรคําส่ังชนิดของคําวิเศษณ4. ใบงานเรื่อง คําวิเศษณ5. แบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ

7. การวัดและประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตการรวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานจากใบงาน1.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุมสําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

Page 181: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

171

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําวิเศษณ คือ คําที่มีความหมายบงชี้ลักษณะตาง ๆ เชน ขนาด สัณฐาน (รูปทรง) สี กล่ิน รส นอกจากนี้ยังบงชี้ สถานที่ ปริมาณ จํานวน เปนตน

1. ลักษณวิเศษณ คือ คําวิเศษณบอกลักษณะ ชนิด สี ขนาด สัณฐาน เสียง อาการ กล่ิน รส ความรูสึก ไดแกคําวา ช่ัว ดี ขาว ดํา กลม แบน เล็ก โครม เปรี้ยง เร็ว ชา หอม เหม็น เปรี้ยว หวาน เย็น รอน ฯลฯ

ตัวอยาง- แกงปานี้มีรสเผ็ด- ดอกมะลิมีกลิ่นหอม- ในโลกนี้มีทั้งคนดีและคนชั่ว

2. กาลวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกเวลาไดแกคําวา ในอดีต ปจจุบัน อนาคต เชา สาย บาย เย็น ค่ํา ฯลฯ

ตัวอยาง- เขาแสดงละครเย็นนี้- คนโบราณนับถือผีสางเทวดา- หนาหนาวนักเรียนมักจะมาสาย

3. สถานวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกสถานที่ หรือระยะทาง ไดแกคําวา ใกล ไกล เหนือ ใต ขวา ซาย หนา บน หลัง ฯลฯ

ตัวอยาง- โรงเรียนอยูไกล- เขาอาศัยอยูชั้นบน- เขาเดินทางไปทางทิศใต

4. ประมาณวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกจํานวนหรือปริมาณ ไดแกคําวา มาก นอย หมด หนึ่ง สอง สามฯ ทั้งหมด ทั้งส้ิน จุ ฯลฯ

ตัวอยาง- คุณสูบบุหร่ีมากไมดี- เขาหยุดขายของหลายวัน- เพื่อนทั้งหมดที่มากินจุท้ังสิ้น

Page 182: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

172

5. นิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความชี้เฉพาะแนนอนไดแกคําวา นี่ นั่น โนน นี้ นั้น โนน แน เอง ทั้งนี้ ทั้งนั้น อยางนั้น อยางนี้ ทีเดียว ฯลฯ

ตัวอยาง- บานนี้มีคนซื้อไปแลว- ขนมโนนฉันทําเองท้ังนั้น- ฉันเองเปนคนเลาใหเขาฟง

6. อนิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความไมช้ีเฉพาะ ไมกําหนดแนนอนไดแกคําวา ใด อัน ใด ไย ไหน ทําไม เชนไร เหตุใด ฯลฯ (แตไมใชคําถาม)

ตัวอยาง- คนไหนจะนอนกอนก็ได- ปนี้เธอจะมีอายุเทาไรก็ชางเธอซิ- ซ้ือหนังสืออะไรมาใหฉันก็ไดทั้งนั้น

7. ปฤจฉาวเิศษณ คอื วเิศษณทีบ่อกเนือ้คําถามหรอืความสงสยัไดแกคาํวา ใด อะไร ไหนทําไม ฯลฯ

ตัวอยาง- คนไหนไมสงการบาน- ขนมอะไรที่เธอซื้อมา- การเลนเทนนิสมีกติกาอยางไร

8. ประติชญาวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่แสดงถึงการขานรับในการเจรจาโตตอบไดแก คําวา จํา ครับ คะ ขา ขอรับ วะ โวย จะ พระพุทธเจา ฯลฯ

ตัวอยาง- ผมจะรับทํางานนี้ขอรับ- อาจารยขา หนูทําสมุดหายคะ- คุณครับรถไฟจะออกเดี๋ยวนี้แลว

9. ปฏเิสธวเิศษณ คอื คาํวเิศษณทีบ่อกความปฏเิสธไมยอมรับ ไดแกคาํวา ไม ไมได หามไิด บ ฯลฯ

ตวัอยาง- ฉนัมิไดโกรธคณุ- นองไมอานหนงัสอื

Page 183: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

173

- ฉันตามหาเขาแตไมพบ

หนาท่ีของคําวิเศษณคําวิเศษณมักทําหนาที่เปนสวนขยายในประโยคไดแก1. ขยายคํานาม เชน บานเกาทาสีใหม, ตนไมนี้ตองโคนทิ้ง เปนตน2. ขยายคําสรรพนาม เชน ชายคนนั้นตองเปนเขาแน, เธอท้ังหลายโปรดอยูในความสงบ

เปนตน3. ขยายคํากริยา เชน นกบินสูง, กรุณาพูดชา ๆ เปนตน4. ขยายคําวิเศษณ เชน ฉันทําเองจริง ๆ, เด็กคนนั้นกินจุมาก เปนตน5. เปนคําอกรรมกริยา หรือ กริยาที่ไมตองการกรรม เชน ด.ญ.สายฝนสวย แต ด.ญ.

น้ําคางฉลาด, ตึกหลังนี้สูง เปนตน

Page 184: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

174

ใบความรูเร่ือง คําวิเศษณ

ประโยคประกอบดวยบทประธานและบทกริยา หรือบทประธาน บทกริยา และบทกรรม แตโดยทั่วไปในประโยคหนึ่ง ๆ อาจมีบทขยายประธาน บทขยายกริยาและบทขยายกรรมเพิ่มขึ้น เนื่องจากคําที่ทําหนาที่บทประธานและบทกรรมเปนคํานามหรือคําสรรพนาม และคําที่ทําหนาที่บทกริยาไดแก คํากริยา บทขยายตาง ๆ ในประโยคก็จะทําหนาที่ขยายคํานาม คําสรรพนาม และ คํากริยานั่นเอง คําที่ใช เปนบทขยายสวนมากเปนคําบอกลักษณะหรืออาการของคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา คําประเทนี้เรียกวา คําขยาย หรือ คําวิเศษณตัวอยาง

เด็กชายปนเขาสูงเด็ก ๆ กลัวผีเปนที่สุดฉันเลนฟุตบอลสนุก

คํา สูง ขยาย คํานาม เขา บอกขนาดเปนที่สุด ขยาย คํากริยา กลัว บอกปริมาณสนุก ขยาย คํากริยา เลน บอกอารมณ

คําวิเศษณ อาจขยายคําวิเศษณดวยกันก็ได เชนมาวิ่งเร็วมาก เตาคลานชานัก มะยมมีรสเปรี้ยวจัด

คําวิเศษณ มาก ขยายคําวิเศษณ เร็วนัก ขยายคําวิเศษณ ชาจัด ขยายคําวิเศษณ เปรี้ยว

คําวิเศษณบอกลักษณและอาการของคํานาม สรรพนาม กริยาและวิเศษณ เชนบอกปริมาณ เชน มาก นอย หมด ส้ิน ทั้งหลาย ทั้งปวง ฯลฯบอกขนาด เชน ใหญ โต ปานกลาง เล็ก จิ๋ว ฯลฯบอกสัณฐาน เชน กลม รี แบน เรียว ปอม ฯลฯบอกอาการ เชน เร็ว วองไว คลองแคลว ชา เงื่องหงอย ฯลฯบอกรส เชน จืด เค็ม เปรี้ยว หวาน มัน อรอย เผ็ด ฯลฯบอกเสียง เชน ไพเราะ ดัง คอย กังวาน แผว แหบ ฯลฯบอกสี เชน แดง ดํา เขียว ขาว ชมพู น้ําเงิน ฯลฯบอกสถานที่ เชน ใกล ไกล ใน นอก ใต ทั่ว ฯลฯบอกกําหนด เชน นี่ นี้ นั่น นั้น โนน โนน ฯลฯ

Page 185: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

175

บอกเวลา เชน เชา สาย เที่ยง บาย เย็น กอน หลัง เสร็จ ฯลฯบอกปฏิเสธ เชน ไม ไมได มิได หามิได ฯลฯบอกคําถาม เชน อะไร ทําไม อยางไร ใด ฯลฯบอกอารมณ เชน สนุก ตื่นเตน เหงา เศรา แจมใส ฯลฯบอกวัย เชน แก หนุม สาว ฯลฯบอกกลิ่น เชน หอม เหม็น ฉุน อับ ฯลฯบอกสัมผัส เชน รอน เย็น กระดาง นุม ฯลฯบอกจํานวน เชน หนึ่ง สอง สาม ส่ี หา ฯลฯบอกคํารับรอง เชน จะ จา ครับ ฯลฯหนาท่ีของคําวิเศษณ

คําวิเศษณ ทําหนาที่ขยายสวนตาง ๆ ของประโยค ดังนี้1. ทําหนาที่ขยายคํานาม

เด็กเล็กชอบเลนตุกตา ขยายนามที่เปนประธานระฆังมีเสียงกังวาน ขยายนามที่เปนกรรม

2. ทําหนาที่ขยายคําสรรพนามเราทั้งหลายเปนคนไทย ขยายสรรพนามที่เปนประธานครูใหญตองการพบเธอทั้งสอง ขยายสรรพนามที่เปนกรรม

3. ทําหนาที่ขยายคํากริยารถไฟแลนเร็ว เร็ว ขยายกริยา แลนเราเขียนหนังสือถูกตอง ถูกตอง ขยายกริยา เขียน

4. ทําหนาที่ขยายคําวิเศษณเขาพูดชัดมาก มาก ขยายคําวิเศษณ ชัดนกบินสูงลิบ ลิบ ขยายคําวิเศษณ สูง

คําวิเศษณบอกลักษณะสวนมากใชเปนคํากริยาได เชนเขาเปนคนดี ( ดี เปนวิเศษณขยายนาม คน )เขาดีตอทุกคน ( ดี เปนกริยาของสรรพนาม เขา )

คําวิเศษณบอกสถานที่ เชน ใน ใกล ไกล บน เหนือ ใต ถานําหนานามหรือ สรรพนามใชเปนบุพบทได เชน

เขาอยูไกล ( ไกล เปนวิเศษณ ขยายกริยา อยู )เขาอยูไกลโรงเรียน ( ไกล เปนบุพบท นําหนานาม โรงเรียน )

Page 186: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

176

ขันใบนี้ทําดวยทองเหลือง นามไกขัน กริยาไมมีกรรมเขาขันเชือก กริยามีกรรมเขาพูดขัน วิเศษณกันจะไปหาเธอ สรรพนามเขากันฉันไว กริยาชางตัดผมกันจอนของฉันเกลี้ยงเกลา กริยาพวกเรารับประทานอาหารกัน วิเศษณฉันเปนนักเรียน สรรพนามพระฉันอาหาร กริยาเราคบกันฉันเพื่อน บุพบทคนเดิน กริยาไมมีกรรมเขาเดินหมากรุก กริยามีกรรมดีชวยยอยอาหาร นามเขาเปนคนดี วิเศษณเขาดีตอฉัน กริยาพัดดานนี้ทําดวยไมจันทร นามลมพัด กริยาไมมีกรรมลมพัดใบไม กริยามีกรรมปลาติดยอ นาม (เครื่องมือจับปลา)ผลยอใชทํายา นาม (ผลไม)เธออยายอฉันเกินไป กริยาบานของฉันอยูใกล วิเศษณบานของฉันอยูใกลโรงเรียน บุพบทเขายืนหาง วิเศษณเขายืนหางโตะ บุพบทเราจากโรงเรียน กริยาเรามาจากโรงเรียน บุพบท

ขัน

กัน

ฉัน

เดิน

พัด

ดี

ยอ

ใกล

หาง

จาก

Page 187: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

177

แบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง

1. คําวิเศษณ คือ ……………………………………………………………………………………2. คําวิเศษณแบงออกเปน…………ชนิด ไดแก……………………………………………………3. “ทั้งมีคนเลือกใชใบหนาหนา” คําวิเศษณในขอความนี้คือ………………………………………

เปนคําวิเศษณชนิด………………………………………………………………………………4. “มนุษยที่เกิดมาในเวลาขางหนา” คําวิเศษณในขอความนี้คือ……………………………………

เปนคําวิเศษณชนิด………………………………………………………………………………5. “อวดโลกไดไทยแทอยางแนนอน” คําวา แนนอน เปนคําวิเศษณชนิด………………………….6. “ก็สุดแทแตแมเจาจะโปรดเถิดเจาขา” คําวา เจาขา เปนคําวิเศษณชนิด………………………….7. “อาบน้ํารอนกอนเจาขาเขาใจ เมื่อไมใหแลวก็วาสารพัน” ขอความนี้มีคําวิเศษณอยูคือคําวา……

…………………………………………………………………………………………………..8. “ตาพลอยดีมีจําปาบูชาพระ” คําวิเศษณในขอความนี้คือ………………………………………...

เปนคําวิเศษณชนิด………………………ทําหนาที่ขยาย……………………………………….9. “พูดทําไมวาจะชวยใหปวยการ” คําวา ทําไม เปนคําวิเศษณชนิด………………………………..10. “ฉันตองการทําอยางที่พูดเอาไว” คําวิเศษณในขอความนี้คือ…………...……เปนคําวิเศษณ

ชนิด …………………………ทําหนาที่ขยายคํา………………………………………………

Page 188: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

178

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ

1. คําที่ทําหนาที่ขยายคํานาม สรรพนาม กริยา และวิเศษณใหมีเนื้อความแปลงออกไป2. 10 ชนิด ไดแก ฉักษณวิเศษณ กาลวิเศษณ สถานวิเศษณ ประมาณวิเศษณ นิยมวิเศษณ

อนิยมวิเศษณ ปฤฉาวิเศษณ ประพันธวิเศษณ ประติชญาวิเศษณ และประติเษธวิเศษณ3. หนา เปนคําวิเศษณชนิด ลักษณวิเศษณ4. ขางหนา เปนคําวิเศษณชนิด กาลวิเศษณ5. นิยมวิเศษณ6. ประติชญาวิเศษณ7. 3 คํา คือ รอน ไม สารพัน8. ดี เปนคําวิเศษณชนิดลักษณวิเศษณ ทําหนาที่ขยายคํานาม9. ปฤจฉาวิเศษณ ทําหนาที่ขยายคํากริยา10. อยางที่ เปนคําวิเศษณ ชนิด ประพันธวิเศษณ

Page 189: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

179

ใบงานเรื่อง คําวิเศษณ

คาํสัง่ ใหนกัเรยีนนาํอักษรหนาขอความทางขวามอืเตมิในชองวางหนาขอความทางซายมอืใหถูกตอง

1. การเตรียมกายมิไดหมายถึงการนุงขาวหมขาว ก. ลักษณวิเศษณ2. ดอกไมอ่ืนดื่นไปมีไมนอย ข. กาลวิเศษณ3. หนาบึ้งแผดเสียงเยี่ยงกุมภัณฑ ค. สถานวิเศษณ4. นายทองดีกระโดดไดสูงอยางที่มวยจีนไดกระทํากัน ง. ประมาณวิเศษณ5. พลทหารมาทั้งปวงก็แตกไปคายส้ิน จ. นิยมวิเศษณ6. นี่พิจะคะชะลอมที่วา ฉ. อนิยมวิเศษณ7. บานของทานขายเทาไรใหราคา ช. ปฤจฉาวิเศษณ8. เขาทําพิธีบวชตั้งแตโมงเชา ญ. ประพันธวิเศษณ9. คนภูมิใจ คือ นายแกวนผูแสดงเปนเสือโครงนั่นเอง ต. ประติชญาวิเศษณ10. พอมีอันตรายกับลูก พอปลาก็จะวายมาใกล ๆ ถ. ประติเษธวิเศษณ

ท. วิเศษณทําหนาที่กริยาธ. วิเศษณทําหนาที่ขยายวิเศษณ

Page 190: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

180

เฉลยใบงานเรื่อง คําวิเศษณ

1. ถ2. ฉ3. ก4. ญ5. ง6. ต7. ช8. ข9. จ10. ค

Page 191: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

181

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 192: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

182

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือ ในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบ เรียบรอย

10

รวม

40

กลุมที่……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 193: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

183

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

……..……..……..……..……..……..…..………...….………..…….……..…..……..……..……..……..…

…..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..………...………….

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 194: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

184

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ือง คําบุพบท ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญ คําบุพบท เปนคําที่นําหนาคําอ่ืน ๆ เพื่อทําหนาที่โยงคําหรือกลุมคํา เพื่อใหสัมพันธกับ

คําอ่ืน ๆ เพื่อแสดงความหมายตาง ๆ การศึกษาเรื่อง คําบุพบท จะนําไปใชไดถูกตองเหมาะสมสามารถสื่อความหมายไดชัดเจนตรงตามจุดประสงค

2. ผลการเรียนที่คาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําบุพบท และใชคําบุพบทไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําบุพบทได3.2 จําแนกชนิดของคําบุพบทพรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคําบุพบทแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําบุพบทไปใชไดอยางถูกตอง

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําบุพบท4.2 ชนิดของคําบุพบท4.3 หนาที่ของคําบุพบท

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียน

นักเรียนดูภาพปลาวายน้ําในอางแลวสนทนากันวาปลาวายน้ําที่ใด คําที่บอกสถานที่นั้นตรงกับคําชนิดใด (ใหเวลา 5 นาที)ขั้นดําเนินการสอนความรูใหม

1. ครูอธิบายและใหนักเรียนแบงกลุม STAD สงตัวแทนกลุมมาจับฉลากเพื่อศึกษา เร่ือง คําบุพบท จากใบความรูเพิ่มเติม ดังนี้

Page 195: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

185

กลุมที่ 1 ศึกษาเรื่องคําบุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางนามกับนาม นามกับสรรพนาม หรือนามกับกริยา

กลุมที่ 2 ศึกษาเรื่องคําบุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางสรรพนามกับนาม สรรพนามกับสรรพนาม หรือสรรพนามกับกริยา

กลุมที่ 3 ศึกษาเรื่องคําบุพบท ที่แสดงความสัมพันธระหวางกริยากับนาม กริยากับสรรพนาม กริยากับกริยา หรือกริยาหรือวิเศษณ

กลุมที่ 4 ศึกษาเรื่องคําบุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางประโยคกับประโยคกลุมที่ 5 ศึกษาเรื่องหนาที่ของคําบุพบทที่แสดงความสัมพันธระหวางคําหรือ

ประโยคที่อยูขางหนา หรือขางหลังบุพบท (ใหเวลา 10 นาที)2. นักเรียนแตละกลุมเลือกชนิดของคําบุพบทที่กลุมตนรับผิดชอบศึกษาใบความรูที่ได

เปนกลุมแลวจดบันทึก จากนั้นสลับใบความรูหมุนเวียนจากกลุม 1 – 2 – 3 – 4 – 5 เปนตน โดยมีครูเปนที่ปรึกษา

3. สุมนักเรียนแตละกลุมนําผลจากการศึกษามาพูดรายงานหนาชั้นเรียนขั้นทบทวนความรูเปนกลุม

นักเรียนเขากลุมตามเดิม (กลุม STAD) รวมกันอภิปรายถึงชนิดของคําบุพบท จากนั้น สงตัวแทนมารับใบงานเรื่อง คําบุพบท เพื่อศึกษาทบทวนความรู เมื่อแนใจวาสมาชิกในกลุมมีความสามารถในการตอบคาํถามและอธิบายคําตอบและหาเหตุผลมาอางใหไดเมื่อมีขอสงสัยใหถามเพื่อนในกลุมกอนถามเพื่อนกลุมอ่ืนหรือครู

ขั้นทดสอบยอยหลังจากที่นักเรียนไดศึกษาและทบทวนความรูเร่ือง คําและหนาที่ของคําบุพบทเปนกลุม

STAD แลวนักเรียนทําแบบทดสอบคนเดียว โดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ใหเวลา 10 นาทีขั้นหาคะแนนปรับปรุงคะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ

ครัง้กอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิก ทุกคน

ขั้นใหรางวัลกลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

Page 196: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

186

6. สื่อการเรียนรู1. ภาพปลาวายน้ําในอาง2. ใบความรูเร่ือง คําบุพบท3. บัตรความรูเร่ือง คําบุพบท 5 เรื่อง4. กลองใสบัตรความรู5. ใบงานเรื่อง คําบุพบท6. แบบทดสอบเรื่อง คําบุพบท

7. การวัดและประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตการรวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานจากใบงาน1.3 สังเกตการรายงานหนาชั้นเรียน1.4 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุมสําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 197: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

187

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําบุพบท แปลวา คําที่มาขางหนาในการสื่อสาร คําบุพบททําหนาที่โยงคําหนึ่งหรือกลุมคําหนึ่งใหสัมพันธกับคําอ่ืน หรือกลุมคําอ่ืน เพื่อแสดงความหมายตาง ๆ เชน ลักษณะ เหตุผล เวลา สถานที่ เจาของ เปนตน ไดแกคําวา ใน แก จน ของ ดวย โดย กับ แต ตอ ใกล ไกล ฯลฯ

ตัวอยาง- ครูใหความรูแกลูกศิษย - โจทยยื่นคํารองตอศาล- เขาเดินทางโดยเครื่องบิน - ฉันซอนเงินใตหมอน- ครูตองเสียสละเพื่อศิษย - นองไปเที่ยวกับเพื่อน- อุทยานเขาใหญอยูท่ีจังหวัดนครราชสีมา- เขาตอวาจนสาแกใจ- นักเรียนตองมาโรงเรียนแตเชา- ฉันถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ- วาวติดอยูบนตนไม- เขาทํางานอยูเกือบ 10 ปจึงใชหนี้หมด- รถของคุณพอถูกชน- บานของฉันอยูริมถนน

ตําแหนงของคําบุพบท1. นําหนาคํานาม เชน รางวัลสําหรับเด็กดีคือเสียงปรบมือ, ขาวฟางเปนอาหารของ

นกหงษหยก เปนตน2. นําหนาคําสรรพนาม เชน ฉันทําขนมนี้เพื่อเธอ, ฉันจะไปกับเขา เปนตน3. นําหนาคํากริยา เชน คุณแมเตรียมอาหารสําหรับรับประทาน, เขาไดรับบาดเจ็บ

ระหวางเดินทาง เปนตน4. นําหนาคําวิเศษณ เชน หลอนใจรายสิ้นดี, เขาพูดไปตามความจริง เปนตน

Page 198: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

188

หนาท่ีของคําบุพบท1. นําหนาคํานาม เชน สุรียไปกับพอ, หนังสือของจารุณีหายไป เปนตน2. นําหนาคําสรรพนาม เชน ผมจะอยูใกลคุณเสมอ, เขามายืนอยูขางฉันตลอดเวลา

เปนตน3. นําหนาคํากริยา เชน เรากินเพื่ออยู, สมพงษทํางานจนลมเจ็บ เปนตน4. นําหนาคําวิเศษณ เชน คุณตองมาหาผมโดยเร็ว เปนตน5. นําหนาประโยค เชน ทานใหรางวัลเฉพาะนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเดนเทานั้น

เปนตน

Page 199: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

189

ใบความรูเร่ือง คําบุพบท

คํานาม คําสรรพนามทําหนาที่เปนบทประธาน คํากริยาทําหนาที่เปนบทกริยาในประโยค คําทั้งสามชนิดนี้อาจทําหนาที่ขยายคําที่อยูขางหนาได ถานําคําชนิดหนึ่งมานํา

ตัวอยางแจกันบนโตะกระเปาของฉันตื่นแตเชากินเพื่ออยู

บน นําหนา นาม โตะ เพื่อขยายนาม แจกันของ นําหนา สรรพนาม ฉัน เพื่อขยายนาม กระเปาแต นําหนา นาม เชา เพื่อขยายกริยา ตื่นเพื่อ นําหนา กริยา อยู เพื่อขยายกริยา กินคํา บน ของ แต เพื่อ ซ่ึงนําหนาคํานาม สรรพนามหรือกริยา เพื่อเชื่อมกับคําขางหนา

และขยายคําขางหนาเหลานี้ เรียกวา บุพบทคําบุพบท คือ คํานําหนาคําอ่ืนเพื่อบอกลักษณะตาง ๆ เชน

1. บอกสถานที่ เชน ใน ใกล ที่ ณ เหนือ บน ใต จาก ถึง ยังปลาในแมน้ํา โรงเรียนบนภูเขาบานอยูใกลวัด บัวใตน้ําฉันไปหาเธอที่บาน เขามาจากทองนาเขาอยู ณ ประเทศฝรั่งเศส เรามาถึงโรงเรียนแมลงบินเหนือดอกไม นักกีฬาออกไปยังสนาม

2. บอกความเปนผูรับ เชน แก แด เพื่อ ตอพอแมใหเงินแกลูกทหารตอสูศัตรูเพื่อชาติชาวบานถวายอาหารแดพระภิกษุนักเรียนเสนอรายงานการศึกษานอกสถานที่ตอครู

Page 200: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

190

3. บอกเวลา เชน เมื่อ แต ตั้งแต ตราบเทาวีระมาโรงเรียนแตเชาชูใจปวยตั้งแตสัปดาหกอนอาจารยใหการบานเมื่อวันศุกรช่ือเสียงของสุนทรภูอยูมาตราบเทาทุกวันนี้

4. บอกความเปนเคร่ืองใชหรือการกระทํารวมกัน เชน ดวย กันฉันเห็นเขากับตาหญิงสองคนนั้นไปดวยกันลูกเสือกับยุวกาชาดชวยกันทํางาน

5. บอกความเปนเจาของ เชน ของ แหงนี่เปนหนังสือของฉันความพรอมเพรียงแหงหมูคณะทําใหเกิดสุข

หนาท่ีของคําบุพบทคําบุพบท ทําหนาที่นําหนาคําชนิดตาง ๆ เพื่อขยายคําขางหนา ดังนี้1. นําหนาคํานาม

นักเรียนตองรักษาสมบัติของโรงเรียนทุกคนตองเห็นแกชาติ

2. นําหนาคําสรรพนามคุณครูหวังดีตอเรากุญแจหองอยูที่เธอ

3. นําหนาคํากริยานี่เปนถังสําหรับใสขยะอยาเปนคนเห็นแกกิน

Page 201: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

191

แบบทดสอบ เร่ือง คําบุพบท

จงเลือกคําตอบที่ถูกท่ีสุดเพียงขอเดียว

1. ขอใดคือคําจํากัดความของคําบุพบทก. คําขยายข. คําที่ใชแทนคํานามค. คํานําหนาบทง. คําตามหลังบท

2. คําบุพบททําหนาที่อะไรก. แทนนาม สรรพนาม คํากริยาบางพวกและวิเศษณข. ขยายนาม สรรพนาม กริยาบางพวกและวิเศษณค. บอกตําแหนงของนาม สรรพนาม กริยาบางพวกและวิเศษณง. บอกความหมายของนาม สรรพนาม กริยาบางพวกและวิเศษณ

3. ขอใดมีคําบุพบทนําหนาคําวิเศษณก. ดวงดาวอยูบนฟาข. นองอาบน้ําโดยเร็วค. เขามอบขนมแกเด็กยากจนง. คุณควรเห็นแกฉันบาง

4. ขอใดมีคําบุพบทก. พี่และนองกําลังวิ่งเลนข. ใครกําลังวิ่งเลนที่สนามค. เธอขยันเพราะกลัวสอบตกง. ทําไมเธอตองขยัน

5. “ราษฎรยื่นคํารอง………นายอําเภอ” คําใดควรนํามาเติมในชองวางก. แตข. แกค. ตอง. สําหรับ

Page 202: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

192

6. “นายจางใหของขวัญ………ลูกจาง” คําใดควรนํามาเติมในชองวางก. แดข. แกค. เพื่อง. ตอ

7. คําวา ใต ในขอใดเปนคําบุพบทก. เพื่อนฉันเปนคนใตข. พายุพัดมาจากทางใตค. ใครจะไปใตบางง. มีรังมดอยูใตเตียง

8. คําวา ที่ ในขอใดไมใชคําบุพบทก. ฉันพักที่บานคุณปาข. รานอาหารที่สะอาดมักขายดีค. เรานัดกันที่โรงภาพยนตรง. คุณแมทํางานที่เชียงใหม

9. ขอความนี้มีคําบุพบทกี่คํา “พอกับแมอยูดวยกันที่ขอนแกน แตเพื่อลูกแมจึงเดินทางโดยรถไฟมาแตเชา”ก. 5 คําข. 6 คําค. 7 คําง. 8 คํา

10. “ทานเปนผูเชี่ยวชาญ……โรคภูมิแพ” คําใดควรนํามาเติมในชองวางก. ทางข. ในค. ของง. ดวย

Page 203: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

193

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คําบุพบท

1. ค2. ค3. ข4. ข5. ค6. ข7. ง8. ข9. ค10. ก

Page 204: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

194

ใบงานเรื่อง คําบุพบท

จงเติมคําลงในชองวางใหถูกตองเหมาะสม

คร้ันนัน้พระมหาสตัวตรัสกะนางมณเีมขลาวา “ทานพดูอะไรอยางนัน้ เราทาํความพยายาม………ตายก็จักพนครหา” ตรัสฉะนี้แลว………กลาวคาถาวา “บุคคลเมื่อกระทําความเพียร แมจะตายกช่ื็อวาไมเปนหนีใ้นระหวางหมูญาต ิ เทวดา………บดิามารดา อนึง่บคุคลเมือ่ทาํกจิอยางลูกผูชาย ………ไมเดือดรอนในภายหลัง” ลําดับนั้น เทวดากลาวคาถากะพระมหาสัตววา “การงานอันใดยังไมถึงที่สุด………ความพยายาม การงานอันนั้นก็ไรผล มีความลําบากเกิดขึ้น การทํา ความพยายามในฐานะอันไมสมควรใดจนความตายปรากฏขึ้น ความพยายามอันไมสมควร………จะมีประโยชนอะไร” เมื่ อนางมณี เมขลากล าวอย า งนี้ แล วพระมหาสัตว เมื่ อจะทํา นางมณีเมขลา…………จํานนตอถอยคํา จึงไดตรัสคาถาตอไปวา “ดูกอนเทวดา ผูใดรูแจงวา การงานที่ทําจะไม………ไปไดจริง ๆ ช่ือวาไมรักษาชวีติของตน ถาผูนัน้ละความเพยีรในฐานะเชนนั้นเสียก็จะพึงรูผล………ความเกียจคราน ดูกอนเทวดา คนบางคนในโลกนี้เห็นผล……… ความประสงคของตนจึงประกอบการงานทั้งหลาย การงานเหลานั้นจะสําเร็จหรือไมก็ตาม”

(พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช “พระมหาชนก”)

Page 205: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

195

เฉลยใบงานเรื่อง คําบุพบท

จงเติมคําลงในชองวางใหถูกตองเหมาะสม

คร้ันนัน้พระมหาสตัวตรัสกะนางมณเีมขลาวา “ทานพดูอะไรอยางนัน้ เราทาํความพยายามแมตายกจ็กัพนครหา” ตรัสฉะนีแ้ลวจงึกลาวคาถาวา “บคุคลเมือ่กระทาํความเพยีร แมจะตายกช่ื็อวาไมเปนหนี้ในระหวางหมูญาติ เทวดาและบิดามารดา อนึ่งบุคคลเมื่อทํากิจอยางลูกผูชาย ยอม ไมเดือดรอนในภายหลัง” ลําดับนั้น เทวดากลาวคาถากะพระมหาสัตววา “การงานอันใดยังไมถึงที่สุดดวยความพยายาม การงานอันนั้นก็ไรผล มีความลําบากเกิดขึ้น การทําความพยายาม ในฐานะอันไมสมควรใดจนความตายปรากฏขึ้น ความพยายามอันไมสมควรนั้นจะมีประโยชนอะไร” เมื่อนางมณีเมขลากลาวอยางนี้แลวพระมหาสัตวเมื่อจะทํานางมณีเมขลาใหจํานนตอถอยคํา จึงไดตรัสคาถาตอไปวา “ดูกอนเทวดา ผูใดรูแจงวาการงานที่ทําจะไมลุลวงไปไดจริง ๆ ช่ือวา ไมรักษาชีวิตของตน ถาผูนั้นละความเพียรในฐานะเชนนั้นเสียก็จะพึงรูผลแหงความเกียจคราน ดูกอนเทวดา คนบางคนในโลกนี้เห็นผลแหงความประสงคของตนจึงประกอบการงานทั้งหลาย การงานเหลานั้นจะสําเร็จหรือไมก็ตาม”

Page 206: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

196

ใบงานเรื่อง คําบุพบท

คําสั่ง จงเติมคําบุพบทลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตอง

1. เราควรบําเพ็ญประโยชน…………………………สวนรวม2. นักเรียนสงการบาน………………………ครู3. นักเรียนบอก…………………………ครูวาขอสอบยาก4. นักเรียนมอบหนังสือที่ระลึก…………………………อาจารยใหญ5. อาจารยใหญใหพร……………………นักเรียน6. คนไทยมีความจงรักภักดี………………………พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว7. บัวเกิด………………ตม8. เขาคิดเลข…………………วิธีนี้ไมถูก9. เขามาโรงเรียน…………………รถยนตประจําทาง10. เขาเขียนหนังสือ……………….ปากกา

Page 207: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

197

เฉลยใบงานเรื่อง คําบุพบท

1. แก2. แก3. กับ4. แด5. แก6. ตอ7. แต8. ดวย9. โดย10. ดวย

Page 208: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

198

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 209: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

199

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบเรียบรอย

10

รวม

40

กลุมที่…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 210: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

200

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

……..……..……..…..……..………..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..

