22
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ 1 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น บทที1 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ตรรกศาสตร์ หมายถึง แขนงวิชาที่เกี่ยวกับการคิดการหาเหตุผลโดยใช้หลักเกณฑ์เพื่อยืนยันความคิดหรือ ความจริงที่มีอยู่ อาทิเช่น การคิดจากสิ่งที่รู้แล้วนาไปค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้หรือไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ตรรกศาสตร์นั้น เป็นเครื่องมือสาคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาทางคณิตศาสตร์ เนื่องจากคณิตศาสตร์นั้นเป็นนามธรรมจึงต้องอาศัย หลักการและการให้เหตุผลเป็นหลัก องค์ประกอบของคณิตศาสตร์โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ และ การอ้างเหตุผล 1.1 โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Structure) โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ประกอบด้วย คานิยาม คาอนิยาม สัจพจน์ และ ทฤษฎีบท 1. คานิยาม (Defined Term) คือ คาหรือข้อความที่สามารถให้คาจากัดความได้ หรือเรียกอีกอย่างว่า บทนิยาม (Definition) เช่น คาว่า “มุม” หมายถึง รังสีสองเส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน เป็นต้น 2. คาอนิยาม (Undefined Term) คือ คาหรือข้อความที่ไม่สามารถให้คาจากัดความได้ แต่เมื่อกล่าวถึง ต้องมีความเข้าใจตรงกัน เนื่องจากมีความหมายชันเจนอยู่ในตัวเอง เช่น จุด เส้นตรง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากัน ระนาบ เป็นต้น 3. สัจพจน์ (Axiom) คือ ข้อความที่ตกลงหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ เช่น “เส้นตรงที่ขนาน กันจะไม่สามารถตัดกันได้” 4. ทฤษฎีบท (Theorem) คือ ข้อความหรือผลสรุปที่ได้มาจากการรวบรวม อนิยาม นิยาม และสัจพจน์ สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นจริงทุกกรณี โดยอาศัยหลักการให้เหตุผลทางตรรกวิทยาเข้ามาใช้ในการพิสูจน์ เพื่อแสดงว่าทฤษฎีเป็นจริง ทฤษฎีบทใดก็ตามที่พิสูจน์ได้บนระบบใด จะถือว่าเป็นจริงเฉพาะระบบนั้นๆ เท่านั้น นอกจากนั้นยังสามารถนาไปใช้อ้างอิงในระบบเดียวกันได้อีกด้วย

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

1 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

บทท่ี 1

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น

ตรรกศาสตร์ หมายถึง แขนงวิชาที่เกี่ยวกับการคิดการหาเหตุผลโดยใช้หลักเกณฑ์เพื่อยืนยันความคิดหรือ

ความจริงที่มีอยู่ อาทิเช่น การคิดจากสิ่งที่รู้แล้วน าไปค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้หรือไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อน ตรรกศาสตร์นั้น

เป็นเครื่องมือส าคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาทางคณิตศาสตร์ เนื่องจากคณิตศาสตร์นั้นเป็นนามธรรมจึงต้องอาศัย

หลักการและการให้เหตุผลเป็นหลัก องค์ประกอบของคณิตศาสตร์โดยทั่วไปแบ่งออก เป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่

โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ และ การอ้างเหตุผล

1.1 โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Structure)

โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ประกอบด้วย ค านิยาม ค าอนิยาม สัจพจน์ และ ทฤษฎีบท

1. ค านิยาม (Defined Term) คือ ค าหรือข้อความที่สามารถให้ค าจ ากัดความได้ หรือเรียกอีกอย่างว่า

บทนิยาม (Definition) เช่น ค าว่า “มุม” หมายถึง รังสีสองเส้นที่มีจุดปลายเป็นจุดเดียวกัน เป็นต้น

2. ค าอนิยาม (Undefined Term) คือ ค าหรือข้อความที่ไม่สามารถให้ค าจ ากัดความได้ แต่เมื่อกล่าวถึง

ต้องมีความเข้าใจตรงกัน เนื่องจากมีความหมายชันเจนอยู่ในตัวเอง เช่น จุด เส้นตรง มากกว่า น้อยกว่า

เท่ากัน ระนาบ เป็นต้น

3. สัจพจน์ (Axiom) คือ ข้อความที่ตกลงหรือยอมรับว่าเป็นจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ เช่น “เส้นตรงที่ขนาน

กันจะไม่สามารถตัดกันได้”

4. ทฤษฎีบท (Theorem) คือ ข้อความหรือผลสรุปที่ได้มาจากการรวบรวม อนิยาม นิยาม และสัจพจน์

สามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นจริงทุกกรณี โดยอาศัยหลักการให้เหตุผลทางตรรกวิทยาเข้ามาใช้ในการพิสูจน์

เพื่อแสดงว่าทฤษฎีเป็นจริง ทฤษฎีบทใดก็ตามที่พิสูจน์ได้บนระบบใด จะถือว่าเป็นจริงเฉพาะระบบนัน้ๆ

เท่านั้น นอกจากนั้นยังสามารถน าไปใช้อ้างอิงในระบบเดียวกันได้อีกด้วย

Page 2: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

2 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตัวอย่าง : ทฤษฏีบทปิทาโกรัส

“รูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ ก าลังสองของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของก าลังสองของความยาว

ด้านประกอบมุมฉาก”

ทฤษฎีบทปิทาโกรัส

2 2 2c a b

1.2 การอ้างเหตุผล (Argument)

การอ้างเหตุผลในเชิงตรรกวิทยาหมายถึงกระบวนการการคิดของมนุษย์ที่เรียบเรียงข้อเท็จจริง ข้อความ

