22
พิสมัย เสถียรยานนท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานพลังงานทดแทน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน โรงแรมเซ็นตทารา แกรนด แอท เซ็นทรัล พลาซา วันพฤหัสบดีที22 ตุลาคม 2558 งานสัมมนาวิชาการ Energy Symposium 2015 จัดโดย สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)

แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

พิสมัย เสถียรยานนทผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานพลังงานทดแทน

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

กระทรวงพลังงาน

โรงแรมเซ็นตทารา แกรนด แอท เซ็นทรัล พลาซา

วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม 2558

งานสัมมนาวิชาการ Energy Symposium 2015

จัดโดยสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)

Page 2: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

หัวขอนําเสนอ

1. แผนการพัฒนาพลังงานทดแทน 21 ป (58-79) และมาตรการสนับสนุน

2. สถานภาพการใชพลังงานทดแทนและปญหาอุปสรรค

3. แนวทางขับเคลื่อนแผนพฒันาพลังงานทดแทน

Page 3: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

33

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 21 ป (58-79)

และมาตรการสนับสนุน

Page 4: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

พ.ศ.2558 – 2579 PDP 2015

EEP 2015

AEDP 2015

Smart GridPlan2015

Oil Plan2015

Gas Plan2015

แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย

(Power Development Plan)

แผนอนุรักษพลังงาน (Energy EfficiencyDevelopment Plan)

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan)

แผนบริหารจัดการน้ํามันเชื้อเพลิง

แผนบริหารจัดการกาซธรรมชาติ

การบูรณาการแผนพลังงานของประเทศ (ตามมติ กพช.15 ส.ค. 57

Page 5: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 8 ป

(พ.ศ. 2546 – 2554)

8% 25% 20%

มติ กพช. (ก.ย.46) มติ กพช.(ม.ค.52) มติ กพช. (ธ.ค.54)

30%ณ สิ้นป 2557= 11.91%

มติ กพช. (ก.ย.58)

RE=0.5%

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป

(พ.ศ. 2551 – 2565)

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ป

(พ.ศ. 2555 – 2564)

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 21 ป

(พ.ศ. 2558 – 2579)

30%

ความเปนมาของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน(Alternative Energy Development Plan : AEDP)

Page 6: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

Committed to the development of low-carbon society

Government Funding On R & DActivities

Encouraging Private-Led Investment

Alternative Energy Development Plan (AEDP : 2015-2036)

Solar

6,000 MW

1,200 ktoe (Heat)

Small + Mini Hydro

376 MW

Bio Energy

Biomass Biogas MSW

5,570 MW Waste 600 MW

500 MW

22,100 ktoe (Heat)

1,283 ktoe (Heat)

495 ktoe (Heat)

Target 30 % of RE in Total Final Energy Consumption By 2036

Biofuels

• Ethanol 11.3 ML/d

• Biodiesel 14 ML/d

• CBG 4,800 Ton/d• Pyrolysis Oil0.53 ML/d

• Alternative fuel(bio-oil,hydrogen)10 ktoe

Wind

3,002 MW

Electricity = 19,684 MW (5,588.24 ktoe)Heat = 25,088 ktoeBiofuel = 8,712.43 ktoeTotal = 39,388.67 ktoe

Large Hydro

2.906.40 MW(Existing)

Industrial Waste

50 MW

Energy Crops

680 MW

Others Heat

10 ktoe

Alternative Energy Development Plan (AEDP : 2015-2036)

RE share of 11.91% ( 2014)

Page 7: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

7

ประเภทพลังงาน ป 2557 (MW) เปาหมาย (MW)

