23
ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คูมือการจัดซื้อจัดจาง” โดย คณะทํางานควบคุมภายใน สํานักงานเลขานุการกรม

ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

  • Upload
    others

  • View
    10

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง“คูมือการจัดซื้อจัดจาง”

โดย

คณะทํางานควบคุมภายในสํานักงานเลขานุการกรม

Page 2: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

คํานําการใชจายเงินของภาครัฐ ภายใตกรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ

มีเปาหมายสําคัญ คอืการใชจายของภาครัฐ จะกอใหเกิดประโยชนสูงสุดตอรัฐ ซึ่งการใชจายดังกลาวโดยทั่วไปประกอบดวย รายจายประจํา ไดแก เงินเดือน คาจาง เปนตน และรายจายที่เกีย่วกับการจัดหาพัสดซุึ่งในการใชจายดังกลาว จะตองอาศัยปจจยัหลายประการประกอบกันเพื่อนําไปสูเปาหมายที่วางไว

สําหรับ การใชจายของภาครัฐในสวนของการจัดหาพัสดุ จะตองผานกระบวนการจัดซื้อจัดจาง และขั้นตอนการบริหารพัสดุ โดยมีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดเุปนปจจัยหลักในการดําเนินการจัดหา ซึ่งการกําหนดระเบียบฯ จะตองอยูภายใตหลักการบริหารพัสดุใน 3 หลักการคือ ความโปรงใส ตรวจสอบได และการแขงขันอยางเปนธรรม

คูมือการจัดซือ้จัดจางเลมนี้ จึงไดรวบรวมขั้นตอนและกระบวนการจัดซื้อจัดจางของแตละวิธี รวมทั้งองคประกอบตาง ๆ ทีเ่กีย่วของกับการจัดซือ้จัดจางไว เพือ่ใหผูสนใจไดศึกษา มีความรูความเขาใจ ในเร่ืองการจัดซือ้จัดจาง และการบริหารพัสดุ สามารถนําความรูที่ไดจากการศึกษา ไปปฏิบัติงานไดอยางถูกตองตามกฎ ระเบียบ และมติคณะรัฐมนตรีที่กําหนด ตลอดจน สามารถแกไขปญหาไดอยางถูกตอง และปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชนกบัองคกรสูงสุดตอไป ทั้งนี้จากขอมลูการจัดซือ้/จัดจางทั้งหมด พบวา การจัดหาพัสดุของสวนราชการ ทั้งในสวนของวงเงิน และจํานวนคร้ังที่ดําเนินการจัดหา โดยการซื้อหรือการจางสวนราชการ ใชเปนประเภทการจัดหาพัสดุมากที่สดุ จึงมีตัวอยางประกอบ เฉพาะวิธีตกลงราคา กรณีวงเงินไมเกิน 5,000 บาท และ วงเงินเกิน5,000 บาท เทานั้น

คณะทํางานควบคุมภายในสํานักงานเลขานุการกรม

Page 3: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

คูมอืการจัดซือ้จัดจางตามระเบียบสาํนักนายกรัฐมนตรวีาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และฉบับแกไขเพ่ิมเติมและระเบียบสาํนักนายกรัฐมนตรวีาดวยการพัสดุดวยวิธีการทางอเิลก็ทรอนิกสพ.ศ. 2549

********************โดยทั่วไปการดําเนินงานเก่ียวกับการพัสดุ จะมีหนวยงานที่เก่ียวของภายใตรูปแบบการจัด

องคกรการบริหารซ่ึงเปนหนวยงานที่ดูแลดานการพัสดุ แบงเปน 2 กลุม ดังนี้1. หนวยงานกลาง2. หนวยงานพัสดุ1. หนวยงานกลาง มีหนาที่รับผิดชอบดานการบรหิารงานพัสดุ ใหมีมาตรฐาน โปรงใส

เปนธรรม และมีประสิทธิภาพ โดยมีหนาที่ในการกําหนดกฎเกณฑ ระเบียบ มาตรฐาน ตีความ กฎ ระเบียบ และสั่งการใหหนวยงานพัสดุตางๆ ดําเนินการตามกฎ ระเบียบดังกลาว ประกอบดวย 5 หนวยงาน คือ

1.1 สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (เดิม)1.2 สํานักงบประมาณ1.3 กรมบัญชีกลาง1.4 สํานักงานการตรวจเงินแผนดิน1.5 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

2. หนวยงานพัสดุ มีหนาที่ในการดําเนินงานพัสดุของหนวยงานนั้นๆ ซ่ึงในแตละหนวยงานจะมีหนาที่ความรับผิดชอบแตกตางกันไปตามภารกิจของแตละหนวยงานซ่ึงจะตองอาศัยการเชื่อมโยงกันกับสวนราชการตางๆ และในปจจุบันหนวยงานที่ดําเนนิการเก่ียวกับงานพัสดุ ไดโอนเปลี่ยนแปลงเปนภารกิจของกรมบัญชีกลาง ใชชื่อหนวยงานวา “สํานักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ”หนวยงานท่ีเกี่ยวของในการบริหารงานพัสดุ

สํานักงบประมาณ1. แนะนําการจัดวางระบบการบริหารพัสดุ2. จัดทําอัตราครุภัณฑของสวนราชการ3. จัดทําบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ4. พิจารณาอนุมัติเปลี่ยนแปลงรายการครุภัณฑ และอาคาร5. อนุมัติเงินประจํางวด สวนราชการ (กรม)6. ดําเนินการบริหารพัสดุภายในหน่วยงาน

กรมบัญชีกลาง1. อนุมัติฎีกาการเบิกจายเงิน2. กําหนดราคากลางวัสดุ

Page 4: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-2-สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม

1. จัดทําบญัชีคูมือผูซ้ือและใบแทรกคูมือผูซ้ือ2. ระบุรายชื่อมาตรฐานผลติภัณฑอุตสาหกรรม3. ตรวจสอบทักทวงการกําหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการ

กอสรางที่แตกตางไปจากกําหนดไวสํานักงานการตรวจเงินแผนดิน

1. ตรวจสอบแผนปฏบิัติงานจัดซ้ือจัดจาง2. ตรวจสอบการจัดหาและการใชพัสดุ

สํานักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ (กวพ)1. กําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และแนวปฏิบัติ2. อนุมัติ ยกเวน หรือผอนผันการไมปฏบิัติตาม

กฎหมายและระเบียบท่ีเกี่ยวของในการบริหารงานพัสดุในการดําเนินการเก่ียวกับการพัสดุ นอกจากจะตองปฏบิัติตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี

วาดวยการพัสดุแลว ผูปฏิบติังานตองคํานึงถึงกฎหมายและระเบียบอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ ดังตอไปนี้1. พระราชบญัญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.25022. พระราชบญัญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ.25183. พระราชบญัญัติวาดวยความผิดเก่ียวกับการเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ พ.ศ.25424. พระราชบญัญัติขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.25405. พระราชบญัญัติวิธีปฏบิัติราชการทางปกครอง พ.ศ.25396. พระราชบญัญัติความผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 25397. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.25448. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยรถราชการ พ.ศ.2523 และที่แกไขเพิ่มเติม