…..………..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..……..

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 211: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

201

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 6 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ือง คําสันธาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคําสันธาน เปนคําสําหรับเชื่อมความ ชวยใหการใชภาษาตอเนื่องสละสลวย และ

บอกลักษณะ ใจความของประโยคนั้น ๆ คําสันธานจําแนกเปนหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่ใช ตางกัน การศึกษาเรื่องคําสันธานใหเกิดความรูความเขาใจ จะสามารถนําไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําสันธานและใชคําสันธานไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําสันธานได3.2 จําแนกชนิดของคําสันธาน พรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคําสันธานพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําสันธานไปใชไดถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําสันธาน4.2 ชนิดของคําสันธาน4.3 หนาที่ของคําสันธาน

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนเลือกตวัแทนนกัเรยีนออกมาหนาชัน้ 2 คน ใหคนที ่1 ถือกระเปาหนงัสอืและคนที ่2 หอบ

หนังสือเรียน จากนั้นถามนักเรียนในหองวา บุคคลทั้ง 2 กําลังทําอะไร ใหเพื่อน ๆ ในหองเรียนตอบแลวครูสนทนาตอวาถานํา 2 ประโยคมาเขียนหรือเรียงติดกันเราตองใชคําชนิดใดเปนตัวเชื่อม

Page 212: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

202

ใหใจความเขากันได (ขอเสนอแนะถานักเรียนตอบไมได เพิ่มวาเปนคําสันธาน ที่นักเรียนไดเรียนไปเมื่อตอนอยูช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1)ขั้นดําเนินการสอนความรูใหม

1. ครูอธิบายความรูใหมและใหนักเรียนศึกษาใบความรูเร่ือง คําสันธานเพิ่มเติมเพื่อ นําความรูไปจัดกิจกรรม ใหเวลา 10 นาที

2. แบงนกัเรยีนตามแถวตอนลกึแลวจบัฉลากเลอืกคาํสนัธานมากลุมละ 1 ชนดิ แตงประโยคกลุมละ 1 ประโยค เพื่อจัดกิจกรรมเกม “พรายกระซิบ” กับการใชคําสันธาน

3. นกัเรยีนแตละกลุมนาํประโยคทีต่นแตงมารวมกนัทีห่นาชัน้แลวจบัสลากสลบัประโยคกัน (ไมใหตรงกับกลุมที่แตง)

4. ใหนักเรียนแตละกลุมเขาแถวตอนลึกเพื่อดําเนินกิจกรรมดังนี้- ใหคนทีอ่ยูหวัแถวออกมาดบูตัรประโยคคาํสนัธาน แลวกระซบิตอไปยงัคนสดุทาย- ใหคนสุดทายเขียนประโยคบนกระดานดําแลวใหคนหัวแถวดูวาถูกหรือไม

5. ตัวแทนกลุมพูดอธิบายความหมาย ชนิด และหนาที่ของคําสันธานในประโยค ที่ตนรับผิดชอบ เพื่อนในหองชวยอภิปราย และครูชวยสรุปขั้นทบทวนความรูเปนกลุม

นกัเรยีนแบงกลุม STAD เพือ่รวมอภปิรายชนดิและหนาทีข่องคาํสนัธาน จากนัน้ใหนกัเรยีนสงตัวแทนมารับใบงาน เร่ือง คําสันธาน ศึกษาทบทวนความรูเพื่อเตรียมตัวสอบ โดยตองแนใจวา สมาชิกในกลุมสามารถตอบคําถามและอธิบายเหตุผลของคําตอบได เมื่อมีขอสงสัยใหถามเพื่อน ในกลุมกอนถามเพื่อนตางกลุมหรือครูขั้นทดสอบยอย

หลังจากทีน่กัเรยีนไดเรียนและทบทวนความรูเร่ือง คาํและหนาทีข่องคาํสนัธานแลวนกัเรยีนทําแบบทดสอบ เร่ือง คําสันธาน โดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ใหเวลา 10 นาทีขั้นหาคะแนนปรับปรุง

คะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ ครัง้กอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิก ทุกคนขั้นใหรางวัล

กลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

Page 213: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

203

6. สื่อการเรียนรู1. ใบความรูเร่ือง คําสันธาน2. บัตรคําเพื่อเขียนประโยคคําสันธาน3. กลองใสบัตรคํา4. ใบงานเรื่อง คําสันธาน5. แบบทดสอบเรื่อง คําสันธาน

7. การวัดผลและประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตการเขารวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานนักเรียนจากใบงาน1.3 สังเกตการรายงานหนาชั้นเรียน1.4 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุมสําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

Page 214: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

204

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําสันธาน คือ คําที่ทําหนาที่เชื่อมคํากับคํา ประโยคกับประโยค ขอความกับขอความ หรือเชื่อมความใหสละสลวย

หนาท่ีของคําสันธาน1. เชื่อมคํากับคํา เชน เธอชอบมะละหรือกุหลาบ, สมบัติปลูกกุหลาบ ซอนกล่ินและ

จําป, เด็กชายดํากับเด็กชายแดงเรียนหองเดียวกัน เปนตน2. เช่ือมขอความ เชน การสงเสยีงดงัในหองสมดุเปนการกระทาํทีไ่มดรีบกวนผูอ่ืนเพราะ

ฉะนัน้จงึตองมกีฏหามสงเสยีงดงัตดิประกาศไว, คนเราตองการอาหาร เสือ้ผา เครือ่งนุงหม ทีอ่ยูอาศยัและยารักษาโรคดวยเหตุนี้เราจึงจําเปนตองประกอบอาชีพเพื่อใหไดเงินมาซื้อส่ิงจําเปนเหลานี้เปนตน

3. เชื่อมประโยคกับประโยค เชน นองไปโรงเรียนไมไดเพราะไมสบาย, พี่สวยแตนอง ขี้เหร, เขาเกียจครานเขาจึงสอบตก เปนตน

4. เชื่อมความใหสละสลวย เชน เราก็เปนคนจริงคนหนึ่งเหมือนกัน, คนเราก็ตองมี ผิดพลาดบางเปนธรรมดา เปนตน

ชนิดของคําสันธาน คําสันธาน มี 3 ชนิดคือ1. เชื่อมใจความที่คลอยตามกัน ไดแกคําวา กับ, ทั้ง…และ, ทั้ง…ก็, คร้ัน…จึง, พอ…ก็

ฯลฯตัวอยาง

- คร้ันไดเวลาเธอจึงออกไปพูดบนเวที- พอพระอาทิตยลับขอบฟาฝูงนกก็บินกลับรัง- หนอยและหนิงเปนนักกีฬาที่มีความสามารถ

2. เชื่อมใจความที่ขัดแยงกัน ไดแกคําวา แต, แตวา, ถึง……ก็, กวา……ก็ ฯลฯตัวอยาง

- เขาอยากรวยแตใชเงินฟุมเฟอย- กวาตํารวจจะมาถึงคนรายก็หนีไปแลว- ถึงฝนตกหนักฉันเดินฝาสายฝนกลับบาน

Page 215: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

205

3. เชื่อมใจความที่ใหเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง ไดแกคําวา หรือ, หรือไมก็, ไมเชนนั้น, มิฉะนั้นก็, ไม…ก็ ฯลฯตัวอยาง

- คุณจะทานขาวหรือขนมปง- ไมเธอก็ฉันตองจายเงินคาอาหารมื้อนี้- เราตองเลิกทะเลาะกันมิฉะนั้นงานจะไมสําเร็จ

Page 216: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

206

ใบความรูเร่ือง คําสันธาน

คําสันธาน คือ คําที่ใชเชื่อมคํากับคํา หรือประโยคกับประโยค สันธานเชื่อมคํากับคํา เชน และ กับ หรือตัวอยาง

ฉันรักพอและแมเราเขียนหนังสือดวยปากกากับดินสอเราจะไปรถยนตหรือรถไฟ

ประโยคที่นักเรียนไดเรียนมาแลวลวนเปนประโยคเดี่ยว ประโยคเดี่ยวเหลานี้อาจรวมกันไดโดยใชคําสันธานมาเชื่อมตัวอยาง

ฉันไปโรงเรียนนองไปโรงเรียน

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน ฉันและนองไปโรงเรียนพี่กินขาวฉันนอนหลับ

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน พี่กินขาวแตตองนอนหลับเขาขยันเขาสอบไลได

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน เขาขยันเขาจึงสอบไลได หรือ เขาขยันจึงสอบไลไดเธอจะไปคนเดียวเธอจะไปกับฉัน

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน เธอจะไปคนเดียวหรือเธอจะไปกับฉัน หรือ เธอจะไปคนเดียวหรือจะไปกับฉัน

คาํ และ แต หรือ จงึ ซ่ึงใชเช่ือมประโยคตัง้แตสองประโยคเขาดวยกนั เรียกวา สันธาน

Page 217: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

207

หนาท่ีของคาํสนัธานสันธานทาํหนาที ่2 ประการคอื1. เช่ือมคาํกบัคาํ ใช และ กบั หรือ

ฉนัชอบนทิานเรือ่งยายกบัตาเราไดความรูจากคณุครแูละหนงัสอืนทิานอหิรานราชธรรมเปนของอหิรานหรอืเปอรเซยี

2. เช่ือมประโยคกบัประโยคคาํสันธานเชือ่มประโยค นอกจากทาํหนาทีเ่ช่ือมประโยคตัง้แตสองประโยคขึน้ไปเขา

ดวยกนัแลว ยงัทาํใหประโยครวมมเีนือ้หาแตกตางกนัไป ดงันี้2.1 ความรวมกนัและคลอยตามกนั ใช และ ทัง้…และ …คร้ัน…แลว…ก ็ แลว…ก็

เชนทัง้พระอภยัมณแีละศรีสุวรรณตองไปเรยีนวชิานอกเมอืงคร้ันพระอภยัมณเีรียนวชิาปสําเรจ็แลวพราหมณกค็นืทองแสนตาํลึงให

2.2 ความขดัแยง ใช แต แตทวาวชิาของพระอภยัมณมีคีณุประโยชนแตทวาไมเปนทีพ่อพระทยัของพระบดิา

2.3 ความเลอืกเอาอยางหนึง่อยางใด ใช หรือ มฉิะนัน้ เชนลูกแพะหรอืพอแพะดาเสอืคนในชาตติองมคีวามสามคัคตีอกนัมฉิะนัน้ชาตจิะอยูไมรอด

2.4 ความเปนเหตเุปนผลแกกนั ใช จงึ เพราะ…จงึ เพราะฉะนัน้…จงึ เชนพระนลมไิดชําระพระบาทจงึถูกกลเีขาสงิเพราะพระนลถกูกลเีขาสงิ พระองคจงึละทิง้ธรรมจรรยา

Page 218: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

208

แบบทดสอบเรือ่ง คาํสนัธาน

คาํสัง่ใหเลือกคาํตอบทีถ่กูท่ีสดุเพยีงขอเดยีวก. สินสมทุรคดิถึงพระอภยัมณีข. สินสมทุรดาํน้าํไปถงึเรอืพระอภยัมณอียางรวดเรว็ค. สินสมทุรตองรบชนะอศุเรนเพราะเปนคนมอืถึงง. สินสมทุรตองการใหนางสวุรรณมาลไีดกบัพระอภยัถึงไมยอมมอบนางใหอุศเรน

1. ถึงในขอใดทาํหนาทีเ่ปนคาํสันธาน………………………………………………………………2. ถึงในขอใดทาํหนาทีเ่ปนคาํบพุบท………………………………………………………………..3. ถึงในขอใดทาํหนาทีค่าํกรยิา……………………………………………………………………...4. ถึงในขอใดทาํหนาทีเ่ปนคาํวเิศษณ……………………………………………………………….

ก. สมงินครอนิทรบอบช้าํมากจงึตรอมใจตายข. สมงิพระรามฟงรบัสัง่แลวกถ็วายบงัคมลาออกมาทีอ่ยูค. สมงิพระรามไมซอนอาวธุในกายมฉิะนัน้กจ็ะประสบชะตากรรมอยางสมงินครอนิทรง. กวาพลายประกายมาศจะขึน้จากหลมไดพมาตองใชชางพลายลอ

5. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความเลอืกเอาอยางใดอยางหนึง่…………………………………………..6. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความตอเนือ่งกนั………………………………………………………….7. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความแยงกนั……………………………………………………………...8. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความเปนเหตผุลแกกนั…………………………………………………..9. ขอใดไมมสัีนธานเชือ่มคาํกบัคาํ

ก. สมงิอายมนทะยากบัทหารแปดคนเขาไปถวายมงัรายกะยอฉะวาข. สมงิพระรามไมไดซอนอาวธุไวกบัตวัค. สมเดจ็พระเจาราชาธริาชใหมพีระสาสนกบัเครือ่งราชบรรณาการไปถวาย

พระเจามณเฑยีรทองง. ถาเราใหอํามาตยทนิมณกีรอดกบัสมงิพระรามมาเสยีท่ีนีอุ่ปมาดงัพระพาหาขาดสิน้

10. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มคาํกบัคาํก. สมเดจ็พระเจาราชาธริาชกต็รัสอาํนวยชยัประสาทพระพรใหสมงิพระรามข. สมงิพระรามไดฟงกไ็มสะดุงครัน่ครามค. สมงิพระรามกเ็ขาไป ณ พลับพลาในคายง. พระเจามณเฑยีรทองหรอืพระเจาฝรัง่มงัฆอง

Page 219: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

209

เฉลยแบบทดสอบเรือ่ง คาํสนัธาน

1. ง2. ก3. ข4. ค5. ค6. ข7. ง8. ก9. ข10. ก

Page 220: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

210

ใบงานเรือ่ง คาํสนัธาน

ตอนที ่1 ใหนกัเรยีนเตมิคาํหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง1. คําสันธาน คือ ………………………………………………………………………...2. คําสันธานแบงเปน……………ชนิด ไดแก…………………………………………..3. “เมือ่นายทองดพีกัแรมอยูกลางปากผ็ลัดกนัสมุไฟอยูยาม” คาํสันธานในขอความนีค้อื

……………เปนคาํสันธานชนดิ……………………………………………………….4. “เมือ่ตองใชทนุกระหน่าํกท็าํเนา นีง้านเบาทนุไมมากลาํบากกาย” สันธานในขอความนี้

คือ…………………เปนสันธานชนิด………………………………………………...5. คําสันธานที่ใชเชื่อมความใหเปนเหตุเปนผลกัน ไดแกคํา

วา…………………………..

ตอนที่ 2 ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และ หนาขอความที่ไมถูกตอง………1. “ผูใดไมชอบสัตว เชน หมา แมว หน ูหรือไก” ขอความนีม้สัีนธานใหเลือกเอาอยาง

ใดอยางหนึ่ง………2. “อันที่นาอื่นหมื่นแสนไร ปลูกตาลไดเปนสมบัติควรจัดหา” ขอความนี้มีสันธาน

เชื่อมความเพื่อใหสละสลวย………3. “สวนใบแกเขาเกบ็มาเยบ็หมวก โครงไมรวกกุนขอบประกอบส”ี ขอความนีม้ี

สันธาน เชื่อมความเพื่อใหสละสลวย………4. “พราหมณสามคนนัน้สงสยัวา วชิาปพระอภยัดอียางไร” ขอความนีม้สัีนธานเชือ่มคาํ

กับประโยค………5. “นายแกวนถูกอุปโลกนใหเปนตัวราย ตัวโจร หรือตัวดาวรายทุกที” ขอความนี้มี

สันธานทําหนาที่เชื่อมคํากับคํา

Page 221: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

211

เฉลยใบงานเรื่อง คําสันธาน

ตอนที่ 11. คําสันธาน คือ คําพวกหนึ่งที่ใชเชื่อมถอยคําใหติดตอเปนเรื่องเดียวกัน2. คาํสนัธานม ี4 ชนดิ ไดแก สันธานเชือ่มความคลอยตามกนั สันธานเชือ่ม ความ

ขดัแยงกนั สันธานเชื่อมความที่เปนเหตุผลกัน สันธานเชื่อมความใหเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง3. เมื่อ …… ก็ เปนสันธานชนิด เชื่อมความคลอยตามกัน4. ถา …… ก็ เปนสันธานชนิดเชื่อมความขัดแยงกัน5. เพราะ …… จึง, ฉะนั้น …… จึง, จึง, เพราะฉะนั้น

ตอนที่ 21.

2.

3.

4.

5.

Page 222: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

212

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 223: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

213

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือ ในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบ เรียบรอย

10

รวม

40

กลุมที่…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 224: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

214

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 225: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

215

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 7 กลุมทดลองวิชาภาษาไทย เร่ือง คําอุทาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคาํอทุาน เปนคาํทีเ่ปลงเสยีงออกมาเพือ่แสดงอารมณ ความรูสึกหรอืถอยคาํทีเ่สรมิบท ทาํให

ผูฟงเขาใจอารมณ ความรูสึกตาง ๆ ของผูพูดไดชัดเจน การศึกษาเรียกคําอุทานจะทําใหใชถอยคําส่ือสารไดอยางถูกตองชัดเจน

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําอุทานและใชคําอุทานไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําอุทานได3.2 อธิบายคําอุทานแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําอุทาน4.2 ชนิดของคําอุทาน4.3 ขอสังเกตในการใชคําอุทาน

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนนักเรียนดูภาพผูหญิงกําลังตกใจกับสิ่งของที่ทําหลน แลวใหนักเรียนลองแตงประโยค

จากภาพแลวทายวาวันนี้ครูจะสอนเรื่องอะไร

ขั้นดําเนินการสอนความรูใหม1. ครูอธิบายความรูใหมและใหนักเรียนศึกษาใบความรูเร่ือง คําอุทานเพิ่มเติม ใหเวลา

10 นาที

Page 226: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

216

2. สุมนักเรียน 3-4 คนแตงประโยคคําอุทานใหเพื่อนตอบ เชน “ฉันทํางานจนหมดเรี่ยวหมดแรง” เปนคาํอุทานบอกอาการหรอืไม เพราะเหตใุด ถานกัเรยีนคนไหนตอบไดจะไดรับคะแนนที่กําหนดให ถาทายผิดจะตองเปนคนตั้งคําถามตอไป

3. สุมนกัเรยีน 2-3 คน พดูแสดงความคดิเหน็เรือ่งคาํอุทานวาคอือะไร มกีีช่นดิ อะไรบางครูอธิบายเพิ่มเติม

ขั้นทบทวนความรูเปนกลุมนกัเรยีนเขากลุม STAD และรวมกนัอภปิรายถึงชนดิและหนาทีข่องคาํอทุานวามคีวามสาํคญั

อยางไรกบัการใชภาษาไทยในปจจบุนั จากนัน้สงตวัแทนมารบัใบงาน เพือ่ทบทวนความรูแลวเตรียมตัวสอบโดยตองแนใจวาสมาชิกทุกคนในกลุมสามารถตอบคําถามและอธิบายเหตุผลของคําตอบได เมื่อมีขอสงสัยใหถามเพื่อนในกลุมกอนถามเพื่อนตางกลุมหรือครู

ขั้นทดสอบยอยหลังจากทีน่กัเรยีนไดเรียนและทบทวนความรูเรือ่ง คาํและหนาทีข่องคาํอุทานแลวนกัเรยีน

ทําแบบทดสอบ เร่ือง คําอุทาน โดยไมมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ใหเวลา 10 นาที

ขั้นหาคะแนนปรับปรุงคะแนนปรับปรุงของนักเรียนไดจากการพิจารณาความแตกตางระหวางคะแนนสอบ

ครัง้กอน โดยอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามที่กําหนด เมื่อไดคะแนนปรับปรุงของนักเรียนแตละคนแลวจึงหาคะแนนปรับปรุงของกลุม ซ่ึงไดจากการคํานวณคาเฉลี่ยคะแนนปรับปรุงของสมาชิก ทุกคน

ขั้นใหรางวัลกลุมที่ไดรับคะแนนตามเกณฑที่กําหนดจะมีช่ือติดปายนิเทศหนาหองเรียน

6. สื่อการเรียนรู1. ภาพผูหญิงแสดงอาการตกใจเมื่อทําส่ิงของตก2. ใบความรูเร่ือง คําอุทาน3. ใบงานเรื่อง คําอุทาน4. แบบทดสอบเรื่อง คําอุทาน

Page 227: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

217

7. การวัดผลประเมินผล1. วิธีวัดและประเมินผล

1.1 สังเกตการรวมกิจกรรม1.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากใบงาน1.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

2. เครื่องมือวัดและประเมินผล2.1 แบบสังเกตการรวมกิจกรรม สําหรับครูและนักเรียน2.2 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 228: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

218

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําอุทาน คือ คําที่เปลงออกมาเพื่อแสดงอารมณ หรือความรูสึกของผูพูดอาจจะเปลงเสียงออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ หรือประหลาดใจก็ได โดยมากคําอุทานจะไมมีความหมายตรงถอยคํา แตจะมีความหมายทางเนนความรูสึกและอารมณของผูพูดเปนสําคัญ

เสียงที่เปลงออกเปนคําอุทานนั้น แบงไดเปน 3 ลักษณะคือ1. เปนคํา เชน แหม! วาย! โอย! โถ! โอย! เปนตน2. เปนวลี เชน คุณพระชวย! ตายละวา! พุทโธเอย! โอโฮ! เปนตน3. เปนประโยค เชน ไฟไหมเจาขา! แผนดินไหวเจาขา! เปนตน

ชนิดของคําอุทาน คําอุทานมี 2 ชนิดคือ1. อุทานบอกอาการ หรอื อุทานโดยตรง ใชเปลงเสยีงเพือ่บอกอาการและความรูสึก

ตาง ๆ ของผูพูด เชน อาการรองเรียก อาการโกรธแคน ประหลาดใจ ตกใจ สงสาร ปลอบโยน เขาใจ หรือรับรู เจ็บปวด สงสัย หรือถาม หาม หรือทักทวง และโลงใจ เปนตนตวัอยาง

- รองเรียก หรือบอกใหรูตัว ใชคําวา เฮย! แนะ! นี่แนะ! เฮ! โวย!- โกรธเคือง ใชคําวา ชะ ๆ! เหม! ดูดู! ชิชะ!- ตกใจ ประหลาดใจ ใชคําวา วุย! วาย! ตายแลว! แหม! ตายจริง! คุณพระชวย!

เออแนะ! แมเจาโวย! เออเฮอ! โอโฮ!- สงสารหรอืปลอบโยน ใชคาํวา โถ! โธ! พทุโธ! พทุโธเอย! อนจิจา! นองเอย! โอ!- เขาใจ หรือรับรู ใชคาํวา ออ! หือ้! เออ! เออแนะ! เอาละ! ออ! จริง! เออวะ! เอา!- เจ็บปวด ใชคําวา อุย! โอย! โอย!- สงสัยหรือไตถาม ใชคําวา เอะ! หือ! หา! ฮะ!- โลงใจ ใชคําวา เฮอ!- ขุนเคือง อาฆาต ใชคําวา ฮึ่ม! ดีละ! บะ! แลวกัน! อุวะ!- ทักทวง ใชคําวา ไฮ! ฮา!- ดูถูกเหยียดหยาม เยาะเยย ใชคําวา เชอะ! ชะ! หนอยแน! หนอย! เฮย!- ประหมา เกอเขิน ใชคําวา เออ! อา!- ชักชวน หรือเตือน ใชคําวา นะ! นา!

Page 229: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

219

2. อุทานเสริมบท เปนคําอุทานที่ผูพูดกลาวเพิ่มเติมถอยคําเสริมขึ้น โดยไมไดตั้งใจใหมีความหมายแตอยางใด คําอุทานเสริมบทนิยมนํามาเติมขางหนา ตอทายหรือแทรกตรงกลางคําที่พูดเพื่อเนนความหมายของคําที่จะพูดใหชัดเจนขึ้นตัวอยาง

- ฉันไมเคยใหสัญญิงสัญญากับใครทั้งส้ิน- จะสอบแลวปานนี้หนังสือหนังหายังไมดูเลย- เธออยามาโกหกพกลมฉันหนอยเลย- เขาหลงผูหญิงจนไมรูจักลืมหูลืมตาเสียบาง- แวะบานฉันกินน้ํากินทากอนซิ ประเดี๋ยวคอยไปตอ

ถาคําที่นํามาเขาคูนี้เนื้อความมีความหมายไปในแนวเดียวกันก็ไมนับวาเปนคําอุทาน เสริมบท เชน “ไมดูไมแล”, “ไมหลับไมนอน”, “รองรําทําเพลง” เปนตน คําเหลานี้เรียกวา คาํซอนขอสังเกต

1. คําอุทานบอกอาการมักจะเขียนอยูหนาประโยคและจะตองมีเครื่องหมายอัศเจรีย (!) กํากับเสมอ

2. คําอุทานเสริมบท จะวางอยูที่ใดในประโยคก็ไดสุดแลวแตวาตองการจะกลาวหรือเนนเสียงที่คําใด และหลังคํานั้นไมตองมีเครื่องหมายอัศเจรียกํากับ

หนาท่ีของคําอุทานเนือ่งจากคาํอทุานไมจดัวาเปนสวนใดสวนหนึง่ของประโยค ดงันัน้จงึไมมหีนาทีใ่นประโยค

Page 230: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

220

ใบความรูเร่ือง คาํอุทาน

คาํอุทาน คอื คาํทีเ่ปลงออกมาเพือ่แสดงอารมณความรูสึกตาง ๆ ของผูพดู หรือเสรมิคาํอ่ืนใหมีความหมายหนักแนนยิ่งขึ้น คําอุทานนั้นไมมีความหมายและไมจัดเปนสวนหนึ่งของประโยคตัวอยาง

โอโฮ! วันนี้ทําไมมาถึงนี่ได แสดงความประหลาดใจฟารองครืน ๆ อยางนี้เดี๋ยวฝนก็ตก แสดงเสียงของฟาดูซิ เส้ือแสงฉันเปยกหมดแลว อยาแกลงฉันสิ แสดงการเสริมคําใหหนักแนนขึ้น

คาํอทุานนีส้วนมากใชในภาษาพดูมากกวาภาษาเขยีนคาํอทุาน แบงออกเปน 2 ชนดิคอื1. อุทานบอกอาการ เปนคําบอกอารมณตาง ๆ เชน ประหลาดใจ เขาใจ ตกใจ เจ็บปวด

แลวใชอัศเจรียประกอบขางทายตวัอยาง

เอะ! อะไรกัน? ผมไมเขาใจ แสดงความประหลาดใจออ! ถาเชนนั้นคุณจะปฏิเสธหรือ แสดงความเขาใจอะ! อะไรอยางนั้น แสดงความตกใจโอย! ฉันเหยียบถูกอะไรเขาแลว แสดงความเจ็บปวด

2. อุทานเสริมบท เปนคําเสริมคําอ่ืนเพื่อเนนความ หรือใชเปนคําสรอยในคําประพันธ ไมใชอัศเจรียประกอบขางทายตัวอยาง

ลูกเตา, เส้ือแสง, รถรา, หนังสือหนังหา, เสียเนื้อเลือดหล่ังไหล ยอมสระ ส้ินแฮ

หนาท่ีและความหมายของคําคําในภาษาไทยคําหนึ่ง ๆ ไมจํากัดวาจะตองเปนคําชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ อาจเปน

คําชนดิอ่ืน ๆ ได สุดแตคาํนัน้จะทาํหนาทีใ่ด เชน คาํคาํหนึง่อาจเปนไดทัง้คาํนาม คาํกรยิา และ คาํวเิศษณ หรือเปนไดทั้งคําวิเศษณและคําบุพบท

Page 231: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

221

แบบทดสอบเรื่อง คําอุทาน

คําสั่ง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขอใดกลาวถูกตองก. คําอุทานคือคําที่แหลงออกมาเพื่อแสดงความรูสึกข. คําอุทานคือคําที่แสดงอาการตกใจค. คําอุทานคือคําที่แสดงอาการดีใจง. คําอุทานคือคําที่ใสเครื่องหมาย !

2. คําอุทานเมื่อเขามาอยูในประโยคแลวจัดเปนสวนใดของประโยคก. ภาคประธานข. ภาคแสดงค. ภาคประธานหรือภาคแสดงก็ไดง. ไมจัดเขาเปนสวนของประโยค

3. คําอุทานมีกี่ชนิดก. 1 ชนิดข. 2 ชนิดค. 3 ชนิดง. 4 ชนิด

4. ขอใดมีคําอุทานเสริมบทก. เดินมากรูสึกปวดแขงปวดขาไปหมดข. ชะอุย! นึกวามองไมเห็นเสียอีกค. ตายตาย! ทําไมหกเลอะเทอะอยางนี้ง. โอโฮแฮะ! รูปรางอยางกับนางสาวไทย

5. การพิจารณาความหมายของคําอุทานตองใหความสัมพันธกับส่ิงใดก. เสียงวรรณยุกตในคําอุทานข. ขอความของคําอุทานนั้น ๆค. เสียงพยัญชนะที่เกิดจากฐานตาง ๆ กันในคําอุทานง. เนื้อความของประโยคที่นําหนาหรือตามหลังคําอุทานนั้น

Page 232: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

222

6. เมื่อถายทอดคําอุทานเปนภาษาเขียนเราใชเครื่องหมายใดกํากับอยูก. ?ข. !ค. “……”ง. ๆ

7. คําอุทานใดมักใชเมื่อแสดงความรูสึกสงสารก. ตายแลว!ข. พุทโธเอย!ค. คุณพระชวย!ง. สงสารสงแสน!

8. อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤาสิงหาสนปรางครัตนบรร เจิดหลาบุญเพลงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮบังอบายเบิกฟา ฝกฟนใจเมือง ฯ

โครงนี้มีคําอุทานที่บาทใดก. บาทที่ 1, 2ข. บาทที่ 1, 3ค. บาทที่ 2, 3ง. บาทที่ 2, 4

9. “……เบื่อวิชานี้จริง ๆ เลย” ควรใชคําอุทานอะไรก. ไดโปรดเถิดข. แลวกันค. ใหตายซิง. หนอยแน

10. คําอุทานเสริมบทคําใดมีความหมายอยูที่คําหลังก. อาบน้ําอาบทาข. ถนนรนแคมค. หนังสือหนังหาง. อําพงอําเภอ

Page 233: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

223

11. ขอใดไมมีคําอุทานเสริมบทก. อยาไปเสียดมเสียดายของนอกกายหาใหมไดข. อยามาทําประจอประแจใกล ๆ ฉันหนอยเลยค. ดูแตงตัวเขาซิทุเรศทุรังเต็มทนง. ทีวงทีวีอะไรก็ไมตองดูทั้งนั้น

12. คําอุทานเสริมบทขอใดที่นิยมใชกันก. กระดูกกระเดกข. กระโดดกระดูกค. กระดูดกระดนโดง. กระดูกกระเดี้ยว

13. คําอุทานในขอใดแสดงความตกใจประหลาดใจก. แหยะ! ตกใจหมดเลยข. โอย! ตกใจหมดเลยค. อุย! ตกใจหมดเลยง. เฮย! ตกใจหมดเลย

14. ประโยคในขอใดไมมีคําอุทานก. โอเค! ทํางานกอนกินก็ไดข. ใหตายสิ! อูงานอีกแลวหมอนี่ค. อกอีแปนแตก! ทําไมลูกสกปรกอยางนี้ง. พระเจาชวย! นี่เปนมนุษยหรือสัตวตางดาวกันแน

15. ขอใดใชคําอุทานถูกตองก. วาย! เด็กถูกรถชนข. โอย! ฝนตกค. คุณพระชวย! ไมรอกันเลยนะง. โอย! คนสวยแยแลว

Page 234: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

224

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คําอุทาน

1. ก 2. ง 3. ข 4. ก 5. ง6. ข 7. ข 8. ข 9. ค 10. ง

11. ข 12. ง 13. ค 14. ก 15. ก

Page 235: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

225

ใบงานเรื่อง คําอุทาน

ตอนที่ 1 ขีดเสนใตคําที่เปนคําอุทานตอไปนี้1. พุทโธถึงเวลาของเขาแลว2. ชาวเราเอยพอแมมุงแตรัก3. หนอยแนะไอเสือแกวนเอ็งตลกดีมาก4. แมถนอมโวยเธออยูบานอยูชองหาขาวหาปลาใหกินบาง5. เสื้อแสงของเขาเปอนหมด6. เธออยาไปเออออหอหมกกับคนอยางนั้น7. ผูหญิงพายเรือเชื่อไมได8. จึ่งตั้งกระทูถามจงบอกความจริงเจียวนะหวา9. อนิจจาตัวกูชางดูดาย10. โอย ผมแยถูกลอลงบอตม

ตอนที่ 2 ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง1. คําอุทาน คือ ………………………………………………………………………….2. คําอุทานแบงออกเปน………ประเภท ไดแก ………………………………………..3. “เฮย ทนายไวไวใครอยูนอก” ขอความนี้มีคําอุทาน คือ……เปนคําอุทานแสดง……..4. “ชะ ๆ อายขอมดําดิน” ขอความนี้มีคําอุทานคือ………เปนคําอุทานแสดง………….5. เครื่องหมายที่ใชเขียนตามหลังคําอุทานบอกอาการคือ………ซ่ึงเรียกวา…………….

Page 236: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

226

เฉลยใบงานเรื่อง คําอุทาน

ตอนที่ 11. พุทโธ2. เอย3. หนอยแนะ4. โวย5. เสื้อแสง6. เออออหอหมก7. พายเรือ8. นะหวา9. อนิจจา10. โอย

ตอนที่ 21. คําอุทาน คือ เสียงที่เปลงออกมาไมมีความหมาย เปนเพียงการแสดงความรูสึกหรือ

ความตองการใหผูฟงทราบ2. 2 ชนิด ไดแก อุทานบอกอาการ และอุทานเสริมบท3. เฮย เปนอุทานแสดงอาการบอกใหรู4. ชะ ๆ เปนอุทานแสดงอาการโกรธ5. ! เครื่องหมายอัศเจรีย

Page 237: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

227

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ

ยอมรับฟงความคิดผูอื่น

ความมีน้ําใจการแสดงออกท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 238: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

228

แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (สําหรับนักเรียน)โรงเรียน…………………………………………………ช้ัน………………………………...กลุมสาระวิชา……………………………………………ผูสอน……………………………..

รายการประเมิน

ชื่อกลุม/ชื่อสมาชิกใหความรวมมือ ในการทํางานกลุม

10

ชวยเหลืองานกลุม

10

รับผิดชอบงานที่ไดรับมอบหมาย

10

ทํางานสะอาดเปนระเบียบ เรียบรอย

10

รวม

40

กลุมที่……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

Page 239: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

229

แบบสังเกตการปฏิบัติงานกลุม (สําหรับครู)

ความรวมมือ ระบบการทํางาน กระตือรือรน ผลสําเร็จของงาน ผานเกณฑรายชื่อนักเรียน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผาน ไม

ผานกลุมที่…………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน3 = ดี2 = พอใช1 = ตองปรับปรุง

Page 240: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

230

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ืองคํานาม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคํานาม หมายถึง คําที่ใชเรียกชื่อ คน สัตว ส่ิงของ สภาพและอาการตาง ๆ ทั้งรูปธรรมและ

นามธรรม จําแนกออกเปนหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่และวิธีใชตางกัน การศึกษาเรื่องคํานามใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถนําไปใชไดถูกตองเหมาะสม จะชวยใหใชภาษาสื่อสารไดอยางมี ประสิทธิภาพ

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คํานาม และใชคํานามไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคํานามได3.2 จําแนกชนิดของคํานามพรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคํานามแตละชนิด พรอมยกตัวอยางได3.4 นําคํานามไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคํานาม4.2 ชนิดของคํานาม4.3 หนาที่ของคํานาม

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนครูนําภาพเด็กกําลังเลนอยูที่ชายทะเลและแถบประโยควา “ฉันเห็น………ในภาพ”

ติดบนกระดานดํา แลวใหนักเรียนแตละคนเขียนสิ่งที่ตนเองเห็นลงในกระดาษที่ครูแจกให ในเวลา1 นาที นักเรียนคนใดเขียนไดมากที่สุดเปนคนอานใหเพื่อนฟง

Page 241: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

231

ขั้นดําเนินการสอน1. นักเรียนชวยกันจัดกลุมคําที่นักเรียนเขียนมาดังนี้

กลุมที่ 1 คําที่เปนชื่อ คนกลุมที่ 2 คําที่เปนชื่อ สัตวกลุมที่ 3 คําที่เปนชื่อ ส่ิงของ

2. ครูนําแผนภูมิเพลง คํานาม มาติดบนกระดานดํา ครูรองเพลงคํานามใหนักเรียนฟง จากนั้นนักเรียนรองตาม

3. นักเรียนชวยกันสรุปความหมายของคํานามจากเพลงโดยครูชวยเสริม4. ครูอธิบายเนื้อหาและแจกใบความรูใหนักเรียนอานเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายชนิด

และหนาทีข่องคํานาม5. นําแถบประโยคมาติดบนกระดานดําแลวใหนักเรียนชวยกันบอกคําใดเปนคํานาม

และเปนคํานามชนิดใด พรอมทั้งบอกหนาที่ของคํานามในประโยคดวย6. สุมนักเรียน 3-4 คนอานประโยคที่ตนเองทําใหเพื่อนฟง โดยใหเพื่อนนักเรียนและครู

ชวยกันแกไขใหถูกตองขั้นสรุป

นักเรียนชวยกันสรุปความหมายชนิดและหนาที่ของคํานามจากนั้นใหนักเรียนทําแบบทดสอบเรื่อง คํานาม

6. สื่อการเรียนรู7. ภาพเด็กกําลังเลนที่ชายทะเล8. แถบประโยค ไดแก

- ตะวันขึ้นตอนเชา- นักเรียนชายชอบแอบกินขนมในหองเรียน- นักเรียนเขียนจดหมาย- การนอนหลับเปนการพักผอน- พระสุริโยทัยมีความกลาหาญ- ดอกกุหลาบมีกล่ินหอม- บานของสุดาหลังใหญมาก

9. ใบงาน เร่ือง คํานาม10. ใบความรูเร่ือง คําและหนาที่ของคํานาม

Page 242: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

232

11. แบบทดสอบ เร่ือง คํานาม12. เพลงประกอบการสอนเรื่อง คํานาม

7. การวัดและประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 สังเกตการรวมกิจกรรม3.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากใบงาน3.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 243: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

233

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คํานาม คือ คําที่เรียกชื่อ คน สัตว ส่ิงของ อาการ สภาพ และลักษณะสถานที่ทั้งส่ิงที่มีชีวิต และไมมีชีวิต ทั้งที่เปนนามธรรมและรูปธรรม ซ่ึงแบงออกเปน 5 ชนิดคือ

6. สามานยนาม คือ คํานามสามัญที่ใชเรียกชื่อส่ิงตาง ๆ โดยไมช้ีเฉพาะเจาะจง เชน คน นก พอ รถ แมน้ํา โรงเรียน เปนตน สามานยนามบางคํามีคํายอยเพื่อบอกชนิดยอยของนามนั้น ๆ เรียกวา สามานยนามยอย เชน คนจีน นกแกว รถไฟ กลวยน้ําวา พอบุญธรรม โรงเรียน ประถม ศึกษา เปนตน

ตัวอยาง- ชางชอบกินกลวย- เด็กเลนอยูในโรงเรียน- บานเปนปจจัยหนึ่งของมนุษย

7. วิสามานยนาม คือ คํานามที่ใชเรียกชื่อเฉพาะของคน สัตว ส่ิงของ หรือคําเรียกบุคคล ตลอดจนสถานที่ตาง ๆ เพื่อเจาะจงวาเปนคนไหน ส่ิงใด ที่ไหน เชน โรงแรมดุสิตธานี วรรณคดีเร่ืองอิเหนา วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นายสมศักดิ์ อําเภอแปดริ้ว เปนตนตัวอยาง

- ทิวาและราตรีเปนพี่นองกัน- เราไปสมัครงานที่กระทรวงสาธารณสุข- ภูพานราชนิเวศนเปนชื่อพระตําหนักอยูที่จังหวัดสกลนคร

8. ลักษณนาม คือ คํานามที่ทําหนาที่ประกอบนามอื่น เพื่อบอกรูปราง สัณฐาน การจาํแนก ปริมาณ เวลา วิธีทํา และลักษณนามอื่น ๆ หรือคําซํ้าคํานามที่กลาวกอน ซ่ึงพระยาอุปกิตศิลปสารไดรวบรวมจําแนกไวดังนี้คือ

8.1 ลักษณนามบอกสณัฐาน ไดแกคาํวา วง หลัง แผน ผืน บาน ลูก ใบ แทง กอน คนั ตน ลํา เครือ่ง ดวง กระบอก เสน สาย ปาก ปน ซ่ี แพ เกลด็ ราง เมด็ ตบั ฯลฯ

ตวัอยาง- ทีบ่านตาอนิทรมเีปลอยู 2 ปาก- ฉนัซ้ือขาวเมาทอดมาจากตลาด 3 แพ- เวลาจะลางผักสดใหสะอาดตองใสดางทบัทมิในน้าํ 4-5 เกล็ด

Page 244: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

234

8.2 ลักษณนามบอกการจําแนก ไดแก คําวา กอง พวก เหลา หมวด หมู ฝูง โขลง คณะ นิกาย สํารับ ชุด ขอ โรง ครอก ขั้น ฉบับ ระดับ จําพวก อยาง ประการ ประเภท ชนิด แบบ ลักษณะ รูปแบบ ประเด็น ฯลฯ

ตัวอยาง- ปญหานี้มีขอโตแยงหลายประเด็น- เจาจุมปุกสุนัขที่บานออกลูกมา 1 ครอก- ในปาแถบเมืองกาญจนบุรีมีชางอยู 2-3 โขลง

8.3 ลักษณบอกปริมาณ ไดแกคําวา คู โหล กุลี บาท ช่ัง กิโลกรัม ชะลอม ขวด หีบ หยด กลอง ชอน ถวย ลิตร ตุม ไห โยชน กิโลเมตร ฯลฯ

ตัวอยาง- ระยะทางจากกรุงเทพมหานคร ถึงเชียงใหมประมาณแปดรอยกวากิโลเมตร- ปใหมเพื่อนใหขนมเค็ก 1 กลอง- แมใชใหนองไปซื้อน้ําปลา 1 ขวด- ทองคํา 1 บาท มีน้ําหนัก 15 กรัม

8.4 ลักษณนามบอกเวลา ไดแกคําวา นาที ช่ัวโมง วัน เดือน ป ยก รอบ คร้ัง คราว สมัย ยุค หน ที ชวง ศตวรรษ กะ ฯลฯ

ตัวอยาง- เดือนหนาคุณปูจะทําบุญฉลองอายุครบ 7 รอบ- การชกมวยสากลสมัครเลนกําหนดใหชกกัน 3 ยก- ครูเตือนดิเรกหลายหนเร่ืองชอบแกลงเพื่อนในชั้นเรียน

8.5 ลักษณนามบอกวิธีทํา ไดแกคําวา จีบ มวน มัด พับ มวน กํา ฟอน หอ หยิบ จับ ผูก ฯลฯ

ตัวอยาง- หลวงตาเยี่ยมมีคัมภีร 3 ผูก- แมกินขนมจีนแค 3 จับ ก็อ่ิม- เกงไปเกี่ยวหญาใหแพะได 2 ฟอน

8.6 ลักษณนามอื่น ๆ ไดแกคําวา พระองค องค รูป ตน คน ตัว ใบ เร่ือง ส่ิง อัน เลา เชือก คัน เรือน เลม ช้ิน ดาม ฯลฯ

ตัวอยาง- คุณปูมีขลุย 1 เลา

Page 245: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

235

- บานยายจันเล้ียงชางไว 1 เชือก- วัดพระเชตุพนฯ มีเจดียหลายองค

9. สมุหนาม คือ คํานามบอกหมวดหมูของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมาก ๆ ไดแกคําวา คณะ กอง หมู ฝูง โขลง พวก กลุม ฯลฯ

ตัวอยาง- กองทหารรักษาการณอยูตลอดทั้งวัน- โขลงชางทําลายไรขาวโพดเสียหายหมด- กลุม 10 มกราคมกําลังประชุมกันอยางเครงเครียด

10. อาการนาม คือ คําเรียกที่เปนนามธรรม คือ ใชเรียกสิ่งที่ไมมีรูปราง ไมมีขนาด แตสามารถเขาใจได สวนใหญจะมีคําวา “การ” และ “ความ” นําหนา

การใช “การ” และ “ความ” นําหนามีขอสังเกตดังนี้คือคําวา “การ” จะใชนําหนาคํากริยาทั้งหลาย เชน การเรียน, การเลน, การวิ่ง, การดื่ม,

การเจรจา, การอาน เปนตนคําวา “ความ”3. จะใชนําหนาคํากริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ หรือคําที่มีความหมาย ในทาง เกิด มีเปน

เจริญ เสื่อม เชน ความคิด, ความฝน, ความรู, ความเขาใจ, ความรัก, ความตาย, ความทุกข, ความเจริญ, ความเสื่อม เปนตน

4. จะใชนําหนาคําวิเศษณ เชน ความดี, ความสวย, ความเร็ว, ความหรูหรา,ความไว, ความถี่ เปนตน

ขอควรสังเกตคําวา “การ” และ “ความ” ถานําหนาคําชนิดอื่นที่ไมใชคํากริยา หรือคําวิเศษณ จะไม

นับวาเปนอาการนาม เชน การบาน, การเรือน, การพาณิชย, การเมือง, การประปา, การไฟฟา, ความแพง, ความอาญา เปนตน คําเหลานี้จัดวาเปน คําสามานยนาม

หมายเหตุ3. ลักษณะนามบางคํา ใชซํ้ากับคํานามที่กลาวมาแลว เชน โรงเรียนหลายโรงเรียน,

ประเภทหลายประเภท, คะแนนหลายคะแนน เปนตน4. สมุหนามบางคําใชซํ้ากับลักษณนาม จะทราบวาเปนสมุหนามหรือลักษณนาม

มีขอสังเกตคือ สมุหนามจะอยูหนาคํานาม เชน ฝูงนก, โขลงชาง, กองทหาร เปนตน ลักษณนาม จะอยูหลังจํานวนนับ หรือหนาจํานวนนับ เชน ดอกไมชอหนึ่ง, นก 1 ฝูง, ชาง 1 โขลง เปนตน

Page 246: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

236

หนาท่ีของคํานาม9. เปนประธานของประโยค เชน ครูสอนนกัเรยีน, สมศรทีาํการบาน, สนุขักดัแมว เปนตน10. เปนกรรมของประโยค เชน สุนัขถูกรถชน, ไกจิกหนอน, รถชนตนไม เปนตน11. เปนกรรมตรงและกรรมรอง เชน

- เขาซื้อเนื้อใหสุนัข (เนื้อ เปนกรรมตรง, สุนัข เปนกรรมรอง)- ครูอธิบายคณิตศาสตรใหแกนักเรียน (คณิตศาสตรเปนกรรมตรง, นักเรียนเปน

กรรมรอง12. ทาํหนาทีข่ยายคาํนามอืน่ เชน คณุสมพงษพีช่ายของฉันเปนหมอ, สมถวลิเพือ่นของ

ฉนัสอบติดพยาบาล เปนตน13. ขยายคํากริยาเพื่อบอกสถานที่หรือทิศทาง เชน คุณยายนอนอยูบาน, เขาไปโรงเรียน

เปนตน14. คํานามที่บอกเวลา ใชคําขยายกริยาหรือขยายคํานามอื่น ๆ เชน อากาศรอนมาก เวลา

กลางวัน, แดงชอบกินขนมเวลากลางคืน เปนตน15. ใชสําหรับเรียกขาน เชน คุณพอคะหนูขอไปดวย, คุณครูคะหนูไมสบายคะ เปนตน16. คํานามที่เปนสวนเติมเต็มใหกริยา เปน เหมือน คลาย เทา คือ ซ่ึงไมจัดวาเปนกรรม

ของกริยานั้น ๆ เชน วรนุชเหมือนคุณแมมาก, เพื่อนฉันเปนตํารวจ, แมวคลายเสือ เปนตน

Page 247: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

237

ใบความรูเร่ือง คํานาม

คํานาม คือ คําที่แสดงความหมายถึง บุคคล สัตว ส่ิงของ สภาพ อาการ และลักษณะ ทั้งนี้รวมถึงส่ิงที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม เชน โรงเรียน ชาง ทหาร เกาอ้ี ฯลฯ เปนคํานามเรียกสิ่งที่เปนรูปธรรม หรือ เวลา อายุ จิตใจ ความดี ฯลฯ เปนคํานามสิ่งที่เปนนามธรรม เปนตน

คํานาม แบงตามความหมายเปน 5 ประเภทดังนี้6. สามานยนาม หรือคํานามสามัญ คือ คํานามที่เปนชื่อทั่วไปไมช้ีเฉพาะเจาะจงวาเปน

คนไหน อันไหน เชน คน หมี ประเทศ เปนตนการใชสามานยนามเรียกชื่อชนิด พันธุของคน สัตว พืช ในภาษาไทยนิยมใชเปน

2 ช้ัน คือสามานยนามใหญ เชน คน เสือ หญาสามานยนามยอย เชน คนจีน เสือชีตา หญาแพรก เปนตน

7. วิสามานยนาม คือ คํานามที่เปนชื่อสมมุติตั้งขึ้นสําหรับเรียก คน สัตว หรือส่ิงของ หรือสถานที่บางแหง เพื่อใหรูชัดวาเปนคนไหนตัวไหน อันไหนหรือแทงไหน เปนตน เชน สมชาย (ช่ือคน) ตินติน (ช่ือสุนัข) สหรัฐอเมริกา (ช่ือประเทศ)

วสิามานยนามนี ้มเีจตนาเปนคาํเรยีกชือ่คน ๆ เดยีว สัตวตวัเดยีว ส่ิงของสิง่เดยีว หรือสถานที่แหงเดียว แตหากบังเอิญมีช่ือซํ้ากันก็จัดเปนวิสามานยนาม ทั้งนี้ก็อาจเติมรายละเอียดลงไปทายชื่อเพื่อใหสังเกตได

8. สมุหนามหรือคํานามรวมหมู คือ คํานามที่เปนชื่อของคน สัตว และสิ่งของที่อยูในสภาพรวมกัน เชน ทหารหลายคนรวมกัน เรียกวา กอง

ชางหลายตัวรวมกัน เรียกวา โขลงสมุหนามถาจะใหรูรายละเอียดตอไปก็ใชเติมสามานยนาม หรือวิสามานยนามเขาขางทาย

เชน ฝูงนก รัฐบาลไทย โขลงชาง เปนตน ขอสังเกตอกีประการหนึง่คอื สามานยนามทีเ่ปนชือ่สถานที่เชน บานเมือง ศาล สโมสร ฯลฯ หากไมมีความหมายถึงสถานที่ แตหมายถึงที่ประชุมชน ที่ทําการกันอยูในที่นั้น ตองนับวาเปนสมุหนาม เชน

บานเมืองตองลงโทษคนทําผิดแน ๆศาลพิพากษาคดีของนายแดงแลวสโมสรมีมติใหชวยเหลือสมาชิกที่ประสบอุบัติภัย

คําที่ขีดเสนใตนี้เปนคําสมุหนาม แตในประโยค

Page 248: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

238

บานเมืองของเรานี้งดงามมากศาลตั้งอยูใกลสนามหลวงสโมสรอาจารยเปนของสมาชิกทุกคน

คําที่ขีดเสนใตในประโยคขางตนนี้เปนคําสามานยนาม9. อาการนาม หรือ คาํนามธรรม หมายถงึ คาํนามทีบ่อกความหมายถงึสิง่ทีไ่มเปนรปูราง

ไมมีขนาด แตเราเขาใจ เชน ปญญา ความสุจริต หรือที่เราเรียกกันวา คํานามธรรมนั่นเองขอสงัเกต คอื คาํทีใ่ชคาํวา การ หรือ ความ นาํหนาอาการนัน้ ๆ

การ มกัใชนาํหนาคาํกรยิาทีแ่สดงอาการ เชน การกนิ การเดนิ การออกกาํลังกายการพกัผอน เปนตน

ความ มกันาํหนาคาํกรยิาทีไ่มแสดงอาการ เชน ความคดิ ความรกั ความรูสึกความเขาใจ เปนตน

10. ลักษณนาม คือ คํานามที่บอกลักษณะของสามานยนาม เปนคําตามหลังจํานวนนับ บอกลักษณะของนามที่อยูขางหนา เชน ตัว ลํา รูป คําลักษณนามบางคําใชซํ้ากับคํานามขางหนา เชน โครงการ 3 โครงการ, ประเทศหลายประเทศ ฯลฯ ลักษณะนามเชนนี้เราเรียกวา ลักษณนามซ้ําช่ือ

การใชลักษณนามพอสังเกตไดดังนี้6. ลักษณนามบอกชนิด

พระองค ใชกับ ผูที่นับถืออยางสูง เทวดาที่เปนใหญ เจานายชั้นสูงองค ใชกับ เจานาย เทวดา ส่ิงที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา

คํานามราชาศัพทรูป ใชกับ ภิกษุ สามเณร ชี นักพรตตน ใชกับ ยักษ ภูติผีปศาจ นักสิทธิ์คน ใชกับ มนุษยตัว ใชกับ สิ่งของบางอยาง

ฯลฯ7. ลักษณนามบอกหมวดหมู

กอง ใชกับ คนทํางานรวมกัน ของที่วางรวมกันฝูง ใชกับ สัตวที่เปนพวกเดียวกันไปทีละมาก ๆโรง ใชกับ มหรสพที่มีโรงเลนวง ใชกับ คนชุดหนึ่งลอมวงกัน

Page 249: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

239

ตับ ใชกับ ของที่ทําใหติดเรียงกันเปนพืด8. ลักษณนามบอกสัณฐาน

หลัง ใชกับ ของที่มีรูปเปนหลังคาวง ใชกับ ของที่มีรูปเปนวงแผน ใชกับ ของที่มีรูปแบบผืน ใชกับ ของที่มีรูปแบนกวางใหญแถบ ใชกับ ของที่แบบบางแคบแตยาวบาน ใชกับ ของที่เปนแผนที่มีกรอบลูก ใชกับ ของที่มีรูปกลม ไตกอน ใชกับ ของที่มีรูปเปนกอนคัน ใชกับ ของที่มีสวนสําหรับถือและลาก รูปยาว ๆ

ฯลฯ9. ลักษณนามบอกจํานวนและมาตรา

คู ใชกับ ของที่มีชุดละ 2 ส่ิงโหล ใชกับ ของที่รวมกัน 12 ส่ิงกุลี ใชกับ ผาหอหนึ่งที่รวมกัน 20 ผืนช่ือมาตราตาง ๆ เชน โยชน ช่ัง เกวียน ใชกับของที่ช่ัง ตวง วัด และเวลาช่ือภาชนะตาง ๆ เชน ตุม ไห ใชกับ ของที่ตวงดวยภาชนะนั้น

10. ลักษณนามบอกอาการจีบ ใชกับ ของที่เปนจีบมวน ใชกับ ของที่เปนมวนมัด ใชกับ ของที่เปนมัดพับ ใชกับ ของที่เปนพับ

ฯลฯ

Page 250: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

240

หนาท่ีของคํานาม

คํานามทําหนาที่ไดหลายหนาที่ในประโยค คือ8. ทําหนาที่เปนประธาน เชน

การออกกําลังกายตอนเชาทําใหสุขภาพดีนักเรียนทําการบาน

9. ทําหนาที่เปนกรรมครูตีนักเรียน เสือกินคน

10. ทําหนาที่เปนกรรมตรงและกรรมรองแมใหเงินนองโรงเรียนมอบรางวัลใหแกนักเรียนพี่ชายสงดอกไมใหแกวารีเจาภาพถวายปจจัยแดพระสงฆ

กรรมตรง ไดแก เงิน รางวัล ดอกไม ปจจัย (ส่ิงของกรรมรอง ไดแก นอง นักเรียน วารี พระสงฆ (บุคคล

11. ทําหนาที่ขยายคํานามอื่น ๆเด็กนักเรียนชอบเลนกีฬา (ใชสามานยนามขยาย)ควายฝูงนี้ตองใชเรือ 3 ลํา บรรทุก (ใชลักษณนามขยาย)

12. ทําหนาที่ขยายกริยาบอกสถานที่ ทิศทางหรือเวลา เชนเขาไปโรงเรียนนกออกหากินกลางวัน

13. ทําหนาที่เปนสวนเติมใหแกคํากริยาพวกเราเปนนักเรียนปลากัดคลายปลากริมโรงเรียนคือสถานที่ใหความรู

14. ทําหนาที่เรียกขานในฐานะประธาน กรรม หรือเรียกขานลอย ๆ เชนคุณครูครับผมนําสมุดพกมาคืนครับเจาดิ๊ก อยากัดรองเทาฉันนะเพื่อน ๆ คุณครูส่ังการบานอีกแลว

Page 251: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

241

แบบทดสอบเรื่อง คํานาม

คําสั่ง เลือกคําตอบขอท่ีถูกท่ีสุดเพียงขอเดียว

26. ในภาษาไทยจําแนกคําตามความหมายและวิธีการใชคําในประโยคไดกี่ชนิด1. 3 ชนิด 2. 5 ชนิด3. 7 ชนิด 4. 9 ชนิด

27. คําที่แสดงความหมายถึง คน สัตว ส่ิงของ อาการ และลักษณะทั้งรูปธรรมและนามธรรม คือคําชนิดใด1. คํานาม 2. คําสรรพนาม3. คํากริยา 4. คําวิเศษณ

28. ขอใดเปนคําที่แสดงลักษณะเปนนามธรรมทุกคํา1. กางเกง เส้ือ รองเทา 2. ชีวิต ความหวัง อารมณ3. วัด โรงเรียน มหาวิทยาลัย 4. สมชาย สมนึก สมศักดิ์

29. ประเภทของคํานามแยกยอยเปนกี่ชนิด1. 3 ชนิด 2. 5 ชนิด3. 7 ชนิด 4. 9 ชนิด

30. ขอใดจัดเปนคํานามสามัญทุกคํา1. การเขียน ความรัก ความดี 2. ทุเรียน หมาใน3. กรุงเทพฯ นครปฐม อยุธยา 4. โขลง ฝูง เหลา

31. “ผมจบจากโรงเรียนระบบอเมริกาชื่อวูดสต็อค เมืองมัสซูรี อยูหางเมืองริษเกศไมกี่สิบกิโล”ขอความนี้มีคําชื่อเฉพาะกี่คํา1. 1 คํา 2. 2 คํา3. 3 คํา 4. 4 คํา

32. “ปลาโกรเปอรยักษเมื่อโตเต็มที่จะยาวถึง 9 ฟุต หนัก 700 ปอนด” คําที่พิมพตัวหนาเปนคํานามชนิดใด1. คําชื่อเฉพาะ 2. คํานามรวมอยู3. คํานามธรรม 4. สามานยนามยอย

Page 252: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

242

33. ขอความในขอ 7 มีคําลักษณนามกี่คํา อะไรบาง1. 2 คํา คือ ปลา ยักษ 2. 2 คํา คือ ฟุต ปอนด3. 3 คํา คือ ปลา โกรเปอร ยักษ 4. 5 คํา คือ ปลา โกรเปอร ยักษ ฟุต ปอนด

34. คําที่พิมพตัวหนาในขอใดไมใชคํานาม1. คุณแมซ้ือหวีสวย ๆ มาหลายอัน 2. สงสัยวาหวีอันอันคงจะแซหวี3. แมคานํากลวยมาขายหลายหวี 4. คุณพอไมชอบหวีผม