1. ขยะชุมชน 65.72 500.00

2. ขยะอุตสาหกรรม - 50.00

3. ชีวมวล 2,451.82 5,570.00

4. กาซชีวภาพ (น้ําเสีย/ของเสีย) 311.50 600.00

5. พลังน้ําขนาดเล็ก 142.01 376.00

6. กาซชีวภาพ (พืชพลังงาน) - 680.00

7. พลังงานลม 224.47 3,002.00

8. พลังงานแสงอาทติย 1,298.51 6,000.00

9. พลังน้ําขนาดใหญ - 2,906.40

รวม 4,494.00 19,684.40

ประเภทพลังงาน ป 2557 (ktoe) เปาหมาย (ktoe)

1. พลังงานขยะ 98.10 495.00

2. ชีวมวล 5,184.00 22,100.00

3. กาซชีวภาพ 488.10 1,283.00

4. พลังงานแสงอาทติย 5.12 1,200.00

5. พลังงานความรอนทางเลือกอื่น* - 10.00

รวม 5,775.00 25,088.00

* พลังงานความรอนทางเลือกอืน่ เชน พลังงานจากใตพภิพ น้ํามันจากยางรถยนตที่ใชแลว

ประเภทพลังงาน ป 2557 เปาหมาย

เชื้อเพลิงชีวภาพ ลานลิตร/วนั ลานลิตร/วัน ktoe

1. ไบโอดีเซล 2.89 14.00 4,404.82

2. เอทานอล 3.21 11.30 2,103.50

3. น้ํามันไพโรไลซิส - 0.53 170.87

4. กาซไบโอมีเทนอัด (ตัน/วนั) - 4,800.00 2,023.24

5. เชื้อเพลิงทางเลือกอื่น * - 10.00

รวม 6.10 8,712.43

ไฟฟา

* พลังงานเชือ้เพลิงทางเลือกอืน่ เชน Bio-oil , Hydrogen เปนตน

ความรอน

เชื้อเพลงิชีวภาพ

สัดสวนผลิตไฟฟาจาก RE

ตอปรมิาณการใชไฟฟา20%

สัดสวนผลิตความรอนจาก RE

ตอปรมิาณการใชความรอน 36.67%

สัดสวนการใชเชือ้เพลิงจาก RE

ตอปริมาณการใชเชือ้เพลงิ25.04%

5,588.24 ktoe

(4.27%)

25,088.00 ktoe

(19.15%)

8,712.43 ktoe

(6.65%)

เปา RE = 30% ตอการใชพลงังานรวมเปา RE = 30% ตอการใชพลงังานรวม

* ขอมูลป 2557 ไมรวมพลงังานน้าํขนาดใหญ

เปาหมายแตละประเภทพลังงานทดแทน ในป 2579

Page 8: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

8

Investment grants

BOIData Support

Feed-in Tariff(FIT)

ESCO fund

• Exemption of imported duty of equipment or machines

• Exemption of income-corporate taxes resulting from selling RE or savingenergy for periodsup to 8 years

• One stop service center

• Data on renewable development progress

• Resource data maps, such as solar ,wind, biomass, biogas and MSW

• Provides lower riskcapital to renewable focused businesses

• Equity investment (ESCO venture capital)

• Equipment leasing • Credit guarantee facility

• Electricity buying rate paid forrenewable power generation

• Biomass : 4.24-5.34 THB/kWh• Biogas: 3.76-5.34 THB/kWh• MSW: 5.08-6.34 THB/kWh• Wind: 6.06 THB/kWh• Hydro: 4.90 THB/kWh• Solar: 5.66-6.85 THB/kWh

Supporting Measures

Page 9: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

9

กําลังผลิต(MWp)

อัตรา adder และ FiTเดิม อัตรา FiT ปี 2557-2558

อัตรา Adder /FiT(บาท/หน่วย)

ระยะเวลาสนับสนนุ

อัตรา FiT(บาท/หน่วย)

ระยะเวลาสนับสนนุ

แบบติดตัง้บนพืน้ดนิ โซลา่ฟารม์

≤ 90 MWpAdder 8.0 และ ลดลงเป็น 6.50

10 ปี 5.66 25 ปี

แบบติดตัง้บนหลงัคา (บ้านอยู่อาศัย)