ประโยคบางส่วน หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่สามารถบอกได้ว่าเป็นจรงิหรือเปน็เท็จมาสนับสนุนกันและกัน จนท าให้

เกิดข้อความใหม่หรือปรากฏการณ์ใหม่ที่สามารถบอกได้ว่าเป็นจริงหรือเป็นเท็จ การอ้างเหตุผลจะประกอบด้วย

ข้อความ 2 กลุ่ม ได้แก่

- ข้ออ้าง (Premises) : กลุ่มของข้อความ ประโยค ปรากฏการณ์ ที่สนับสนุนกันและกัน

- ข้อสรุป (Conclusion) : กลุ่มของข้อความใหม่หรือปรากฏการณ์ใหม่ที่ได้มากจากข้ออ้าง

การอ้างเหตุผลในเชิงตรรกวิทยาน้ันสามารถแบ่งลักษณะการอ้างเหตุผลได้เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้

การอ้างเหตุผล

การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย การอ้างเหตุผลเชิงอุปนัย - ข้อสรุปบอกได้ว่า - ข้อสรุปบอกไม่ได้ว่า

สมเหตสมผล หรือ ไม่สมเหตุสมผล สมเหตสมผล หรือ ไม่สมเหตุสมผล

อย่าใดอย่างหน่ึได้ชัดเจน เป็นแค่ความน่าจะเป็นไปได้เท่าน้ัน - ข้อสรุปเป็นจริงก็ต่อเม่ือ - ข้อสรุปเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้

ข้ออ้างเป็นจริงเท่าน้ัน

a

b

c

การอ้างเหตุผลจะสมเหตุสมผล ก็ต่อเม่ือ ถ้าข้ออ้างเป็นจริงแล้วผลสรุปเป็นจริงด้วย

นอกจากกรณีน้ีเราจะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล

Page 3: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

3 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย (Deductive Argument) เป็นกระบวนการอ้างเหตุผลที่ข้ออ้างสามารถ

ยืนยันข้อสรุปได้อย่างชัดเจน ความน่าเช่ือถือของข้อสรุปอยู่ในข้ันความแน่นอน

ตัวอย่าง 1 เหตุ 1. นักศึกษาที่เล่นกีฬาทุกคนจะต้องมีสุขภาพดี

2. ก้อยเป็นนักศึกษาและชอบเล่นกีฬา

ผล ก้อยมีสุขภาพดี

วิธีท า พิจารณาโดยการก าหนดเซตของสิ่งต่างๆ ดังนี้

ก าหนดให้ A เป็นเซตของนักศึกษา

B เป็นเซตของคนที่เล่นกีฬา

C เป็นเซตของคนที่มีสุขภาพดี

และ x แทนก้อย

จากเหตุที่ก าหนดให้ สามารถแสดงได้ดังภาพ

จะเห็นได้ว่า x อยู่ในเซต C เราสามารถสรุปได้ว่า ก้อยมีสุขภาพดี

ดังนั้นจากข้อสรุปท าให้ได้ว่าการอ้างเหตุผลดังกล่าวสมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 2 เหตุ 1. เครื่องบินทุกล าบินได้

2. เป็ดบินได ้

ผล เป็ดเป็นเครื่องบินชนิดหนึ่ง

วิธีท า พิจารณาโดยการก าหนดเซตของสิ่งต่างๆ ดังนี้

ก าหนดให้ A เป็นเซตของเครื่องบิน

B เป็นเซตของสิ่งที่บินได้

และ x แทนเป็ด

AB

C

x

Page 4: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

4 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

จากเหตุที่ก าหนดให้ สามารถแสดงได้ดังภาพ

จะเห็นได้ว่า x อยู่ในเซต A หรือ x ไม่อยู่ในเซต A ก็ได ้เราสามารถสรุปได้ทั้งสองกรณี

กรณีที่ 1 : เป็ดเป็นเครื่องบินเครื่องบินชนิดหนึ่ง กรณีที่ 2 : เป็ดไม่เป็นเครื่องบินชนิดหนึ่ง

ดังนั้นจากข้อสรุปทั้ง 2 กรณี ท าให้ได้ว่าการอ้างเหตุผลดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล

ตัวอย่าง 3 เหตุ 1. พนาวัลย์เป็นคนไทย 2. คนไทยบางคนชอบเลี้ยงช้าง

3. คนชอบเลี้ยงช้างบางคนชอบเลี้ยงแมว

ผล พนาวัลยช์อบเลี้ยงแมว

วิธีท า พิจารณาโดยการก าหนดเซตของสิ่งต่างๆ ดังนี้

ก าหนดให้ A เป็นเซตของคนไทย, B เป็นเซตของคนชอบเลี้ยงช้าง,

C เป็นเซตของคนชอบเลี้ยงแมว, และ x แทนพนาวัลย์

จากเหตุที่ก าหนดให้ สามารถแสดงได้ดังภาพ

Page 5: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

5 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

จะเห็นได้ว่า x อยู่ในเซต A B C หรือ x อยู่ในเซต A B หรือ x อยู่ในเซต A C หรือ x อยู่ในเซต

A เพียงอย่างเดียว เราสามารถสรุปได้ถึง 4 กรณี

กรณีที่ 1 : พนาวัลย์เป็นคนไทยที่ชอบเลี้ยงแมวและช้าง

กรณีที่ 2 : พนาวัลย์เป็นคนไทยชอบเลี้ยงช้าง

กรณีที่ 3 : พนาวัลย์เป็นคนไทยชอบเลี้ยงแมว

กรณีที่ 4 : พนาวัลย์เป็นคนไทยที่ไม่ชอบเลี้ยงแมวและช้าง

ดังนั้นจากข้อสรุปทั้ง 4 กรณี ท าให้ได้ว่าการอ้างเหตุผลดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล

2. การอ้างเหตุผลเชิงอุปนัย (Inductive Argument) เป็นกระบวนการอ้างเหตุผลที่เกิดจากการสงัเกต

ทดลองหลายๆ ครั้งแล้วน ามาเป็นข้อสรุป ดังนั้นข้อสรุปของการอ้างเหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จ าเป็นต้องถูกทุกครั้ง

ตัวอย่าง 1 เหตุ 1. อ้วนทานปลาหมึกแล้วเกิดอาการแพ้

2. อ้วนทานหอยเชลล์แล้วเกิดอาการแพ้

3. อ้วนทานกุ้งแชบ๊วยแล้วเกิดอาการแพ้

4. อ้วนทานปลาเก๋าแล้วเกิดอาการแพ้

ผล อ้วนแพ้อาหารทะเล

วิธีท า สรุปผลว่า อ้วนแพ้อาหารทะเล เพราะจากการทานอาหารทะเลต่างชนิดถึง 4 ชนิด แต่ก็ยังเกิด

อาการแพ้จากการสังเกต ซึ่งจะเห็นได้ว่าข้อสรุปไม่มีความชัดเจนว่าเป็นจริงหรือไม่จริง เป็นแค่การคาดการณ์จาก

การสังเกตเท่านั้น นอกเสียจากว่าอ้วนจะไปตรวจร่างกายที่โรงพยาบาลจึงจะท าให้ทราบว่าอ้วนน้ันแพ้อาหารทะเล

จริงหรือไม่

ตัวอย่าง 2 ก าหนดรูปภาพดังนี้

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4

จงใช้การอ้างเหตุผลเชิงอุปนัยหาค่า x และค่า y

Page 6: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

6 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

วิธีท า พิจารณา

ภาพที่ 1 : ต าแหน่งของ y เกิดจากการน า 6 3 2 16

ภาพที่ 2 : ต าแหน่งของ y เกิดจากการน า 6 4 3 21

ภาพที่ 3 : ต าแหน่งของ y เกิดจากการน า 5 4 6 5 4 26x

ภาพที่ 4 : ต าแหน่งของ y เกิดจากการน า 6 6 5 31

ดังนั้น จากการอ้างเหตุผลเชิงอุปนัยท าให้ทราบว่าค่า x มีค่าเท่ากับ 6 และ y มีค่าเท่ากับ 31

ความแตกต่างระหว่างการอ้างเหตุผลเชิงนิรนัยและเชิงอุปนัยสามารถสรุปได้ดังตารางนี้

การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย การอ้างเหตุผลเชิงอุปนัย 1. สรุปจากเหตุใหญ่ๆ ไปสู่ข้อสรุปย่อย 1. สรุปจากเหตุย่อยๆ เล็กๆ หลายเหตุ

ไปสู่ข้อสรุปใหญ่ 2. ข้อสรุปที่ได้อยู่ในวงจ ากัดเฉพาะเหตุเท่านั้น 2. ข้อสรุปที่ได้เป็นความรู้ใหม่ 3. ข้อสรุปเป็นจรงิก็ต่อเมื่อเหตุเป็นจริงเท่านั้น 3. ข้อสรุปเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้

1.3 สัญลักษณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logic Symbols) เนื่องจากเราทราบกันดีว่าวิชาตรรกศาสตร์นั้นเป็นวิชาที่ว่าด้วยการอ้างเหตุผลเพื่อให้เกิดข้อสรุป

การอ้างเหตุผลนั้นในชีวิตจริงมักไม่ได้มีเพียงแค่หนึ่งเหตุ แต่มักจะมีเหตุที่ซับซ้อนกันหลายๆ เหตุเพื่อให้ได้มาซึ่ง

ข้อสรุป ดังนั้นการสื่อความหมายเพื่อให้เข้าใจตรงกัน ชัดเจน รัดกุม และถูกต้อง จึงจ าเป็นต้องอาศัย “สัญลักษณ์”

มาใช้แทนข้อความที่มีความหมายในเชิงตรรกวิทยา สัญลักษณ์ดังกล่าวเราเรียกว่า “สัญลักษณ์ทางตรรกศาสตร์”

นั้นเอง

1.3.1 ประพจน์ (Proposition)

ประพจน์ คือ ประโยคหรือข้อความที่สามารถบอกได้ว่ามีค่าความจริง เป็นจริง หรือเป็นเท็จ เพียงอย่างใด

อย่างหนึ่งเท่านั้น ส่วนประโยคที่มีลักษณะเป็น ประโยคบอกเล่า, ค าถาม, ค าสั่ง, ขอร้อง, อุทาน ฯลฯ ที่ไม่สามารถ

บอกได้ว่ามีค่าความจริง เป็นจริงหรือเป็นเท็จ อย่างใดอย่างหนึ่งได้ ประโยคเหล่าน้ีเราจะถือว่าไม่เป็นประพจน์

ตัวอย่าง ประโยคที่เป็นประพจน์

หนึ่งวันมี 24 ช่ัวโมง ค่าความจริงเป็นจริง

19 < 12 ค่าความจริงเป็นเท็จ

ดวงอาทิตย์ข้ึนทางทิศตะวันออก ค่าความจริงเป็นจริง

เดือนที่ลงท้ายด้วย “ยน” มี 31 วัน ค่าความจริงเป็นเท็จ

Page 7: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

7 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตัวอย่าง ประโยคที่ไม่เป็นประพจน์