35. ขอใดไมปรากฏคํานามรวมหมู1. เราแบงทรายเปน 3 กองเทา ๆ กัน 2. กลุมนักศึกษารวมตัวกันเพื่อฟงดนตรี3. ฝูงชนตางรอชมประธานาธิบดีกันแนนขนัด 4มหาวทิยาลยัจะจดันกัศกึษาเขาหอพกัในวนันี้

36. ขอใดมีคํานามธรรมประกอบอยูดวย1. พวกหากินในวงการภาพยนตสมัยกอนอยูแถวหลังศาลาเฉลิมกรุง2. การทองเที่ยวแหงประเทศไทยประกาศรับสมัครบุคคลเขาทํางานในปนี้3. แขกสะดาหยีมีความกลาหาญในการรบอยางยิ่ง4. สมัยนี้ถาจายเช็คเดงนี่ถือเปนความอาญาเชียวนะ

37. “รายการดงูานเริม่ทีไ่ปเคารพผูหลักผูใหญของการประปามะนลิา แลวไปดกูารผลติ การจาํหนายการบริการตาง ๆ และการซอมทอ” คําในขอใดแตกตางจากขออ่ืน1. การประปา 2. การผลิต3. การบริการ 4. การซอมทอ

38. คําในขอใดจําเปนตองใชลักษณนามซ้ําชื่อ1. รถจักรยาน รม 2. เทวดา อมนุษย3. กวีนิพนธ ปญหา 4. จังหวัด โครงการ

39. ขอใดมีคํานามทําหนาที่เปนสวนเติมเต็มของประโยค1. คุณแมของเธอคลายเธอมากเลย 2. ผูเขียนเปนขาราชการโดยอาชีพ3. เราทุกคนเปนไทแกตัว 4. ฉันคลับคลายคลับคลาวาเคยพบตาคนนี้นะ

40. “ขาวอับนี่เด็กวัดชอบกินกันมาก” คํานามในขอใดทําหนาที่ประธานของประโยค1. ขาวอับ 2. เด็กวัด3. ขาว 4. วัด

41. คํานามในขอใดถือเปนกรรมรองของประโยค “พี่สาวถอดเข็มขัดทองจากเอวใหแมเสนหนึ่ง”1. พี่สาว 2. เข็มขัดทอง3. เอว 4. แม

Page 253: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

243

42. ขอใดใชลักษณนามไดเหมาะสม1. รองเทา 1 คูมี 2 อัน 2. วัด 1 แหงมีพระสงฆหลายองค3. กลวยเครือหนึ่งมีหลายหวี 4. มะพราวชอหนึ่งมีหลายลูก

43. คํานามที่พิมพตัวหนาขอใดทําหนาที่แตกตางจากขออ่ืน1. ผมลงไปสุราษฎรธานีเปนครั้งที่เทาไรจําไมได2. มหาวิทยาลัยของเราอยูปตตานี3. เยอรมันโจมตีอังกฤษในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 24. ปดเทอมนี้ครอบครัวเราจะเที่ยวอเมริกากัน

44. ประโยคใดมีทั้งกรรมตรงและกรรมรอง1. ฝายหญิงเรียกฝายชายใหเปดประตูรับ 2. หนังสือที่ดีจะใหความรูเหมือนครูวา3. คนรักทําใหคนรักตองอกหักไดหรือ 4. พอทิ้งมรดกไวใหลูกหลายสิบลาน

45. คํานามที่พิมพตัวหนาในขอใดทําหนาที่ขยายคํานามอื่น1. ประเทศไทยผลิตรถยนตพลังงานไฟฟาไดสําเร็จ 2. เด็ก ๆ ควรมีความประพฤติเรียบรอย3. พระสงฆทําวัตรเวลาเย็น 4. เราคือคนไทยทั้งแทง

46. ขอใดมีคํานามที่ทําหนาที่กรรมของประโยค1. คนจีนกินตะเกียบเปนกันทุกคน 2. ลูกจางเดินโตะไปไหนหมด3. เที่ยวครั้งนี้เราไปเครื่องบินนะคะที่รัก 4. อานหนังสือทุกวันเชียวหลานรัก

47. “ผมสนใจ “ตราจักร” มานมนานและเคยคนควาเอาไวบาง” ขอความนี้มีคํานามชนิดใดและทําหนาที่อะไรในประโยค1. ลักษณนามทําหนาที่ขยายกริยา 2. คํานามธรรมทําหนาที่สวนเติมเต็ม3. คํานามสามัญทําหนาที่กรรม 4. คําชื่อเฉพาะทําหนาที่ประธาน

48. ขอใดใชลักษณนามไมเหมาะสม1. มวยไทยคูนี้ชกไมครบ 5 ยก 2. อาจารยทั้ง 3 คนสอนวิชาภาษาอังกฤษ3. ภรรยาทั้ง 4 คนของผมรักใครกันดี 4. ที่วัดเกา ๆ นั้นเราพบคัมภีรใบลานหลายผูก

49. คํานามที่ทําหนาที่กรรมขอใดเมื่อเรียงไวตนประโยคจะทําใหผูฟงสับสน1. กางเกงยีนสแมซ้ือใหลูกแลวนี่ 2. นมถั่วเหลืองฉันไมชอบกินเลย3. เงินนี่พอฝากพี่มาใหเธอ 4. หมาชาวบานรุมตีกันใหญเชียว

50. ขอใดไมมีคํานามทําหนาที่สวนเติมเต็ม1. ขาพเจาขอขอบพระคุณทานเปนอยางสูง 2. ความจริงเปนสิ่งไมตาย3. คุณยายคือแมยายของคุณพอ 4. อัปสรแปลวานางฟา

Page 254: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

244

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คํานาม

1. (3) 2. (1) 3. (2) 4. (2) 5. (2)6. (4) 7. (4) 8. (2) 9. (4) 10. (1)

11. (3) 12. (1) 13. (4) 14. (2) 15. (2) 16. (4) 17. (3) 18. (3) 19. (4) 20. (1) 21. (4) 22. (3) 23. (2) 24. (4) 25. (1)

Page 255: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

245

ใบงานเรื่อง คํานาม

คําสั่ง นักเรียนศึกษาประโยคที่กําหนดใหแลวอธิบายวาในประโยคนั้นมีคําใดเปนคํานามบางและทําหนาที่อะไร

6. ตะวันขึ้นคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

7. การนอนหลับเปนการพักผอนคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

8. นักเรียนเขียนจดหมายคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

9. พระสุริโยทัยมีความกลาหาญคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

10. นกเปนอาหารของมนุษยคํานาม คือ…………………………………………………………………………….ทําหนาที่อะไร………………………………………………………………………...

Page 256: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

246

เฉลยใบงาน เร่ือง คํานาม

คําสั่ง นักเรียนศึกษาประโยคที่กําหนดใหแลวอธิบายวาในประโยคนั้นมีคําใดเปนคํานามบาง และทําหนาที่อะไร

6. ตะวันขึ้นคํานาม คือ ตะวัน ทําหนาที่เปนประธานของประโยค

7. การนอนหลับเปนการพักผอนคํานาม คือ การนอนหลับ ทําหนาที่เปนประธานในประโยค การพักผอน ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

8. นักเรียนเขียนจดหมายคํานาม คือ นักเรียน ทําหนาที่เปนประธานในประโยค จดหมาย ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

9. พระสุริโยทัยมีความกลาหาญคํานาม คือ พระสุริโยทัย ทําหนาที่เปนประธานในประโยค ความกลาหาญ ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

10. นกเปนอาหารของมนุษยคํานาม คือ นก ทําหนาที่เปนประธานในประโยค อาหาร ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค

มนุษย ทําหนาที่เปนกรรมรอง

Page 257: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

247

ใบงาน เร่ือง คํานาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และ หนาขอความที่ไมถูกตอง

…………1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชื่อส่ิงที่มีรูปราง เชน เวลา…………2. คํานามแบงออกเปนชนิดยอยดังนี้ สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณ

นาม และสมุหนาม…………3. “น้ําตาลสดแสนประเสริฐรสเชิดชู” น้ําตาลสด เปนคําสามานยนามยอย

…………4. “เกาะหนึ่งชื่อลองสโตนมีประภาคารตั้งอยู” ขอความนี้มีวิสามานยนาม 2 คํา…………5. “นายทัพนายกองมอญทั้งปวงเห็นสมิงอายมนทะยาวิ่งหนี” ขอความนี้มีสมุหนาม…………6. “คณะศิษยเกาจึงวางแผนการทดลองความอดทน” ขอความนี้มีสมุหนาม…………7. “พระยาตากพอใจมากเรียกเงินมาใหรางวัลถึง 5 ตําลึง” ขอคามนี้ไมมีลักษณนาม…………8. “ชาวเรายอมนับถือตอสูผูที่มีความกตัญตูอผูมีพระคุณแกโลก” ความกตัญู

เปนอาการนาม…………9. “บุตรสาวผูเฝาประภาคาร เกรซ ดาลิ่งตื่นขึ้นแตเชา” ประโยคนี้มีคํานามที่ทํา

หนาที่ ขยายคํานาม………..10. “งิ้วเร่ืองหนึ่งแกเลาครั้งเยาวอยู” เร่ือง เปนลักษณนาม

Page 258: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

248

เฉลยใบงาน เร่ือง คํานาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และ หนาขอความที่ไมถูกตอง

…… ……1. คํานาม คือ คําที่ใชเรียกชื่อส่ิงที่มีรูปราง เชน เวลา…… ……2. คํานามแบงออกเปนชนิดยอยดังนี้ สามานยนาม วิสามานยนาม ลักษณนาม

และสมุหนาม…… ……3. “น้ําตาลสดแสนประเสริฐรสเชิดชู” น้ําตาลสด เปนคําสามานยนามยอย

…… ……4. “เกาะหนึ่งชื่อลองสโตนมีประภาคารตั้งอยู” ขอความนี้มีวิสามานยนาม 2 คํา…… ……5. “นายทัพนายกองมอญทั้งปวงเห็นสมิงอายมนทะยาวิ่งหนี” ขอความนี้มีสมุหนาม…… ……6. “คณะศิษยเกาจึงวางแผนการทดลองความอดทน” ขอความนี้มีสมุหนาม…… ……7. “พระยาตากพอใจมากเรียกเงินมาใหรางวัลถึง 5 ตําลึง” ขอคามนี้ไมมีลักษณนาม…… ……8. “ชาวเรายอมนับถือตอสูผูที่มีความกตัญตูอผูมีพระคุณแกโลก” ความกตัญู

เปนอาการนาม…… ……9. “บุตรสาวผูเฝาประภาคาร เกรซ ดาล่ิงตื่นขึ้นแตเชา” ประโยคนี้มีคํานามที่ทําหนาที่

ขยายคํานาม…… …..10. “งิ้วเร่ืองหนึ่งแกเลาครั้งเยาวอยู” เร่ือง เปนลักษณนาม

Page 259: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

249

เพลงประกอบการสอนเรื่อง คํานาม

ตั้งแตเรียนภาษาไทย ฉันเขาใจเรื่องราวไดดี ยิ่งเรียนก็ยิ่งสนุก ฉันมีสุขก็เรียนไดดี เรียนเรื่องคํานาม จําจนขึ้นฤดี หมายถึง คน สัตว ส่ิงของ ไมอยากหมนหมองตองจําใหดี รวมถึงสภาพอาการ ลักษณะนั้นก็ดูเขาที รูปธรรมนามธรรมถวนถ่ี แหม! ชางดีจัง ฮื่อ! ชางดีจริง

หนาที่ของพวกคํานามใชในยามตองการทุกที ใชเปนประธานก็ได แถมยังใชเปนกรรมก็ดี เชน ตํารวจ ทหาร ความจริงมั่นความดี นก แมว เกาอ้ี ขวด น้ํา และคํานามบอกลักษณะอยางนี้ บานนั้นเราเรียกเปนหลัง เล่ือยนั้นจงฟงเรียกปนคนดี ถาแหวนก็วงนะซิ แหม! ชางดีจัง ฮื่อ! ชางดีจริง

(ออยทิพย ชาติมาลากร 2532 : 109)

Page 260: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

250

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 261: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

251

การเรียนรูท่ี 2 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ือง คําสรรพนาม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคําสรรพนามเปนคําที่ใชแทนชื่อคน สัตว ส่ิงของ แตแยกออกเปน หลายชนิด แตละชนิด

มีหนาที่และวิธีใชตางกัน การศึกษาเรื่องคําสรรพนามเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ สามารถจําแนกประเภทของคําสรรพนามแตละชนิดไดถูกตองนําไปใชอยางเหมาะสม จะชวยใหใชภาษาสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่องคําสรรพนามและใชคําสรรพนามไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําสรรพนามได3.2 จําแนกชนิดของคําสรรพนามได3.3 บอกหนาที่ของคําสรรพนามแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําสรรพนามไปใชไดถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําสรรพนาม4.2 ชนิดของคําสรรพนาม4.3 หนาที่ของคําสรรพนาม

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียน

3. ครูสนทนากับนักเรียนแลวยกตัวอยางขอความใหนักเรียนหาคํามาแทนคํานามที่กําหนดใหเชน

- แดงเปนลูกชายของนายดํา แดงเปนคนขยันคําวา แดง คําที่ 2 นาจะใชคําวาอะไรแทน (เขา)

Page 262: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

252

- สมศรีไปโรงเรียน สมศรีก็ไปทะเลาะกับเพื่อนคําวา สมศรี คําที่ 2 นาจะใชคําวาอะไรแทน (เธอ)

- แมวเปนสัตวที่นารัก แมวชอบกินหนูเปนอาหารคําวา แมว คําที่ 2 นาจะใชคําวาอะไรแทน (มัน)

4. นักเรียนชวยกันสรุปคําวา เขา เธอ และมัน เปนคําที่ใชแทนคํานาม เรียกอีกอยาง วาคําสรรพนาม

5. นักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคําสรรพนามจากตัวอยางที่ยกมาขั้นดําเนินการสอน

5. ครูอธิบายประกอบการซักถามเรื่องความหมายและหนาที่ของคําสรรพนาม6. ใหนกัเรยีนศกึษาความหมายและหนาทีข่องคาํนามเพิม่เตมิจากใบความรูใหเวลา10 นาที

จากนั้นสุมนักเรียน 3-4 คน ตอบคําถามเกี่ยวกับความหมาย ชนิด และหนาของคําสรรพนาม7. ใหนักเรียนเลนเกม จับคูแตงประโยค

จุดมุงหมาย เพื่อใหนักเรียนแตงประโยคโดยใชคําสรรพนามที่กําหนดใหไดอุปกรณ

1. สลากคําสรรพนาม2. สลากเลขที่นักเรียน

วิธีเลน1. ใหนักเรียนจับสลากคําสรรพนามคนละ 1 สลาก แลวเก็บไวโดย

ไมใหใครเห็น2. ครูจับสลากเลขที่นักเรียนมาทีละ 2 คน3. นักเรียนที่มีเลขที่ตรงกับสลากทั้ง 2 คนนําสลากคําสรรพนาม

ของตนมารวมกันแลวชวยกันแตงประโยคมา 2 ประโยคคูใดแตงประโยคไดถูกตองและรวดเร็วที่สุดเปนคูที่ชนะ

ขั้นสรุปครูและนักเรียนชวยกันสรุปความหมาย ชนิด และหนาที่ของคําสรรพนามแลวบันทึก

ลงในสมุด จากนั้นนักเรียนทําแบบทดสอบเรื่อง คําสรรพนาม

Page 263: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

253

6. สื่อการเรียนรู4. ใบความรูเร่ือง คําสรรพนามและหนาที่ของคําสรรพนาม5. เกมจับคูแตงประโยค6. แบบทดสอบเรื่อง คําสรรพนาม

7. การวัดผลและประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 สังเกตการรวมกิจกรรม3.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากสมุดจดบันทึก3.3 การรายงานหนาชั้นเรียน3.4 การประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

Page 264: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

254

คําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานามที่ผูพูดหรือผูเขียนไดกลาวแลว หรือเปนที่เขาใจกันระหวางผูฟงและผูพูด เพื่อไมตองกลาวคํานามซ้ํา แบงออกเปน 7 ชนิดคือ

8. คําสรรพนาม- สรรพนามบุรุษที่ 1 ใชแทนผูพูด เชน ฉัน ผม ขาพเจา กู ขา ตู อ๊ัว ขอย เปนตน- สรรพนามบุรุษที่ 2 ใชแทนตัวผูฟง หรือผูที่เราพูดดวยเชน ล้ือ เอ็ง มึง คุณ เธอ

ใตเทา พระองค พระคุณเจา ทาน เปนตน- สรรพนามบุรุษที่ 3 ใชแทนผูที่กลาวถึงเชน เขา มัน ทาน หลอน พระองค

เปนตน9. ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใชเชื่อมประโยค 2 ประโยค ใชแทนนามที่อยู

ติดตอกันขางหนาใหมีความสัมพันธ มี 4 คําคือ ผู ที่ ซ่ึง อันตัวอยาง

- คนซ่ึงเกียจครานตองลําบาก- ฉันชอบนักเรียนท่ีมีมารยาทดี- ครูยกยองนักเรียนผูรักษาความสะอาด- โคลงบทแรกอันเปนบทไพเราะที่สุดเปนโคลงสี่สุภาพ

10. ปฤจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่มีความหมายเปนคําถาม ไดแกคําวา ใคร ไหน อะไร อันไหน อยางไร ผูใด ส่ิงใด ฯลฯ

ตัวอยาง- ใครทําหมอบุบ- ไหนเปนบานของเธอ- อะไรอยูในกลองกระดาษ

11. วิภาคสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามเพื่อแบงแยกนามนั้นออกเปนสวน ๆ จะมีคําวา แตละพวก แตละส่ิง แตละคน ตาง บาง กัน

ตัวอยาง- เขากําลังคุยกัน- นักเรียนตางทําการบาน- ชาวบานบางก็นั่งบางก็นอน

12. นิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามที่กลาวมาแลวหรือที่ปรากฏอยู เฉพาะหนาเพื่อบอกความกําหนดชี้เฉพาะใหชัดเจน ไดแกคําวา นี่ นั่น โนน ฯลฯ

ตัวอยาง

Page 265: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

255

- นี่คือบานของฉัน- โนนคือดอยสุเทพ- นั่นเปนมติของคณะกรรมการ

13. อนิยมสรรพนาม คือ คําสรรพนามที่ใชแทนนามทั่วไปที่ไมกําหนดแนนอนช้ีเฉพาะเจาะจง ไดแกคําวา ใคร อะไร ไหน ใด ฯลฯ ซ่ึงไมใชคําถาม

ตัวอยาง- อะไรฉันก็กินได- ใครจะกลับบานกอนก็ได- ไหนก็สุขสูบานของฉันไมได

14. สรรพนามที่ใชเนนนามที่อยูขางหนา เปนคําบุรุษสรรพนามตาง ๆ ที่เรียงไวหลัง คาํนามเพื่อเนนความรูสึกตาง ๆ ของผูพูด

ตวัอยาง- นายแกวนแกเปนตลกยีเ่กมากอน- เจาแตมมันชอบเหาคนใสเสือ้แดง- เพือ่น ๆ ของลูกเขาจะมากนิเลีย้งในตอนเยน็

หนาท่ีของคาํสรรพนาม4. เปนประธานของประโยค เชน เธอโกรธเขามาก, ทานจะไปไหนวนันี ้เปนตน5. เปนกรรมของประโยค เชน เขาถูกแดงเตะ, คณุแมตมัีนตายแลว เปนตน6. เปนสวนเตมิเตม็ เชน จารณุเีหมอืนเธอมากนะแดง, นองมหีนาตาคลายฉนัมากเลย

เปนตน

ใบความรู เร่ือง คาํสรรพนาม

Page 266: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

256

คาํสรรพนาม คอื คาํทีท่าํหนาทีแ่ทนคาํนาม ในการพดูหรือเขยีนขอความ ถาใชคาํนาม ซํ้ากันมากไปจะทําใหเกิดความซ้ําซาก ไมสละสลวยชวนฟง จําเปนตองใชคําสรรพนามแทนบาง คาํสรรพนามทีค่วรรู คอื

5. สรรพนามแทนนามในการสนทนา หรือบุรุษสรรพนาม6. สรรพนามแทนนามและชี้เฉพาะ หรือนิยมสรรพนาม7. สรรพนามแทนนามโดยไมช้ีเฉพาะ หรืออนิยมสรรพนาม8. สรรพนามแทนนามและเปนคําถาม หรือปฤจฉาสรรพนาม

5. บุรุษสรรพนามบุรุษสรรพนาม คือ คําแทนนามซึ่งใชในการสนทนาหรือเลาเรื่อง มี 3 ประเภทคือ คําแทน

ผูพูด คําแทนผูฟงและคําแทนผูถูกกลาวถึงถาผูพูดกับผูฟงเปนบุคคลเสมอกัน เชน เปนเพื่อนกัน

4. ผูพูดและผูฟงเปนชายคําแทนผูพูด ใชคําวา กัน ฉัน ผมคําแทนผูฟง ใชคําวา เพื่อน เธอ คุณ

5. ผูพูดเปนชาย ผูฟงเปนหญิงคําแทนผูพูด ใชคําวา ฉัน ผมคําแทนผูฟง ใชคําวา เธอ คุณ

6. ผูพูดเปนหญิง ผูฟงเปนชายคําแทนผูพูด ใชคําวา ฉัน ดิฉันคําแทนผูฟง ใชคําวา เธอ คุณ

ถาผูพูดเปนผูนอย ผูฟงเปนผูใหญที่เปนญาติ4. คําแทนผูพูดชาย ใชคําวา ผม กระผม หรือใชตามฐานะความสัมพันธระหวาง

ญาติวา ลูก หลาน นอง5. คําแทนผูพูดหญิง ใชคําวา ฉัน ดิฉัน หรือใชตามฐานะความสัมพันธระหวาง

ญาติวา ลูก หลาน นอง6. คําแทนผูฟงทั้งชายและหญิง ใชตามฐานะความสัมพันธระหวางญาติวา ปู ยา ตา

ยาย พอ แม ลุง ปา นา อา พี่ หรือใชคํา คุณ เติมขางหนาเปน คุณปู คุณลุง คุณพี่ ก็ได

ถาผูพูดเปนผูนอย ผูฟงเปนผูใหญที่ไมใชญาติ5. คําแทนผูพูดชาย ใชคําวา ผม กระผม เกลากระผม

Page 267: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

257

6. คําแทนผูพูดหญิง ใชคําวา ฉัน ดิฉัน7. คําแทนผูฟงทั้งชายและหญิงที่มีตําแหนงหนาที่การงานหรือบรรดาศักดิ์ ใชตาม

ตําแหนงการงาน เชน คุณครู คุณครูใหญ ทานอาจารย ทานอาจารยใหญ ทานศึกษาธิการอําเภอ ทานนายอําเภอ ทานผูจัดการ คุณหมอ ทานเจาอาวาส หรือใชตามบรรดาศักดิ์เปน ทานขุน คุณหลวง คุณพระ คุณหญิง เจาคุณ เปนตน

8. คําแทนผูฟงทั้งชายและหญิงที่ไมปรากฏตําแหนงหนาที่การงาน หรือบรรดาศักดิ์ ใชคําวา คุณ ทาน ใตเทา

ถาผูพูดเปนผูนอย ผูฟงเปนเจานาย4. คําแทนผูพูดชาย ใชคําวา กระหมอม เกลากระหมอม ขาพระพุทธเจา5. คําแทนผูพูดหญิง ใชคําวา หมอมฉัน ขาพระพุทธเจา6. คําแทนผูฟง ใชคําวา ฝาพระบาท ใตฝาพระบาท ใตฝาละอองพระบาท

ถาผูพูดเปนสามัญชน ผูฟงเปนพระเจาแผนดินหรือพระราชินี3. คําแทนผูพูดทั้งชายและหญิง ใชคําวา ขาพระพุทธเจา4. คําแทนผูฟง ใชคําวา ใตฝาละอองธุลีพระบาท

คําแทนผูถูกกลาวถึง6. ผูถูกกลาวถึงเปนสัตว ใชคําวา มัน7. ผูถูกกลาวถึงเปนผูใหญ ใชคําวา ทาน8. ผูถูกกลาวถึงเปนผูนอยหรือบุคคลเสมอกัน ใชคําวา เขา9. ผูถูกกลาวถึงเปนเทวดา เจานาย ใชคําวา ทาน พระองค10. ผูถูกกลาวถึงเปนพระพุทธเจา พระเจาแผนดิน พระราชินี ใชคําวา พระองค

พระองคทาน

6. นิยมสรรพนามนิยมสรรพนาม คือ คําแทนนามและบงชี้เฉพาะวาเปนคนใด สัตวใด และสิ่งใด และ

แสดงระยะใกลไกลตางกันดวย สรรพนามชนิดนี้ไดแกนี่ นี้ แสดงระยะใกลนั่น นั้น แสดงระยะไกลกวา นี่ นี้โนน โนน แสดงระยะไกลกวา นั่น นั้น

เชน นี่เปนหนังสือของฉันนั่นคืออาจารยใหญ

Page 268: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

258

โนนเปนภูเขาชายแดนหมายเหตุ คํา นี่ นี้ นั่น นั้น โนน โนน ที่เปนนิยมสรรพนาม จะตองทําหนาที่แทนนามโดย

อยูลอย ๆ ไมประกอบหลังคํานาม ถาประกอบหลังคํานามจะเปนคําวิเศษณ ดังที่ จะกลาวตอไปนี้ เชน ดินสอนี้เปนของฉัน เด็กคนโนนกําลังวิ่ง

7. ปฤจฉาสรรพนามปฤจฉาสรรพนาม คือ คําแทนนามที่เปนคําถาม ไดแก ใคร อะไร ไหน

ใครแตงเรื่องพระอภัยมณีพระอภัยมณีเรียนอะไรไหนเปนบานของพราหมณ

หมายเหตุ คํา อะไร ไหน ที่เปนปฤจฉาสรรพนาม จะตองทําหนาที่แทนนามโดยอยูลอย ๆ ไมประกอบหลังคํานาม ถาประกอบหลังคํานามจะเปนคําวิเศษณ ดังที่จะกลาว ตอไปเชน พระอภัยมณีเรียนวิชาอะไร บานไหนเปนบานของพราหมณ

8. อนิยมสรรพนามอนิยมสรรพนาม คือ คําแทนนามทั่ว ๆ ไป ไมช้ีเฉพาะเจาะจงและไมเปนคําถาม เชน

ใคร อะไร ไหนใครจะไปก็ไดเขาไมรูอะไรเลยไหนจะเปนของฉันก็ได

หมายเหตุ คํา อะไร ไหน ที่เปนอนิยมสรรพนาม จะตองทําหนาที่แทนนามโดยอยูลอย ๆ ไมประกอบหลังคํานาม ถาประกอบหลังคํานามจะเปนคําวิเศษณ ดังที่จะกลาวตอไปเชน นักเรียนจะเลือกอานหนังสืออะไรก็ได วิชาไหนฉันก็ชอบเรียนทั้งนั้น

Page 269: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

259

หนาท่ีของคําสรรพนาม

คําสรรพนามเปนคําที่ใชแทนนาม จึงทําหนาที่ไดอยางนาม ดังนี้

4. ทําหนาท่ีเปนบทประธาน สรรพนามทุกชนิดทําหนาที่เปนประธานของประโยคได เชน

เขาเปนคนดี บุรุษสรรพนามนี้คือสําเภายนต นิยมสรรพนามใครจะอยูก็ได อนิยมสรรพนามอะไรเกิดขึ้นกับเด็กเลี้ยงแกะ ปฤจฉาสรรพนาม

5. ทําหนาท่ีเปนบทกรรม สรรพนามทุกชนิดทําหนาที่บทกรรมของประโยคได เชนทุกคนพอใจเขา บุรุษสรรพนามนํานี่ไปดวย นิยมสรรพนามหยิบนั่นใหฉันหนอย นิยมสรรพนามเขาจะทําอะไรก็ได อนิยมสรรพนามเธอไมพอใจใครทั้งนั้น อนิยมสรรพนามหลอนจะชวยใคร ปฤจฉาสรรพนามเด็ก ๆ กําลังเลนอะไร ปฤจฉาสรรพนาม

6. ทําหนาท่ีขยายนาม สรรพนามที่ทําหนาที่ขยายนาม ไดแก บุรุษสรรพนาม เชนผูอํานวยการทานอยูในหองประชุมตอยตีวิดมันรองหวิด ๆ

Page 270: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

260

ช่ือ………………………………………………ช้ัน………………เลขที่……………

แบบทดสอบเรื่อง คําสรรพนาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง (ขอละ 2 คะแนน)

11. คําสรรพนาม คือ ………………………………………………………………………………12. คําสรรพนามแบงออกเปน…………ชนิด

คือ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

13. “เมื่อไมใหใครจะวาเจาขาเอย นี่กลับเยยยกคําทิ่มตําผม” ขอความนี้มีคําสรรพนามอยู….…ชนิดคือ……………………………………………………………………………………………….

14. “ขาฟงเจาเลาไปก็ไดความ จึงเห็นตาพอแมรังแกตรง” ขอความนี้มีบุรุษสรรพนามอยู……..…คํา ไดแก…………………………………………………………………………………………

15. “ตามเรื่องนั้นวามีเศรษฐีหนึ่ง เปนคนซึ่งสูงชาติวาสนา” คําวา ซ่ึง จัดเปนคํานามชนิด…………..ที่ใชแทนคํานามวา………………………………………………………………………………

16. “ทราบวาพอของขาเจาเขามาผนวชอยูนี่” คําวา นี่ เปนคําสรรพนามชนิด……………………... ทําหนาที่เปน………………………ในประโยค

17. “อยาวาแตแกวแหวนแสนสมบัติ ถึงจะจัดเอาอะไรมาใหฉัน” คําวา อะไร เปนคําสรรพนามชนิด…………………………ทําหนาที่เปน………………………………ของประโยค

18. “ไหน ชะลอมที่มึงวา” ไหน เปนสรรพนามชนิด…………………………ทําหนาที่เปน………. ………………………ของประโยค

19. “ฝายฝรั่งพรั่งพรอมตางนอมนบ” คําวา ตาง ในที่นี้เปนคําสรรพนามชนิด…………………….ใชแทนคํานามวา………………………………………………………………………………...

20. “ปลาชอนที่ควรจะมีอีกหลายตัวตองพลอยตายหมดไปดวย” คําวา ท่ี เปนคําสรรพนามทําหนาที่………………………โดยใชแทนคํานามวา…………………………………………..