ความหมายท่ีเกี่ยวของกบัการพัสดุ“การพัสด”ุ หมายความวา การจัดทําเอง การซ้ือ การจาง การจางที่ปรึกษา การจางออกแบบ

และควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการดําเนินการอ่ืน ๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้

“พัสด”ุ หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดิน และสิ่งกอสรางที่กําหนดไวในหนังสือการจําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณของสํานักงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงนิกูจากตางประเทศ

“การซ้ือ” หมายความวา การซ้ือพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดต้ัง ทดลอง และบริการที่เก่ียวเนื่องอ่ืน แตไมรวมถึงการจัดหาพสัดุในลักษณะการจาง

Page 5: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-3-“การจาง” ใหหมายความรวมถึงการจางทําของและการรับขนตามประมวลกฎหมายแพงและ

พาณิชย และการจางเหมาบริการ แตไมรวมถึงการจางลูกจางของสวนราชการตามระเบียบของกระทรวงการคลังการรับขนในการเดินทางไปราชการ ตามกฎหมายวาดวยคาใชจายในการเดินทางไปราชการ การจางที่ปรึกษาการจางออกแบบและควบคุมงาน และการจางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

“การจางที่ปรึกษา” หมายความวา การจางบริการจากที่ปรึกษาแตไมรวมถึงการจางออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ

“การจางออกแบบและควบคมุงาน” หมายความวา การจางบริการจากนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดาที่ประกอบธุรกิจบริการดานงานออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ

“เงินงบประมาณ” หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจายเพิ่มเติมและเงินซ่ึงสวนราชการไดรบัไวโดยไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังใหไมตองสงคลังตามกฎหมายวาดวยวิธีงบประมาณ แตไมรวมถึงเงินกูและเงินชวยเหลือตามระเบียบพสัดุฯ

“เงินกู” หมายความวา เงนิกูตามกฎหมายวาดวยการใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินจากตางประเทศ

“เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรบัความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงิน ระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้งในระดับรัฐบาล และที่มิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ

“อาคาร” หมายความวา สิ่งปลูกสรางถาวรที่บุคคลอาจเขาอยูหรือใชสอยได เชน อาคารที่ทําการโรงพยาบาล โรงเรียน สนามกีฬา สถานีนาํรอง หรือสิ่งปลูกสรางอยางอ่ืนที่มีลักษณะทํานองเดียวกันและรวมตลอดถึงสิ่งกอสรางอ่ืน ๆ ซ่ึงสรางข้ึนเพื่อประโยชนใชสอยสําหรับอาคารนัน้ ๆ เชน เสาธง รั้วทอระบายน้ํา หอถึงน้ํา ถนน ประปา และสิ่งอ่ืน ๆ ซ่ึงเปนสวนประกอบของตัวอาคาร เชน เครื่องปรับอากาศลิฟท เฟอรนิเจอร ฯลฯ

“พัสดทุีผ่ลติในประเทศ” หมายความวา ผลิตภัณฑที่ผลิตสําเร็จรูปแลว โดยสถานที่ผลิตต้ังอยูในประเทศไทย

“กิจการของคนไทย” หมายความวา กิจการที่เปนของบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลสัญชาติไทย“ที่ปรึกษา” หมายความวา บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจหรือสามารถใหบริการ

เปนทีป่รึกษาทางวิศวกรรม สถาปตยกรรม เศรษฐศาสตร หรือสาขาอ่ืน รวมทั้งใหบริการดานศึกษา สํารวจออกแบบและควบคุมงาน/การวิจัย แตไมรวมถึงการใหบริการออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ

“ทีป่รึกษาไทย” หมายความวา ที่ปรึกษาทีม่ีสัญชาติไทย และไดจดทะเบียนไวกับศูนยขอมูลที่ปรึกษาของกระทรวงการคลัง

“คาใชสอย” หมายถึง รายจายเพื่อใหไดมาซ่ึงบริการ (ยกเวนบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจายที่เก่ียวกับการรับรองและพิธีการ และรายจายที่เก่ียวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไมเขาลักษณะรายจายอ่ืน ๆ

Page 6: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-4-รายจายเพื่อใหไดมาซ่ึงบริการ เชน(1) คาปกเสาพาดสายภายนอกสถานที่ราชการเพื่อใหราชการไดใชบริการไฟฟา รวมถึง คาติดต้ัง

หมอแปลงเครื่องวัด และอุปกรณไฟฟาซ่ึงเปนกรรมสิทธ์ิของการไฟฟา(2) คาจางเหมาเดินสายไฟฟาและติดต้ังอุปกรณไฟฟาเพิ่มเติม รวมถึงการซอมแซม บํารุงรักษาหรือ

ปรับปรุงระบบไฟฟา การเพิม่กําลังไฟฟา การขยายเขตไฟฟา(3) คาวางทอประปาภายนอกสถานที่ราชการ เพื่อใหราชการไดใชบริการน้ําประปา รวมถึงคาติดต้ัง

มาตรวัดน้ําและอุปกรณประปา ซ่ึงเปนกรรมสทิธ์ิของการประปา(4) คาจางเหมาเดินทอประปาและติดต้ังอุปกรณประปาเพิม่เติม รวมถึงการซอมแซม บํารุงรักษา

หรือปรับปรุงระบบประปา(5) คาใชจายในการติดต้ังโทรศัพทพื้นฐาน(6) คาเชาทรัพยสิน รวมถึงเงินที่ตองจายพรอมกับการเชาทรพัยสิน เชน คาเชารถยนต คาเชาอาคาร

สิ่งปลูกสรางคาเชาที่ดิน คาเชารับลวงหนา ยกเวนคาเชาบานและคาเชาตูไปรษณีย(7) คาภาษี เชน คาภาษีโรงเรือน เปนตน(8) คาธรรมเนียม ยกเวน คาธรรมเนียมการโอนเงินผานธนาคาร(9) คาเบี้ยประกัน(10) คาจางเหมาบริการ เพื่อใหผูรับจางทําการอยางหนึ่งอยางใดซ่ึงอยูในความรับผิดชอบของผู

รับจาง แตมิใชเปนการประกอบ ดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรุงครภุัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง(11) คาซอมแซมบํารุงรักษาทรัพยสนิ เพื่อใหสามารถใชงานไดตามปกติ

กรณีเปนการจางเหมาทั้งคาสิ่งของและคาแรงงาน ใหจายจากคาใชสอย สวนกรณีที่สวนราชการเปนผูดําเนินการซอมแซมบํารุงรักษาทรพัยสินเองใหปฏบิัติ ดังนี้

1. คาจางเหมาแรงงานของบุคคลภายนอกใหจายจากคาใชสอย2. คาสิ่งของที่สวนราชการซ้ือมาใชในการซอมแซมบํารุงรักษาทรพัยสินใหจายจากคาวัสดุ

รายจายเก่ียวกับการรับรองและพิธีการ เชน(1) คารับรอง หมายถึง รายจายในการเลี้ยงรับรองของทางราชการ(2) คารับรองประเภทเครื่องด่ืม(3) คาใชจายในพิธีทางศาสนา

