112
โรงพยาบาลหนองคาย โทร. 0-4241-3456-65 โทรสาร 0-4242-1465 http://www.nkh.go.th ผลการดําเนินงาน Service Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่ 2/2560 วันที่ 18-21 กรกฎาคม 2560 เสนอ คณะตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข และ คณะตรวจราชการ Service Plan เขตสุขภาพที่8

ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคายโทร. 0-4241-3456-65 โทรสาร 0-4242-1465

http://www.nkh.go.th

ผลการดําเนินงาน Service Plan โรงพยาบาลหนองคายรอบท่ี 2/2560

วันท่ี 18-21 กรกฎาคม 2560

เสนอคณะตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

และ คณะตรวจราชการ Service Plan เขตสุขภาพท่ี 8

Page 2: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

สารบัญหนา

การพัฒนาระบบบริการ (Service Plan)

1. สาขาโรคไมติดตอเรื้อรัง1.1 NCD โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 11.2 สาขาโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) 131.3 สาขาโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง (COPD) 17

2. สาขาไต 203. สาขาโรคหัวใจ 254. สาขาการใชยาอยางสมเหตุสมผล 305. สาขาทารกแรกเกิด 356. สาขา Palliative Care 38

6.1 ฟนฟูสมรรถภาพ 436.2 (Long term Care) 45

7. แพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน 508. สาขาสุขภาพจิต 539. 3 สาขาหลัก Plus

9.1 สูติกรรม 609.2 กุมารเวชกรรม 629.3 ออรโธปดิกส 649.4 อายุรกรรม (Sepsis) 66

10. สาขาศัลยกรรม 7211. สาขาโรคมะเร็ง 7612. สาขาตา 8913. สาขาสุขภาพชองปาก 9114. สาขาปลูกถายอวัยวะ 9717. สาขาอุบัติเหตุ 100

-----------------------------------------------

Page 3: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย รายงานผลการปฏิบตัริาชการ รอบที 2 กรณีปกต ิประจาํปี 2560 ก

ขอมูลทั่วไปโรงพยาบาลหนองคาย

ประวัติโรงพยาบาลหนองคายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เปนตนมา กรมสาธารณสุข ยังคงสังกัดในกระทรวงมหาดไทย

รัฐบาลมีแนวนโยบายวาจะสรางโรงพยาบาลทุกจังหวัดท่ัวประเทศ ไดมอบใหกรมสาธารณสุขสรางโรงพยาบาลจังหวัดชายแดนข้ึน คือ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดหนองคาย และจังหวัดนครพนม บุคคลสําคัญท่ีมีบทบาททําใหโรงพยาบาลหนองคาย มีการกอสรางไดกอนเปนโรงพยาบาลแรก คือ พระปทุมเทวาภิบาลขาหลวงประจําจังหวัดหนองคาย ในขณะนั้น ทานผูนี้เปนผูวิ่งเตนจัดหาเงินทุนในการกอสราง ซึ่งไดรับงบประมาณมาจาก 3 ทาง คือ

1. เงินสงเสริมเทศบาลประเภทอุดหนุนทองถ่ินในการสาธารณสุข2. เงินกองสลากสภากาชาดไทย3. เงินงบประมาณแผนดิน รวมคากอสรางท้ังสิ้น 100,200 บาทเริ่มกอสราง พ.ศ. 2476 สรางเสร็จเปดทําการเม่ือวันท่ี 19 มกราคม 2478 จึงถือเอาวันท่ี 19 มกราคมของทุก

ป เปนวันกอตั้งโรงพยาบาล มีการทําบุญเลี้ยงพระเปนประเพณีประจําปตลอดมา นับเปนโรงพยาบาลแหงท่ี 2 ท่ีสรางข้ึนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (แหงแรกคือโรงพยาบาลนครราชสีมา) พระปทุมเทวาภิบาลไดมอบภาพขนาดใหญของทานไวใหแกโรงพยาบาล 1 ภาพขางลาง ภาพบันทึกขอความไวดังนี้

“...ขอมอบภาพนี้ใหแก โรงพยาบาลหนองคาย ใหประชาชนชาวจังหวัดหนองคายทราบวากวาจะไดโรงพยาบาลข้ึนมา เจาของภาพนี้ไดรับความชอกช้ําใจและลําบากกาย เปนอยางยิ่ง…”ปจจุบันโรงพยาบาลหนองคาย เปนโรงพยาบาลท่ัวไป ขนาด 349 เตียง มีเนื้อท่ี 38 ไรเศษ ตั้งอยูเลขท่ี 1158

ถนนมีชัย ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ทิศใตติดถนนมีชัย ฟากฝงตรงกันขามเปนท่ีตั้งสถานีตํารวจภูธร ทิศเหนือของพ้ืนท่ีทอดยาวขนานตามลําน้ําโขง ซึ่งอยูหาง จากฝงโขง ประมาณ 100 เมตร จังหวัดหนองคาย เปนจังหวัดชายแดนติดตอกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีน้ําโขงเปนเสนก้ันพรมแดนลักษณะพ้ืนท่ีเดิมเปนลุมน้ําทวมถึงในหนาน้ํามีทางน้ําธรรมชาติเปนลําหวยเล็กๆ ไหลพาดผานจากดานทิศตะวันออกไหลลงสูแมน้ําโขง บริเวณขางวัดหายโศก ชื่อ “หวยหายโศก” ซึ่งมีตนน้ํามาจากหนองกอมเกาะไหลสูหนองถ่ิน