Page 271: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

261

เฉลย แบบทดสอบ เร่ือง คําสรรพนาม

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง (ขอละ 2 คะแนน)

11. คําสรรพนาม คือ คําที่ใชแทนคํานาม เพื่อไมใหเราใชคํานามซ้ําซาก12. คําสรรพนามแบงออกเปน 6 ชนิด คือ บุรุษสรรพนาม ประพันธสรรพนาม นิยมสรรพนาม

อนิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม วิภาคสรรพนาม13. “เมื่อไมใหใครจะวาเจาขาเอย นี่กลับเยยยกคําทิ่มตําผม” ขอความนี้มีคําสรรพนามอยู 3 ชนิด

คือ อนิยมสรรพนาม นิยมสรรพนาม บุรุษสรรพนาม14. “ขาฟงเจาเลาไปก็ไดความ จึงเห็นตาพอแมรังแกตรง” ขอความนี้มีบุรุษสรรพนามอยู 2 คํา

ไดแก ขา เจา15. “ตามเรื่องนั้นวามีเศรษฐีหนึ่ง เปนคนซึ่งสูงชาติวาสนา” คําวา ซ่ึง จัดเปนคํานามชนิด

ประพันธสรรพนาม ที่ใชแทนคํานามวา คน16. “ทราบวาพอของขาเจาเขามาผนวชอยูนี่” คําวา นี่ เปนคําสรรพนามชนิด นิยมสรรพนาม

ทําหนาที่เปน กรรม ในประโยค17. “อยาวาแตแกวแหวนแสนสมบัติ ถึงจะจัดเอาอะไรมาใหฉัน” คําวา อะไร เปนคําสรรพนาม

ชนิด อนิยมสรรพนาม ทําหนาที่เปน กรรม ของประโยค18. “ไหน ชะลอมที่มึงวา” ไหน เปนสรรพนามชนิด ปฤจฉาสรรพนาม ทําหนาที่เปน ประธาน

ของประโยค19. “ฝายฝรั่งพรั่งพรอมตางนอมนบ” คําวา ตาง ในที่นี้เปนคําสรรพนามชนิด วิภาคสรรพนาม

ใชแทนคํานามวา ฝร่ัง20. “ปลาชอนที่ควรจะมีอีกหลายตัวตองพลอยตายหมดไปดวย” คําวา ท่ี เปนคําสรรพนาม

ทําหนาที่ เชื่อมประโยค โดยใชแทนคํานามวา ปลาชอน

Page 272: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

262

ใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

3. จงขีดเสนใตคําสรรพนามที่ใชแทนนามในขอความตอไปนี้“ ทานเจาขา! พอแมรังแกฉัน เขาใฝฝนฟูมฟกฉันอักขูฉันทําผิดคิดระยํากลับค้ําชู จะวาผูรักลูกถูกหรือไรทานทายฉันนั้นถูกลูกเศรษฐี ผูกลีเลวกวาบรรดาไพรซ่ึงยังรูกอบการงานใด ๆ เล้ียงชีพไดเพียงพอไมขอทานโอย! ยิ่งเลายิ่งช้ําระกําเหลือ โปรดจุนเจือเถิดทานหมอขอขาวสารเหมือนชวยชีพขาเจาใหเนานาน จักเปนการบุญลนมีผลงาม…”

4. ใหนักเรียนพิจารณาคําที่ขีดเสนใตในประโยคตอไปนี้แลวบอกวาเปนคําสรรพนามชนิดใด11. เมื่อขาพเจาเดินทางไปยุโรปและอเมริกา

……………………………………………………………………………………………12. ใครหนอรักเราเทาชีวี

……………………………………………………………………………………………13. โนนเศษขยะเกลื่อนกลาดริมหาดทราย

……………………………………………………………………………………………14. ฝายพระยาเกียรซ่ึงอยูในเมืองหงสาวดีนั้น ก็ยกทหารตีหักออกมาตามสัญญา

……………………………………………………………………………………………15. ใดใดในโลกลวนอนิจัง

……………………………………………………………………………………………16. ไหนเปนปากกาของเธอ

……………………………………………………………………………………………17. นักเรียนตางตั้งใจทํางาน

……………………………………………………………………………………………18. เธอจะไปไหนก็ไดไมมีใครวา

……………………………………………………………………………………………19. พอโดยสารทานก็รับลงเรือมา

……………………………………………………………………………………………20. จึงเห็นหนาลูกนอยกลอยฤทัย

…………………………………………………………………………………………….

Page 273: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

263

เฉลย ใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

3. จงขีดเสนใตคําสรรพนามที่ใชแทนนามในขอความตอไปนี้“ ทานเจาขา! พอแมรังแกฉัน เขาใฝฝนฟูมฟกฉันอักขูฉันทําผิดคิดระยํากลับค้ําชู จะวาผูรักลูกถูกหรือไรทานทายฉันนั้นถูกลูกเศรษฐี ผูกลีเลวกวาบรรดาไพรซ่ึงยังรูกอบการงานใด ๆ เล้ียงชีพไดเพียงพอไมขอทานโอย! ยิ่งเลายิ่งช้ําระกําเหลือ โปรดจุนเจือเถิดทานหมอขอขาวสารเหมือนชวยชีพขาเจาใหเนานาน จักเปนการบุญลนมีผลงาม…”

4. ใหนักเรียนพิจารณาคําที่ขีดเสนใตในประโยคตอไปนี้แลวบอกวาเปนคําสรรพนามชนิดใด11. เมื่อขาพเจาเดินทางไปยุโรปและอเมริกา (สรรพนามบุรุษที่ 1)12. ใครหนอรักเราเทาชีวี (ปฤจฉาสรรพนาม)13. โนนเศษขยะเกลื่อนกลาดริมหาดทราย (นิยมสรรพนาม)14. ฝายพระยาเกียรซ่ึงอยูในเมืองหงสาวดีนั้น ก็ยกทหารตีหักออกมาตามสัญญา

(ประพันธสรรพนาม)15. ใดใดในโลกลวนอนิจัง (อนิยมสรรพนาม)16. ไหนเปนปากกาของเธอ (ปฤจฉาสรรพนาม)17. นักเรียนตางตั้งใจทํางาน (วิภาคสรรพนาม)18. เธอจะไปไหนก็ไดไมมีใครวา (อนิยมสรรพนาม)19. พอโดยสารทานก็รับลงเรือมา (สรรพนามบุรุษที่ 1)20. จึงเห็นหนาลูกนอยกลอยฤทัย (สรรพนามบุรูษที่ 2)

Page 274: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

264

ใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

คําสั่ง จงบอกชนิดและหนาที่ของคําสรรพนามที่ขีดเสนใตในประโยคตอไปนี้11. ทานเจาขาพอแมรักแกฉัน12. เธอไปตลาดแตเชาเชียวนะจะ13. โปรดสงกระเปาใหผมดวย14. ครูชอบเด็กที่ขยันขันแข็ง15. สมบัติเห็นใครเขามาในหองนี้ไหม16. เด็ก ๆ กําลังเจริญอาหาร อะไร ๆ ก็กินหมดเกลี้ยง17. คนอยางมันสมควรตาย18. เอานี่ออกไปจากโตะฉันเดี๋ยวนี้19. ไมเห็นมีใครเขารานเลย20. คนที่ไดรับรางวัลคือเธอนั่นเอง

11. …………………………………… ……………………………………12. …………………………………… ……………………………………13. …………………………………… ……………………………………14. …………………………………… ……………………………………15. …………………………………… ……………………………………16. …………………………………… ……………………………………17. …………………………………… ……………………………………18. …………………………………… ……………………………………19. …………………………………… ……………………………………20. …………………………………… ……………………………………

Page 275: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

265

เฉลยใบงาน เร่ือง การใชคําสรรพนาม

11. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่เปนกรรม12. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่เปนประธาน13. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่เปนกรรมรอง14. สรรพนามเชื่อมประโยค ทําหนาที่เชื่อมประโยคและแทนคํานาม เด็ก15. สรรพนามใชถาม ทําหนาที่กรรมตรง16. สรรพนามบอกความไมเจาะจง ทําหนาที่กรรมตรง17. สรรพนามใชเนนคํานามที่อยูขางหนา ทําหนาที่ประธาน18. สรรพนามใชช้ีระยะ ทําหนาที่กรรมตรง19. สรรพนามบอกความไมเจาะจง ทําหนาที่กรรมตรง20. สรรพนามใชแทนบุคคล ทําหนาที่สวนเติมเต็มของกริยา คือ

Page 276: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

266

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 277: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

267

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ืองคํากริยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคาํกรยิา เปนคาํทีใ่ชแสดงอาการของนาม และสรรพนามหรอืแสดงการกระทาํของประธาน

ในประโยค เพื่อใหรูวาคํานามหรือสรรพนามนั้น ๆ ทําอะไร เปนอยางไร คํากริยาแบงออกเปนหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่และวิธีใชแตกตางกัน การเรียนรูเร่ืองคํากริยา ชวยใหสามารถนําไปใชผูกประโยคไดอยางถูกตองเหมาะสม

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่องคํากริยาและใชคํากริยาไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคํากริยาได3.2 จําแนกชนิดของคํากริยา พรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคํากริยาแตละชนิด พรอมยกตัวอยางได3.4 สามารถนําคํากริยาไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคํากริยา4.2 ชนิดของคํากริยา4.3 หนาที่ของคํากริยา

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียน

4. เลนเกมสงแปงเพื่อเลือกนักเรียน 6 คนมารวมกิจกรรมปริศนาทาทางจากคํากริยา ดังนี้- เด็กกําลังเตะฟุตบอบ - เด็กกําลังตักน้ํา- เด็กกําลังกินขาว - เด็กกําลังพายเรือ

Page 278: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

268

- เด็กกําลังนอน - เด็กกําลังเปาลูกโปง5. นักเรียนทั้งหมดทําทาทางใหเพื่อนในหองเรียนดูใครทําทาทางใหเพื่อนทายถูก

เปน ผูชนะ ถาเพื่อนทายไมไดใหคนทําทาทางเตนรําเปนการทําโทษ6. นักเรียนชวยกันพิจารณาทาทางของเพื่อนวาเปนลักษณะของคําชนิดใดแลวจดลง

ในสมุดขั้นดาํเนินการสอน

3. ครูนําแถบประโยค “เมื่อวานฉัน………………กับนอง” บนกระดานดํา4. ใหนักเรียนอานประโยคนี้และสุมนักเรียน 4-5 คนเติมคํากริยาที่หายไปไมใหซํ้ากัน5. ครูบรรยายถึงความหมาย ชนิด และหนาที่ของคํากริยาจากนั้นใหนักเรียนศึกษา ใบ

ความรูเพิ่มเติมและสุมนักเรียน 4-5 คน ตอบคําถามเพื่อดูวาเขาใจหรือไม6. ใหนักเรียนเลนเกมไขพาโชค

จุดมุงหมาย เพื่อใหนักเรียนแตงประโยคโดยใชคํากริยาที่กําหนดใหไดอุปกรณ 1. ลูกปงปองเขียนเบอรไวเบอร 1-3

2. กระดานจดแตมคะแนนวิธีเลน

1. ใหนักเรียนจับคูแลวสงตัวแทนมาจับฉลากลูกเตาวาไดเบอรอะไร

2. จากนั้นครูแจกกระดาษคูละ 1 ใบ3. ครูกําหนดวา

ลูกปงปองเบอร 1 แตงประโยคโดยใชคํากริยาใหถูกตองลูกปงปองเบอร 2 แตงประโยคโดยใชคํากริยาใหเปนประธานลูกปงปองเบอร 3 แตงประโยคโดยใชคํากริยาใหเปนกรรม

4. ครูแยกวาคูใดจับไดเบอรใดใหทํางานบริเวณใดเบอร 1 นั่งมุมหองดานขวาเบอร 2 นั่งมุมหองดานซายเบอร 3 นั่งกลางหอง

5. ครูใหนักเรียนเขียนประโยคที่แตละคูไดบนกระดานดํา และชวยกันพิจารณาวาถูกหรือไมโดยครูชวยแกไขและอธิบายเพิ่มเติม

Page 279: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

269

ขั้นสรุปครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมาย ชนิด และหนาที่ของคํากริยา จากนั้นใหนักเรียน

ทําแบบฝกหัดทายบทเรียนเปนการบานและทําแบบทดสอบเรื่อง คํากริยา

6. สื่อการเรียนรู6. ใบความรูเร่ืองคํากริยา7. แปงที่ใชเลนเกม8. บัตรคําปริศนาทาทาง9. แบบทดสอบเรื่องคํากริยา10. เกมไขพาโชค

7. การวัดและประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 สังเกตจากการรวมกิจกรรม3.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากแบบฝกหัดทายบท3.3 การประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 280: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

270

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คาํกรยิา คอื คาํแสดงอาการกระทาํของคาํนามหรอืคําสรรพนาม หรือแสดงการกระทาํของประธานในประโยค แบงออกเปน 4 ชนิดคือ

5. สกรรมกริยา คือ คํากริยาที่ไมสมบูรณในตัวเอง จะตองมีกรรมมารับขางทาย จึงจะไดความสมบูรณตัวอยาง

- ลูกเสือกินขาว- นกจิกขาวโพด- คุณแมเขียนจดหมาย

6. อกรรมกริยา คือ คํากริยาที่มีความหมายครบถวนสมบูรณในตัวเอง ไมจําเปนตองมีกรรมมารับขางทาย

ตัวอยาง- นายกรัฐมนตรีปวย- นกเขาของเขาตายแลว- ไฟวันเฉลิมพระชนมพรรษาปนี้สวย

7. วิกตรรถกริยา หรือกริยาที่ตองอาศัยสวนเติมเต็ม เปนกริยาที่ไมมีความสมบูรณใน ตัวเอง ตองมีคํานาม สรรพนาม หรือวิเศษณมาขยายหรือมีคํามาเติมขางทายจึงจะมีความสมบูรณ กริยาพวกนี้ไดแกคําวา เปน เหมือน คลาย เทา คือ ดุจวา เสมือน ประหนึ่ง ราวกับ ฯลฯ

ตัวอยาง- ฉันเปนครู- คนดีคือผูมีเกียรติ- เขาเสมือนนักโทษคดีอุกฉกรรจ

8. กริยานุเคราะห คือ กริยาที่ทําหนาที่ชวยหรือประกอบกริยาสําคัญในประโยคใหมีความหมายชัดเจนขึ้นมี 2 ลักษณะ คือ

ลักษณะที่ 1 เปนคําที่จะมีความหมายไดก็ตอเมื่อไดชวยคํากริยาอื่นเทานั้น เชน คําวา จง อยู นาจะ ตอง แลว เปนตน

ลักษณะที่ 2 เปนคําที่ไมมีความหมายเปนของตัวเอง ตองอาศัยคํากริยาอื่น ๆ จึงจะเกิดความหมาย และมีความหมายก็จะเปลี่ยนไดตามความประสงคของผูพูดเชน คําวา เถอะ นะ ซิ หรอก เปนตน

Page 281: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

271

ตัวอยาง- ฝนนาจะตก- โปรดงดสูบบุหร่ี- เราตองทํางานเดี๋ยวนี้

หนาท่ีของคํากริยา5. ทาํหนาทีเ่ปนตวัแสดงในภาคแสดงของประโยค เชน คนไทยทกุคนควรอนรัุกษสภาวะ

แวดลอม, ลูกเสือปฏิญาณตนตอหนาธงประจําหมู เปนตน6. ทําหนาที่ขยายนาม เชน ดอกไมรอยมาลัยเปนสีชมพูทั้งหมด, สุรีย เปลี่ยนรายการ

เครื่องดื่มเล้ียงแขก เปนตน7. ทําหนาที่ขยายกริยา เชน เธอวิ่งเลนตอนเชา, คุณพอเดินหารองเทา เปนตน8. ทําหนาที่เหมือนคํานาม เชน ฉันชอบวิ่งเร็ว ๆ, เท่ียวกลางคืนมักมีอันตราย เปนตน

Page 282: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

272

ใบความรูเร่ือง คํากริยา

ประโยคประกอบดวยบทประธานและบทกริยา หรือบทประธาน บทกริยาและบทกรรมบทกริยาประกอบดวยคําซ่ึงตอบคําถาม “ทําอะไร” ได เชน

ฟารอง ทหารยิงปนน้ําไหล ชางลากซุง

เมื่อตั้งคําถามวา ฟา ทําอะไร คําตอบ คือ รองทหาร ทําอะไร คําตอบ คือ ยิงน้ํา ทําอะไร คําตอบ คือ ไหลชาง ทําอะไร คําตอบ คือ ลาก

คําวา รอง ยิง ไหล ลาก ซ่ึงทําหนาที่เปนบทกริยาของประโยค เรียกวา คํากริยา คํากริยาที่ควรรูในชั้นนี้มี 3 จําพวกคือ

4. คํากริยาที่มีใจความครบบริบูรณในตัวเอง ไมตองมีบทกรรมมารับ เชน รอง ไหล ไมจําเปนตองรูวา รองใครหรืออะไร และไหลใครหรืออะไร คํากริยาพวกนี้เรียกวา กริยาไมมีกรรมหรือ อกรรมกริยา

5. คํากริยาที่ยังไมมีใจความสมบูรณในตัวเอง ตองมีบทกรรมมารับ เชน ยิง ลาก จําเปนตองรูวา ยิงใครหรืออะไร และลากอะไร คํากริยาจําพวกนี้เรียกวา กริยามีกรรม หรือ สหกรรมกริยา

6. คํากริยาที่ยังไมมีใจความสมบูรณในตัวเอง ทําหนาที่ชวยประกอบกริยาอื่นใหมี ความหมายชัดเจนขึ้นเรียกวา กริยาชวยหรือกริยานุเคราะหเชน จะ กําลัง ได คง แลว อาจ ตอง จง โปรด ควรตัวอยาง

ฝนจะตกพายุกําลังพัดฉันไดไปที่นั่นมากอนจงทําแตความดีอากาศคงรอนจัดตะวันลับขอบฟาแลวราคาสินคาอาจลดลงอีกโปรดเอื้อเฟอแกเด็กและคนชราคนเราตองรักบานเกิดเมืองนอน

Page 283: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

273

คนไทยควรเห็นแกชาติไทย

หมายเหตุ คํากริยานุเคราะหบางคําอาจทําหนาที่เปนสกรรมกริยาไดกริยานุเคราะห สกรรมกริยาฉันไดพบเธอเมื่อวานนี้ เขาไดคะแนนสูงสุดเขาทํางานแลว เขาแลวงานเมืองไทยคงเจริญกาวหนายิ่งขึ้น เขาคงความดีไวเหมือนเกลือคงความเค็มคนเราตองตาย สิ่งนี้ตองตาฉัน

หนาท่ีของคํากริยาคํากริยาทําหนาที่ในประโยคไดตาง ๆ ดังนี้4. ทําหนาท่ีบทกริยา คํากริยาทําหนาที่บทกริยาในประโยคได ตามชนิดของกริยานั้น ๆ

คือ เปนกริยาไมมีกรรม กริยามีกรรมและกริยาชวย ตามที่กลาวมาแลว5. ทําหนาท่ีขยายนาม ใชกริยาไมมีกรรมหรือกริยามีกรรมก็ได

หนังสือเรียน ยางลบ สมุดวาดเขียนวันไหวครู น้ําดื่ม งานลอยกระทง

6. ทําหนาท่ีเหมือนนาม คือ อาจเปนประธานหรือกรรมของประโยคนอนดึกใหโทษ ทําหนาที่ประธานตื่นเชาทําใหรางกายสดชื่น ทําหนาที่ประธานเธอไมชอบสูบบุหร่ี ทําหนาที่กรรมฉันฝกวายน้ํา ทําหนาที่กรรม

Page 284: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

274

แบบทดสอบเรื่อง คํากริยา

คําสั่ง จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

16. คํากริยาแบงออกเปนกี่ชนิดก. 2 ชนิด ข. 4 ชนิดค. 6 ชนิด ง. 8 ชนิด

17. ขอใดมีคํากริยาไมตองมีกรรมก. นักเรียนไปโรงเรียน ข. ดูจบแลวหนังสือเร่ืองนี้นะค. คนดีกลายเปนคนรายไปได ง. กรุงศรีอยุธยาสรางเมื่อป 1893

18. คํากริยาในขอใดแตกตางไปจากขออ่ืนก. เจาตองหันเขาหาวิชาเบา ๆ ข. เจาเปนแตคนชั้นที่สองเทานั้นค. ขาขอถามเจาทั้งสามดวยปญหา ง. เจามีความบริบูรณดวยอาการสาม

19. คํากริยาในขอใดแตกตางจากขออ่ืนก. สมพรรักสมศรี ข. สมนึกลืมสมควรค. สมทรงเหมือนสมยศ ง. สมเดชเขาใจสมภพ

20. คํากริยาชวยในขอใดสรางความหมายใหแตกตางจากขออ่ืนก. เด็ก ๆ นาจะนอนไดแลว ข. หลอนนาจะมีอายุไมเกิน 15ค. ตึกนี้นาจะสรางในสมัยสงครามโลก ง. คําพูดนี้นาจะจําเขามาพูดมากกวา

21. คําชวยกริยาในขอใดแสดงใหเห็นวายังไมเกิดกริยานั้นก. ฉันตองทํา ข. ฉันใหทําค. ฉันทําแลว ง. ฉันจะทํา

22. ขอใดใชคําชวยกริยาไดถูกตองก. ปลาโลมาถูกมนุษยลาจนจะสูญพันธุแลวข. รายการโทรทัศนไทยไดรับการตําหนิวาไรสาระค. พอหลอนถูกชมเขาก็หนาแดงง. วันนี้ผูวาฯ ถูกเชิญใหไปออกงาน

23. คํากริยาขอใดไมทําหนาที่ตัวแสดงก. ครอบครัวบานเธอทําอาหารอรอยนาดู ข. หนาตาเขาคลายมหาโจรเสียจริงค. คุณไมเคยใชน้ํายาลางจานยี่หอนี้เลยหรือ ง. นกนอยบินลองลอยไปบนทองฟา

Page 285: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

275

24. คํากริยาในขอใดทําหนาที่ขยายคํากริยาก. แมคิดถึงความจริงขอนี้เสมอ ข. ปาฝนเห็นเลขเด็ดงวดนี้ค. พี่ชอบเพื่อนชายของงเธอจริง ๆ ง. นองเขาใจแจมแจงแลวคะ

25. ขอใดมีกริยาที่ทําหนาที่เหมือนคํานามก. ฟงดนตรีเย็น ๆ ทําใหหายเครียดได ข. โปรดอยาถามวาฉันเปนใครค. ไมมีเธอฉันก็อยูได ง. ทําการบานใหเสร็จกอนออกไปเลน

26. กริยาที่ทําหนาที่เหมือนคํานามจะใชคําใดเติมขางหนาไดโดยที่ความหมายไมเปลี่ยนแปลงก. ความ ข. วิธีค. เมื่อ ง. การ

27. คํากริยาในขอใดเปนอกรรมกริยาก. แกมองเห็นกระถางแตกนั่นไหม ข. คุณอวดแหวนแตงงานใหกับคนใชอีกแลวค. เธอสวยงามเหลือเกิน ง. น้ําซึมเขาไปในกระดาษชําระ

28. “คนเลี้ยงเด็กคนใหมนี้เขาทาดี” กริยาที่ขีดเสนใตนี้ทําหนาที่ใดก. ตัวแสดง ข. ขยายนามค. ขยายกริยา ง. เหมือนคํานาม

29. คํากริยาในขอใดเปนไดทั้งอกรรมกริยาและสกรรมกริยาก. เรียก ข. วิ่งค. ตัด ง. ขัน

30. ขอใดมีคํากริยาที่ตองอาศัยสวนเติมเต็ม (วิกตรรถกริยา)ก. ปยะคลายดาราภาพยนตรมาก ข. คนปวยควรกินอาหารออน ๆค. เราวิ่งแขงกันที่ชายหาด ง. ตนไมโคนเพราะลมแรง

Page 286: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

276

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คํากริยา

1. ข 2. ก 3. ข 4. ค 5. ก 6. ง 7. ก 8. ค 9. ข 10. ก11. ง 12. ค 13. ข 14. ง 15. ก

Page 287: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

277

ใบงาน เร่ือง คํากริยา

คําสั่ง ใหนักเรียนนําอักษรหนาขอทางขวามือ เติมในชองวางหนาขอความทางซายมือใหถูกตอง

……….1. แกวลืมคอน ก. อกรรมกริยา……….2. ยานี้ดีเหลือเกิน ข. สกรรมกริยา……….3. นายเสริมปราบนายแกวนไดทุกครั้ง ค. วิกตรรถกริยา……….4. นายเสริมเปนคูปรับของนายแกวน ง. กริยานุเคราะห……….5. พระยาพิชัย เปนบุคคลที่นายกยอง จ. คํากริยาที่ขยายนาม……….6. ความใหญโตของผลมะมวงเทาหมอ ฉ. คํากริยาทําหนาที่เหมือนคํานาม……….7. ในวันเกิดฉันตองการเพียงคําอวยพร……….8. นายวิภพยังแสดงบทบาทตัววายราย……….9. นายสายหัวเราะกราว ๆ……...10. เดินทางไกลเปนกิจกรรมหนึ่งของลูกเสือ

Page 288: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

278

เฉลยใบงาน เร่ือง คํากริยา

คําสั่ง ใหนักเรียนนําอักษรหนาขอทางขวามือ เติมในชองวางหนาขอความทางซายมือใหถูกตอง

……ข….1. แกวลืมคอน ก. อกรรมกริยา……ก….2. ยานี้ดีเหลือเกิน ข. สกรรมกริยา……ข….3. นายเสริมปราบนายแกวนไดทุกครั้ง ค. วิกตรรถกริยา……ค….4. นายเสริมเปนคูปรับของนายแกวน ง. กริยานุเคราะห……ง….5. พระยาพิชัย เปนบุคคลที่นายกยอง จ. คํากริยาที่ขยายนาม……ค….6. ความใหญโตของผลมะมวงเทาหมอ ฉ. คํากริยาทําหนาที่เหมือนคํานาม……จ….7. ในวันเกิดฉันตองการเพียงคําอวยพร……ง….8. นายวิภพยังแสดงบทบาทตัววายราย……ก….9. นายสายหัวเราะกราว ๆ……ฉ...10. เดินทางไกลเปนกิจกรรมหนึ่งของลูกเสือ

Page 289: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

279

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 290: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

280

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ือง คําวิเศษณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคาํวเิศษณ เปนคาํทีท่าํหนาทีข่ยายคาํชนดิอ่ืน ๆ ใหมคีวามหมายแจมชดัขึน้ การศกึษาคาํวเิศษณ

จะทําใหรูจัก เลือกใชคําวิเศษณใหถูกตองตามหนาที่ ชวยใหใชภาษาไดสละสลวย ไดความชัดเจน บอกรายละเอียดของคําหรือขอความใหเขาใจยิ่งขึ้น สามารถสื่อความหมายไดตรงตามวัตถุประสงค

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําวิเศษณและใชคําวิเศษณไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําวิเศษณได3.2 จําแนกชนิดของคําวิเศษณพรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคําวิเศษณแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําวิเศษณไปใชไดถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําวิเศษณ4.2 ชนิดของคําวิเศษณ4.3 หนาที่ของคําวิเศษณ

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนสุมนักเรียน 1 คน ใหหยิบดอกมะลิขึ้นมาแลวถามเพื่อนวา ดอกมะลิมีลักษณะอยางไร

ดอกมีสีอะไร มีกล่ินอยางไร จากนั้นนักเรียนชวยกันทายวาสิ่งที่นักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับมะลิ ทั้งหมดนี้ตรงกับความหมายของคําชนิดใด (เฉลย คําวิเศษณ)

Page 291: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

281

ขั้นดําเนินการสอน4. ครูอธิบายและแจกใบความรูใหกับนักเรียนเพื่อศึกษาเรื่องชนิดและหนาที่ของคํา

วิเศษณ เพิ่มเติม ใหเวลา 10 นาที จากนั้นครูอธิบายและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับชนิดและหนาที่ของคําวิเศษณ

5. ครูนําแถบประโยคติดบนกระดานดําใหนักเรียนอานโดยใหนักเรียนอานออกเสียง- เนื้อหมู ราคาแพงกวา เนื้อไก- ฉันชอบดอกไมสีชมพู- นกบินมา 9 ตัว- คนอวนมักกินจุ- อารดาตื่นแตเชา

6. ใหนักเรียนชวยกันหาคําวิเศษณจากประโยคเหลานี้ จากนั้นใหนักเรียนชวยกันบอกวาคําวิเศษณในประโยคชวยทําใหประโยคชัดเจนขึ้นอยางไร

7. ใหนักเรียนแตงประโยคโดยใชคําวิเศษณที่ครูกําหนดใหคนละ 1 ประโยค จากนั้นครูสุมนักเรียน 3-4 คน ออกมาอานใหเพื่อนฟงแลวชวยกันปรับปรุงแกไขใหถูกตองโดยครูชวยเสริมขั้นสรุป

ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมาย ชนิด และหนาที่ของคําวิเศษณใหนักเรียนจดบนัทกึลงในสมุด และทําแบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ ใหเวลา 10 นาที

6. สื่อการเรียนรู6. ใบความรูเร่ือง คําวิเศษณ7. ดอกมะลิ8. บัตรคําชนิดของคําวิเศษณ9. แบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ

7. การวัดและประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 สังเกตการรวมกิจกรรม3.2 ตรวจผลงานจากใบงาน

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

Page 292: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

282

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําวิเศษณ คือ คําที่มีความหมายบงชี้ลักษณะตาง ๆ เชน ขนาด สัณฐาน (รูปทรง) สี กล่ิน รส นอกจากนี้ยังบงชี้ สถานที่ ปริมาณ จํานวน เปนตน

10. ลักษณวิเศษณ คือ คําวิเศษณบอกลักษณะ ชนิด สี ขนาด สัณฐาน เสียง อาการ กล่ิน รส ความรูสึก ไดแกคําวา ช่ัว ดี ขาว ดํา กลม แบน เล็ก โครม เปรี้ยง เร็ว ชา หอม เหม็น เปรี้ยว หวาน เย็น รอน ฯลฯ

ตัวอยาง- แกงปานี้มีรสเผ็ด- ดอกมะลิมีกลิ่นหอม- ในโลกนี้มีทั้งคนดีและคนชั่ว

11. กาลวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกเวลาไดแกคําวา ในอดีต ปจจุบัน อนาคต เชา สาย บาย เย็น ค่ํา ฯลฯ

ตัวอยาง- เขาแสดงละครเย็นนี้- คนโบราณนับถือผีสางเทวดา- หนาหนาวนักเรียนมักจะมาสาย

12. สถานวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกสถานที่ หรือระยะทาง ไดแกคําวา ใกล ไกล เหนือ ใต ขวา ซาย หนา บน หลัง ฯลฯ

ตัวอยาง- โรงเรียนอยูไกล- เขาอาศัยอยูชั้นบน- เขาเดินทางไปทางทิศใต

13. ประมาณวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกจํานวนหรือปริมาณ ไดแกคําวา มาก นอย หมด หนึ่ง สอง สามฯ ทั้งหมด ทั้งส้ิน จุ ฯลฯ

ตัวอยาง- คุณสูบบุหร่ีมากไมดี- เขาหยุดขายของหลายวัน- เพื่อนทั้งหมดที่มากินจุท้ังสิ้น

Page 293: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

283

14. นิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความชี้เฉพาะแนนอนไดแกคําวา นี่ นั่น โนน นี้ นั้น โนน แน เอง ทั้งนี้ ทั้งนั้น อยางนั้น อยางนี้ ทีเดียว ฯลฯ

ตัวอยาง- บานนี้มีคนซื้อไปแลว- ขนมโนนฉันทําเองท้ังนั้น- ฉันเองเปนคนเลาใหเขาฟง

15. อนิยมวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่บอกความไมช้ีเฉพาะ ไมกําหนดแนนอนไดแกคําวา ใด อัน ใด ไย ไหน ทําไม เชนไร เหตุใด ฯลฯ (แตไมใชคําถาม)

ตัวอยาง- คนไหนจะนอนกอนก็ได- ปนี้เธอจะมีอายุเทาไรก็ชางเธอซิ- ซ้ือหนังสืออะไรมาใหฉันก็ไดทั้งนั้น

16. ปฤจฉาวเิศษณ คอื วเิศษณทีบ่อกเนือ้คําถามหรอืความสงสยัไดแกคาํวา ใด อะไร ไหนทําไม ฯลฯ

ตัวอยาง- คนไหนไมสงการบาน- ขนมอะไรที่เธอซื้อมา- การเลนเทนนิสมีกติกาอยางไร

17. ประติชญาวิเศษณ คือ คําวิเศษณที่แสดงถึงการขานรับในการเจรจาโตตอบไดแก คําวา จํา ครับ คะ ขา ขอรับ วะ โวย จะ พระพุทธเจา ฯลฯ

ตัวอยาง- ผมจะรับทํางานนี้ขอรับ- อาจารยขา หนูทําสมุดหายคะ- คุณครับรถไฟจะออกเดี๋ยวนี้แลว

18. ปฏเิสธวเิศษณ คอื คาํวเิศษณทีบ่อกความปฏเิสธไมยอมรับ ไดแกคาํวา ไม ไมได หามไิด บ ฯลฯ

ตวัอยาง- ฉนัมิไดโกรธคณุ- นองไมอานหนงัสอื

Page 294: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

284

- ฉันตามหาเขาแตไมพบ

หนาท่ีของคําวิเศษณคําวิเศษณมักทําหนาที่เปนสวนขยายในประโยคไดแก6. ขยายคํานาม เชน บานเกาทาสีใหม, ตนไมนี้ตองโคนทิ้ง เปนตน7. ขยายคําสรรพนาม เชน ชายคนนั้นตองเปนเขาแน, เธอท้ังหลายโปรดอยูในความสงบ

เปนตน8. ขยายคํากริยา เชน นกบินสูง, กรุณาพูดชา ๆ เปนตน9. ขยายคําวิเศษณ เชน ฉันทําเองจริง ๆ, เด็กคนนั้นกินจุมาก เปนตน10. เปนคําอกรรมกริยา หรือ กริยาที่ไมตองการกรรม เชน ด.ญ.สายฝนสวย แต ด.ญ.