รายจายเก่ียวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไมเขาลักษณะรายจาย อ่ืน ๆ เชน(1) คาใชจายในการเดินทางไปราชการ (ในประเทศ) เชน คาเบี้ยเลี้ยง คาเชาที่พัก คาพาหนะ(2) คาเบี้ยเลี้ยงทหาร หรือตํารวจ(3) คาเบี้ยเลี้ยงพยาน หรือผูตองหา(4) คาของขวัญ ของรางวัล หรือเงินรางวัล(5) คาพวงมาลัย ชอดอกไม กระเชาดอกไม หรอืพวงมาลา(6) คาชดใชคาเสียหาย คาสินไหมทดแทน กรณีเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากการปฏิบัติงานราชการ(7) เงินรางวัลตํารวจคุมกันทรัพยสินของทางราชการ

Page 7: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-5-(8) เงินรางวัลเจาหนาที่(9) เงินประกันสังคม (ในฐานะนายจาง)(10) คาตอบแทนผูเสียหายในคดีอาญา(11) คาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา(12) คาตอบแทนและคาใชจายแกพยาน

“คาวัสดุ” หมายถึง รายจายดังตอไปนี้(1) รายจายเพื่อจัดหาสิ่งของซ่ึงโดยสภาพเมื่อใชแลวยอมสิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพ หรือไม

คงสภาพเดิม หรือสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาตอหนวยหรือตอชุดไมเกิน 5,000 บาท รวมถึงคาใชจายที่ตองชําระพรอมกัน เชน คาขนสงคาภาษี คาประกันภัย คาติดต้ัง เปนตน

(2) รายจายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีราคาตอหนวยหรือตอชุดไมเกิน 20,000 บาท(3) รายจายเพื่อประกอบดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรงุ ครุภัณฑที่มีวงเงินไมเกิน 5,000 บาท

ที่ดินและหรือสิ่งกอสราง ที่มีวงเงินไมเกิน 50,000 บาท(4) รายจายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรงุ ครุภัณฑคอมพิวเตอร ที่มีวงเงินไมเกิน

5,000 บาท(5) รายจายเพื่อซอมแซมบํารุงรักษาทรพัยสินเพื่อใหสามารถใชงานไดตามปกติ“คาสาธารณูปโภค” หมายถึง รายจายคาบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม

รวมถึงคาใชจายที่ตองชําระพรอมกัน เชน คาบริการ คาภาษี เปนตน ตามรายการ ดังนี้(1) คาไฟฟา(2) คาประปา คาน้ําบาดาล(3) คาโทรศัพท เชน คาโทรศัพทพื้นฐาน คาโทรศัพทเคลื่อนที่ รวมถึงบัตรโทรศัพท บัตรเติมเงนิ

โทรศัพท(4) คาบริการไปรษณียโทรเลข เชน คาไปรษณีย คาโทรเลข คาธนาณัติ คาดวงตรา

ไปรษณียากร คาเชาตูไปรษณีย คาธรรมเนียมการโอนเงนิผานธนาคาร เปนตน(5) คาบริการสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงคาใชจายเพื่อใหไดมาซ่ึงบริการสื่อสารและ

โทรคมนาคม เชน คาโทรภาพ (โทรสาร) คาเทเลกซ คาวิทยุติดตามตัว คาวิทยุสื่อสาร คาสื่อสารผานดาวเทียมคาใชจายเก่ียวกับการใชระบบอินเทอรเน็ต รวมถึงอินเทอรเน็ตการด และคาสื่อสารอ่ืนๆ เชน คาเคเบิ้ลทีวีคาเชาชองสัญญาณดาวเทียม เปนตน

“งบลงทนุ” หมายถึง รายจายที่กําหนดใหจายเพื่อการลงทุน ไดแก รายจายที่จายในลักษณะคาครุภัณฑ คาที่ดินและสิ่งกอสราง รวมถึงรายจายที่กําหนดใหจายจากงบรายจายอ่ืนใดในลักษณะรายจายดังกลาว

“คาครุภัณฑ” หมายถึง รายจายดังตอไปนี้(1) รายจายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาตอหนวยหรือตอชุด เกินกวา

5,000 บาท รวมถึงคาใชจายที่ตองชําระพรอมกัน เชน คาขนสง คาภาษ ีคาประกันภัย คาติดต้ัง เปนตน(2) รายจายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีราคาตอหนวยหรือตอชุดเกินกวา 20,000 บาท

Page 8: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-6-(3) รายจายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ตอเติมหรือปรับปรงุครุภัณฑ รวมทั้งครุภัณฑคอมพิวเตอร

ที่มีวงเงินเกินกวา 5,000 บาท(4) รายจายเพื่อซอมแซมบํารุงรักษาโครงสรางของครุภณัฑขนาดใหญ เชน เครื่องบนิ

เครื่องจักรกลยานพาหนะ เปนตน ซ่ึงไมรวมถึงคาซอมบํารุงปกติหรือคาซอมกลาง(5) รายจายเพื่อจางทีป่รึกษาเพื่อการจัดหาหรือปรบัปรงุครุภัณฑ“คาที่ดนิและสิ่งกอสราง” หมายถึง รายจายเพื่อใหไดมาซ่ึงที่ดินและหรือ สิ่งกอสราง รวมถึง

สิ่งตาง ๆ ซ่ึงติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งกอสราง เชน อาคาร บานพัก สนามเด็กเลน สนามกีฬา สนามบนิ สระวายน้ํา สะพาน ถนน รั้ว บอน้ํา อางเก็บน้ํา เข่ือน เปนตน รวมถึงรายจายดังตอไปนี้

(1) คาติดต้ังระบบไฟฟา หรอืระบบประปา รวมถึงอุปกรณตางๆ ซ่ึงเปนการติดต้ังครั้งแรกในอาคารหรือสถานที่ราชการ ทั้งที่เปนการดําเนนิการพรอมการกอสราง อาคารหรือภายหลังการกอสรางอาคาร

(2) รายจายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ตอเติม หรือปรับปรงุที่ดินและหรือสิ่งกอสราง ที่มีวงเงินเกินกวา 50,000 บาท เชน คาจัดสวน คาถมดิน เปนตน

(3) รายจายเพื่อจางออกแบบ จางควบคุมงานที่จายใหแกเอกชน หรือนิติบุคคล(4) รายจายเพื่อจางที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งกอสราง(5) รายจายที่เก่ียวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งกอสราง เชน คาเวนคืนที่ดิน คาชดเชยกรรมสิทธ์ิ

ที่ดิน คาชดเชยผลอาสิน เปนตนกระบวนการในการจัดหาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ มดีวยกันทั้งหมด 7 ขอ

1. การจัดทําเอง2. การซ้ือ3. การจาง4. การจางทีป่รึกษา5.การจางออกแบบและควบคุมงาน6.การแลกเปลี่ยน7.การเชา

บุคคลท่ีเกี่ยวของในการดําเนินการ1. เจาหนาทีพ่ัสดุ2. หัวหนาเจาหนาทีพ่ัสดุ3. หัวหนาสวนราชการ4. ผูสัง่ซ้ือ/สั่งจาง (ในที่นี้หมายถึงอธิบดี / รองอธิบดี / ผูอํานวยการกอง/ผูอํานวยการสํานัก/

หัวหนาฝาย / หัวหนาเจาหนาที่พสัดุ)5.คณะกรรมการตางๆ

Page 9: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-7-องคประกอบคณะกรรมการ

