21
ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) รศ. ดร. นพ. สุธี ยกสาน ศูนยวิจัยและพัฒนาวัคซีน สถาบันชีววิทยาศาสตรโมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล การประชุมวิชาการวัคซีนแหงชาติ ครั้งที2 วันที16 มิถุนายน 2553 โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพมหานคร

ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

ทรัพยสินทางปญญา

(Intellectual Property)

รศ. ดร. นพ. สุธ ียกสาน

ศูนยวิจัยและพัฒนาวัคซีน

สถาบันชีววทิยาศาสตรโมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล

การประชุมวิชาการวัคซีนแหงชาติ ครั้งที่ 2

วันที่ 16 มิถุนายน 2553 โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพมหานคร

Page 2: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

2

ทรพัยสนิทางปญญา (Intellectual Property)

• การประดิษฐคิดคนที่เปนเทคโนโลยีใหม

คุณลักษณะ

– ที่มีคุณคามีประโยชนตอสังคม

– สามารถนําไปใชประโยชนได

– ควรแกการถายทอดความรูสูรุนตอไป

สิ่งที่ควรทํา

– ควรใชระบบสิทธิบัตรเขามากํากับอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหความคุมครอง

การประดิษฐคิดคนนั้น ๆ

Page 3: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

3

เงื่อนไข

• ระบบการใหความคุมครองโดยสิทธิบัตร _ จํากัดชวงระยะเวลาหนึ่งเทานั้น

• เปดเผยการประดิษฐคิดคนหรือเทคโนโลยีนั้นโดยละเอียด

สิทธิของเจาของลิขสิทธิ์

ทําซ้าํ

เผยแพร

ใหประโยชน

อนุญาตใหใชสิทธิ์

ดัดแปลง

ใหเชา

Page 4: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

4

ประเด็น• ระบบสิทธิบัตรมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของ

ประเทศ ดังนั้น ทุกฝายควรตระหนักถึงประโยชนและความสําคัญโดยการใชระบบสิทธิบัตรอยางมีประสิทธิภาพ

แนวทางปฏิบัติ• นําขอมูลที่ไดเปดเผยไวโดยละเอียดนี้ไปศึกษา วิเคราะหในรายละเอียด จะได

ทราบความกาวหนาทางเทคโนโลยี รวมทั้งไมไปทําซ้ํากับส่ิงที่คนอื่นทํามากอน จะทําใหส้ินเปลืองคาใชจาย เวลา และสติปญญา

• นําขอมูลที่ไดไปพัฒนาเพิ่มเติมที่เรียกวาเปนการ “ตอยอด” ก็จะไดเทคโนโลยีที่สูงขึ้นกวาเดิม ซึ่งสามารถขอรับความคุมครองสิทธิบัตรในสวนที่พัฒนาขึ้นได

Page 5: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

5

กระบวนการสรางนวัตกรรม

Idea generation

Idea screening

Concept development

Concept testing

Business analysis

Technical implementation

Commercialization and Continuous improvement

การสรางความคิดใหม ๆ

การเลอืกความคิดใหม ๆ

การพฒันาแนวคิด

การทดสอบแนวคิด

การวิเคราะหทางธุรกิจ

Page 6: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

6

• ราว ค.ศ. 1970 เปนตนมา นักวิชาการในประเทศอุตสาหกรรมตะวันตกและประเทศญ่ีปุน ไดเร่ิมเห็นความสําคัญของงานวิชาการซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑใหมทางการแพทยและการเกษตร

• จึงเร่ิมหวงแหนความรูตาง ๆ ที่อาจนําไปประยกุตใชเปนธุรกิจอุตสาหกรรมเทคโนโลยชีีวภาพมากขึ้น