น้ําคางฉลาด, ตึกหลังนี้สูง เปนตน

Page 295: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

285

ใบความรูเร่ือง คําวิเศษณ

ประโยคประกอบดวยบทประธานและบทกริยา หรือบทประธาน บทกริยา และบทกรรม แตโดยทั่วไปในประโยคหนึ่ง ๆ อาจมีบทขยายประธาน บทขยายกริยาและบทขยายกรรมเพิ่มขึ้น เนื่องจากคําที่ทําหนาที่บทประธานและบทกรรมเปนคํานามหรือคําสรรพนาม และคําที่ทําหนาที่ บทกริยาไดแก คํากริยา บทขยายตาง ๆ ในประโยคก็จะทําหนาที่ขยายคํานาม คําสรรพนาม และ คํากริยานั่นเอง คําที่ใช เปนบทขยายสวนมากเปนคําบอกลักษณะหรืออาการของคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา คําประเทนี้เรียกวา คําขยาย หรือ คําวิเศษณตัวอยาง

เด็กชายปนเขาสูงเด็ก ๆ กลัวผีเปนที่สุดฉันเลนฟุตบอลสนุก

คํา สูง ขยาย คํานาม เขา บอกขนาดเปนที่สุด ขยาย คํากริยา กลัว บอกปริมาณสนุก ขยาย คํากริยา เลน บอกอารมณ

คําวิเศษณ อาจขยายคําวิเศษณดวยกันก็ได เชนมาวิ่งเร็วมาก เตาคลานชานัก มะยมมีรสเปรี้ยวจัด

คําวิเศษณ มาก ขยายคําวิเศษณ เร็วนัก ขยายคําวิเศษณ ชาจัด ขยายคําวิเศษณ เปรี้ยว

คําวิเศษณบอกลักษณและอาการของคํานาม สรรพนาม กริยาและวิเศษณ เชนบอกปริมาณ เชน มาก นอย หมด ส้ิน ทั้งหลาย ทั้งปวง ฯลฯบอกขนาด เชน ใหญ โต ปานกลาง เล็ก จิ๋ว ฯลฯบอกสัณฐาน เชน กลม รี แบน เรียว ปอม ฯลฯบอกอาการ เชน เร็ว วองไว คลองแคลว ชา เงื่องหงอย ฯลฯบอกรส เชน จืด เค็ม เปรี้ยว หวาน มัน อรอย เผ็ด ฯลฯบอกเสียง เชน ไพเราะ ดัง คอย กังวาน แผว แหบ ฯลฯบอกสี เชน แดง ดํา เขียว ขาว ชมพู น้ําเงิน ฯลฯบอกสถานที่ เชน ใกล ไกล ใน นอก ใต ทั่ว ฯลฯบอกกําหนด เชน นี่ นี้ นั่น นั้น โนน โนน ฯลฯ

Page 296: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

286

บอกเวลา เชน เชา สาย เที่ยง บาย เย็น กอน หลัง เสร็จ ฯลฯบอกปฏิเสธ เชน ไม ไมได มิได หามิได ฯลฯบอกคําถาม เชน อะไร ทําไม อยางไร ใด ฯลฯบอกอารมณ เชน สนุก ตื่นเตน เหงา เศรา แจมใส ฯลฯบอกวัย เชน แก หนุม สาว ฯลฯบอกกลิ่น เชน หอม เหม็น ฉุน อับ ฯลฯบอกสัมผัส เชน รอน เย็น กระดาง นุม ฯลฯบอกจํานวน เชน หนึ่ง สอง สาม ส่ี หา ฯลฯบอกคํารับรอง เชน จะ จา ครับ ฯลฯหนาท่ีของคําวิเศษณ

คําวิเศษณ ทําหนาที่ขยายสวนตาง ๆ ของประโยค ดังนี้5. ทําหนาที่ขยายคํานาม

เด็กเล็กชอบเลนตุกตา ขยายนามที่เปนประธานระฆังมีเสียงกังวาน ขยายนามที่เปนกรรม

6. ทําหนาที่ขยายคําสรรพนามเราทั้งหลายเปนคนไทย ขยายสรรพนามที่เปนประธานครูใหญตองการพบเธอทั้งสอง ขยายสรรพนามที่เปนกรรม

7. ทําหนาที่ขยายคํากริยารถไฟแลนเร็ว เร็ว ขยายกริยา แลนเราเขียนหนังสือถูกตอง ถูกตอง ขยายกริยา เขียน

8. ทําหนาที่ขยายคําวิเศษณเขาพูดชัดมาก มาก ขยายคําวิเศษณ ชัดนกบินสูงลิบ ลิบ ขยายคําวิเศษณ สูง

คําวิเศษณบอกลักษณะสวนมากใชเปนคํากริยาได เชนเขาเปนคนดี ( ดี เปนวิเศษณขยายนาม คน )เขาดีตอทุกคน ( ดี เปนกริยาของสรรพนาม เขา )

คําวิเศษณบอกสถานที่ เชน ใน ใกล ไกล บน เหนือ ใต ถานําหนานามหรือสรรพนามใชเปนบุพบทได เชน

เขาอยูไกล ( ไกล เปนวิเศษณ ขยายกริยา อยู )เขาอยูไกลโรงเรียน ( ไกล เปนบุพบท นําหนานาม โรงเรียน )

Page 297: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

287

ขันใบนี้ทําดวยทองเหลือง นามไกขัน กริยาไมมีกรรมเขาขันเชือก กริยามีกรรมเขาพูดขัน วิเศษณกันจะไปหาเธอ สรรพนามเขากันฉันไว กริยาชางตัดผมกันจอนของฉันเกลี้ยงเกลา กริยาพวกเรารับประทานอาหารกัน วิเศษณฉันเปนนักเรียน สรรพนามพระฉันอาหาร กริยาเราคบกันฉันเพื่อน บุพบทคนเดิน กริยาไมมีกรรมเขาเดินหมากรุก กริยามีกรรมดีชวยยอยอาหาร นามเขาเปนคนดี วิเศษณเขาดีตอฉัน กริยาพัดดานนี้ทําดวยไมจันทร นามลมพัด กริยาไมมีกรรมลมพัดใบไม กริยามีกรรมปลาติดยอ นาม (เครื่องมือจับปลา)ผลยอใชทํายา นาม (ผลไม)เธออยายอฉันเกินไป กริยาบานของฉันอยูใกล วิเศษณบานของฉันอยูใกลโรงเรียน บุพบทเขายืนหาง วิเศษณเขายืนหางโตะ บุพบทเราจากโรงเรียน กริยาเรามาจากโรงเรียน บุพบท

ขัน

กัน

ฉัน

เดิน

พัด

ดี

ยอ

ใกล

หาง

จาก

Page 298: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

288

แบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง

11. คําวิเศษณ คือ ……………………………………………………………………………………12. คําวิเศษณแบงออกเปน…………ชนิด ไดแก……………………………………………………13. “ทั้งมีคนเลือกใชใบหนาหนา” คําวิเศษณในขอความนี้คือ………………………………………

เปนคําวิเศษณชนิด………………………………………………………………………………14. “มนุษยที่เกิดมาในเวลาขางหนา” คําวิเศษณในขอความนี้คือ……………………………………

เปนคําวิเศษณชนิด………………………………………………………………………………15. “อวดโลกไดไทยแทอยางแนนอน” คําวา แนนอน เปนคําวิเศษณชนิด………………………….16. “ก็สุดแทแตแมเจาจะโปรดเถิดเจาขา” คําวา เจาขา เปนคําวิเศษณชนิด………………………….17. “อาบน้ํารอนกอนเจาขาเขาใจ เมื่อไมใหแลวก็วาสารพัน” ขอความนี้มีคําวิเศษณอยูคือคําวา……

…………………………………………………………………………………………………..18. “ตาพลอยดีมีจําปาบูชาพระ” คําวิเศษณในขอความนี้คือ………………………………………...

เปนคําวิเศษณชนิด………………………ทําหนาที่ขยาย……………………………………….19. “พูดทําไมวาจะชวยใหปวยการ” คําวา ทําไม เปนคําวิเศษณชนิด………………………………..20. “ฉันตองการทําอยางที่พูดเอาไว” คําวิเศษณในขอความนี้คือ…………...……เปนคําวิเศษณ

ชนิด …………………………ทําหนาที่ขยายคํา………………………………………………

Page 299: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

289

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คําวิเศษณ

11. คําที่ทําหนาที่ขยายคํานาม สรรพนาม กริยา และวิเศษณใหมีเนื้อความแปลงออกไป12. 10 ชนิด ไดแก ฉักษณวิเศษณ กาลวิเศษณ สถานวิเศษณ ประมาณวิเศษณ นิยมวิเศษณ

อนิยมวิเศษณ ปฤฉาวิเศษณ ประพันธวิเศษณ ประติชญาวิเศษณ และประติเษธวิเศษณ13. หนา เปนคําวิเศษณชนิด ลักษณวิเศษณ14. ขางหนา เปนคําวิเศษณชนิด กาลวิเศษณ15. นิยมวิเศษณ16. ประติชญาวิเศษณ17. 3 คํา คือ รอน ไม สารพัน18. ดี เปนคําวิเศษณชนิดลักษณวิเศษณ ทําหนาที่ขยายคํานาม19. ปฤจฉาวิเศษณ ทําหนาที่ขยายคํากริยา20. อยางที่ เปนคําวิเศษณ ชนิด ประพันธวิเศษณ

Page 300: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

290

ใบงานเรื่อง คําวิเศษณ

คาํสัง่ ใหนกัเรยีนนาํอักษรหนาขอความทางขวามอืเตมิในชองวางหนาขอความทางซายมอืใหถูกตอง

11. การเตรียมกายมิไดหมายถึงการนุงขาวหมขาว ก. ลักษณวิเศษณ12. ดอกไมอ่ืนดื่นไปมีไมนอย ข. กาลวิเศษณ13. หนาบึ้งแผดเสียงเยี่ยงกุมภัณฑ ค. สถานวิเศษณ14. นายทองดีกระโดดไดสูงอยางที่มวยจีนไดกระทํากัน ง. ประมาณวิเศษณ15. พลทหารมาทั้งปวงก็แตกไปคายส้ิน จ. นิยมวิเศษณ16. นี่พิจะคะชะลอมที่วา ฉ. อนิยมวิเศษณ17. บานของทานขายเทาไรใหราคา ช. ปฤจฉาวิเศษณ18. เขาทําพิธีบวชตั้งแตโมงเชา ญ. ประพันธวิเศษณ19. คนภูมิใจ คือ นายแกวนผูแสดงเปนเสือโครงนั่นเอง ต. ประติชญาวิเศษณ20. พอมีอันตรายกับลูก พอปลาก็จะวายมาใกล ๆ ถ. ประติเษธวิเศษณ

ท. วิเศษณทําหนาที่กริยาธ. วิเศษณทําหนาที่ขยายวิเศษณ

Page 301: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

291

เฉลยใบงานเรื่อง คําวิเศษณ

11. ถ12. ฉ13. ก14. ญ15. ง16. ต17. ช18. ข19. จ20. ค

Page 302: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

292

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 303: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

293

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ือง คําบุพบท ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญ คําบุพบท เปนคําที่นําหนาคําอ่ืน ๆ เพื่อทําหนาที่โยงคําหรือกลุมคํา เพื่อใหสัมพันธกับ

คําอ่ืน ๆ เพื่อแสดงความหมายตาง ๆ การศึกษาเรื่อง คําบุพบท จะนําไปใชไดถูกตองเหมาะสมสามารถสื่อความหมายไดชัดเจนตรงตามจุดประสงค

2. ผลการเรียนท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําบุพบท และใชคําบุพบทไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําบุพบทได3.2 จําแนกชนิดของคําบุพบทพรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคําบุพบทแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําบุพบทไปใชไดอยางถูกตอง

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําบุพบท4.2 ชนิดของคําบุพบท4.3 หนาที่ของคําบุพบท

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียน

ครนูาํบทประพนัธส้ัน ๆ ทีเ่ขยีนบนแผนภมูมิาตดิทีก่ระดานดาํแลวใหนกัเรยีนอานพรอมกนัมนัเปนเรือ่ง……เขาเราไมเกีย่ว แตอยาเทีย่วโวยวาย……ภายหลัง

เดีย๋วเจาตบูทีน่อนอยู……ลัง จะลกุขึน้นัง่ฟงอยางราํคาญดเูจาเหมยีวนัง่บน……หลังคา มนัคงวาคนยุงและฟุงซานอยากจะหนไีปอยู……บาดาล นารําคาญคนเรือ่งมากไมอยากเจอใหนกัเรยีนเตมิคาํลงในชองวางใหเหมาะสมจากนัน้ครเูฉลย ( ของ เมือ่ ใน บน ใต )

Page 304: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

294

ขั้นดําเนินการสอน4. ใหนักเรียนศึกษาความหมาย ชนิด และหนาที่ของคําบุพบทจากใบความรูเพิ่มเติม

ครูอธิบายและยกตัวอยางประกอบใหเห็นชัดเจน (ใหเวลา 10 นาที)5. ใหนักเรียนแตงประโยคโดยใชคําบุพบทที่ยกตัวอยางมาคนละประโยคแลวอานให

เพือ่นฟง6. นักเรียนที่ฟงอยูชวยกันบอกวาคําบุพบทที่ยกตัวอยางมาคนละประโยคแลวอานให

เพือ่นฟง

6. สื่อการเรียนรู7. ใบความรูเร่ือง คําบุพบท8. แผนภูมิคําประพันธ9. แบบทดสอบเรื่อง คําบุพบท

7. การวัดและประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 สังเกตการรวมกิจกรรม3.2 สังเกตการรายงานหนาชั้นเรียน3.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

Page 305: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

295

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําบุพบท แปลวา คําที่มาขางหนาในการสื่อสาร คําบุพบททําหนาที่โยงคําหนึ่งหรือ กลุมคําหนึ่งใหสัมพันธกับคําอ่ืน หรือกลุมคําอ่ืน เพื่อแสดงความหมายตาง ๆ เชน ลักษณะ เหตุผล เวลา สถานที่ เจาของ เปนตน ไดแกคําวา ใน แก จน ของ ดวย โดย กับ แต ตอ ใกล ไกล ฯลฯ

ตัวอยาง- ครูใหความรูแกลูกศิษย - โจทยยื่นคํารองตอศาล- เขาเดินทางโดยเครื่องบิน - ฉันซอนเงินใตหมอน- ครูตองเสียสละเพื่อศิษย - นองไปเที่ยวกับเพื่อน- อุทยานเขาใหญอยูท่ีจังหวัดนครราชสีมา- เขาตอวาจนสาแกใจ- นักเรียนตองมาโรงเรียนแตเชา- ฉันถวายภัตตาหารเพลแดพระสงฆ- วาวติดอยูบนตนไม- เขาทํางานอยูเกือบ 10 ปจึงใชหนี้หมด- รถของคุณพอถูกชน- บานของฉันอยูริมถนน

ตําแหนงของคําบุพบท5. นําหนาคํานาม เชน รางวัลสําหรับเด็กดีคือเสียงปรบมือ, ขาวฟางเปนอาหารของ

นกหงษหยก เปนตน6. นําหนาคําสรรพนาม เชน ฉันทําขนมนี้เพื่อเธอ, ฉันจะไปกับเขา เปนตน7. นําหนาคํากริยา เชน คุณแมเตรียมอาหารสําหรับรับประทาน, เขาไดรับบาดเจ็บ

ระหวางเดินทาง เปนตน8. นําหนาคําวิเศษณ เชน หลอนใจรายสิ้นดี, เขาพูดไปตามความจริง เปนตน

Page 306: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

296

หนาท่ีของคําบุพบท6. นําหนาคํานาม เชน สุรียไปกับพอ, หนังสือของจารุณีหายไป เปนตน7. นําหนาคําสรรพนาม เชน ผมจะอยูใกลคุณเสมอ, เขามายืนอยูขางฉันตลอดเวลา

เปนตน8. นําหนาคํากริยา เชน เรากินเพื่ออยู, สมพงษทํางานจนลมเจ็บ เปนตน9. นําหนาคําวิเศษณ เชน คุณตองมาหาผมโดยเร็ว เปนตน10. นําหนาประโยค เชน ทานใหรางวัลเฉพาะนักเรียนที่มีผลการเรียนดีเดนเทานั้น

เปนตน

Page 307: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

297

ใบความรูเร่ือง คําบุพบท

คํานาม คําสรรพนามทําหนาที่เปนบทประธาน คํากริยาทําหนาที่เปนบทกริยาในประโยค คําทั้งสามชนิดนี้อาจทําหนาที่ขยายคําที่อยูขางหนาได ถานําคําชนิดหนึ่งมานํา

ตัวอยางแจกันบนโตะกระเปาของฉันตื่นแตเชากินเพื่ออยู

บน นําหนา นาม โตะ เพื่อขยายนาม แจกันของ นําหนา สรรพนาม ฉัน เพื่อขยายนาม กระเปาแต นําหนา นาม เชา เพื่อขยายกริยา ตื่นเพื่อ นําหนา กริยา อยู เพื่อขยายกริยา กินคํา บน ของ แต เพื่อ ซ่ึงนําหนาคํานาม สรรพนามหรือกริยา เพื่อเชื่อมกับคําขางหนา

และขยายคําขางหนาเหลานี้ เรียกวา บุพบทคําบุพบท คือ คํานําหนาคําอื่นเพื่อบอกลักษณะตาง ๆ เชน

6. บอกสถานที่ เชน ใน ใกล ที่ ณ เหนือ บน ใต จาก ถึง ยังปลาในแมน้ํา โรงเรียนบนภูเขาบานอยูใกลวัด บัวใตน้ําฉันไปหาเธอที่บาน เขามาจากทองนาเขาอยู ณ ประเทศฝรั่งเศส เรามาถึงโรงเรียนแมลงบินเหนือดอกไม นักกีฬาออกไปยังสนาม

7. บอกความเปนผูรับ เชน แก แด เพื่อ ตอพอแมใหเงินแกลูกทหารตอสูศัตรูเพื่อชาติชาวบานถวายอาหารแดพระภิกษุนักเรียนเสนอรายงานการศึกษานอกสถานที่ตอครู

Page 308: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

298

8. บอกเวลา เชน เมื่อ แต ตั้งแต ตราบเทาวีระมาโรงเรียนแตเชาชูใจปวยตั้งแตสัปดาหกอนอาจารยใหการบานเมื่อวันศุกรช่ือเสียงของสุนทรภูอยูมาตราบเทาทุกวันนี้

9. บอกความเปนเคร่ืองใชหรือการกระทํารวมกัน เชน ดวย กันฉันเห็นเขากับตาหญิงสองคนนั้นไปดวยกันลูกเสือกับยุวกาชาดชวยกันทํางาน

10. บอกความเปนเจาของ เชน ของ แหงนี่เปนหนังสือของฉันความพรอมเพรียงแหงหมูคณะทําใหเกิดสุข

หนาท่ีของคําบุพบทคําบุพบท ทําหนาที่นําหนาคําชนิดตาง ๆ เพื่อขยายคําขางหนา ดังนี้4. นําหนาคํานาม

นักเรียนตองรักษาสมบัติของโรงเรียนทุกคนตองเห็นแกชาติ

5. นําหนาคําสรรพนามคุณครูหวังดีตอเรากุญแจหองอยูที่เธอ

6. นําหนาคํากริยานี่เปนถังสําหรับใสขยะอยาเปนคนเห็นแกกิน

Page 309: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

299

แบบทดสอบ เร่ือง คําบุพบท

จงเลือกคําตอบที่ถูกท่ีสุดเพียงขอเดียว11. ขอใดคือคําจํากัดความของคําบุพบท

ก. คําขยายข. คําที่ใชแทนคํานามค. คํานําหนาบทง. คําตามหลังบท

12. คําบุพบททําหนาที่อะไรก. แทนนาม สรรพนาม คํากริยาบางพวกและวิเศษณข. ขยายนาม สรรพนาม กริยาบางพวกและวิเศษณค. บอกตําแหนงของนาม สรรพนาม กริยาบางพวกและวิเศษณง. บอกความหมายของนาม สรรพนาม กริยาบางพวกและวิเศษณ

13. ขอใดมีคําบุพบทนําหนาคําวิเศษณก. ดวงดาวอยูบนฟาข. นองอาบน้ําโดยเร็วค. เขามอบขนมแกเด็กยากจนง. คุณควรเห็นแกฉันบาง

14. ขอใดมีคําบุพบทก. พี่และนองกําลังวิ่งเลนข. ใครกําลังวิ่งเลนที่สนามค. เธอขยันเพราะกลัวสอบตกง. ทําไมเธอตองขยัน

15. “ราษฎรยื่นคํารอง………นายอําเภอ” คําใดควรนํามาเติมในชองวางก. แตข. แกค. ตอง. สําหรับ

Page 310: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

300

16. “นายจางใหของขวัญ………ลูกจาง” คําใดควรนํามาเติมในชองวางก. แดข. แกค. เพื่อง. ตอ

17. คําวา ใต ในขอใดเปนคําบุพบทก. เพื่อนฉันเปนคนใตข. พายุพัดมาจากทางใตค. ใครจะไปใตบางง. มีรังมดอยูใตเตียง

18. คําวา ที่ ในขอใดไมใชคําบุพบทก. ฉันพักที่บานคุณปาข. รานอาหารที่สะอาดมักขายดีค. เรานัดกันที่โรงภาพยนตรง. คุณแมทํางานที่เชียงใหม

19. ขอความนี้มีคําบุพบทกี่คํา “พอกับแมอยูดวยกันที่ขอนแกน แตเพื่อลูกแมจึงเดินทางโดยรถไฟมาแตเชา”ก. 5 คําข. 6 คําค. 7 คําง. 8 คํา

20. “ทานเปนผูเชี่ยวชาญ……โรคภูมิแพ” คําใดควรนํามาเติมในชองวางก. ทางข. ในค. ของง. ดวย

Page 311: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

301

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คําบุพบท

11. ค12. ค13. ข14. ข15. ค16. ข17. ง18. ข19. ค20. ก

Page 312: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

302

ใบงานเรื่อง คําบุพบท

จงเติมคําลงในชองวางใหถูกตองเหมาะสม

คร้ันนัน้พระมหาสตัวตรัสกะนางมณเีมขลาวา “ทานพดูอะไรอยางนัน้ เราทาํความพยายาม………ตายก็จักพนครหา” ตรัสฉะนี้แลว………กลาวคาถาวา “บุคคลเมื่อกระทําความเพียร แมจะตายกช่ื็อวาไมเปนหนีใ้นระหวางหมูญาต ิ เทวดา………บดิามารดา อนึง่บคุคลเมือ่ทาํกจิอยางลูกผูชาย ………ไมเดือดรอนในภายหลัง” ลําดับนั้น เทวดากลาวคาถากะพระมหาสัตววา “การงานอันใดยังไมถึงที่สุด………ความพยายาม การงานอันนั้นก็ไรผล มีความลําบากเกิดขึ้น การทําความพยายามในฐานะอันไมสมควรใดจนความตายปรากฏขึ้น ความพยายามอันไมสมควร………จะมีประโยชนอะไร” เมื่อนางมณี เมขลากลาวอยางนี้แลวพระมหาสัตว เมื่อจะทํานางมณีเมขลา…………จํานนตอถอยคํา จึงไดตรัสคาถาตอไปวา “ดูกอนเทวดา ผูใดรูแจงวาการงานที่ทําจะไม………ไปไดจริง ๆ ช่ือวาไมรักษาชวีติของตน ถาผูนัน้ละความเพยีรในฐานะเชนนัน้เสยีกจ็ะพงึรูผล………ความเกยีจคราน ดูกอนเทวดา คนบางคนในโลกนี้เห็นผล………ความประสงคของตนจึงประกอบการงานทั้งหลาย การงานเหลานั้นจะสําเร็จหรือไมก็ตาม”

(พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช “พระมหาชนก”)

Page 313: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

303

เฉลยใบงานเรื่อง คําบุพบท

จงเติมคําลงในชองวางใหถูกตองเหมาะสม

คร้ันนัน้พระมหาสตัวตรัสกะนางมณเีมขลาวา “ทานพดูอะไรอยางนัน้ เราทาํความพยายามแมตายกจ็กัพนครหา” ตรัสฉะนีแ้ลวจงึกลาวคาถาวา “บคุคลเมือ่กระทาํความเพยีร แมจะตายกช่ื็อวาไมเปนหนี้ในระหวางหมูญาติ เทวดาและบิดามารดา อนึ่งบุคคลเมื่อทํากิจอยางลูกผูชาย ยอมไมเดือดรอนในภายหลัง” ลําดับนั้น เทวดากลาวคาถากะพระมหาสัตววา “การงานอันใดยังไมถึงที่สุดดวยความพยายาม การงานอันนั้นก็ไรผล มีความลําบากเกิดขึ้น การทําความพยายามในฐานะอันไมสมควรใดจนความตายปรากฏขึ้น ความพยายามอันไมสมควรนั้นจะมีประโยชนอะไร” เมื่อนางมณีเมขลากลาวอยางนี้แลวพระมหาสัตวเมื่อจะทํานางมณีเมขลาใหจํานนตอถอยคํา จึงไดตรัสคาถาตอไปวา “ดูกอนเทวดา ผูใดรูแจงวาการงานที่ทําจะไมลุลวงไปไดจริง ๆ ช่ือวาไมรักษาชีวิตของตน ถาผูนั้นละความเพียรในฐานะเชนนั้นเสียก็จะพึงรูผลแหงความเกียจคราน ดูกอนเทวดา คนบางคนในโลกนี้เห็นผลแหงความประสงคของตนจึงประกอบการงานทั้งหลาย การงานเหลานั้นจะสําเร็จหรือไมก็ตาม”

Page 314: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

304

ใบงานเรื่อง คําบุพบท

คําสั่ง จงเติมคําบุพบทลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตอง

11. เราควรบําเพ็ญประโยชน…………………………สวนรวม12. นักเรียนสงการบาน………………………ครู13. นักเรียนบอก…………………………ครูวาขอสอบยาก14. นักเรียนมอบหนังสือที่ระลึก…………………………อาจารยใหญ15. อาจารยใหญใหพร……………………นักเรียน16. คนไทยมีความจงรักภักดี………………………พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว17. บัวเกิด………………ตม18. เขาคิดเลข…………………วิธีนี้ไมถูก19. เขามาโรงเรียน…………………รถยนตประจําทาง20. เขาเขียนหนังสือ……………….ปากกา

Page 315: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

305

เฉลยใบงานเรื่อง คําบุพบท

11. แก12. แก13. กับ14. แด15. แก16. ตอ17. แต18. ดวย19. โดย20. ดวย

Page 316: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

306

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 317: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

307

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 6 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ือง คําสันธาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคําสันธาน เปนคําสําหรับเชื่อมความ ชวยใหการใชภาษาตอเนื่องสละสลวย และบอก

ลักษณะใจความของประโยคนั้น ๆ คําสันธานจําแนกเปนหลายชนิด แตละชนิดมีหนาที่ใชตางกัน การศึกษาเรื่องคําสันธาน ใหเกิดความรูความเขาใจ จะสามารถนําไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําสันธานและใชคําสันธานไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําสันธานได3.2 จําแนกชนิดของคําสันธาน พรอมยกตัวอยางได3.3 บอกหนาที่ของคําสันธานพรอมยกตัวอยางได3.4 นําคําสันธานไปใชไดถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําสันธาน4.2 ชนิดของคําสันธาน4.3 หนาที่ของคําสันธาน

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนเลือกตวัแทนนกัเรยีนออกมาหนาชัน้ 2 คน ใหคนที ่1 ถือกระเปาหนงัสอืและคนที ่2 หอบ

หนังสือเรียน จากนั้นถามนักเรียนในหองวา บุคคลทั้ง 2 กําลังทําอะไร ใหเพื่อน ๆ ในหองเรียนตอบแลวครูสนทนาตอวาถานํา 2 ประโยคมาเขียนหรือเรียงติดกันเราตองใชคําชนิดใดเปนตัวเชื่อมใหใจความเขากันได (ขอเสนอแนะถานักเรียนตอบไมได เพิ่มวาเปนคําสันธาน ที่นักเรียนไดเรียนไปเมื่อตอนอยูช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1)

Page 318: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

308

ขั้นดําเนินการสอน6. ครูอธิบายและใหนกัเรยีนศกึษาใบความรูเร่ือง คาํสันธาน เพิม่เตมิในเวลา 10 นาท ีแลว

อภปิรายประโยครวมกนั โดยใหนักเรียนอานแถบประโยค 3 ประโยคแลวหาคําสันธานในประโยคเหลานั้น

ตัวอยางประโยค- ฉันกับนองไปโรงเรียน- ถาเธอไมขยันอานหนังสือ เธอก็สอบตก- สมพรเปนทหาร แตสมฤทัยเปนครู