คณะกรรมการในการจัดซ้ือ/จัดจางแตละคณะ (ยกเวนจางที่ปรึกษา) จะตองมีจํานวนอยางนอย3 คน ประกอบดวย ประธาน 1 คน และอยางนอยกรรมการ 2 คน โดยปกติตองแตงต้ังบุคคล ระดับ 3 ข้ึนไปแตสําหรับการจัดซ้ือจัดจางที่วงเงินไมเกิน 10,000 บาท จะแตงต้ังขาราชการหรือลูกจางประจําคนหนึง่เปนผูตรวจรับก็ไดประเภทคณะกรรมการ มดีังนี้

1. คณะกรรมการเปดซองสอบราคา2. คณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา3. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา4. คณะกรรมการจัดซ้ือโดยวิธีพิเศษ5. คณะกรรมการจัดจางโดยวิธีพิเศษ6. คณะกรรมการตรวจรับพสัดุ7. คณะกรรมการตรวจการจาง (เฉพาะกรณีจางกอสรางเทานัน้)

อ่ืนๆ (กรณีการกอสราง)- ผูควบคุมงาน- คณะกรรมการกําหนดราคากลาง

ขอยกเวน1. หามแตงต้ังคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา เปนคณะกรรมการพิจารณาผลการ

ประกวดราคา2. หามแตงต้ังคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเปนคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ3. หามแตงต้ังคณะกรรมการเปดซองสอบราคาเปนกรรมการตรวจรับพัสดุ

การประชุมคณะกรรมการองคประชุม : ประธานและกรรมการไมนอยกวาก่ึงหนึ่ง และมีเสียงหนึง่เสียงในการลงมติ

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจการจางใชมติเอกฉันท หากกรรมการไมเหน็ดวยให้ทําความเหน็แย้งไว้หนาท่ีของคณะกรรมการตรวจรับ

ตามระเบียบฯ ขอ ๗๑ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ มีหนาที่ดังนี้(๑) ตรวจรบัพัสดุ ณ ที่ทําการของผูใชพัสดุนั้น หรือสถานที่ ซ่ึงกําหนดไวในสัญญาหรือขอตกลงการ

ตรวจรับพัสดุ ณ สถานที่อ่ืน ในกรณีที่ ไมมีสัญญาหรือขอตกลง จะตองไดรับอนุมัติ จากหัวหนาสวนราชการกอน(๒) ตรวจรับพัสดุใหถูกตองครบถวน ตามหลักฐานที่ตกลงกันไว สําหรับกรณีที่มีการทดลองหรือ

ตรวจสอบ ในทางเทคนิคหรอืทางวิทยาศาสตร จะเชิญผูชํานาญการ หรือผูทรงคุณวุฒิเก่ียวกับพัสดุนั้น มาใหคําปรึกษา หรือสงพัสดุนัน้ ไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานที่ของผูชํานาญการ หรือผูทรงคุณวุฒินั้นๆ ก็ไดในกรณีจําเปน ที่ไมสามารถตรวจนับ เปนจํานวนหนวยทั้งหมดได ใหตรวจรับ ตามหลกัวิชาการสถิติ

Page 10: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-8-(๓) โดยปกติ ใหตรวจรับพสัดุ ในวันที่ผูขายหรือผูรับจาง นาํพัสดุมาสง และใหดําเนินการ

ใหเสร็จสิ้นไป โดยเร็วที่สุด(๔) เมื่อตรวจถูกตองควบถวนแลว ใหรับพัสดุไว และถือวาผูขายหรือผูรับจาง ไดสงมอบพัสดุถูกตอง

ครบถวน ต้ังแตวันที่ผูขายหรือผูรับจาง นําพัสดุนั้นมาสง แลวมอบแกเจาหนาทีพ่ัสดุ พรอมกับทําใบตรวจรับโดยลงชื่อไวเปนหลักฐาน อยางนอยสองฉบับ มอบแกผูขายหรือผูรับจาง ๑ ฉบับ และเจาหนาทีพ่ัสดุ ๑ ฉบับเพื่อดําเนินการเบิกจายเงิน ตามระเบียบวาดวย การเบกิจายเงินจากคลัง และรายงาน ใหหัวหนาสวนราชการทราบในกรณีที่เห็นวา พัสดุที่สงมอบ มีรายละเอียด ไมเปนไปตามขอกําหนด ในสัญญาหรือขอตกลง ใหรายงานหัวหนาสวนราชการ ผานหัวหนาเจาหนาทีพ่ัสดุ เพื่อทราบ หรือสั่งการ แลวแตกรณี

(๕) ในกรณีที่ผูขายหรือผูรับจาง สงมอบพัสดุถูกตอง แตไมครบจํานวน หรือสงมอบครบจํานวนแตไมถูกตองทั้งหมด ถาสัญญาหรือขอตกลง มิไดกําหนดไวเปนอยางอ่ืน ใหตรวจรับไว เฉพาะจํานวนที่ถูกตองโดยถือปฏิบัติตาม (๔) และโดยปกติ ใหรีบรายงาน หัวหนาสวนราชการ เพื่อแจงใหผูขาย หรือผูรับจางทราบภายใน ๓ วันทาํการ นบัแตวันตรวจพบ แตทั้งนี ้ไมไดตัดสิทธ์ิ ของสวนราชการ ที่จะปรับผูขายหรือผูรับจางในจํานวนที่สงมอบ ไมครบถวน หรือไมถูกตองนั้น

(๖) การตรวจรบัพัสดุ ทีป่ระกอบกัน เปนชุดหรือหนวย ถาขาดสวนประกอบ อยางใดอยางหนึ่งไปแลวจะไมสามารถใชการได โดยสมบูรณ ใหถือวา ผูขายหรือผูรับจาง มไิดสงมอบพัสดุนัน้ และโดยปกติ ใหรีบรายงานหัวหนาสวนราชการ เพื่อแจงใหผูขาย หรือผูรับจางทราบ ภายใน ๓ วันทําการ นับแตวันที่ตรวจพบ

(๗) ถากรรมการตรวจรบัพสัดุบางคน ไมยอมรับพัสดุ โดยทําความเห็นแยงไว ใหเสนอหัวหนาสวนราชการ เพื่อพิจารณาสัง่การ ถาหัวหนาสวนราชการ สั่งการใหรับพัสดุนั้นไว จึงดําเนินการ ตาม (๔) หรือ(๕) แลวแตกรณีวิธีการจัดซื้อจัดจาง ในปจจุบันมีทัง้หมด 6 วิธี

1. วิธีตกลงราคา2. วิธีสอบราคา3. วิธีประกวดราคา4. วิธีพิเศษ5. วิธีกรณีพิเศษ6. วิธีประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (e-Auction)

หมายเหตุ มีการเพิ่มการจดัซ้ือจัดจางอีก 1 วิธี คือวิธีการประมูลดวยระบบอิเล็กทรอนิกส และไดนํามาใชต้ังแตป 2549

กรณีท่ีใชวงเงินเปนตัวกําหนดวิธี จะมีดวยกัน 3 วิธี คือ1. วิธีตกลงราคา (เปนการจัดหาครั้งหนึง่ไมเกิน 100,000 บาท)2. วิธีสอบราคา (เกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท)3. วิธีประกวดราคา (เกินกวา 2,000,000 บาท ข้ึนไป)