จังหวัดระยองอยู่ภาคอะไรในประเทศไทย เป็นประโยคค าถาม

2 3 10x เป็นประโยคบอกเล่า

กรุณาอย่าส่งเสียงดัง เป็นประโยคขอร้อง

อาจารย์ปูเป้สวยและรวยมาก เป็นประโยคบอกเล่า

ประพจน์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังภาพ

ประพจน์

ประพจน์เชิงเดี่ยว ประพจน์เชิงซ้อน ประพจน์หรือประโยคเดียว ประพจน์หรือประโยคเชิงเดี่ยว

ที่ไม่มีประพจน์ใดมาประกอบ ตั้งแต่สองประพจน์ขึ้นไป ถูกเชื่อม

เช่น ด้วยตัวเชื่อมทางตรรกวิทยาเป็น

ม้ามีสี่ขา ประพจน์ใหม่ เช่น

นกบินได้ ม้ามีสี่ขา หรือ นกบินได้

1.3.2 ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ (Logical connective)

การน าประพจน์เชิงเดี่ยวตั้งแต่สองประพจน์ข้ึนไปมาสร้างประพจน์ เป็นประพจน์ใหม่ เราต้องอาศัย

ตัวเช่ือมทางตรรกศาสตร์ มาใช้ในการเช่ือมประพจน์ โดยตัวเช่ือมนั้นมีด้วยกันทั้งหมด 5 ตัวเช่ือม ได้แก่ “และ”

“หรือ” “ถ้า...แล้ว...” “...ก็ต่อเมื่อ...” “ไม่”

การเช่ือมประพจน์เข้าด้วยกันนั้นเพื่อให้เกิดความสะดวกและชัดเจน เรามักจะใช้พยัญชนะภาษาอังกฤษ

เช่น ,p ,q r และอื่นๆ แทน ประพจน์

“T ” แทน ค่าความจริงที่เป็นจริง (True) “ F ” แทน ค่าความจริงที่เป็นเท็จ (False)

“” แทน “และ” (and) “” แทน “หรือ” (or)

“” แทน “ถ้า...แล้ว...” (if…then…) “” แทน “...ก็ต่อเมื่อ...” (…if and only if…)

“ ” แทน “ไม่” หรือ “นิเสธ” (not)

ตัวบ่งปริมาณ ได้แก่ “ ” แทน “ทั้งหมด, ทุกๆสิ่ง” (for all) และ “ ” แทน “บางสิ่ง” (for some)

Page 8: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

8 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

1.4 ค่าความจริงและตาราง (Truth value and Table) ก าหนดให้ ,p q และ r แทนประพจน์ใดๆ

T แทน ค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริง

F แทน ค่าความจริงของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นเท็จ

ค่าความจริงของประพจน์แต่ละประพจน์จะมไีด้เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งจากค่าความจริงทีเ่ป็นไปได้ทัง้หมด

2 กรณี คือ เป็นจริง (T ) หรือ เป็นเท็จ ( F ) สามารถแสดงได้ดังนี้

p

T F

กรณีที่ประพจน์ 2 ประพจน์ ถูกเช่ือมด้วยตัวเช่ือมทางตรรกศาสตร ์การพิจารณาค่าความจริงของประพจน์

ที่เกิดจากการถูกเช่ือมค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมดคือ 4 กรณี สามารถแสดงได้ดังนี้

p q

T T T F F T F F

กรณีที่ประพจน์ 3 ประพจน์ ถูกเช่ือมด้วยตัวเช่ือมทางตรรกศาสตร ์การพิจารณาค่าความจริงของประพจน์

ที่เกิดจากการถูกเช่ือมค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมดคือ 8 กรณี สามารถแสดงได้ดังนี้

p q r T T T T T F T F T T F F F T T F T F F F T F F F

Page 9: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

9 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

จากข้อมูลที่แสดงให้เห็นข้างต้นท าให้เราทราบว่า

ตารางต่อไปนี้คือตารางแสดงค่าความจริงของตัวเช่ือมทางตรรกศาสตร์ทั้ง 5 ตัวเช่ือม

ตัวเช่ือม “และ” ตัวเช่ือม “หรือ”

ตัวเช่ือม “ถ้า...แล้ว...” ตัวเช่ือม “...ก็ต่อเมื่อ...”

ตัวเช่ือม “นิเสธ”

ค าแนะน า นักศึกษาควรเข้าใจและสามารถจดจ ากรณีเฉพาะของแต่ละตัวเช่ือมให้ได้

บันทึกช่วยจ า

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

ถ้ามีประพจนเ์ชิงเดี่ยวจ านวน n ประพจน์ แล้ว จะมีค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 2n จ านวน

Page 10: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

10 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตัวอย่างที่ 1 จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ p q q

วิธีท า

p q p q p q q

T T T T T F F T F T F T F F F T

ตัวอย่างที่ 2 จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ p q r q

วิธีท า

p q r r p q r q p q r q

T T T T F F F F

T T F F T T F F

T F T F T F T F

F T F T F T F T

T T F F F F F F

F T T F F T T F

F T T T T T T T

ตัวอย่างที่ 3 จงสร้างตารางค่าความจริงของประพจน์ p q r q

วิธีท า

Page 11: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

11 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

1.5 การวิเคราะห์ค่าความจริงของประพจน์ (Truth value analysis) การวิเคราะห์ค่าความจริงของประพจน์เราสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ

1.5.1 การหาค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อน เมื่อทราบค่าประพจน์เชิงเดี่ยว

ตัวอย่าง 1 ก าหนด ประพจน์ p , q มีค่าความจริงเป็นจริง T

ประพจน์ r , s มีค่าความจริงเป็นจริง F

จงหาค่าความจริงของประพจน์ p q r s q r

วิธีท า พิจารณา

จากภาพท าให้ทราบว่าค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อนที่พิจารณา คือ เป็นจริง T

ตัวอย่าง 2 ก าหนดให้ประพจน์ p q มีค่าความจริงเป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของประพจน์

q q p q วิธีท า พิจารณาประพจน์ p q โจทย์ก าหนดให้มีค่าความจริงเป็นเท็จ ท าให้เราทราบว่า

p มีค่าความจริงเป็น เท็จ และ q มีค่าความจริงเป็น เท็จ

จากนั้นพิจารณาประพจน์เชิงซ้อน

จากภาพท าให้ทราบว่าค่าความจริงของประพจน์เชิงซ้อนที่พิจารณา คือ เป็นเท็จ F

p q r s q r

F FT F T T

F T

F T

T

q q p q

F FT T

T T

F

F

Page 12: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

12 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

1.5.2 การหาค่าความจริงของประพจน์เชิงเดี่ยว เมื่อทราบค่าประพจน์เชิงซ้อน

ตัวอย่าง 1 ก าหนดให้ประพจน์ p s s p q r เป็นเท็จ จงหาค่าความจริง

ของประพจน์ ,p ,q r และ s

วิธีท า พิจารณา

สรุปได้ว่า : ,p T : ,q T : ,r F และ :s T

ตัวอย่าง 2 ก าหนดให้ประพจน์ p s q s เป็นจริง จงหาค่าความจริงของ p q s

วิธีท า พิจารณา

สรุปได้ว่า : ,p F : ,q F และ :s F

พิจารณาหาค่าความจริงของประพจน์ p q s จะได้ว่า F F F F F F

ดังนั้นประพจน์ p q s มีค่าความจริงเป็นเท็จ

p s s p q r

F

FT

T T F T :r F

:s F

:p T :q T:p T :s F

p s q s

T

T T

T F T F

:q F :s F:s F:p F

Page 13: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

13 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

1.6 สัจนิรันตร์และประพจน์ขัดแย้ง (Tautology and Contradictory proposition) 1.6.1 สัจนิรันดร ์หมายถึง ประพจน์เชิงซ้อนที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกๆ กรณี

การตรวจสอบสัจนิรันตร์สามารถท าได้หลายวิธี ในที่นี้ของกล่าวถึงเฉพาะ วิธีการหาข้อขัดแย้ง

เพียงเท่านั้น โดยมีขั้นตอนการตรวจสอบทั้งหมด 3 ข้ันตอน ดังนี้

ข้ันตอนที่ 1 : ก าหนดให้ค่าความจริงเป็น “เท็จ” ให้กับประพจน์เชิงซ้อนที่ต้องการตรวจสอบ

ข้ันตอนที่ 2 : พิจารณาหาประพจน์เชิงเดี่ยวที่มีทั้งหมด โดยการใช้วิธี 1.5.2

ข้ันตอนที่ 3 : ถ้าค่าความจริงของประพจน์ ขัดแย้งกัน ให้สรุปว่า เป็นสัจนิรันดร์

ถ้าค่าความจริงของประพจน์ ไม่ขัดแย้งกัน ให้สรุปว่า ไม่เป็นสัจนิรันดร์

ถ้าค่าความจริงของประพจน์ ไม่สามารถสรุปได้ ให้สรุปว่า ไม่เป็นสัจนิรันดร์

ตัวอย่างทื่ 1 จงพิจารณาว่าประพจน์ p q q เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีท า ข้ันตอนที่ 1 : ก าหนดให้ค่าความจริงเป็น “เท็จ” ให้กับประพจน์ที่ก าลังจะพิจารณา

ข้ันตอนที่ 2 : พิจารณาหาประพจน์เชิงเดี่ยวที่มีทั้งหมด โดยการใช้วิธี 1.5.2

ข้ันตอนที่ 3 : พิจารณาหาข้อขัดแย้ง

จากภาพจะเห็นได้ว่าพบข้อขัดแย้งเกิดข้ึน ค่าความจริงของประพจน์ไม่สามารถเป็นเท็จได้

จึงสรุปได้ว่าประพจน์ p q q เป็นสัจนิรันดร์

เกิดข้อขัดแย้ง

Page 14: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

14 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตัวอย่างทื่ 2 จงพิจารณาว่าประพจน์ p q q p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีท า ข้ันตอนที่ 1 : ก าหนดให้ค่าความจริงเป็น “เท็จ” ให้กับประพจน์ที่ก าลังจะพิจารณา

ข้ันตอนที่ 2 : พิจารณาหาประพจน์เชิงเดี่ยวที่มีทั้งหมด โดยการใช้วิธี 1.5.2

ข้ันตอนที่ 3 : พิจารณาหาข้อขัดแย้ง

จากภาพจะเห็นได้ว่าไม่พบข้อขัดแย้งเกิดข้ึน ค่าความจริงของประพจน์เป็นเท็จได้

จึงสรุปได้ว่าประพจน์ p q q p ไม่เป็นสัจนิรันดร์

ตัวอย่างทื่ 3 จงพิจารณาว่าประพจน์ p q r p q r เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีท า ข้ันตอนที่ 1 : ก าหนดให้ค่าความจริงเป็น “เท็จ” ให้กับประพจน์ที่ก าลังจะพิจารณา