7. ครูใหนักเรียนทุกคนเขียนประโยคความเดียวคนละ 1 ประโยค จากนั้นใหนักเรียน จับคูกัน โดยนําประโยคของทั้งสองคนมารวมเปนประโยคเดียว โดยใชคําสันธานเชื่อมแลวอานประโยคใหเพื่อนฟง เพื่อนในหองรวมกันอภิปรายวาคําในประโยคคําใดเปนคําสันธานและประโยคเดิมคือประโยคอะไรขั้นสรุป

ครแูละนกัเรยีนรวมกนัสรปุความหมาย ชนดิ และหนาทีข่องคาํสนัธาน นกัเรยีนบนัทกึลงในสมดุ จากนัน้ใหนกัเรยีนทาํแบบทดสอบเรือ่ง คาํสนัธาน ในเวลา 10 นาที

6. สื่อการเรียนรู6. ใบความรูเร่ือง คําสันธาน7. บัตรคําเพื่อเขียนประโยคคําสันธาน8. กลองใสบัตรคํา9. ใบงานเรื่อง คําสันธาน10. แบบทดสอบเรื่อง คําสันธาน

7. การวัดผลและประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 ตรวจผลงานนักเรียนจากใบงาน3.2 สังเกตการรายงานหนาชั้นเรียน3.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะที่พึงประสงค

Page 319: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

309

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

คําสันธาน คือ คําที่ทําหนาที่เชื่อมคํากับคํา ประโยคกับประโยค ขอความกับขอความ หรือเชื่อมความใหลละสลวย

หนาท่ีของคําสันธาน5. เชื่อมคํากับคํา เชน เธอชอบมะละหรือกุหลาบ, สมบัติปลูกกุหลาบ ซอนกล่ินและ

จําป, เด็กชายดํากับเด็กชายแดงเรียนหองเดียวกัน เปนตน6. เช่ือมขอความ เชน การสงเสยีงดงัในหองสมดุเปนการกระทาํทีไ่มดรีบกวนผูอ่ืนเพราะ

ฉะนัน้จงึตองมกีฏหามสงเสยีงดงัตดิประกาศไว, คนเราตองการอาหาร เสือ้ผา เครือ่งนุงหม ทีอ่ยูอาศยัและยารักษาโรคดวยเหตุนี้เราจึงจําเปนตองประกอบอาชีพเพื่อใหไดเงินมาซื้อส่ิงจําเปนเหลานี้เปนตน

7. เชื่อมประโยคกับประโยค เชน นองไปโรงเรียนไมไดเพราะไมสบาย, พี่สวยแตนอง ขี้เหร, เขาเกียจครานเขาจึงสอบตก เปนตน

8. เชื่อมความใหสละสลวย เชน เราก็เปนคนจริงคนหนึ่งเหมือนกัน, คนเราก็ตองมี ผิดพลาดบางเปนธรรมดา เปนตน

ชนิดของคําสันธาน คําสันธาน มี 3 ชนิดคือ4. เชื่อมใจความที่คลอยตามกัน ไดแกคําวา กับ, ทั้ง…และ, ทั้ง…ก็, คร้ัน…จึง, พอ…ก็

ฯลฯตัวอยาง

- คร้ันไดเวลาเธอจึงออกไปพูดบนเวที- พอพระอาทิตยลับขอบฟาฝูงนกก็บินกลับรัง- หนอยและหนิงเปนนักกีฬาที่มีความสามารถ

5. เชื่อมใจความที่ขัดแยงกัน ไดแกคําวา แต, แตวา, ถึง……ก็, กวา……ก็ ฯลฯตัวอยาง

- เขาอยากรวยแตใชเงินฟุมเฟอย- กวาตํารวจจะมาถึงคนรายก็หนีไปแลว- ถึงฝนตกหนักฉันเดินฝาสายฝนกลับบาน

Page 320: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

310

6. เชื่อมใจความที่ใหเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง ไดแกคําวา หรือ, หรือไมก็, ไมเชนนั้น, มิฉะนั้นก็, ไม…ก็ ฯลฯตัวอยาง

- คุณจะทานขาวหรือขนมปง- ไมเธอก็ฉันตองจายเงินคาอาหารมื้อนี้- เราตองเลิกทะเลาะกันมิฉะนั้นงานจะไมสําเร็จ

Page 321: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

311

ใบความรูเร่ือง คําสันธาน

คําสันธาน คือ คําที่ใชเชื่อมคํากับคํา หรือประโยคกับประโยค สันธานเชื่อมคํากับคํา เชน และ กับ หรือตัวอยาง

ฉันรักพอและแมเราเขียนหนังสือดวยปากกากับดินสอเราจะไปรถยนตหรือรถไฟ

ประโยคที่นักเรียนไดเรียนมาแลวลวนเปนประโยคเดี่ยว ประโยคเดี่ยวเหลานี้อาจรวมกันไดโดยใชคําสันธานมาเชื่อมตัวอยาง

ฉันไปโรงเรียนนองไปโรงเรียน

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน ฉันและนองไปโรงเรียนพี่กินขาวฉันนอนหลับ

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน พี่กินขาวแตตองนอนหลับเขาขยันเขาสอบไลได

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน เขาขยันเขาจึงสอบไลได หรือ เขาขยันจึงสอบไลไดเธอจะไปคนเดียวเธอจะไปกับฉัน

ประโยคทั้งสองนี้อาจรวมกันเปน เธอจะไปคนเดียวหรือเธอจะไปกับฉัน หรือ เธอจะไปคนเดียวหรือจะไปกับฉัน

คาํ และ แต หรือ จงึ ซ่ึงใชเช่ือมประโยคตัง้แตสองประโยคเขาดวยกนั เรียกวา สันธาน

Page 322: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

312

หนาท่ีของคาํสนัธานสันธานทาํหนาที ่2 ประการคอื3. เช่ือมคาํกบัคาํ ใช และ กบั หรือ

ฉนัชอบนทิานเรือ่งยายกบัตาเราไดความรูจากคณุครแูละหนงัสอืนทิานอหิรานราชธรรมเปนของอหิรานหรอืเปอรเซยี

4. เช่ือมประโยคกบัประโยคคาํสันธานเชือ่มประโยค นอกจากทาํหนาทีเ่ช่ือมประโยคตัง้แตสองประโยคขึน้ไปเขา

ดวยกนัแลว ยงัทาํใหประโยครวมมเีนือ้หาแตกตางกนัไป ดงันี้ก. ความรวมกนัและคลอยตามกนั ใช และ ทัง้…และ …คร้ัน…แลว…ก ็ แลว…ก็

เชนทัง้พระอภยัมณแีละศรีสุวรรณตองไปเรยีนวชิานอกเมอืงคร้ันพระอภยัมณเีรียนวชิาปสําเรจ็แลวพราหมณกค็นืทองแสนตาํลึงให

ข. ความขดัแยง ใช แต แตทวาวชิาของพระอภยัมณมีคีณุประโยชนแตทวาไมเปนทีพ่อพระทยัของพระบดิา

ค. ความเลอืกเอาอยางหนึง่อยางใด ใช หรือ มฉิะนัน้ เชนลูกแพะหรอืพอแพะดาเสอืคนในชาตติองมคีวามสามคัคตีอกนัมฉิะนัน้ชาตจิะอยูไมรอด

ง. ความเปนเหตเุปนผลแกกนั ใช จงึ เพราะ…จงึ เพราะฉะนัน้…จงึ เชนพระนลมไิดชําระพระบาทจงึถูกกลเีขาสงิเพราะพระนลถกูกลเีขาสงิ พระองคจงึละทิง้ธรรมจรรยา

แบบทดสอบเรือ่ง คาํสนัธาน

Page 323: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

313

คาํสัง่ใหเลือกคาํตอบทีถ่กูท่ีสดุเพยีงขอเดยีวก. สินสมทุรคดิถึงพระอภยัมณีข. สินสมทุรดาํน้าํไปถงึเรอืพระอภยัมณอียางรวดเรว็ค. สินสมทุรตองรบชนะอศุเรนเพราะเปนคนมอืถึงง. สินสมทุรตองการใหนางสวุรรณมาลไีดกบัพระอภยัถึงไมยอมมอบนางใหอุศเรน

11. ถึงในขอใดทาํหนาทีเ่ปนคาํสันธาน………………………………………………………………12. ถึงในขอใดทาํหนาทีเ่ปนคาํบพุบท………………………………………………………………..13. ถึงในขอใดทาํหนาทีค่าํกรยิา……………………………………………………………………...14. ถึงในขอใดทาํหนาทีเ่ปนคาํวเิศษณ……………………………………………………………….

ก. สมงินครอนิทรบอบช้าํมากจงึตรอมใจตายข. สมงิพระรามฟงรบัสัง่แลวกถ็วายบงัคมลาออกมาทีอ่ยูค. สมงิพระรามไมซอนอาวธุในกายมฉิะนัน้กจ็ะประสบชะตากรรมอยางสมงินครอนิทรง. กวาพลายประกายมาศจะขึน้จากหลมไดพมาตองใชชางพลายลอ

15. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความเลอืกเอาอยางใดอยางหนึง่…………………………………………..16. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความตอเนือ่งกนั………………………………………………………….17. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความแยงกนั……………………………………………………………...18. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มความเปนเหตผุลแกกนั…………………………………………………...19. ขอใดไมมสัีนธานเชือ่มคาํกบัคาํ

ก. สมงิอายมนทะยากบัทหารแปดคนเขาไปถวายมงัรายกะยอฉะวาข. สมงิพระรามไมไดซอนอาวธุไวกบัตวัค. สมเดจ็พระเจาราชาธริาชใหมพีระสาสนกบัเครือ่งราชบรรณาการไปถวาย

พระเจามณเฑยีรทองง. ถาเราใหอํามาตยทนิมณกีรอดกบัสมงิพระรามมาเสยีท่ีนีอุ่ปมาดงัพระพาหาขาดสิน้

20. ขอใดมคีาํสันธานเชือ่มคาํกบัคาํก. สมเดจ็พระเจาราชาธริาชกต็รัสอาํนวยชยัประสาทพระพรใหสมงิพระรามข. สมงิพระรามไดฟงกไ็มสะดุงครัน่ครามค. สมงิพระรามกเ็ขาไป ณ พลับพลาในคายง. พระเจามณเฑยีรทองหรอืพระเจาฝรัง่มงัฆอง

เฉลยแบบทดสอบเรือ่ง คาํสนัธาน

Page 324: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

314

11. ง12. ก13. ข14. ค15. ค16. ข17. ง18. ก19. ข20. ก

ใบงานเรือ่ง คาํสนัธาน

Page 325: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

315

ตอนที ่1 ใหนกัเรยีนเตมิคาํหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง6. คําสันธาน คือ ………………………………………………………………………...7. คําสันธานแบงเปน……………ชนิด ไดแก…………………………………………..8. “เมือ่นายทองดพีกัแรมอยูกลางปากผ็ลัดกนัสมุไฟอยูยาม” คาํสันธานในขอความนีค้อื

……………เปนคาํสันธานชนดิ……………………………………………………….9. “เมือ่ตองใชทนุกระหน่าํกท็าํเนา นีง้านเบาทนุไมมากลาํบากกาย” สันธานในขอความนี้

คือ…………………เปนสันธานชนิด………………………………………………...10. คําสันธานที่ใชเชื่อมความใหเปนเหตุเปนผลกัน ไดแกคําวา………………………….

ตอนที่ 2 ใหนักเรียนเขียนเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และ หนาขอความที่ไมถูกตอง………1. “ผูใดไมชอบสัตว เชน หมา แมว หน ูหรือไก” ขอความนีม้สัีนธานใหเลือกเอาอยาง

ใดอยางหนึ่ง………2. “อันที่นาอื่นหมื่นแสนไร ปลูกตาลไดเปนสมบัติควรจัดหา” ขอความนี้มีสันธาน

เชื่อมความเพื่อใหสละสลวย………3. “สวนใบแกเขาเกบ็มาเยบ็หมวก โครงไมรวกกุนขอบประกอบส”ี ขอความนีม้ี

สันธาน เชื่อมความเพื่อใหสละสลวย………4. “พราหมณสามคนนัน้สงสยัวา วชิาปพระอภยัดอียางไร” ขอความนีม้สัีนธานเชือ่มคาํ

กับประโยค………5. “นายแกวนถูกอุปโลกนใหเปนตัวราย ตัวโจร หรือตัวดาวรายทุกที” ขอความนี้มี

สันธานทําหนาที่เชื่อมคํากับคํา

เฉลยใบงานเรื่อง คําสันธาน

Page 326: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

316

ตอนที่ 16. คําสันธาน คือ คําพวกหนึ่งที่ใชเชื่อมถอยคําใหติดตอเปนเรื่องเดียวกัน7. คาํสนัธานม ี6 ชนดิ ไดแก สันธานเชือ่มความคลอยตามกนั สันธานเชือ่มความขดัแยง

กนั สันธานเชื่อมความที่เปนเหตุผลกัน สันธานเชื่อมความใหเลือกเอา สันธานเชื่อมความตางตอนกัน และสันธานเชื่อมความเพื่อใหความสละสลวย

8. เมื่อ …… ก ็เปนสันธานชนิด เชื่อมความคลอยตามกัน9. ถา …… ก็ เปนสันธานชนิดเชื่อมความขัดแยงกัน10. เพราะ …… จึง, ฉะนั้น …… จึง, จึง, เพราะฉะนั้น

ตอนที่ 21.

2.

3.

4.

5.

Page 327: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

317

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 328: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

318

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 7 กลุมควบคุมวิชาภาษาไทย เร่ือง คําอุทาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

เวลา 50 นาที

1. สาระสําคัญคาํอทุาน เปนคาํทีเ่ปลงเสยีงออกมาเพือ่แสดงอารมณ ความรูสึกหรอืถอยคาํทีเ่สรมิบท ทาํให

ผูฟงเขาใจอารมณ ความรูสึกตาง ๆ ของผูพูดไดชัดเจน การศึกษาเรียกคําอุทานจะทําใหใชถอยคําส่ือสารไดอยางถูกตองชัดเจน

2. ผลการเรียนรูท่ีคาดหวังมีความรูความเขาใจเรื่อง คําอุทานและใชคําอุทานไดถูกตอง

3. จุดประสงคการเรียนรู3.1 บอกความหมายของคําอุทานได3.2 อธิบายคําอุทานแตละชนิดพรอมยกตัวอยางได3.3 นําคําอุทานไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

4. เนื้อหาสาระ4.1 ความหมายของคําอุทาน4.2 คําอุทานแตละชนิด4.3 ขอสังเกตในการใชคําอุทาน

5. กิจกรรมการเรียนรูขั้นนําเขาสูบทเรียนนักเรียนดูภาพผูหญิงกําลังตกใจกับสิ่งของที่ทําหลน แลวใหนักเรียนลองแตงประโยค

จากภาพแลวทายวาวันนี้ครูจะสอนเรื่องอะไรขั้นดําเนินการสอน

4. ครูอธิบายเนื้อหาและใหนักเรียนศึกษาใบความรูเร่ือง คําอุทาน เพิ่มเติม ในเวลา 10 นาที ครูสุมนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับความหมาย และชนิดของคําอุทาน 2-3 คน

Page 329: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

319

5. สุมนักเรียน 5 คนแตงประโยคที่มีคําอุทานบนกระดานดําคนละ 1 ประโยค และใหนักเรียนชวยกันพิจารณาวาคําอุทานในประโยคแสดงความรูสึกอยางไร

6. แบงนักเรียนในหองออกเปน 2 กลุม โดยจะเลนเกมเดี๋ยวจัดใหทีละกลุมดังนี้จุดมุงหมายของเกม เพื่อใหนักเรียนนําคําอุทานไปใชในประโยคไดถูกตองอุปกรณ กระดานจดแตมวิธีเลน ใหนักเรียนกลุมที่ 1 หาคําอุทาน และนักเรียนกลุมที่ 2 แตง

ประโยคภายในเวลา 5 นาที ใหไดประโยคมากที่สุด จากนั้นเปลี่ยนกันใหกลุม 1 แตงประโยค และกลุมที่ 2 หาคําอุทาน ในเวลาเดียวกันกลุมไหนแตงประโยคไดถูกตองและมากที่สุดเปนกลุมที่ชนะขั้นสรุป

ครแูละนกัเรยีนรวมกนัสรปุความหมายชนดิและหนาทีข่องคาํสนัธาน นกัเรยีนบนัทกึลงในสมดุ จากนัน้ใหนกัเรยีนทาํแบบทดสอบเรือ่ง คาํอทุาน

6. สื่อการเรียนรู5. ภาพผูหญิงแสดงอาการตกใจเมื่อทําส่ิงของตก6. ใบความรูเร่ือง คําอุทาน7. ใบงานเรื่อง คําอุทาน8. แบบทดสอบเรื่อง คําอุทาน

7. การวัดผลประเมินผล3. วิธีวัดและประเมินผล

3.1 สังเกตการรวมกิจกรรม3.2 ตรวจผลงานของนักเรียนจากใบงาน3.3 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

4. เครื่องมือวัดและประเมินผลแบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค

รายละเอียดเนื้อหาสาระ

Page 330: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

320

คําอุทาน คือ คําที่เปลงออกมาเพื่อแสดงอารมณ หรือความรูสึกของผูพูดอาจจะเปลงเสียงออกมาในเวลาดีใจ เสียใจ หรือประหลาดใจก็ได โดยมากคําอุทานจะไมมีความหมายตรงถอยคํา แตจะมีความหมายทางเนนความรูสึกและอารมณของผูพูดเปนสําคัญ

เสียงที่เปลงออกเปนคําอุทานนั้น แบงไดเปน 3 ลักษณะคือ4. เปนคํา เชน แหม! วาย! โอย! โถ! โอย! เปนตน5. เปนวลี เชน คุณพระชวย! ตายละวา! พุทโธเอย! โอโฮ! เปนตน6. เปนประโยค เชน ไฟไหมเจาขา! แผนดินไหวเจาขา! เปนตน

ชนิดของคําอุทาน คําอุทานมี 2 ชนิดคือ3. อุทานบอกอาการ หรอื อุทานโดยตรง ใชเปลงเสยีงเพือ่บอกอาการและความรูสึก

ตาง ๆ ของผูพูด เชน อาการรองเรียก อาการโกรธแคน ประหลาดใจ ตกใจ สงสาร ปลอบโยน เขาใจ หรือรับรู เจ็บปวด สงสัย หรือถาม หาม หรือทักทวง และโลงใจ เปนตนตวัอยาง

- รองเรียก หรือบอกใหรูตัว ใชคําวา เฮย! แนะ! นี่แนะ! เฮ! โวย!- โกรธเคือง ใชคําวา ชะ ๆ! เหม! ดูดู! ชิชะ!- ตกใจ ประหลาดใจ ใชคําวา วุย! วาย! ตายแลว! แหม! ตายจริง! คุณพระชวย!

เออแนะ! แมเจาโวย! เออเฮอ! โอโฮ!- สงสารหรอืปลอบโยน ใชคาํวา โถ! โธ! พทุโธ! พทุโธเอย! อนจิจา! นองเอย! โอ!- เขาใจ หรือรับรู ใชคาํวา ออ! หือ้! เออ! เออแนะ! เอาละ! ออ! จริง! เออวะ! เอา!- เจ็บปวด ใชคําวา อุย! โอย! โอย!- สงสัยหรือไตถาม ใชคําวา เอะ! หือ! หา! ฮะ!- โลงใจ ใชคําวา เฮอ!- ขุนเคือง อาฆาต ใชคําวา ฮ่ึม! ดีละ! บะ! แลวกัน! อุวะ!- ทักทวง ใชคําวา ไฮ! ฮา!- ดูถูกเหยียดหยาม เยาะเยย ใชคําวา เชอะ! ชะ! หนอยแน! หนอย! เฮย!- ประหมา เกอเขิน ใชคําวา เออ! อา!- ชักชวน หรือเตือน ใชคําวา นะ! นา!

Page 331: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

321

4. อุทานเสริมบท เปนคําอุทานที่ผูพูดกลาวเพิ่มเติมถอยคําเสริมขึ้น โดยไมไดตั้งใจใหมีความหมายแตอยางใด คําอุทานเสริมบทนิยมนํามาเติมขางหนา ตอทายหรือแทรกตรงกลางคําที่พูดเพื่อเนนความหมายของคําที่จะพูดใหชัดเจนขึ้นตัวอยาง

- ฉันไมเคยใหสัญญิงสัญญากับใครทั้งส้ิน- จะสอบแลวปานนี้หนังสือหนังหายังไมดูเลย- เธออยามาโกหกพกลมฉันหนอยเลย- เขาหลงผูหญิงจนไมรูจักลืมหูลืมตาเสียบาง- แวะบานฉันกินน้ํากินทากอนซิ ประเดี๋ยวคอยไปตอ

ถาคําที่นํามาเขาคูนี้เนื้อความมีความหมายไปในแนวเดียวกันก็ไมนับวาเปนคําอุทานเสริมบท เชน “ไมดูไมแล”, “ไมหลับไมนอน”, “รองรําทําเพลง” เปนตน คําเหลานี้เรียกวา คําซอนขอสังเกต

3. คําอุทานบอกอาการมักจะเขียนอยูหนาประโยคและจะตองมีเครื่องหมายอัศเจรีย (!) กํากับเสมอ

4. คําอุทานเสริมบท จะวางอยูที่ใดในประโยคก็ไดสุดแลวแตวาตองการจะกลาวหรือเนนเสียงที่คําใด และหลังคํานั้นไมตองมีเครื่องหมายอัศเจรียกํากับ

หนาท่ีของคําอุทานเนือ่งจากคาํอทุานไมจดัวาเปนสวนใดสวนหนึง่ของประโยค ดงันัน้จงึไมมหีนาทีใ่นประโยค

Page 332: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

322

ใบความรูเร่ือง คาํอุทาน

คาํอุทาน คอื คาํทีเ่ปลงออกมาเพือ่แสดงอารมณความรูสึกตาง ๆ ของผูพดู หรือเสรมิคาํอ่ืนใหมีความหมายหนักแนนยิ่งขึ้น คําอุทานนั้นไมมีความหมายและไมจัดเปนสวนหนึ่งของประโยคตัวอยาง

โอโฮ! วันนี้ทําไมมาถึงนี่ได แสดงความประหลาดใจฟารองครืน ๆ อยางนี้เดี๋ยวฝนก็ตก แสดงเสียงของฟาดูซิ เส้ือแสงฉันเปยกหมดแลว อยาแกลงฉันสิ แสดงการเสริมคําใหหนักแนนขึ้น

คาํอทุานนีส้วนมากใชในภาษาพดูมากกวาภาษาเขยีนคาํอทุาน แบงออกเปน 2 ชนดิคอื3. อุทานบอกอาการ เปนคําบอกอารมณตาง ๆ เชน ประหลาดใจ เขาใจ ตกใจ เจ็บปวด

แลวใชอัศเจรียประกอบขางทายตวัอยาง

เอะ! อะไรกัน? ผมไมเขาใจ แสดงความประหลาดใจออ! ถาเชนนั้นคุณจะปฏิเสธหรือ แสดงความเขาใจอะ! อะไรอยางนั้น แสดงความตกใจโอย! ฉันเหยียบถูกอะไรเขาแลว แสดงความเจ็บปวด

4. อุทานเสริมบท เปนคําเสริมคําอ่ืนเพื่อเนนความ หรือใชเปนคําสรอยในคําประพันธ ไมใชอัศเจรียประกอบขางทายตัวอยาง

ลูกเตา, เส้ือแสง, รถรา, หนังสือหนังหา, เสียเนื้อเลือดหล่ังไหล ยอมสระ ส้ินแฮ

หนาท่ีและความหมายของคําคําในภาษาไทยคําหนึ่ง ๆ ไมจํากัดวาจะตองเปนคําชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ อาจเปน

คําชนดิอ่ืน ๆ ได สุดแตคาํนัน้จะทาํหนาทีใ่ด เชน คาํคาํหนึง่อาจเปนไดทัง้คาํนาม คาํกรยิา และ คาํวเิศษณหรือเปนไดทั้งคําวิเศษณและคําบุพบท

Page 333: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

323

แบบทดสอบเรื่อง คําอุทาน

คําสั่ง ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

16. ขอใดกลาวถูกตองก. คําอุทานคือคําที่แหลงออกมาเพื่อแสดงความรูสึกข. คําอุทานคือคําที่แสดงอาการตกใจค. คําอุทานคือคําที่แสดงอาการดีใจง. คําอุทานคือคําที่ใสเครื่องหมาย !

17. คําอุทานเมื่อเขามาอยูในประโยคแลวจัดเปนสวนใดของประโยคก. ภาคประธานข. ภาคแสดงค. ภาคประธานหรือภาคแสดงก็ไดง. ไมจัดเขาเปนสวนของประโยค

18. คําอุทานมีกี่ชนิดก. 1 ชนิดข. 2 ชนิดค. 3 ชนิดง. 4 ชนิด

19. ขอใดมีคําอุทานเสริมบทก. เดินมากรูสึกปวดแขงปวดขาไปหมดข. ชะอุย! นึกวามองไมเห็นเสียอีกค. ตายตาย! ทําไมหกเลอะเทอะอยางนี้ง. โอโฮแฮะ! รูปรางอยางกับนางสาวไทย

20. การพิจารณาความหมายของคําอุทานตองใหความสัมพันธกับส่ิงใดก. เสียงวรรณยุกตในคําอุทานข. ขอความของคําอุทานนั้น ๆค. เสียงพยัญชนะที่เกิดจากฐานตาง ๆ กันในคําอุทานง. เนื้อความของประโยคที่นําหนาหรือตามหลังคําอุทานนั้น

Page 334: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

324

21. เมื่อถายทอดคําอุทานเปนภาษาเขียนเราใชเครื่องหมายใดกํากับอยูก. ?ข. !ค. “……”ง. ๆ

22. คําอุทานใดมักใชเมื่อแสดงความรูสึกสงสารก. ตายแลว!ข. พุทโธเอย!ค. คุณพระชวย!ง. สงสารสงแสน!

23. อยุธยายศลมแลว ลอยสวรรค ลงฤาสิงหาสนปรางครัตนบรร เจิดหลาบุญเพลงพระหากสรรค ศาสนรุง เรืองแฮบังอบายเบิกฟา ฝกฟนใจเมือง ฯ

โครงนี้มีคําอุทานที่บาทใดก. บาทที่ 1, 2ข. บาทที่ 1, 3ค. บาทที่ 2, 3ง. บาทที่ 2, 4

24. “……เบื่อวิชานี้จริง ๆ เลย” ควรใชคําอุทานอะไรก. ไดโปรดเถิดข. แลวกันค. ใหตายซิง. หนอยแน

25. คําอุทานเสริมบทคําใดมีความหมายอยูที่คําหลังก. อาบน้ําอาบทาข. ถนนรนแคมค. หนังสือหนังหาง. อําพงอําเภอ

Page 335: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

325

26. ขอใดไมมีคําอุทานเสริมบทก. อยาไปเสียดมเสียดายของนอกกายหาใหมไดข. อยามาทําประจอประแจใกล ๆ ฉันหนอยเลยค. ดูแตงตัวเขาซิทุเรศทุรังเต็มทนง. ทีวงทีวีอะไรก็ไมตองดูทั้งนั้น

27. คําอุทานเสริมบทขอใดที่นิยมใชกันก. กระดูกกระเดกข. กระโดดกระดูกค. กระดูดกระดนโดง. กระดูกกระเดี้ยว

28. คําอุทานในขอใดแสดงความตกใจประหลาดใจก. แหยะ! ตกใจหมดเลยข. โอย! ตกใจหมดเลยค. อุย! ตกใจหมดเลยง. เฮย! ตกใจหมดเลย

29. ประโยคในขอใดไมมีคําอุทานก. โอเค! ทํางานกอนกินก็ไดข. ใหตายสิ! อูงานอีกแลวหมอนี่ค. อกอีแปนแตก! ทําไมลูกสกปรกอยางนี้ง. พระเจาชวย! นี่เปนมนุษยหรือสัตวตางดาวกันแน

30. ขอใดใชคําอุทานถูกตองก. วาย! เด็กถูกรถชนข. โอย! ฝนตกค. คุณพระชวย! ไมรอกันเลยนะง. โอย! คนสวยแยแลว

Page 336: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

326

เฉลยแบบทดสอบเรื่อง คําอุทาน

1. ก 2. ง 3. ข 4. ก 5. ง6. ข 7. ข 8. ข 9. ค 10. ง

11. ข 12. ง 13. ค 14. ก 15. ก

Page 337: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

327

ใบงานเรื่อง คําอุทาน

ตอนที่ 1 ขีดเสนใตคําที่เปนคําอุทานตอไปนี้11. พุทโธถึงเวลาของเขาแลว12. ชาวเราเอยพอแมมุงแตรัก13. หนอยแนะไอเสือแกวนเอ็งตลกดีมาก14. แมถนอมโวยเธออยูบานอยูชองหาขาวหาปลาใหกินบาง15. เสื้อแสงของเขาเปอนหมด16. เธออยาไปเออออหอหมกกับคนอยางนั้น17. ผูหญิงพายเรือเชื่อไมได18. จึ่งตั้งกระทูถามจงบอกความจริงเจียวนะหวา19. อนิจจาตัวกูชางดูดาย20. โอย ผมแยถูกลอลงบอตม

ตอนที่ 2 ใหนักเรียนเติมคําหรือขอความลงในชองวางใหถูกตอง6. คําอุทาน คือ …………………………………………………………………………7. คําอุทานแบงออกเปน………ประเภท ไดแก ……………………………………….8. “เฮย ทนายไวไวใครอยูนอก” ขอความนี้มีคําอุทาน คือ……เปนคําอุทานแสดง…….9. “ชะ ๆ อายขอมดําดิน” ขอความนี้มีคําอุทานคือ………เปนคําอุทานแสดง………….10. เครื่องหมายที่ใชเขียนตามหลังคําอุทานบอกอาการคือ………ซ่ึงเรียกวา…………….

Page 338: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

328

เฉลยใบงานเรื่อง คําอุทาน

ตอนที่ 111. พุทโธ12. เอย13. หนอยแนะ14. โวย15. เสื้อแสง16. เออออหอหมก17. พายเรือ18. นะหวา19. อนิจจา20. โอย

ตอนที่ 28. คําอุทาน คือ เสียงที่เปลงออกมาไมมีความหมาย เปนเพียงการแสดงความรูสึกหรือความ

ตองการใหผูฟงทราบ9. 2 ชนิด ไดแก อุทานบอกอาการ และอุทานเสริมบท10. เฮย เปนอุทานแสดงอาการบอกใหรู11. ชะ ๆ เปนอุทานแสดงอาการโกรธ12. ! เครื่องหมายอัศเจรีย

Page 339: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

329

แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะที่พึงประสงค

รายชื่อนักเรียน ความกระตือรือรน รับผิดชอบ ยอมรับฟง

ความคิดผูอื่น ความมีน้ําใจการแสดงออก

ท่ีสุภาพเรียบรอย

รวมคะแนน

คะแนน 5 5 5 5 5 25

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………ผูประเมิน (…………………………..) ………/……………/……...