≤ 10 kWp FiT 6.96 25 ปี 6.85 25 ปี

แบบติดตัง้บนหลงัคา (อาคารธุรกิจ/โรงงาน)

> 10 – 250 kWp FiT 6.55 25 ปี 6.40 25 ปี

> 250 – 1,000 kWp FiT 6.16 25 ปี 6.01 25 ปี

แบบติดตัง้บนพืน้ดนิ- สําหรับหนว่ยงานราชการและสหกรณ์การเกษตร

≤5 MWp

(โครงการโซล่าชุมชนเดิม)-FiT 9.75 ปีที่ 1-3-FiT 6.50 ปีที่ 3-10-FiT 4.50 ปีที่ 11-25

25 ปี 5.66 25 ปี

อัตรารับซื้อไฟฟ้าโครงการพลังงานแสงอาทติย์ ปี 2557-2558

Page 10: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

10

กําลังผลิต (MW)

FiT (บาท/หน่วย)

ระยะเวลาสนับสนุน

(ปี)

FiT Premium (บาท/หน่วย)

FiTF

FiTV,2560

FiT(1)

โครงการกลุ่มเชื้อเพลิง

ชีวภาพ(8 ปีแรก)

โครงการในพื้นที่จังหวัด

ชายแดนภาคใต้(2)

(ตลอดอายุโครงการ)

1) ขยะ (การจัดการขยะแบบผสมผสาน)

กําลังผลิตติดตั้ง ≤ 1 MW 3.13 3.21 6.34 20 ปี 0.70 0.50

กําลังผลิตติดตั้ง > 1-3 MW 2.61 3.21 5.82 20 ปี 0.70 0.50

กําลังผลิตติดตั้ง > 3 MW 2.39 2.69 5.08 20 ปี 0.70 0.50

2) ขยะ (หลุมฝังกลบขยะ) 5.60 - 5.60 10 ปี - 0.50

3) ชีวมวล

กําลังผลิตติดตั้ง ≤ 1 MW 3.13 2.21 5.34 20 ปี 0.50 0.50

กําลังผลิตติดตั้ง > 1-3 MW 2.61 2.21 4.82 20 ปี 0.40 0.50

กําลังผลิตติดตั้ง > 3 MW 2.39 1.85 4.24 20 ปี 0.30 0.50

4) ก๊าซชีวภาพ (น้ําเสีย/ของเสีย) 3.76 - 3.76 20 ปี 0.50 0.50

5) ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) 2.79 2.55 5.34 20 ปี 0.50 0.50

6) พลังงานน้ํา

กําลังผลิตติดตั้ง ≤ 200 kW 4.90 - 4.90 20 ปี - 0.50

7) พลังงานลม 6.06 - 6.06 20 ปี - 0.50

• อัตรา FiT สําหรับโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก (VSPP)

หมายเหตุ (1) อัตรา FiT จะใช้สําหรับโครงการที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบภายในปี 2560 โดยภายหลังจากปี 2560 นั้น อัตรา FiTV จะเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามตราเงินเฟ้อขั้นพื้นฐาน (Core Inflation) สําหรับประเภทเชื้อเพลิง ขยะ(การจัดการขยะแบบ

ผสมผสาน), ชีวมวล, ก๊าชชีวภาพ (พืชพลังงาน) เท่านั้น

(2) โครงการในพื้นที่จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และ 4 อําเภอในจังหวัดสงขลา ได้แก่ อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะบ้าย้อย และ อ.นาทวี

จะมีอัตรา FiT Premium 0.50 บาท/หน่วย ตลอดอายุโครงการ

อัตรารับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมนุเวียนสําหรับปี 2558

มติ กพช. วันที่ 15 ธ.ค.57

Page 11: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

1111

อัตราการรับซื้อไฟฟ้าที่ผลิตจากขยะอุตสาหกรรม

มติ กพช. เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558

Page 12: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

12

สถานภาพการใชพลังงานทดแทนและ

ปญหาอุปสรรค

Page 13: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

ที่มา: ดุลยภาพพลังงานของประเทศไทยปี 2557

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

การใช้พลังงานทดแทน

ของประเทศไทยปี พ.ศ. 2557

การใช้พลังงานทดแทน

ปี พ.ศ. 2553 – 2557

การใช้พลังงาน

ทดแทน

ณ สิ้นปี 2557

11.91%13

สถานภาพการใชพลังงานทดแทน

Page 14: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

14

ประเภทพลังงานทดแทน หนวย เปาหมายป 2564 ป2555 2556 ป 2557

พลังงานไฟฟา MW 13,927 2,786 3,788 4,494

ktoe 5,370 1,138 1,341 1,467

1.พลังงานแสงอาทิตย MW 3,000 376.72 823.46 1,298.51

2.พลังงานลม MW 1,800 111.73 222.71 224.47

3.พลังน้ําขนาดเล็ก MW 324.00 101.75 108.80 142.01

4.ชีวมวล MW 4,800 1,959.95 2,320.78 2,451.82

5.กาซชีวภาพ MW 3,600 193.40 265.23 311.50

6.พลังงานขยะ MW 400 42.72 47.48 65.72

7. พลังงานรูปแบบใหม MW 3.00 - - -

ความรอน ktoe 9,801 4,886 5,279 5,775

1.แสงอาทิตย ktoe 100 3.50 4.50 5.12

2.ชีวมวล ktoe 8,500 4,346 4,694 5,184

3.กาซชีวภาพ ktoe 1,000 458.0 495.0 488.10

4.พลังงานขยะ ktoe 200 78.2 85.0 98.10

เชื้อเพลิงชีวภาพ ลานลิตร/วนั 19.20 4.20 5.50 6.10

ktoe 9,467 1,270 1,612 1,783

1.เอทานอล ลานลิตร/วนั 9.00 1.40 2.60 3.21

2.ไบโอดีเซล ลานลิตร/วนั 7.2 2.80 2.90 2.89

3. เชื้อเพลงใหมทดแทนดีเซล ลานลิตร/วนั 3.00 - - -

4. กาซชีวภาพอัด ตัน/วัน 1,200 - - -

รวมการใชพลังงานทดแทน (ktoe) 24,638 7,294 8,232 9,025

รวมการใชพลังงานขั้นสุดทาย (ktoe) 99,838 73,316 75,214 75,804

สัดสวนการใชพลังงานทดทดแทน (%) 25% 9.95 % 10.94% 11.91%

สถานภาพการใชพลังงานทดแทนป 55-57

Page 15: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

1.ประชาชนในพื้นที่ มีความคิดตอตานโรงไฟฟาพลังงานทดแทน2.ความลาชาในการออกใบอนุญาตตางๆ มีหลายขั้นตอน3.เทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทนสวนใหญแลวมีตนทุนสูงและใหผลตอบแทนต่ํา มีระยะเวลาในการคืนทุนนาน4.แหลงเงนิทุนหรือหนวยงานที่ปลอยเงินกูขาดความเชื่อมั่นในเรื่องความคุมทุน5.พระราชบัญญัติการผังเมือง 6.ขอจํากัดของสายสงไฟฟาและสถานีไฟฟาแรงสูง7.การใชพื้นที่ที่มีศักยภาพผลิตพลังงานทดแทน ไมอนุญาตใหเอกชนดําเนินการได 8.ขาดฐานขอมูลแหลงพื้นที่ที่มีศักยภาพที่ทันสมัย 9.ปญหา พรบ.รวมทุน