หลังจากก าหนดค่าความจริงที่เป็น “เท็จ” ให้แล้ว ก่อนเข้าสู่ข้ันตอนที่ 2 จะพบว่า มี 2 กรณี ที่เราต้องพิจารณา

เพราะประพจน์เชิงซ้อนดังกล่าวถูกเช่ือมด้วยเครื่องหมาย “ก็ต่อเมื่อ” ดังนั้นการจะเป็นเท็จได้ค่าความจริงของ

วงเล็บใหญ่หน้าและวงเลบ็ใหญ่หลังต้องเป็น 1. T F หรือ 2. F T

Page 15: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

15 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

พิจารณากรณีที่ 1 โดยการใช้ข้ันตอนที่ 2 หาค่าความจริงของแต่ละประพจน์เชิงเดี่ยว

จากการพิจารณาจะพบว่าไม่พบข้อขัดแย้งเกิดข้ึน

พิจารณากรณีที่ 2 โดยการใช้ข้ันตอนที่ 2 หาค่าความจริงของแต่ละประพจน์เชิงเดี่ยว

จากการพิจารณากรณีที่ 2 จะพบว่าไม่พบข้อขัดแย้งเกิดข้ึน

ดังนั้นเราสามารถสรุปได้ว่าประพจน์เชิงซ้อนดังกล่าวไม่เป็นสัจนิรันดร์

หมายเหตุ กรณีที่เราไม่พบข้อขัดแย้งหมายถึงประพจน์ที่เราพิจารณาสามารถเป็น “เท็จ” ได้ ดังนั้น

การตรวจสอบสัจนิรันดร์หากเราบพบว่าประพจน์เป็น “เท็จ” แค่เพียงกรณีเดียวก็เพียงพอ

ต่อการสรุปว่าไม่เป็นสัจนิรันดร์แล้ว

ตัวอย่างทื่ 4 จงพิจารณาว่าประพจน์ q p r r q p เป็นสัจนิรันดร์หรือไม่

วิธีท า ข้ันตอนที่ 1 : ก าหนดให้ค่าความจริงเป็น “เท็จ” ให้กับประพจน์ที่ก าลังจะพิจารณา

หลังจากก าหนดค่าความจริงที่เป็น “เท็จ” ให้แล้ว ก่อนเข้าสู่ข้ันตอนที่ 2 จะพบว่า มี 3 กรณี ที่เราต้องพิจารณา

เพราะประพจน์เชิงซ้อนดังกล่าวถูกเช่ือมด้วยเครื่องหมาย “และ” ดังนั้นการจะเป็นเท็จได้ค่าความจริงของวงเล็บ

ใหญ่หน้าและวงเล็บใหญ่หลังต้องเป็น 1. F T หรือ 2. F F หรือ 3. T F

Page 16: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

16 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

พิจารณากรณีที่ 1 โดยการใช้ข้ันตอนที่ 2 หาค่าความจริงของแต่ละประพจน์เชิงเดี่ยว

จากการพิจารณาจะพบว่ามีข้อขัดแย้งเกิดข้ึน เรายังไม่สามารถสรุปได้ว่าเป็นสัจนิรันดร์ การเป็นสัจนิรันดร์จะต้อง

พบข้อขัดแย้งทุกๆกรณีดังนั้นเราจึงต้องพิจารณาในกรณีที่ 2 และกรณีที่ 3 ด้วย

พิจารณากรณีที่ 2 โดยการใช้ข้ันตอนที่ 2 หาค่าความจริงของแต่ละประพจน์เชิงเดี่ยว

จากการพิจารณากรณีที่ 2 พบว่าไม่มีข้อขัดแย้งเกิดข้ึน นั่นหมายถึงประพจน์ดังกล่าวสามารถเป็นเทจ็ได้หากเกิด

กรณีแบบนีเ้กิดข้ึนไม่มีความจ าเปน็ต้องพจิารณาต่อ เราสามารถสรปุได้เลยว่าไม่เป็นสัจนริันดร์

1.6.2 ประพจน์ขัดแย้ง หมายถึง ประพจนเ์ชิงซอ้นที่มีค่าความจรงิเป็นเท็จทกุๆกรณี

การตรวจสอบประพจน์ขัดแย้งสามารถท าได้คล้ายๆกันกับการตรวจสอบสัจนิรันดร์

โดยมีขั้นตอนการตรวจสอบทั้งหมด 3 ข้ันตอน ดังนี้

ข้ันตอนที่ 1 : ก าหนดให้ค่าความจริงเป็น “จริง” ให้กับประพจน์เชิงซ้อนที่ต้องการตรวจสอบ

ข้ันตอนที่ 2 : พิจารณาหาประพจน์เชิงเดี่ยวที่มีทั้งหมด โดยการใช้วิธี 1.5.2

ข้ันตอนที่ 3 : ถ้าค่าความจริงของประพจน์ ขัดแย้งกัน ให้สรุปว่า เป็นประพจน์ขัดแย้ง

ถ้าค่าความจริงของประพจน์ ไม่ขัดแย้งกัน ให้สรุปว่า ไม่เป็นประพจน์ขัดแย้ง

ถ้าค่าความจริงของประพจน์ ไม่สามารถสรุปได้ ให้สรุปว่า ไม่เป็นประพจน์ขัดแย้ง

เกิดข้อขัดแย้ง

Page 17: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

17 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตัวอย่างทื่ 1 จงพิจารณาว่าประพจน์ p q q p เป็นประพจน์ขัดแย้งหรือไม ่