เกณฑการประเมิน20 – 25 = ดี15 – 20 = พอใช10 – 14 = ตองปรับปรุง

Page 340: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

330

ภาคผนวก ข

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Page 341: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

331

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองคําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยกอนเรียน (Pretest) และหลังเรียน (Posttest) จํานวน 40 ขอ

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําที่ถูกที่สุด แลวทําเครื่องหมายกากบาท × ลงในชองตัวเลือก ในกระดาษคําตอบ

1. คําในภาษาไทยแบงออกเปนกี่ชนิดก. 5 ชนิดข. 6 ชนิดค. 7 ชนิดง. 8 ชนิด

2. คํานามคืออะไรก. คําที่ทําหนาที่แทนบุคคลข. คําที่แสดงความหมายของการกระทําค. คําที่แสดงความหมายถึงส่ิงมีชีวิตนั้น ๆง. คําที่แสดงความหมายถึงบุคคล สัตวและส่ิงของ

3. ขอใดไมมีวิสามานยนามก. นกตัวหนึ่งบินมาจากขอบฟาไกลข. เสาชิงชากําลังไดรับการบูรณะวันนี้ค. เกาะแกวพิสดารอยูทีไหน ใครรูบางง. นางอรุณรัศมีเปนธิดาของศรีสุวรรณ

4. คําที่พิมพตัวหนาขอใดไมใชอาการนามก. การเลนขณะที่ครูสอนเปนผลเสียตอการเรียนข. โรงเรียนมีการบานใหทําในวันหยุดค. การเลือกที่นั่นไมยากลําบากนักง. ความดีที่ไมรูจักสิ้นสูญ

Page 342: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

332

5. คําในขอใดใชลักษณนามเหมือนกันก. เล่ือย ไมบรรทัด กรรไกรข. ฤๅษี ภิกษุ นักพรตค. ลูกคิด ส่ิว พลุง. รม ฉัตร ธนู

6. ขอใดมีคํานามที่ทําหนาที่เปนสวนเติมเต็มของประโยคก. เขาวาดภาพเหมือนไดสวยมากข. ฉันคลับคลายวาเคยพบเขามากอนค. พระอภัยมณีเปนโอรสของทาวสุทัศนง. การนําเรือออกไปชวยคนเหลานั้นถือวาเสี่ยงหลายเทาตัว

7. ขอใดไมจัดอยูในชนิดของคําสรรพนามก. นิยมสรรพนามข. วิสามายนามค. ปฤจฉาสรรพนามง. ประพันธสรรพนาม

8. ขอใดเปนประพันธสรรพนามก. ที่จริงคุณยายทานมีเมตตาปราณีข. อีกเรื่องหนึ่งที่แมเองก็รูสึกตื้นตันใจค. คุณยายรองเพลงกลอมเด็กที่ทานเคยรองกลอมแมเมื่อยังเล็กอยูง. เสียงของทานยังเจื้อยแจวจับใจแสดงความเอื้ออาทรของแมที่ดีตอลูก

9. ขอใดเปนประโยชนของการใชบุรุษสรรพนามก. แสดงถึงวัฒนธรรมประจําชาติข. แสดงถึงความสนิทสนมระหวางผูพูดกับผูฟงค. แสดงถึง เพศ วัย ฐานะ ของผูพูดและผูฟงง. ถูกทุกขอ

Page 343: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

333

10. ขอใดเปนสรรพนามบุรุษที่ 2ก. ทูลกระหมอมข. พระองคทานค. เกลากระหมอมง. ใตฝาละอองธุลีพระบาท

11. คําสรรพนามขอใดทําหนาที่เปนกรรมของประโยคก. ทานเจาขา! พอแมรังแกฉันข. ฉันทําผิดคิดระยํากลับค้ําชูค. ทานหมอฟงยิ้มเยื้อนเอื้อนวจีง. ทาทายแกกลอกหนาหาวาหลอก

12. ขอใดไมใชสมุหนามก. บุตรเศรษฐีเกิดมาบนกองเงินกองทองข. นิทานมีหลายชนิด เชน นิทานชาดก นิทานทองถ่ินค. ปลาชอนตัวนั้นเปนฝายติดตามฝูงลูกปลาแตตัวเดียวง. พระโพธิสัตวมีปญญารูกาลภายหนาวาทุกขภัยจะเกิดแกฝูงวานร

13. คําวา “ได” ในขอนี้เปนกริยานุเคราะหก. ชาวนาไดปลามา 2 ตัวข. นานพไดที่อยูใหมแลวค. นองหนิงไดรถจักรยานคันใหมง. นองนิกไดรับโทรศัพทเมื่อเชานี้

14. “กระรอกสีขาว สีทองแดง กระโดดดุจบินถลา ทาทีมันราเริงแสนสุข” ประโยคนี้มีคํากริยาชนิดใดมากที่สุดก. อกรรมกริยาข. สกรรมกริยาค. วิกตรรถกริยาง. กริยานุเคราะห

Page 344: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

334

15. ขอใดมีคํากริยาที่ทําหนาที่ขยายคํานามก. หลอนตะโกนเสียงดังจนแสบแกวหูข. คุณยายและคุณยาไมชอบผูหญิงตัดผมสั้นค. กินอาหารไมเปนเวลาทําใหเปนโรคกระเพาะง. กําลังของเรานอยจะไปสูเขาไหวหรือ

16. “หมัดของนายเสริมเหมือนตลุมพุกอันใหญ” คําวา เหมือน เปนคํากริยาชนิดใดก. อกรรมกริยาข. สกรรมกริยาค. กริยานุเคราะหง. วิกตรรถกริยา

17. “ชนิดารอยมาลัยถวายพระ” คําวา ถวายพระ ทําหนาที่ใดในประโยคก. กริยาชวยข. เหมือนคํานามค. กริยาสําคัญง. คํานามที่อยูขางหลัง

18. ขอใดเปนคํากริยาที่ตองมีกรรมมารับ (สกรรมกริยา)ก. เธอนั่งเกาอ้ีหวายข. นองพูดเสียงออแอค. เธอเดินเร็วจนฉันตามไมทันง. เด็ก ๆ วายน้ําอยางสนุกสนาน

19. คําที่พิมพตัวหนาขอใดเปนกริยาชวยก. เขาเปนคนมักนอยข. เขามักตื่นสายในวันหยุดค. คุณชานนทตองคดีสําคัญในสมัยนั้นง. เขาตองตาตองใจเธอมานาน

Page 345: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

335

20. “เพราะ” ขอใดเปนคําวิเศษณก. นิภาถูกลงโทษเพราะไมทําการบานข. นองออรองเพลงเพราะมากค. เพราะฝนตกหนัก น้ําจึงทวมง. ปรารถนามาชาเพราะตื่นสาย

21. ขอใดมีคําวิเศษณแสดงคําถาม (ปฤจฉาวิเศษณ)ก. หนาตางบานนี้ผุแลวข. ที่นี่มีนักเรียนตางจังหวัดค. ใครซื้อแกงเผ็ดจากรานนี้ง. คนไหนที่บานอยูไกลจากโรงเรียน

22. ขอใดมีคําวิเศษณบอกความชี้เฉพาะก. นักเรียนบางคนเดินมาโรงเรียนข. ไมเห็นน้ําอยาตัดกระบอกค. คนฉลาดยอมพูดแตนอยง. ตนไมนั้นมีผลดก

23. “เราอยูที่นี่นานแลว” คําที่ขีดเสนใตทําหนาที่ขยายคําใดในประโยคก. สรรพนามข. นามค. กริยาง. วิเศษณ

24. ขอใดมีคําวิเศษณขยายคําวิเศษณก. กระดาษแผนนี้บางมากข. ขอสอบชุดนี้มีหลายขอค. เด็กผูชายเสียงดังง. เสื้อสีเขียวมีลายดอกไมสีสวย

Page 346: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

336

25. ขอใดไมมีคําบุพบทก. ของขวัญในกลองนี้หนักจังข. หนังสือของครูอยูบนโตะค. คุณแมตอราคาของเกงง. ฉันทํางานที่บริษัท

26. คําวา “เพราะ” ในขอใดเปนคําสันธานก. เขารองเพลงเพราะมากข. เขารองเพลงเพราะหลอนค. เขารองเพลงเพราะความชอบง. เขารองเพลงเพราะตองการชื่อเสียง

27. ขอใดมีคําสันธานที่เชื่อมความใหสละสลวยก. กวาถ่ัวจะสุกงาก็ไหมข. ยายกับตาปลูกถ่ัวปลูกงาใหหลานเฝาค. ผิวกายของนางนั้นงามดุจผิวของดอกกรรณิการง. ทุกคนควรไดรับอาหารครบทั้ง 5 หมู โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็กที่กําลังเติบโต

28. ขอใดมีคําบุพบทนําหนาบทเพื่อบอกเวลาก. เขาตื่นนอนเมื่อย่ํารุงข. นาฬิกาบอกเวลา 9 นาฬิกาค. โรงเรียนของฉันเขา 8.00 น.ง. ลูกอยากลับบานมืดค่ํามากนัก

29. ขอใดมีคําบุพบทนําหนาคํานามก. ครูพลศึกษาสอนใหเราข. ยานี้กินแกโรคตาง ๆ ไดดีค. เขาทํางานเพื่อหาเงินไวเรียนตอง. เด็ก ๆ ชอบวิ่งเลนในสนามหนาโรงเรียน

Page 347: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

337

30. คําประพันธตอไปนี้ขอใดไมมีคําสันธานก. สินสมุทรสุดจะคิดถึงปตุเรสข. ไมสังเกตกลศึกใหนึกขามค. จะวาใครขัดของก็ตรองดูง. ก็เขินขวยเพราะไมเคยเชยถนอม

31. ขอใดสามารถแยกขอความออกเปนประโยคความเดียวไดมากกวา 2 ประโยคก. แมของเธอทั้งสวยทั้งฉลาดและซื่อตรงข. ในความรูสึกของเขา เธอยอมอยูเหนือกวาใคร ๆ ทั้งส้ินค. วิลเบอรระงับอารมณเสีย แลวก็หยุดกระแทกตัวเองเสียทีง. เมื่อทุกคนกลับมาถึงบานก็ไมพบเจาสุนัขทั้ง 3 ตัวเสียแลว

32. สํานวนไทยขอใดมีคําสันธานก. ถ่ีลอดตาชาง หางลอดตาเล็นข. น้ําตาลใกลมด ใครจะอดไดค. พบไมงาม เมื่อขวานบิ่นง. น้ําขุนไวใน น้ําใสไวนอก

33. “จน” ขอใดเปนคําสันธานก. เด็กรองไหจนหลับไปข. อยาเปนคนจนปญญาค. เขาทํางานจนมืดค่ําง. เขาเปนคนจนมาก

34. ขอใดมีคําอุทานก. โอย ผมแยถูกลอลงบอตมข. ทานเจาขา พอแมรังแกฉันค. บางคนเฝาจูจี้พิร้ีพิไรง. ตอบเสียงดัง พอแมรังแกฉัน

Page 348: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

338

35. ขอใดไมมีคําอุทานก. เฮย เจาจอมเองอยามาไถลข. อุย ใจหายหมดค. อนิจจา เห็นวากูตกยากง. อยางมึงนะ บอกเพศเปนเศรษฐี

36. ขอใดมีคําอุทานเสริมบทก. ทําบุญบุญแตงให เห็นผลข. คือดั่งเงาตามตน ติดแทค. หอมแหงกลิ่นกลาคือ ศีลสัตย นี้นาง. หอมสุดหอมสะทอน ทั่วใกลไกลถึง

37. “นักเรียนยื่นจดหมาย…..ครู” คําใดเหมาะกับที่จะนําไปเติมในชองวางก. แดข. แกค. กับง. ตอ

38. เติมคําในชองวางใหถูกตอง “ประชาชน…..ตอนายอําเภอ”ก. ประกาศข. รองเรียนค. ปราศรัยง. กลาวหา

39. ขอใดเปนประโยคแสดงความตองการก. เธอรองไหเพราะอะไรข. ถาฉันมีเงินฉันจะซื้อรถยนตค. เด็กชายปติเกลียดกิ้งกือง. นักเรียนคนใดไมไดลงไปเลนในสนาม

Page 349: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

339

40. “เราจะเรียนวิชาภาษาไทยอยางไรดี” เปนประโยคชนิดใดก. ประโยคคําถามข. ประโยคปฏิเสธค. ประโยคคําตอบง. ประโยคบอกเลา

Page 350: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

340

เฉลยคําตอบของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองคําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยจํานวน 40 ขอ

1. ค 21. ง2. ง 22. ง3. ก 23. ค4. ข 24. ก5. ง 25. ค6. ค 26. ง7. ข 27. ง8. ค 28. ก9. ง 29. ง10. ง 30. ก11. ก 31. ก12. ข 32. ค13. ง 33. ก14. ก 34. ก15. ข 35. ง16. ง 36. ค17. ง 37. ง18. ก 38. ข19. ข 39. ข20. ข 40. ก

Page 351: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

341

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามความคิดเห็น

Page 352: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

342

แบบสอบถามความคิดเห็นเพื่อการวิจัย

เร่ือง “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติคําชี้แจงในการตอบแบบสอบถาม

1. คําตอบของนักเรียนจะไมมีผลตอการเรียนของนักเรียน และผูวิจัยจะเก็บขอมูลนี้ไวเปนความลับ

2. คําตอบทุกคําตอบไมมีถูกผิดขอใหนักเรียนตอบตามความเปนจริงเพราะความคิดเห็นของนักเรียนจะเปนประโยชนตอการปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรูในคราวตอไป

3. แบบสอบถามความคิดเห็นฉบับนี้ แบงคําถามออกเปน 2 ตอน ไดแกตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู และการทํางานกลุมของนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอบแบบรวมมือกันเทคนิค STAD จํานวน 15 ขอตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีการสอนแบบรวมมือกันเทคนิค

STAD จํานวน 1 ขอ4. วิธีตอบแบบสอบถาม ใหนักเรียนอานขอความทางซายมือและทําเครื่องหมายลง

ในชองที่ตรงกับการปฏิบัติหรือความคิดที่เปนจริงของนักเรียน เพียงขอเดียว

ตัวอยาง

ขอ ความรูสึกขอความ

มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

0 นักเรียนอยากใหมีการจัดสาระการเรียนรูภาษาไทยนอกเวลาเรียน

ขอขอบคุณที่ใหความรวมมือนางสาวนพนภา ออกดวง

สาขาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอนมหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 353: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

343

ตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู และการทํางานกลุมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD

คําอธิบาย โปรดอานขอความแตละขออยางละเอียด แลวพิจารณาวาเมื่อนักเรียนไดเรียนรูเร่ือง คําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ที่ไดรับการสอนแบบรวมมือกันเทคนิคSTAD แลวนักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใหใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงกับการปฏิบัติหรือความคิดเห็นที่เปนจริง ของนักเรียน

ขอ ขอความ / ความรูสึก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

1

2

3

4

5

6

ความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการเรียนรูนักเรียนรูสึกชอบเมื่อถึงเวลาเรียนสาระการเรียนรูภาษาไทยที่ครูสอนดวยเทคนิคSTADนักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและความคิดสรางสรรคในขณะที่เรียนเสมอนักเรียนมีโอกาสซักถามปญหากับอาจารยและเพื่อเมื่อไมเขาใจนักเรียนรูสึกเสียดายเมื่อหมดเวลาเรียนสาระการเรียนรูภาษาไทยนักเรียนรูสึกสบายใจเมื่อถึงเวลาทํากิจกรรมตามเทคนิคSTAD ที่ไดรับมอบหมายนักเรียนรูสึกวาการจัดกิจกรรมการสอนตามเทคนิคSTAD สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

Page 354: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

344

ขอ ขอความ / ความรูสึก มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด7

8

9

10

11

12

13

14

15

นักเรียนเห็นวาวิธีสอนตามเทคนิค STAD ชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางแทจริงนักเรียนเห็นวาวิธีการสอนตามเทคนิค STAD ฝกใหนักเรียนมีความรับผิดชอบมากขึ้นนักเรียนเห็นดวยที่การเรียนดวยเทคนิค STAD เนนใหนักเรียนมีทักษะทางสังคมนักเรียนเห็นวาการทํางานดวยเทคนิค STAD เนนวิธีการทํางานกลุมความคิดเห็นเ ก่ียวกับการทํางานกลุมนักเรียนยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนนักเรียนปฏิบัติตามบทบาทที่ไดรับมอบหมายอยางเครงครัดนักเรียนพอใจในผลงานที่รวมกันทําภายในกลุมนักเรียนมีการปรึกษาหารือรวมกันในขณะทํางานนักเรียนชวยกันแกปญหาใหกลุม

Page 355: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

345

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีสอนแบบรวมมือกันที่ใชเทคนิค STAD

ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอวิธีสอนแบบรวมมือกันที่ใชเทคนิค STAD เปนอยางไร……………………………………………………………………………………………...

……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….

Page 356: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

346

ภาคผนวก ง

การหาคาความเชื่อมั่น

Page 357: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

347

ตารางที่ 9 แสดงคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง คําและหนาท่ีของคําในภาษาไทย จํานวน 90 ขอ

ขอท่ี P r q (1-p) pq1 0.70 0.50 0.30 0.212 0.73 0.45 0.27 0.203 0.78 0.25 0.22 0.174 0.75 0.30 0.25 0.195 0.60 0.40 0.40 0.246 0.63 0.25 0.37 0.237 0.30 0.20 0.70 0.218 0.73 0.35 0.27 0.209 0.68 0.25 0.32 0.2210 0.50 0.20 0.50 0.2511 0.63 0.25 0.37 0.2312 0.58 0.25 0.42 0.2413 0.63 0.35 0.37 0.2314 0.70 0.20 0.30 0.2115 0.63 0.45 0.37 0.2316 0.63 0.45 0.37 0.2317 0.63 0.25 0.37 0.2318 0.50 0.20 0.50 0.2519 0.60 0.20 0.40 0.2420 0.50 0.20 0.50 0.2521 0.55 0.20 0.45 0.2522 0.60 0.20 0.40 0.2423 0.78 0.25 0.22 0.1724 0.30 0.20 0.70 0.2125 0.45 0.30 0.55 0.2526 0.63 0.25 0.37 0.23

Page 358: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

348

ตารางที่ 9 (ตอ)

ขอท่ี P r q (1-p) pq27 0.48 0.25 0.52 0.2528 0.33 0.25 0.67 0.2229 0.35 0.40 0.65 0.2330 0.73 0.25 0.27 0.2031 0.60 0.30 0.40 0.2432 0.75 0.20 0.25 0.1933 0.60 0.20 0.40 0.2434 0.40 0.30 0.67 0.2735 0.55 0.50 0.45 0.2536 0.58 0.45 0.42 0.2437 0.73 0.25 0.27 0.2038 0.68 0.25 0.32 0.2239 0.45 0.25 0.55 0.2540 0.73 0.25 0.22 0.1641 0.63 0.25 0.37 0.2342 0.70 0.20 0.30 0.2143 0.65 0.20 0.30 0.2144 0.70 0.20 0.25 0.1845 0.75 0.25 0.25 0.1946 0.68 0.20 0.32 0.2247 0.63 0.30 0.37 0.2348 0.54 0.30 0.55 0.2549 0.75 0.20 0.25 0.1950 0.55 0.25 0.45 0.2551 0.73 0.25 0.27 0.2052 0.45 0.25 0.55 0.25

Page 359: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

349

ตารางที่ 9 (ตอ)

ขอท่ี P r q (1-p) pq53 0.80 0.27 0.20 0.1654 0.42 0.37 0.58 0.2455 0.70 0.27 0.30 0.2156 0.75 0.23 0.25 0.1857 0.40 0.27 0.60 0.2458 0.38 0.30 0.62 0.2359 0.50 0.33 0.50 0.2560 0.42 0.23 0.58 0.2461 0.52 0.57 0.48 0.2562 0.43 0.33 0.57 0.2463 0.80 0.33 0.20 0.1664 0.58 0.23 0.42 0.2465 0.50 0.47 0.50 0.2566 0.25 0.37 0.75 0.1867 0.78 0.23 0.22 0.17268 0.50 0.27 0.55 0.2569 0.50 0.27 0.50 0.2570 0.63 0.40 0.37 0.2371 0.72 0.37 0.28 0.2072 0.42 0.37 0.58 0.2473 0.72 0.37 0.28 0.2074 0.47 0.44 0.53 0.2575 0.55 0.30 0.45 0.2476 0.33 0.07 0.67 0.2277 0.45 0.23 0.55 0.2478 0.72 0.37 0.28 0.20

Page 360: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

350

ตารางที่ 9 (ตอ)

ขอท่ี P r q (1-p) pq79 0.58 0.37 0.42 0.2480 0.50 0.47 0.50 0.2581 0.75 0.30 0.25 0.1882 0.47 0.40 0.53 0.2483 0.30 0.07 0.70 0.2184 0.32 0.37 0.68 0.2185 0.62 0.50 0.38 0.2386 0.50 0.20 0.50 0.2587 0.38 0.30 0.62 0.2388 0.40 0.07 0.60 0.2489 0.47 0.13 0.53 0.2590 0.22 0.10 0.78 0.17

rtt = .9721

หมายเหตุ1. ขอสอบที่มีคา p ต่ํากวา 0.20 จัดเปนขอสอบที่ยาก2. ขอสอบที่มีคา p ต่ํากวา 0.80 จัดเปนขอสอบที่งาย3. ขอสอบที่มีคา r ต่ํากวา 0.20 จัดเปนขอสอบที่มีคาอํานาจจําแนกต่ํากวาเกณฑ4. ขอสอบที่มีคา r เปนลบ จัดเปนขอสอบที่ไมมีคาอํานาจจําแนก

เนื่องจากขอสอบเกินจํานวนที่ตองการ จึงตัดออกแบบเจาะจง จํานวน 40 ขอ เพื่อใชในการทดลอง

Page 361: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

351

ตาราง 10 แสดงคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง คําและหนาท่ีของคําในภาษาไทยที่นําไปใชในการทดลอง (pretest – posttest) จํานวน 40 ขอ

ขอท่ี P r q (1-p) pq1 0.70 0.50 0.30 0.212 0.73 0.45 0.27 0.203 0.75 0.30 0.25 0.194 0.60 0.40 0.40 0.245 0.68 0.25 0.32 0.226 0.63 0.45 0.37 0.237 0.63 0.45 0.37 0.238 0.63 0.25 0.37 0.239 0.50 0.20 0.50 0.2510 0.60 0.20 0.40 0.2411 0.55 0.20 0.45 0.2512 0.60 0.30 0.40 0.2413 0.60 0.20 0.40 0.2414 0.40 0.30 0.67 0.2715 0.55 0.50 0.45 0.2516 0.68 0.25 0.32 0.2217 0.63 0.25 0.37 0.2318 0.65 0.20 0.30 0.2119 0.75 0.25 0.25 0.1920 0.68 0.20 0.32 0.2221 0.63 0.30 0.37 0.2322 0.54 0.30 0.55 0.2523 0.55 0.25 0.45 0.2524 0.42 0.37 0.58 0.24

Page 362: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

352

ตารางที่ 10 (ตอ)

ขอท่ี P r q (1-p) pq25 0.70 0.27 0.30 0.2126 0.40 0.27 0.60 0.2427 0.50 0.33 0.50 0.2528 0.52 0.57 0.48 0.2529 0.43 0.33 0.57 0.2430 0.50 0.27 0.55 0.2531 0.50 0.27 0.50 0.2532 0.42 0.37 0.58 0.2433 0.72 0.37 0.28 0.2034 0.55 0.30 0.45 0.2435 0.58 0.37 0.42 0.2436 0.50 0.47 0.50 0.2537 0.47 0.40 0.53 0.2438 0.62 0.50 0.38 0.2339 0.50 0.20 0.50 0.2540 0.38 0.30 0.62 0.23

คัดเลือกขอสอบที่มีคาความยากงาย 0.20 – 0.80 และขอสอบที่มีคาอํานาจจําแนกตั้งแต 0.20 ขึ้นไป

Page 363: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

353

ตารางที่ 11 แสดงคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนโดยการสอนแบบรวมมือเทคนิค STADกับวิธีการสอนแบบปกติ

กลุมทดลอง กลุมควบคุมนักเรียนคนที่ กอนเรียน หลังเรียน กอนเรียน หลังเรียน1 33 39 30 392 32 39 27 363 30 33 28 344 29 38 31 355 25 37 24 306 25 39 28 337 24 38 29 358 23 35 33 379 24 33 34 2910 30 35 28 3311 24 30 24 3112 26 30 30 3013 25 30 25 2914 23 29 24 3015 33 35 29 3316 24 32 23 2917 25 30 22 2918 27 33 22 2719 26 32 28 3120 25 32 22 2921 22 30 23 2722 24 31 24 2923 28 33 23 2924 21 30 22 28

คะแนนเฉลี่ย 26.17 33.46 25.96 31.33สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.384 3.349 3.316 3.279

Page 364: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

354

ตารางที่ 12 คาสถิติการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนทั้ง 2 กลุมคํานวณโดยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS 11.0 for window

T-TestGRP = ทดลอง

Paired Samples Statisticsa

Mean NStd.

DeviationStd. Error

MeanPair 1 POST PRE

33.4626.17

2424

3.3493.384

.648

.691a. GRP = ทดลอง

Paired Samples Correlationa

N Correlation Sig.Pair 1 POST &

PRE24 .557 .005

a. GRP = ทดลอง

Paired Samples Testa

Paired Differences95% Confidence

Interval of theDifferenceMean

Std.Deviatio

n

Std.Error

Mean Lower Uppert df

Sig.(2-

tailed)Pair 1 POST- PRE

7.29 3.169 .647 5.95 8.63 11.273 23 .000

a. GRP = ทดลอง

Page 365: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

355

GRP = ควบคุม

Paired Samples Statisticsa

Mean NStd.

DeviationStd. Error

MeanPair 1 POST PRE

31.3325.96

2424

3.2793.316

.669

.677a. GRP = ควบคุม

Paired Samples Correlationa

N Correlation Sig.Pair 1 POST &

PRE 24 .837 .000

a. GRP = ควบคุม

Paired Samples Testa

Paired Differences95% Confidence

Interval of theDifferenceMean

Std.Deviatio

n

Std.Error

Mean Lower Uppert df

Sig.(2-

tailed)Pair 1 POST- PRE

5.38 1.884 .385 458 6.17 13.978 23 .000

a. GRP = ควบคุม

Page 366: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

356

T-Test

Group Statistics

GRP N MeanStd.

DeviationStd. ErrorMean

POST ทดลอง ควบคุม

2424

33.4631.33

3.3493.279

.684

.669PRE ทดลอง ควบคุม

2424

26.1725.96

3.3843.316

.691

.677

Independent Samples Test

Levene’s Test for EqualityOf Variances

F Sig.POST Equal variances assumed Equal variances not assumed

.022 .882

PRE Equal variances assumed Equal variances not assumed

.232 .632

Page 367: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

357

Independent Samples Test

t-test for Equality of Mean95% Confidence Interval

of the Differencet df

Sig.(2-tailed)

MeanDifference

Std. ErrorDifference Lower Upper

POST Equal variances assumed Equal variances not assumed

2.221

2.221

46

45.980

.031

.031

2.13

2.13

.957

.957

.199

.199

4.051

4.051PRE Equal variances assumed Equal variances not assumed

.215

.215

46

45.981

.830

.830

.21

.21

.967

.967

-1.738

-1.738

2.155

2.155

Page 368: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

358

ใบประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและความสอดคลองของจุดประสงค เนื้อหา กิจกรรม ลําดับเวลาของแผนการจัดการเรียนรู (คาความเที่ยงตรง IOC)

ผูเชี่ยวชาญเนื้อหา / จุดประสงคการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 2 3

IOC

คํานาม1. บอกความหมายของคํานามได2. จําแนกชนิดของคํานาม พรอมยกตัวอยางได3. บอกหนาที่ของคํานามแตละชนิด พรอมยก

ตัวอยางได4. นําคํานามไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมคําสรรพนาม5. บอกความหมายของคําสรรพนามได6. จําแนกชนิดของคําสรรพนามได7. บอกหนาที่ของคําสรรพนามแตละชนิด

พรอมยกตัวอยางได8. นําคําสรรพนามไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมคํากริยา9. บอกความหมายของคํากริยาได10. จําแนกชนิดของคํากริยา พรอมยกตัวอยางได11. บอกหนาที่ของคํากริยาแตละชนิด

พรอมยกตัวอยางได12. สามารถนําคํากริยาไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมคําวิเศษณ13. บอกความหมายของคําวิเศษณได14. จําแนกชนิดของคําวิเศษณ พรอมยกตัวอยางได15. บอกหนาที่ของคําวิเศษณแตละชนิด

พรอมยกตัวอยางได16. นําคําวิเศษณไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม

1

2

3

4

Page 369: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

359

ใบประเมินความตรงเชิงเนื้อหาและความสอดคลองของจุดประสงค เนื้อหา กิจกรรมลําดับเวลา ของแผนการจัดการเรียนรู (คาความเที่ยงตรง IOC) (ตอ)

ผูเชี่ยวชาญเนื้อหา / จุดประสงคการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1 2 3

IOC

คําบุพบท17. บอกความหมายของคําบุพบทได18. จําแนกชนิดของคําบุพบท พรอมยกตัวอยางได19. บอกหนาที่ของคําบุพบทแตละชนิด

พรอมยกตัวอยางได20. นําคําบุพบทไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมคําสันธาน21. บอกความหมายของคําสันธานได22. จําแนกชนิดของคําสันธานได23. บอกหนาที่ของคําคําสัน พรอมยกตัวอยางได24. นําคําสันธานไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสมคําอุทาน25. บอกความหมายของคําอุทานได26. จําแนกชนิดของคําอุทาน27. บอกขอสังเกตในการใชคําอุทานได

5

6

7

Page 370: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

360

ภาคผนวก จ

รายนามผูเชี่ยวชาญ

Page 371: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

361

รายนามผูเชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือวิจัย

1. ดร.สุจิตรา คงจินดา ขาราชการบํานาญอาจารยพิเศษมหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตพระราชวังสนามจันทรอดีตศึกษานิเทศก สํานักงานประถมศึกษาจังหวัดนครปฐม

2. อาจารยสะอาด เลิศหิรัญ หัวหนากลุมสาระการเรียนรูวิชาภาษาไทยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมเลขานุการโปรแกรมวิชาภาษาไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

3. อาจารยตลับ ฉลาดแพทย อาจารย 3 ระดับ 8วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม

Page 372: การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนเรื่ํองคาและหน ี่าทํ ... · ค บัณฑิิตวทยาล

362

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ – สกุล นางสาวนพนภา ออกดวงที่อยู 104/1 หมูที่ 14 ตําบลทาผา อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี 70110

ประวัติการศึกษาพ.ศ. 2534 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนกรับใหญวองกุศลกิจพิทยาคม

อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรีพ.ศ. 2536 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนารีวุฒิ อําเภอบานโปง

จังหวัดราชบุรีพ.ศ. 2542 สําเร็จการศึกษา ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)

สถาบันราชภัฏนครปฐม อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐมพ.ศ. 2543 ศึกษาตอระดับปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร จังหวัดนครปฐม