กรณีท่ีใชวงเงินและเง่ือนไขเปนตัวกําหนด มี 1 วิธี คือ- วิธีพิเศษ (เกิน 100,000 บาท และตองมีเหตุผลตามระเบียบขอ 23 และ 24)

Page 11: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-9-กรณีทีใชเง่ือนไข (ไมจํากัดวงเงิน) มี 1 วิธี คือ

- วิธีกรณีพิเศษ ซ่ึงเปนการจัดซ้ือจัดจางจากสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ ในกรณีที่เปนผูผลิตพัสดุหรือรับจางทาํงานนัน้ หรือจากหนวยงานที่มีกฎหมายหรอืมติคณะรัฐมนตรีกําหนดใหซ้ือหรือจางขั้นตอนการซือ้การจางทุกวิธี

เจาหนาที่พสัดุ ทํารายงานขอซ้ือขอจางหัวหนาสวนราชการ ใหความเห็นชอบ(หรือผูไดรับมอบอํานาจ) แตงต้ังคณะกรรมการ

ตกลงราคาสอบราคา

ดําเนนิการ ประกวดราคาพิเศษกรณีพิเศษประมลูด้วยระบบอิเลก็ทรอนิกส์

ทําสัญญาตรวจรับ/เบิกจายวิธีการจัดซ้ือ/จัดจาง

1. ตกลงราคา วงเงินไมเกิน 100,000.- บาท(ขอ 19, ดําเนนิการตามขอ 39)

2. สอบราคา วงเงินเกินกวา 100,000.- บาท แตไมเกิน2,000,000.- บาท(ขอ 20, ดําเนนิการตามขอ 40-43)

3. ประกวดราคา วงเงินเกินกวา 2,000,000.- บาท(ขอ 21, ดําเนนิการตาม ขอ 44-56)

4. วิธีพิเศษ วงเงินเกินกวา 100,000.- บาท(ขอ 23->การซ้ือ ดําเนนิการตามขอ 57)(ขอ 24->การจาง ดําเนนิการตามขอ 58)

5. วิธีกรณีพิเศษ ไมจํากัดวงเงิน(ขอ 26, ดําเนนิการตาม ขอ 59)

Page 12: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-10-

6. e-Auction วงเงินไมตํ่ากวา 2,000,000 บาท(ดําเนินการตามหลักเกณฑกระทรวงการคลัง)

ขั้นตอนการจัดหาพัสดุ

ขอความเห็นชอบ ประเภทการจัดหาพัสดุ

ดําเนินการ- หัวหนาสวนราชการ

ขออนุมัติ - ปลัดกระทรวง/ทบวง- รัฐมนตรีเจาสังกัด

การทําสัญญา หัวหนาสวนราชการ

การตรวจรับ - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ-คณะกรรมการตรวจการจาง

การจัดหาพัสดุไมวาจะเปนประเภทใดใน 7 ประเภท ดังกลาว มีข้ันตอนดําเนินการที่สําคัญ 5 ข้ันตอน โดยแตละข้ันตอนตองดําเนินการตามลําดับอยางเครงครัด ไมสามารถดําเนินการสลับข้ันตอนได

Page 13: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-11-รายงานขอซือ้/ขอจาง

กอนซ้ือ หรือจางทุกวิธีเจาหนาที่พสัดุตองทํารายงานขอซ้ือขอจางทุกครั้ง ตามรายละเอียดดังนี้1. เหตุผลและความจําเปนที่ตองซ้ือหรือจาง …………………………………………………………....2. รายละเอียดของพัสดุที่จะซ้ือหรืองานที่จะจาง………………………………………………………..3. ราคามาตรฐานหรือราคากลางหรือราคาที่เคยจัดซ้ือครั้งหลงัสุดภายใน 2

งบประมาณ…………...4. วงเงินที่จะซ้ือหรือจาง ………………………………………………………………………………...5. กําหนดเวลาที่ตองการใชพัสดุนั้น หรือใหงานนั้นแลวเสร็จ………………………….……………….6. วิธีที่จะซ้ือหรือจางและเหตุผล…………………………………………………………….……….…7. ขอเสนออ่ืนๆ เชนแตงต้ังคณะกรรมการ………………………………………………….…………..

ขอยกเวน การซ้ือหรือการจางโดยวิธีตกลงราคาในกรณีจําเปนและเรงดวนที่เกิดข้ึนโดยไมไดคาดหมายไวกอน และไมอาจดําเนินการตามปกติไดทัน ใหเจาหนาทีพ่ัสดุหรือผูที่เก่ียวของดําเนินการไปกอนแลว รีบรายงานขอความเหน็ชอบตอหัวหนาสวนราชการเมื่อหัวหนาสวนราชการใหความเห็นชอบแลวใหถือวารายงานดังกลาวเปนหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม

ขอควรระวัง ในการดําเนนิการในขอนี้ตองใชดุลพินิจและตองมีความสมเหตุสมผล ยกตัวอยาง เชนในการเดินทางไปราชการแลวรถเสียกะทันหัน ถือวาเปนเหตุการณที่ไมไดคาดหมายไวกอน สามารถใชขอนี้ได

ขั้นตอนการดําเนินการจัดซื้อจัดจางการจัดซ้ือจัดจางแตละวิธีตอไปนี้จะแบงออกเปน 3 สวน ซ่ึงจะใชตัวเลขเรียงลําดับข้ันตอนที่

เก่ียวของกับบุคคลในแตละสวนสวนที่ 1 เปนสวนที่เก่ียวของกับ สํานัก/กอง/ฝาย ผูกําหนดความตองการ (หรือเรียกวาผูใชงาน)

คณะกรรมการตางๆ และผูบนัทึกบัญชีวัสดุสวนที่ 2 เจาหนาที่พสัดุ และหัวหนาเจาหนาทีพ่ัสดุ ผูดําเนนิการสวนที่ 3 หัวหนาสวนราชการ /และผูไดรับมอบอํานาจ ซ่ึงเปนผูอนมุตัิ หรือรับทราบการดําเนนิการ

ตางๆ ในทีน่ี่จะเรียกวาผูมีอํานาจ

Page 14: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-12-ขั้นตอนการดําเนินการจัดซ้ือ/จัดจางวิธีตกลงราคา (ไมเกิน 100,000 บาท)

สํานัก/กอง/ฝาย เจาหนาที่พสัด/ุหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ

ผูมีอํานาจ

1. จัดทําบันทึกความตองการพรอมรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือขอบเขตการจาง และรายช่ือคณะกรรมการตรวจรับ พัสดุ

8. ตรวจรับสินคา/จัดทําใบกรรมการตรวจรับและใบเบิกพัสดุเสนอผูมีอํานาจทราบ และบันทึกบัญชีวัสดุไวเปนหลักฐานเพื่อประกอบการเบิกจายวัสดุ และตรวจนับพัสดุคงเหลือส้ินงวด

10. เม่ือผูมีอํานาจอนุมัติและรับทราบการตรวจรับดังกลาวแลวจะตองสงเอกสารทั้งหมดใหฝายคลังและพัสดุเพื่อทําการเบิกจาย