วิธีท า ก าหนดใหป้ระพจน์ที่ตอ้งการพิจารณามีค่าความจริงเป็น “จริง” จากนั้นหาค่าความจริงในแต่ละประพจน ์

จากการพิจารณาพบว่ามีข้อขัดแย้งเกิดข้ึน ดังนั้นเราจะสรปุได้ว่าประพจน์ดังกล่าวเป็นประพจน์ขัดแย้ง

1.7 ความสมเหตุสมผล (Validity) ในหัวข้อที่ 1.2 กล่าวถึงความสมเหตสุมผลว่าการอ้างเหตผุลเชิงนิรนัยจะสมเหตุสมผล เมื่อ ข้ออ้างเป็นจริง

แล้วข้อสรปุต้องเป็นจรงิด้วย การตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลดังกล่าวนั้นสมเหตสุมผลหรือไม่สามารถท าได้ดังนี้

1. จัดรูปแบบการอ้างเหตุผลในรปูประพจน์

ก าหนดให้ 1 2 3, , , , np p p p แทนเหตุทั้งหมด และ q แทนผล

น าเหตุทีม่ีทั้งหมดเช่ือมกันด้วยตัวเช่ือม “และ” จะได้ 1 2 3 np p p p

จากนั้นน าเหตุทั้งหมดที่ถูกเช่ือมเช่ือมกบัผลด้วยตัวเช่ือม “ถ้า...แล้ว...” จะได ้

1 2 3 np p p p q 2. น าประพจน์เชิงซ้อนในข้ันตอนที่ 1 มาตรวจสอบสจันิรันดร์

หากประพจน์ดังกล่าวเป็น สัจนริันดร์ เราสรุปได้ว่า สมเหตสุมผล

หากประพจน์ดังกล่าวไม่เป็น สัจนริันดร์ เราสรุปได้ว่า ไม่สมเหตสุมผล

ตัวอย่างทื่ 1 จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตผุลต่อไปนีส้มเหตสุมผลหรือไม่

เหต ุ 1. q p

2. q

ผล p

วิธีท า ข้ันตอนที่ 1 จัดรูปแบบการอ้างเหตผุล จะได ้

q p q p

เกิดข้อขัดแย้ง

Page 18: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

18 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ข้ันตอนที่ 2 ตรวจสอบประพจน์ในข้ันตอนที่ 1 ว่าเป็นสัจนรินัดร์หรือไม่ (วิธีการตรวจสอบดูได้จากหัวข้อที่ 1.6)

จากการตรวจสอบพบว่าประพจน์ดังกล่าวเป็นสจันิรันดร์ สรปุได้ว่าการอ้างเหตผุลสมเหตสุมผล

ตัวอย่างที่ 2 จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตผุลต่อไปนีส้มเหตสุมผลหรือไม่

เหต ุ 1. A B C

2. D A

3. B

ผล D C

วิธีท า ข้ันตอนที่ 1 จัดรูปแบบการอ้างเหตผุล จะได้

A B C D A B D C

ข้ันตอนที่ 2 ตรวจสอบประพจน์ในข้ันตอนที่ 1 ว่าเป็นสัจนรินัดร์หรือไม่ (วิธีการตรวจสอบดูได้จากหัวข้อที่ 1.6)

จากการตรวจสอบพบว่าประพจน์ดังกล่าวเป็นสจันิรันดร์ สรปุได้ว่าการอ้างเหตผุลสมเหตสุมผล

เกิดข้อขัดแย้ง

เกิดข้อขัดแย้ง

Page 19: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

19 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

ตัวอย่างที่ 3 ในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมปป์ระเทศไทยรายการหนึง่

เหต ุ 1. ถ้าจังหวัดระยองและจังหวัดภูเก็ตชนะ แล้ว จังหวัดสุรินทร์และจังหวัดเลยแพ้

2. จังหวัดภูเก็ตชนะ

ผล จังหวัดสุรินทร์แพ ้

จงตรวจสอบว่าการอ้างเหตุผลดังกล่าวสมเหตุสมผลหรือไม่

วิธีท า ก าหนดให ้ A แทนประพจน ์ “จังหวัดระยองชนะ”

B แทนประพจน ์ “จังหวัดภูเก็ตชนะ”

C แทนประพจน ์ “จังหวัดสรุินทร์ชนะ”

D แทนประพจน ์ “จังหวัดเลยชนะ”

ข้ันตอนที่ 1 จัดรูปแบบการอ้างเหตผุล จะได ้

A B C D B C

ข้ันตอนที่ 2 ตรวจสอบประพจน์ในข้ันตอนที่ 1 ว่าเป็นสัจนรินัดร์หรือไม่ (วิธีการตรวจสอบดูได้จากหัวข้อที่ 1.6)

จากการตรวจสอบพบว่าไม่มีข้อขัดแย้งเกิดข้ึน ดังนั้นประพจน์ดังกล่าวไม่เป็นสจันริันดร์

เราสามารถสรปุได้ว่าการอ้างเหตผุลดงักล่าวไม่สมเหตสุมผล

บันทึกช่วยจ า

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................................