ภาพรวมปญหาอุปสรรคการพัฒนาพลังงานทดแทน

Page 16: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

แนวทางขับเคลื่อนแผนพัฒนาพลังงานทดแทน

Page 17: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

• ขยายระบบสายสงเพื่อรองรับ RE

• กําหนด FIT ที่เหมาะสมและจูงใจ

• สรางความมั่นคงดานวัตถุดิบสาํหรับการผลติ RE ไฟฟา

• กําหนดนโยบายที่มีความชัดเจนตอเนื่องและเอื้อตอการลงทุน

• สรางการยอมรับการสรางโรงไฟฟาพลังงานทดแทน

• แกปญหาโครงการ RE ที่ยังไมไดจายไฟฟาตามกําหนด

• สรางความชัดเจนการประกาศรับซื้อไฟฟาจาก RE (FIT Bidding/ Solar ราชการและสหกรณฯ)

• สงเสริมการผลติไฟฟาจาก RE ในรูปแบบ net-metering หรือเพื่อใชเอง (self-consumption)

• เรงขยายสายสงไฟฟาใหรองรับการผลิตไฟฟาจาก RE ตามแผน AEDP 2015

• มี ม า ต ร ก า ร จู ง ใ จ ใ หโ ร ง ไ ฟฟ า เ ก า ป รั บ ป รุ ง ระบบเพื่อผลิตไฟฟาตอไป

• กํ า ห น ด ม า ต ร ก า ร /แนวทางรับซื้อไฟฟาเพิ่ม สําหรับผูประกอบการที่ มีศักยภาพของแหลงวัตถุดิบเพิ่มขึ้น

• นํารองและสงเสริมการผ ลิ ต ไ ฟ ฟ า จ า ก REแ บ บผสมผสาน

• สงเสริมให มีการพัฒนาระบบผลิตไฟฟาจาก RE ในรูปแบบ Micro grid

2559 2560-2564ภาพรวม

แนวทางขับเคลื่อน RE ไฟฟา

Page 18: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

• กําหนด subsidy ที่เหมาะสมเพื่อแขงขันกับตลาดฟอสซิลได

• สงเสริมการปรับเปลีย่นอุปกรณผลิตความรอนจากการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลมาเปนเชื้อเพลิง RE

• สงเสริมการใชพลังงานทดแทนในภาคเกษตรกรรม ชุมชนและครัวเรือน

• หาแหลงวัตถุดิบ RE ทางเลือกอื่นๆ

• สนับสนุนใหเกิดการผลติชิ้นสวน อุปกรณเทคโนโลยีพลังงานทดแทนไดเองในประเทศ

• สนับสนุนอุตสาหกรรม SMEs เปลี่ยนหัวเผาไปใชเชื้อเพลิงชีวมวล ดวย Investment subsidy

• สนับสนุนชุมชนผลติเชื้อเพลิงชีวมวล

• สนับสนุนการนําขยะไปผลิตเปนเชือ้เพลิง RDF

• Subsidy เงินลงทุนระบบผลิตน้ํารอน และอบแหงจากพลังงานแสงอาทิตย

• สงเสริมโครงการ Biogas Network ระดับชุมชน

• ESCO Fund

• มาตรการทางการเงิน (Subsidy)

• สนับสนุนอุตสาหกรรม SMEs เปลี่ยนหัวเผาไปใชเชือ้เพลิงชวีมวลดวย Investment subsidy (ตอเนื่อง)

• สนับสนุนชมุชนผลิตเชือ้เพลิงชีวมวล (ตอเนื่อง)

• ใชมาตรการ ESCO Fund หรือRevolving Fund สนับสนุนการลงทุนปรับเปลี่ยนการใชเชือ้เพลิงจากฟอสซิลเปน RE

• บูรณาการโครงการสงเสริมการปลูกไมโตเร็วและพืชพลังงาน

• Subsidy เงินลงทุนระบบผลิตน้ํารอนและอบแหงจากพลังงานแสงอาทิตย

• พัฒนาแนวทางการนํา RE ไปบังคับใชใน Building Code (BEC)