2. ตรวจสอบความถูกตองของรายการซื้อ/จาง และวงเงินที่จะใชโดยประมาณ

3. จัดทํารายงานขอซื้อ/ขอจางพรอมแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสนอผูมีอํานาจอนุมัติ ผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ และเลขานุการกรม

5. หัวหนาเจาหนาที่พัสดุออกใบส่ังซื้อ/ส่ังจาง(กรณีเกิน 5,000 บาท หากไมเกิน5,000 บาท เจาหนาที่พัสดุจะติดตอกับผูขายโดยตรง)

6. รับมอบสินคา จากผูขาย/ผูรับจาง

7. สงมอบแกคณะกรรมการตรวจรับ

11. ตรวจสอบความถูกตองของเอกสารหลักฐานการตรวจรับ และสงเอกสารทั้งหมดเพื่อเบิกจายเงินตองานการเงิน

4. อนุมัติรายงาน

9. ทราบ /อนุมัติการเบิกจายพัสดุ

ขอแนะนํา (เฉพาะเจาหนาที่พสัด)ุ1. ในการจัดทํารายงานขอซ้ือขอจางใหทําสําเนาไว 1 ชุด2. จัดทําทะเบียนคุมเลขที่รายงานขอซ้ือขอจาง และลงวันที่ที่รายงานไดรับอนุมัติ3. จัดทําทะเบียนคุมเลขที่ใบสั่งซ้ือสั่งจาง ติดตอผูขาย/ผูรับจาง4. สําเนาเอกสารตรวจรับเพื่อจัดเก็บไวเปนหลักฐานอางอิง 1 ชุด ประกอบดวย ใบ

กรรมการตรวจรับใบสงสนิคาหรือใบแจงหนี้ บันทึกความตองการ สําเนาใบสั่งซ้ือสั่งจาง5. ลงสมุดคุมหลักฐานการสงเบิกเงินทุกครั้ง โดยสําเนาใบกรรมการตรวจรับและใบแจงหนี้

ใหบัญชีดวย6. กรณีเปนวัสดุ ใหลงบญัชีวัสดุ7. กรณีเป็นครุภณัฑ์ ให้จดัทําทะเบียนคมุครุภัณฑ์ ออกรหสัครุภณัฑ์ และเขียนรหสัให้ครบถ้วน

Page 15: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-13-ขั้นตอนการดําเนนิการจัดซ้ือ/จัดจางวิธีสอบราคา (เกิน 100,000 บาท แตไมเกิน 2,000,000 บาท )

สํานัก/กอง/ฝาย เจาหนาที่พัสดุ/หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ ผูมีอํานาจ

1. จัดทําบันทึกความตองการพรอมรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือขอบเขตการจางและรายช่ือคณะกรรมการเปดซองสอบราคาและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

8. เปดซองเอกสารตามบัญชีสวนที่ 1 เพื่อตรวจสอบรายช่ือผูมีผลประโยชนรวมกัน แลวประกาศรายช่ือผูผานการคัดเลือกพรอมทั้งแจงผูที่ไมผาน (ถามี)

9. คัดเลือกผูเสนอราคาที่เสนอตรงตามขอกําหนดและจัดทําบันทึกสรุปผลการจัดซื้อจัดจางเสนอผูมีอํานาจอนุมัติผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ

15. ตรวจรับพรอมจัดทําใบเบิกพัสดุ เสนอผูมีอํานาจทราบและอนุมัติการเบิกจายพัสดุ

17. สงเอกสารทั้งหมดใหฝายการคลังและพัสดุเพื่อเบิกจายเงินภายหลังจากผูมีอํานาจรับทราบและบันทึกบัญชี(กรณีเปนวัสดุ) ไวเปนหลักฐานประกอบการ

2. ตรวจสอบความถูกตองของรายการซื้อ/จางและวงเงินที่ใช

3. จัดทํารายงานขอซื้อ/ขอจาง แตงตั้งคณะกรรมการฯ จัดทําเอกสารสอบราคาเสนอผูมีอํานาจผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุและเลขานุการกรม

5. จัดสงเอกสารสอบราคาไปยังผูขาย/ผูรับจางใหมากที่สุดพรอมประกาศลงเว็บไซตของสวนราชการและของรมบัญชีกลาง www.pcd.go.th และwww.Gprocurement.or.th พรอมปดประกาศ ณ สวนราชการ

6. รับซองสอบราคาจากผูยื่น โดยออกหลักฐานการรับซองใหกับผูยื่นทุกรายและสงมอบซองใหหัวหนาเจาหนาที่พัสดุเก็บรักษาทันที

7. หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ สงมอบซองสอบราคาแกคณะกรรมการเปดซองสอบราคาเม่ือถึงกําหนดเปดซอง

10. หัวหนาเจาหนาที่พัสดุตรวจสอบความถูกตองของการคัดเลือกผูเสนอราคาและเสนอผูมีอํานาจอนุมัติ

12. แจงผลการเปดซองแกผูเขาเสนอราคาทุกรายทราบ และจัดทําสัญญากับผูไดรับคัดเลือกหลังจากไดรับอนุมัติเงินประจํางวดแลว

14. ผูขาย/ผูรับจางสงมอบสินคา/งานตามสัญญาแกคณะกรรมการตรวจรับ

18.เจาหนาที่พัสดุตรวจสอบเอกสารหลักฐานการตรวจรับและสงเบิกเงินตองานการเงิน

4. อนุมัติในรายงานขอซื้อขอจางพรอมลงนามในคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการฯ และประกาศสอบราคาฉบับยอ

11. อนุมัติในผลการจัดซื้อ/จาง

13. ลงนามในสัญญา16. รับทราบการตรวจรับ

ของ6รรมการตรวจรับและอนุมัติการเบิกจายพัสดุ

Page 16: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-14-ขัน้ตอนการดําเนินการจัดซ้ือ/จัดจางวิธีประกวดราคา (เกิน 2,000,000 บาท )

สํานัก/กอง/ฝาย เจาหนาที่พัสดุ/หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ

ผูมีอํานาจ

1. จัดทําบันทึกความตองการพรอมรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือขอบเขตการจางและรายช่ือคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคาคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

6.รับซองประกวดราคาจากผูยื่นซอง โดยออกหลักฐานการรับซองใหกับผูยื่นทุกรายและตรวจสอบหลักประกันซองรวมกับเจาหนาที่การเงิน โดยเจาหนาที่การเงินตองออกหลักฐานการรับหลักประกันซองแกผูยื่นซองดวย ในกรณีที่หลักประกันซองเปนหนังสือคํ้าประกันธนาคารใหสงสําเนาใหธนาคารดวย

6.1 สงมอบเอกสารตามบัญชีสวนที่ 1 ใหแกคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา

6.2 คณะกรรมการพิจารณาผลฯตรวจสอบรายช่ือผูมีผลประโยชนรวมกันแลวประกาศรายช่ือผูที่ผานพรอมทั้งแจงผูที่ไมผานทราบ(ถามี)พรอมใหสิทธ์ิอุทธรณตอปลัดกระทรวงภายใน 3 วัน แตถาเอกสารสวนที่ 1 ไมครบผูยื่นซองจะไมไดสิทธิอุทธรณ