Page 7: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

7

• เหตุการณดังกลาวมีผลกระทบตอการถายทอดวิทยาการจาก

ประเทศตะวนัตกเขาสูประเทศกําลงัพฒันามาก เพราะจะมกีาร

ปกปดขอมูลทางวชิาการ มีการประวิงการรายงานผลงาน

ทางวิชาการในวารสาร เพราะตองรอใหจดทะเบียนสิทธบิัตร

ใหเสร็จเสียกอน การถายทอดความรูทางเทคโนโลยีตาง ๆ

จะผานทางบริษัทอุตสาหกรรมมากขึ้น แทนทีจ่ะผานจาก

นักวิชาการในมหาวิทยาลัยเพยีงทางเดียว

Page 8: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

8

• นักวิชาการและนักวิจัยไทยที่สนใจจะทําการวิจัยเพื่อพัฒนา

(Research for Development) จะตองมีความรอบรูในเรือ่ง

ทรัพยสินทางปญญา มิใชเพียงแตจะเพ่ือคุมครอง

ผลงานวิจัยของตนเองเทาน้ัน แตเพื่อหาแหลงความรูและ

เทคโนโลยีที่อาจชวยใหงานวิจัยกาวหนา สามารถ

ปรับเปลี่ยนหาวิธีใหมที่อาจจะดีกวาวิธีที่ผูอ่ืนไดคิดคนไว

Page 9: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

9

• เมื่อนักวิทยาศาสตรไทย สามารถทําวิจัยอันนํามาซ่ึง

ผลิตภัณฑใหม ๆ แมในระยะแรกอาจจะเปนจํานวนนอย

ก็ตาม ก็คงจะตองมีความรอบรูในการเจรจากับ

ภาคอุตสาหกรรมเพื่อหาการสนับสนุนการวิจัยใน

เชิง Research for development ตามความตองการของ

ภาคอุตสาหกรรมหรือของตนเองก็ตาม

Page 10: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

10

• จะตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูล

ขาวสารท่ีปกปด (Confidentiality

agreement) เพ่ือผูกพันมิใหฝายที่ไดรับ

ขอมูลปกปดจากฝายหนึ่งนําขอมูลนัน้ไป

เผยแพร

Page 11: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

11

• เม่ือทําวิจัยสําเร็จจนไดผลิตภัณฑแลว คงจะตอง

มีการเจรจาท่ีจะใหภาคอตุสาหกรรมรับไปผลติ

จะมีรายละเอยีดอกีมากมายในแงของ

คาตอบแทนทรัพยสินทางปญญาและ

คาตอบแทนเม่ือมีการผลิตและจําหนาย

(Royalty)

Page 12: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

12

ประสบการณการดําเนินงานพัฒนาวัคซีนเด็งก่ี : Patent / Intellectual Property

Innovation _ Live attenuated tetravalent dengue vaccine Intellectual Property rights _ Patent Address public health concern

Page 13: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

13

ประสบการณเจรจากับบริษัทวัคซีนขามชาติในการนํา

วัคซีนเด็งกี่ไปขยายการผลิตระดับอุตสาหกรรม

• จดทะเบียนลิขสิทธิข์องทรัพยสินทางปญญาเปนของ

มหาวิทยาลัยมหิดล มี ณัฐ ภมรประวัติ / สธุ ียกสาน เปน

Inventors มีรายละเอียดวาวัคซีน strain ตาง ๆ ที่

เกิดขึ้นโดยการใช Primary Dog Kidney cell technology ในการ attenuate virus นั้นมหาวิทยาลัยมหิดลเปนเจาของ

Page 14: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

14

ประสบการณเจรจากับบริษัทวัคซีนขามชาติในการนํา

วัคซีนเด็งกี่ไปขยายการผลิตระดับอุตสาหกรรม

• มีการ grant “License” ของ Dengue candidate vaccine 4 ชนิด ใหแกบริษัทอุตสาหกรรม ไดแก