• สงเสริมกาซชีวภาพในโรงงาน อุตสาหกรรมและชุมชน

แนวทางขับเคลื่อน RE ความรอน

ภาพรวม 2559 2560-2564

Page 19: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

19

โครงการสาธิตการใชเชือ้เพลิงอัดเม็ดในหมอน้ําขนาดเลก็เพื่อทดแทนการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลในภาคอุตสาหกรรม

บริษัท แอล.วาย. อินดัสตรีส จํากัด แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ(ประเภทธุรกิจ ผลิตสายเทป เชือกสําหรับ

เสื้อผากีฬา)

หากเปลี่ยนมาใชเปนขี้เลื่อยอัดเม็ดจะมีความคุมคาสูงสุด คิดเปนคาใชจายเชื้อเพลิงที่ลดลง 60% หรือเฉลี่ย 2.5 ลานบาทตอป

หมอน้ํา/หัวเผากอนการปรับปรุง

หมอน้ํา/หัวเผาหลงัการปรับปรุง

การใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงผลิตพลังงานความรอน

Page 20: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

• จัดหาวัตถดุิบเพื่อผลติเชื้อเพลิงชีวภาพใหเพียงพอ • กําหนดกลไกราคาเชื้อเพลิงชีวภาพใหแขงขันกับเชื้อเพลงิฟอสซิลไดอยางตอเนื่อง

• สงเสริมมาตรการดานภาษี • สงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยียานยนตเพื่อรองรับการใชเชือ้เพลงิชีวภาพ

• สงเสริมพัฒนาการผลติเชื้อเพลิงชีวภาพ

• กําหนดแนวทางผลักดันการใชไบโอดีเซล B10

• สรางแรงจูงใจเพื่อสนับสนุนใหมีการใชเชื้อเพลิงชีวภาพมากขึ้น เชน การสรางสวนตางราคาที่จูงใจ สงเสริมการใช B100 ในเครื่องจักรกลการเกษตร เปนตน

• อุดหนุนสวนตางของราคาน้ํามันจาก พลาสติกโดยประกันราคาที่ 14.50 บาท/ลิตร

• นํารอง business model project การผลิตและการใช CBG จากน้ําเสียโรงงาน

• ลอยตัวราคา NGV (สงเสริม CBG)

-H-FAME

• ยกเลิกการใชน้ํามันเชื้อเพลิงชนิดแกสโซฮอล E10 (91)

• วิจัย พัฒนาเพื่อลดตนทุนการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ H-FAME

• เพิ่ม yield วัตถุดิบเพื่อ Ethanol และ Biodiesel

• สนับสนุนใหมีการใชเชื้อเพลิงไบโอดีเซลชนิด B10 เปนเชื้อเพลิงทางเลือก

• วิจัย พัฒนาปรับปรุงคุณภาพน้ํามันจากขยะพลาสติก

• สงเสริม สนับสนุนการผลิต CBGจากน้ําเสียโรงงาน

• นํารองโครงการผลิต CBG ในพื้นที่หางไกลจากปลายทอกาซ

แนวทางขับเคลื่อน RE เชื้อเพลิงชีวภาพภาพรวม 2559 2560-2564

Page 21: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

เพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนเทากับ 30% ของการใชพลังงานขั้นสุดทาย ในป 2579

ผลรวมเปาหมาย ktoeการใชพลังงานทดแทน (ktoe) 39,388.67การใชพลังงานขั้นสุดทาย (ktoe) 131,000สัดสวนการใชพลังงานทดแทน (%) 30%

การใชพลังงานขัน้สุดทาย

การใชพลังงานทดแทน

ktoe

สรุปภาพรวม AEDP 2558-2579

Page 22: แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579)¹ผน...ห วข อน าเสนอ 1. แผนการพ ฒนาพล งงานทดแทน 21 ป

2222

Thank you for Your attention