2. ตรวจสอบความถูกตองของรายการซื้อ/จางและวงเงินที่ใช

3. จัดทํารายงานขอซื้อ/ขอจางแตงตั้งคณะกรรมการฯ จัดทําเอกสารประกวดราคาเสนอผูมีอํานาจอนุมัติผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุและเลขานุการกรม

5 จัดสงเอกสารประกวดราคาไปยังสถานีวิทยุหรือหนังสือพิมพ กรมประชาสัมพันธ องคการส่ือสารมวลชนแหงประเทศไทย ศูนยรวมขาวประกวดราคาและสํานักงานการตรวจเงินแผนดินพรอมประกาศลงเว็บไซตของสวนราชการและของกรมบัญชีกลาง www.pcd.go.th และwww.Gprocurement.or.th และปดประกาศในตูปดประกาศที่มีกุญแจปดตลอดเวลา โดยจะตองกระทํากอนการขายเอกสารประกวดราคาไมนอยกวา7 วันทําการ และจัดใหมีการบันทึกการปดประกาศ การปลดประกาศและพยานในการปดประกาศและปลดประกาศแตละครั้ง รวมทั้งผูนําสงประกาศและผูรับประกาศในหนวยงานสารบรรณกลางเปนลายลักษณอักษร ตามทะเบียนที่สํานักงานการตรวจเงินแผนดินกําหนด(อางถึง : ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544)

4. อนุมัติในรายงานขอซื้อขอจางพรอมลงนามในคําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการและประกาศประกวดราคา

Page 17: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-15 –

ขั้นตอนการดําเนินการจัดซ้ือ/จัดจางวิธีประกวดราคา (เกิน 2,000,000 บาท ) (ตอ)

สํานัก/กอง/ฝาย เจาหนาที่พัสดุ/หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ

ผูมีอํานาจ

6.3 คณะกรรมการรับและเปดซองอานแจงราคาและเอกสารโดยเปดเผยเฉพาะรายที่ผานการตรวจสอบผูมีผลประโยชนรวมกันและลงลายมือช่ือในเอกสารทุกฉบับแลวสงมอบใหคณะกรรมการพิจารณาผลฯ ตอไป

6.4 คณะกรรมการพิจารณาผลฯตรวจสอบรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรืองานจางแลวคัดเลือกผูเสนอราคาที่ถูกตองตามเงื่อนไข(ตรงสเปก)

6.5 คัดเลือกคุณภาพ คุณสมบัติที่เปนประโยชนตอทางราชการและราคาต่ําสุด จัดทําบันทึกสรุปผลการจัดซื้อ/จัดจางเสนอผูมีอํานาจอนุมัติผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ

7. หัวหนาเจาหนาที่พสัดุตรวจสอบความถูกตองของการคัดเลือกผูเสนอราคา แลวเสนอผูมีอํานาจอนุมัติ

9. เจาหนาที่พัสดุ แจงผลการประกวดราคาตอผูเขาเสนอราคา และใหสิทธิอุทธรณตอผูทําคําส่ังในกรณีที่ผูเขาเสนอราคาไมเห็นดวยกับผลการจัดซื้อ โดยกําหนดใหอุทธรณภายใน15 วันนับตั้งแตไดรับหนังสือ(อางถึงพรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 มาตรา 44)

10.จัดทําสัญญากับผูไดรับการคัดเลือก เสนอหัวหนาสวนราชการลงนาม หลังจากไดรับอนุมัติเงินประจํางวด (อางถึง พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502)ข้ันตอนหลังจากจัดทําสัญญาแลวจะเหมือนกันทุกวิธี

8. อนุมัติผลการจัดซื้อ/จาง11. ลงนามในสัญญา

ขอแนะนําเฉพาะเจาหนาท่ีพัสดุ1. ในการลงประกาศในเว็บไซตของกรมบัญชีกลาง www.Gprocurement.or.th นั้น ให

บันทึกทุกข้ันตอนต้ังแตประกาศการจัดซ้ือจัดจาง บันทกึขอมูลผูย่ืนซองและเสนอราคา บันทึกขอมูลประกาศผลการจัดซ้ือจัดจาง บันทึกขอมูลสัญญาและการสงมอบ

2. ในการสอบราคา/ประกวดราคาใหเจาหนาที่พัสดุสงสําเนาประกาศใหคณะกรรมการเปดซองสอบราคาและคณะกรรมการรับและเปดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาทราบดวย

Page 18: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-16-ขั้นตอนการดําเนินการจัดซ้ือ/จัดจางโดยวิธีพิเศษ (เกิน 100,000 บาท )

สํานัก/กอง/ฝาย เจาหนาที่พัสดุ/หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ ผูมีอํานาจ

1. จัดทําบันทึกความตองการพรอมรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะหรือขอบเขตการจางและเสนอรายช่ือคณะกรรมการจัดซื้อ/จัดจางและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

5. คัดเลือกผูขาย/ผูรับจาง โดยถาเปนการซื้อที่ผูขายมีมากรายใหมีการเปรียบเทียบตั้งแต 2 รายข้ึนไป แลวเสนอผลการจัดซื้อจัดจางตอผูมีอํานาจผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ

2. จัดทํารายงานขอซื้อขอจางพรอมแตงตั้งคณะคณะกรรมการจัดซื้อ/จัดจางและคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสนอผูมีอํานาจอนุมัติผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุ และเลขานุการกรม

4. แจงคําส่ังแกคณะกรรมการฯ6. ตรวจสอบความถูกตองของการ

คัดเลือกผูเสนอราคาของคณะกรรมการจัดซื้อ/จัดจางเสนอผูมีอํานาจอนุมัติ

8.จัดทําสัญญา/หรือใบส่ังซื้อส่ังจางเสนอผูมีอํานาจลงนาม

3. อนุมัติในรายงานและลงนามในคําส่ังแตงตั้ง

7. อนุมัติผลการจัดซื้อจัดจาง9. ลงนามในใบส่ังซื้อ/ส่ังจาง

การซ้ือโดยวิธีพิเศษ มเีง่ือนไขดังนี้1. เปนของที่จะขายทอดตลาด (ไมใชของที่กําลังขายทอดตลาดอยูในขณะนั้น)2. ตองซ้ือเรงดวน หากลาชาจะเสียหายแกราชการ3. ใชในราชการลับ4. ซ้ือเพิ่มในสถานการณที่จําเปน (ผูขายรายเดิม ราคาตอหนวยเทาเดิม)5. ซ้ือจากตางประเทศ6. มีขอจํากัดทางเทคนิคระบุย่ีหอ /รถประจําตําแหนง7. ที่ดิน/สิ่งกอสรางเฉพาะที่ (ตองมีเหตุผลความจําเปนที่ตองซ้ือ ณ ที่นั้นๆ)8. ดําเนินการวิธีอ่ืนแลวไมไดผลดี (เชนประกวดราคาหรือสอบราคาแลวไมมีผูย่ืนซอง)

การจางโดยวิธีพิเศษ มเีง่ือนไขดังนี้1. ตองจางผูมีฝมือเฉพาะหรือชํานาญ (เชน กรมศิลปากร ตองการจางชางเขียนภาพ เปนตน)2. จางซอมที่ตองถอดตรวจ (เชนซอมรถยนต)3. เรงดวน (มีความจําเปนตองใชการภายในระยะเวลาอันสั้น)4. งานปกปดเปนความลับ5. จางเพิม่ในสถานการณทีจ่ําเปน6. ดําเนินการวิธีอ่ืนแลวไมไดผลดี