» Dengue 1 PDK 13

» Dengue 2 PDK 53

» Dengue 3 PGMK 30/F3» Dengue 4 PDK 4

ขอสังเกต : License เฉพาะวคัซีนทั้ง 4 ชนิด ผานการทํา clinical trial ในคน

แลว น่ันคือ มี scientific evidence สนับสนุนชดัเจน

Page 15: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

15

สิ่งท่ีควรระวัง คือ การนําวัคซีนไปตอยอด

บริษทัจะตองไมมีสิทธใินการนําวัคซีน

generation แรกซ่ึงเปน live attenuated virus vaccine ไปพฒันาเปนวัคซีน

generation ท่ีสอง ซ่ึงเปน genetic engineered vaccine เปนตน

Page 16: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

16

ประสบการณเจรจากับบริษัทวัคซีนขามชาติในการนํา

วัคซีนเด็งกี่ไปขยายการผลิตระดับอุตสาหกรรม

• การจายเงินที่เรียก Technology Access Fee แบงเปนงวดตามเหตุการณ เชน การสงมอบเชื้อไวรัส การสงมอบขอมูล การนําวัคซีนไปทดสอบในคนระยะตาง ๆ เปนตน

ขอสังเกต

ถาไมมีเหตุการณตามสัญญาเกิดขึ้นหรือประวิงไมใหเหตุการณนั้นเกิดขึ้น เขาก็ยังไมตองจายเงิน เปนตน

Page 17: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

17

Strategic Partners

I. ผูใหทุนสนับสนุนการวิจัย ในที่นี้ คือ องคการอนามัยโลก

ความตองการของผูใหทุน :– ตองการมีวัคซีนซึ่งใช technology ท่ีเหมาะสม– Safety/Immunogenicity/Efficacy– Affordable price

การสนองตอบ : ตรงไปตรงมา ไมมีปญหา

Page 18: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

18

Strategic Partners

II. Host Organization – มหาวิทยาลัย

Comment :ผูตรวจสัญญาไมมีประสบการณ การบริหารทรัพยสินทาง

ปญญามีความละเอียดออน จะมองเฉพาะเร่ืองเงนิทอง

อยางเดียวไมได จะตองคํานึงถึงความรูและเทคโนโลยีการ

ผลิตหลายอยางซึ่งเราไมสามารถทําเองหรือซื้อหามาได

Page 19: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

19

การสรางนวัตกรรม

ภาพ : ดาราศาสตรจากฝรั่งเศสสูราชอาณาจักรสยาม

ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช แหงกรงุศรีอยุธยา

กระบวนการความคิดทางวทิยาศาสตร เปนรากฐานสําคัญที่สงเสริมใหสังคมไทย• เปนสังคมความรู• เปนสังคมทีใ่ฝในการศึกษาคนควา การประดิษฐคิดคน• เปนหัวใจของการพฒันาทางวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 20: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

20

คนสยามเปนคนท่ีมีสติปญญาเรียนรูอะไรงาย และรูแจมแจง ถาไดศึกษาสักหนอยก็เปนผูเกงกาจได ไมวาเปนวิทยาการช้ันสูงหรือศิลปวิทยาท่ียากเพียงใด แตอุปสรรคสําคัญของคนสยามท่ีอยูในประเทศรอนจัด คือ ความเกียจครานในดานความคิดอาน ฉะน้ันคนสยามจึงไมเคยประดิษฐคิดคนอะไรขึ้นมาเลย

คนสยามจะไมสามารถเรียนอะไรอยางใครครวญตอเน่ืองยืดยาวได ถามองไมเห็นประโยชนท่ีพึงจะไดรับ (โดยเร็ว)

• การท่ีคนสยามสนใจดาราศาสตรก็เพ่ือมาประยุกตใชกับเรื่องโหราศาสตร เชน ผูกดวงชะตาคนเพ่ือทํานาย

• สนใจวิชาเคมีเพ่ือเลนแรแปรธาตใุหเปนทอง

Page 21: ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property)nvi.ddc.moph.go.th/attach/vaccourse2010/16-06-10/14.55...ทร พย ส นทางป ญญา (Intellectual

Thank you for your attention