Page 20: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

20 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

แบบฝึกหดัท้ายบทที่ 1 1. จงวาดภาพและพิจารณาว่าการอ้างเหตผุลต่อไปนี้เป็นการอ้างเหตผุลเชิงนิรนัย หรือเชิงอุปนัย

1.1 เหต ุ 1. เด็กบางคนไม่ชอบทานผกั 1.2 เหต ุ 1. ดอกดาวเรืองเป็นดอกไม ้

2. ผักมีรสขม 2. ดอกไม้บางชนิดใช้บูชาพระ

ผล เด็กทุกคนไม่ชอบของทีม่ีรสขม ผล ดอกดาวเรืองใช้บูชาพระ

1.3 เหต ุ 1. สุธีเป็นผู้ชาย ชอบสีชมพ ู 1.4 เหต ุ 1. คนชอบเล่นดนตรเีป็นคนเก่ง

2. สิงหเ์ป็นผู้ชาย ชอบสีชมพ ู 2. คนชอบเล่นกีฬาเป็นคนเกง่

3. สุเทพเป็นผู้ชาย ชอบสีชมพ ู 3. คนชอบท าอาหารเป็นคนเก่ง

4. สาธิตเป็นผู้ชาย ชอบสีชมพ ู 4. คนชอบเล่นเกมส์เป็นคนเก่ง

ผล ผู้ชายทุกคนชอบสีชมพ ู ผล คนทุกคนเป็นคนเก่ง

2. จงพิจารณาว่าข้อใดต่อไปนี้เป็นประพจน ์

2.1 จังหวัดระยองเป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย

2.2 35x

2.3 ณเดช เป็นคนหน้าตาด ี

2.4 ฉัตรชนี แก้วสีทอง เป็นนักคณิตศาสตร ์

2.5 สิงโตตัวเมียทุกตัวมหีนวด 19 เส้น

3. จงสร้างตารางค่าความจรงิของประพจน์ต่อไปนี้

3.1 q p p 3.2 q p r q

3.3 p q r s 3.4 r s q p

4. ก าหนดให ้ ,p q เป็นประพจน์ทีม่ีค่าความจรงิเป็นจริง T

,r s เป็นประพจน์ทีม่ีค่าความจรงิเป็นเทจ็ F

4.1 จงหาค่าความจริงของประพจน์ q p s r r

4.2 จงหาค่าความจริงของประพจน์ q s r q

4.3 จงหาค่าความจริงของประพจน์ s p q r p r

4.4 จงหาค่าความจริงของประพจน์ r r p s s q

Page 21: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

21 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

5. จงหาค่าความจริงของประพจน์ q q p p เมื่อ p q มีค่าความจริงเป็นเท็จ

6. จงหาค่าความจริงของประพจน์ q p p q เมื่อ p q มีค่าความจริงเป็นเท็จ

7. จงหาค่าความจริงของประพจน์ q q p p เมื่อ p q มีค่าความจริงเป็นจริง

8. จงพิจารณาประพจน์ต่อไปนีข้้อใดเป็นสจันิรันดร์, ประพจน์ขัดแย้ง, หรือไมเ่ป็นสัจนริันดร์และประพจน์ขัดแย้ง

8.1 p q q p

8.2 r q p r q p

8.3 p q p q

8.4 s t r r s

8.5 A B C B C D A D

9. จงพิจารณาว่าการอ้างเหตผุลต่อไปนี้ สมเหตุสมผลหรือไม่

9.1 เหต ุ 1. p q 9.2 เหต ุ 1. p q

2. q r 2. q s

3. r s 3. s

ผล s ผล p s

9.3 เหตุ 1. ถ้า A เป็นจ านวนเต็มบวก แล้ว B ไม่เป็นจ านวนเต็มบวก

2. 2 1A หรือ 2 1B

3. ถ้า 2 1A แล้ว A เป็นจ านวนเต็มบวก

4. 2 1B

ผล A เป็นจ านวนเต็มบวก

9.4 สมมติให้ เอฟเป็นนักสืบถูกว่าจ้างให้สืบสวนเรื่องราวเกี่ยวกับคดีฆาตกรรมของสมพร

โดยเอฟได้ไปเก็บข้อมูลในสถานที่เกิดเหตุและได้บันทึกรายละเอียดได้ดังนี้

- ถ้าวันจันทร์ฝนตกแล้วสมพรไม่มาท างาน

- ถ้าวันอังคารแดดออกแล้วสมพรมาท างาน

- วันจันทร์ฝนตก

- วันอังคารแดดออกหรือสมพรถูกฆาตกรรมวันอังคาร

- ถ้าวันพุธฝนตกแล้วสมพรถูกฆาตกรรมวันพุธ

จงใช้การอ้างเหตุผลเพื่อหาว่าสมพรถูกฆาตกรรมวันอังคารหรือไม่

Page 22: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · 2020. 1. 20. · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 3 1. การอ้างเหตุผลเชิงนิรนัย

เอกสารประกอบการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ทั่วไป | ดร.ธิดาพร เสียงวัฒนะ

22 ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1. 1.1 เป็นการอ้างเหตุผลเชิงนรินัย 1.2 เป็นการอ้างเหตุผลเชิงนรินัย

1.3 เป็นการอ้างเหตุผลเชิงอุปนัย 1.4 เป็นการอ้างเหตุผลเชิงอุปนัย

2. 2.1 เป็นประพจน ์ 2.2 ไม่เป็นประพจน ์ 2.3 ไม่เป็นประพจน ์

2.4 เป็นประพจน ์ 2.5 เป็นประพจน ์

4. 4.1 จริง 4.2 จริง 4.3 จริง 4.4 เท็จ

5. เท็จ 6. เท็จ 7. เท็จ

8. 8.1 สัจนิรันดร ์ 8.2 ไม่เป็นสจันิรันดร ์ 8.3 ประพจน์ขัดแย้ง

8.4 สัจนิรันดร ์ 8.5 สัจนิรันดร ์

9 9.1 สมเหตสุมผล 9.2 สมเหตสุมผล 9.3 ไม่สมเหตุสมผล 9.4 สมเหตสุมผล