Page 19: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-17-ขั้นตอนการดําเนนิการจัดซ้ือ/จัดจางวิธีกรณีพิเศษ (ไมจํากัดวงเงิน)

สํานัก/กอง/ฝาย เจาหนาที่พัสดุ/หัวหนาเจาหนาที่พัสดุ ผูมีอํานาจ

1. จัดทําบันทึกความตองการพรอมลายละเอียดคุณกษณะเฉพาะหรืองานจางและเสนอรายช่ือกรรมการตรวจรับพัสดุ

*หมายเหตุ : ไดแกการซื้อหรือจางจากสวนราชการ หนวยงานสวนทองถ่ิน รัฐวิสาหกิจ ดังน้ี

1. เปนผูผลิตพัสดุหรือทํางานจางน้ันเอง และนายกรัฐมนตรีอนุมัติใหซื้อหรือจาง

2. มีกฎหมาย หรือมติ ครม.กําหนดใหซื้อหรือจางและใหรวมถึงหนวยงานที่มีกฎหมายหรือมติ ครม.กําหนดดวย

2.จัดทํารายงานขอซื้อขอจางพรอมแตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสนอผูมีอํานาจอนุมัติผานหัวหนาเจาหนาที่พัสดุและลขานุการกรม

4. ตกลงราคากับผูขาย/ผูรับจาง5.ออกใบส่ังซื้อ/ส่ังจางเสนอผูมี

อํานาจลงนาม(หัวหนาเจาหนาที่พัสดุไมเกิน 100,000 บาท)

3.อนุมัติ6. ลงนามในใบส่ังซื้อส่ังจาง

กรณีเกินกวา100,000 บาท

ตัวอยาง สินคาหรืองานจางท่ีไดรับสิทธิพิเศษตามมติครม.1) น้ํามัน ใหจัดซ้ือจากปตท. หรือบางจาก2) แบตเตอรี่รถยนต ใหซ้ือจาก องคการแบตเตอรี่ หรอืตัวแทนจําหนาย3) กระดาษถายเอกสาร ใหซ้ือจาก บริษัท โรงงานอุตสาหกรรมกระดาษบางปะอิน จํากัด

(สิ้นสุด ป พ.ศ.2550)4) งานพิมพ ใหจางจาก โรงพิมพชุมนุมสหกรณ โรงพิมพคุรุสภา และอ่ืนที่ไดรับมติ ครม.5) งานรักษาความปลอดภัย ใหจางองคการสงเคราะหทหารผานศึก6) งานรบัสงสนิคาและพัสดุภัณฑ ใหจาง องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.)

Page 20: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

-18-สรุป

การจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุหลักการจัดซื้อจัดจางและการบริหารพัสดุ

หลักการจัดซ้ือจัดจางและการบรหิารพัสดุ ประกอบดวย ความโปรงใส ตรวจสอบได และมีการแขงขันอยางเปนธรรม ซ่ึงหลักการดังกลาวผูปฏิบัติงานเก่ียวกับการพัสดุควรตองคํานึงถึงอยูตลอดเวลาในการปฏิบัติงาน ซ่ึงขอบเขตการจัดซ้ือจัดจางและการบริหารพัสดุสามารถแบงออกเปน 5 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 การกําหนดความตองการ และการของบประมาณระยะที่ 2 การเตรียมการจัดซ้ือจัดจางระยะที่ 3 การจัดซ้ือจัดจางระยะที่ 4 การบริหารสัญญา และระยะที่ 5 การควบคุมและจําหนายพัสดุระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแกไขเพ่ิมเตมิการจัดหาพัสดุภาครัฐแบงออกเปน 7 ประเภท ไดแก การจัดทําเอง การซ้ือ การจาง การจาง

ที่ปรึกษา การจางออกแบบและควบคุมงาน การเชา และการแลกเปลี่ยน ซ่ึงการจัดหาแตละประเภทมีข้ันตอนการดําเนินการที่สําคัญ 5 ข้ันตอน คือ การรายงานขอความเห็นชอบการจัดหาพัสดุ การดําเนนิการจัดหาพัสดุการขออนุมัติ การทําสัญญา และการตรวจรับ โดยทีจ่ะตองดําเนินการในแตละข้ันตอนตามลําดับอยางเครงครัดไมสามารถดําเนินการสลับข้ันตอนกันได

สําหรบั การจัดหาพัสดุทั้งประเภทการซ้ือการจาง และการจางที่ปรึกษา ผูปฏิบัติงานที่เก่ียวของกับงานพัสดุ จะตองตรวจสอบการมีผลประโยชนรวมกัน

การจัดซือ้จัดจางการจัดซ้ือจัดจางตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และทีแ่กไข

เพิ่มเติมมีวิธีการจัดหา 5 วิธี ไดแก วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษซ่ึงในการดําเนินการซ้ือหรือจางผูดําเนนิการจะเปนบุคคล หรือคณะกรรมการข้ึนอยูกับวิธีการดําเนินการจัดหาในแตละวิธี

สําหรบั อํานาจในการสัง่ซ้ือ/สั่งจาง เปนอํานาจของหัวหนาสวนราชการ ปลัดกระทรวง และรัฐมนตรีเจาสังกัด ซ่ึงจะตองพิจารณาวงเงนิสุทธิในการจัดซ้ือจัดจาง และวิธีการจัดหาประกอบกัน และเมื่อผูขายหรือผูรับจางดําเนินการตามสัญญาจัดซ้ือจัดจางแลวเสร็จ สวนราชการจะตองดําเนินการตรวจรับพัสดุ โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ผูตรวจรับพัสดุ หรือคณะกรรมการตรวจรับพัสดุผูมีหนาที่บรหิารสญัญา สําหรับกรณีจางกอสราง สวนราชการตองแตงต้ังคณะกรรมการตรวจการจาง และผูควบคุมงานเพื่อบริหารสญัญาใหผูรบัจางดําเนนิการตามสัญญาจาง

ทั้งนี้ สวนราชการจะตองถือปฏบิัติตามระเบียบดังกลาวทุกข้ันตอน หากละเวนในเรือ่งใดเรื่องหนึ่งจะถือวาปฏิบัติไมถูกตองตามระเบียบฯ

--------------------------------------------------

Page 21: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

ภาคผนวก

1. ตัวอยาง กรณี ซื้อโดยวิธีตกลงราคา ทีม่ีวงเงินไมเกิน 5,000 บาท2. ตัวอยาง กรณี ซื้อโดยวิธีตกลงราคา ที่มีวงเงินเกิน 5,000 บาท

**********************************

Page 22: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

ตัวอยาง กรณี ซ้ือโดยวธิีตกลงราคาที่มวีงเงนิไมเกิน 5,000 บาท

Page 23: ควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง “คู มือการจัดซื้อจัดจ าง ...¸„ู่มือการจัด...คู

ตัวอยาง กรณี ซ้ือโดยวิธตีกลงราคาที่มวีงเงนิเกิน 5,000 บาท