หนองกลาง หนองตูม คือ บริเวณหนองน้ํากวางใหญรอบสถานีรถไฟหนองคาย โรงพยาบาลหนองคาย สรางในพ้ืนท่ีราชพัสดุ เดิมเปนเรือนจํา เม่ือดําริจะสรางเปนโรงพยาบาลไดซื้อท่ีนาราษฎรเพ่ิมเติม มีการปรับถมพ้ืนท่ีใหสูงข้ึน จากระดับน้ําทวมกอนสราง โดยขุดลอกดินจากหนองน้ําหนาโรงพยาบาลเปนจํานวนมากข้ึนมาถมท่ี การขุดถมดินสวนใหญไดรับความชวยเหลือ จากนักโทษ (จากคําบอกเลาของ นายมุข จันทรนุรักษ ผูรวมทํางานกอสรางโรงพยาบาลและตอมาไดเปนเจาหนาท่ีโรงพยาบาล จนครบเกษียณ)

ตอมาเม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2554 ไดเปดโรงพยาบาลหนองคาย 2 ข้ึนอีกหนึ่งแหง ณ ท่ีทํางาน ร.ส.พ. เดิม(มีพ้ืนท่ี 4 ไร 2 งาน 55.3 ตารางวา) เพ่ือเปดใหบริการผูปวยดานปฐมภูมิและทุติภูมิระดับตน และเปนการสนับสนุนนโยบายลดความแออัดของผูปวยนอก โรงพยาบาลหนองคาย 1

Page 4: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย รายงานผลการปฏิบตัริาชการ รอบที 2 กรณีปกต ิประจาํปี 2560 ข

รายนามผูอํานวยการโรงพยาบาลหนองคาย ตั้งแตเปดดําเนินการมาจนถึงปจจุบัน

1. นายแพทยโสภณ กาญจนวิสิต ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2478 – 24922. นายแพทยสมมาตร มาลยมาน ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2492 – 24933. นายแพทยโสภณ กาญจนวิสิต ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2494 – 24964. นายแพทยสินธุ สุขธํารง ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2496 – 24975. นายแพทยฉลาด ถิรพัฒน ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2497 – 25016. นายแพทยพงศพันธ ปรีดาสวัสดิ์ ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2501 – 25127. นายแพทยสมศักดิ์ นองบุญนาค ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2513 – 25218. นายแพทยวรา โรจนหัสดิน ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2521 – 25269. นายแพทยสุภา รักชาติ ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2526 – 252710. นายแพทยโอภาส บุญสิทธิ์ ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2527 – 253511. นายแพทยเจริญ มีชัย ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2535 – 253812. นายแพทยสมภพ พันธุโฆษิต ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2538 – 254213. นายแพทยถาวร วิชาตรง ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2542 – 255014. นายแพทยกิติศักดิ์ ดานวิบูลย ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2550 – 255815. นายแพทยศุภชัย จรรยาผดุงพงศ ดํารงตําแหนงป พ.ศ.2559 – ปจจุบัน

Page 5: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย รายงานผลการปฏิบตัริาชการ รอบที 2 กรณีปกต ิประจาํปี 2560 ค

แผนท่ีกลยุทธโรงพยาบาลหนองคาย (Strategy Map)

วิสัยทัศน“เราจะเปนโรงพยาบาลท่ัวไปชั้นนําระดับประเทศ”

พันธกิจ1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพองครวมทุกระดับอยางมีคุณภาพ2. พัฒนาระบบบริหารจัดการและสนับสนุนระบบบริการสุขภาพท่ีมีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล3. บูรณาการการสรางเสริมสุขภาพกับเครือขายพันธมิตรระบบบริการสุขภาพประชาชน4. พัฒนาสูการเปนสถาบันรวมผลิตและฝกอบรมบุคลากรทางการแพทย

คานิยม1. M : Mastery (เปนนายตนเอง)2. O : Originality (เรงสรางสิ่งใหม)3. P : People Centered (ใสใจประชาชน)4. H : Humility (ถอมตนออนนอม)

เข็มมุง1.พัฒนาการจัดบริการ

1.1 มุง Excellent : Minimally Invasive Surgery (MIS), Vascular Surgery1.2 ยกระดับ Service Plan : Trauma (Ward Trauma ป 2561)1.3 บริบทสําคัญของพ้ืนท่ี : อัตราตายโรคสําคัญลดลง (Sepsis)

อัตราปวยโรคสําคัญลดลง (DHF, Diarrhea, Food poisoning)2. พัฒนาโรงพยาบาลหนองคายสู รพ.คุณธรรม ภายในป 25593. เพิ่มรายรับ ปรับปรุงหองพิเศษเพิ่ม 12 หอง ภายในป 25594. พัฒนาสารสนเทศท่ีมีประสิทธิภาพ5. การบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ

5.1 โรงพยาบาลผานการเปน รพงอนุรักษพลังงาน ป 25606. พัฒนาสิ่งแวดลอมเพื่อสุขภาพ และการเยียวยา

6.1 อาหารปลอดภัย สุขภาพ6.2 ออกกําลังกาย (Fitness , ชมรมตางๆ)6.3 อารมณ (สิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ, สิ่งสักการะ, พ้ืนท่ีสีเขียว)

Page 6: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย รายงานผลการปฏิบตัริาชการ รอบที 2 กรณีปกต ิประจาํปี 2560 จ

ขอมูลบุคลากรโรงพยาบาลหนองคาย

ตารางท่ี 2 ขอมูลบุคลากรแยกเปนประเภท ดังนี้ (ขอมูล ณ 31 พ.ค. 2560)ประเภท จํานวน (คน)

ขาราชการ (ปฏิบัติงานจริง รวมมาชวยราชการ และลาศึกษา) 479

ลูกจางประจํา 79

พนักงานราชการ 33

พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 282

ลูกจางชั่วคราว 34

ลูกจางรายคาบ / รายวัน 86

รวม 993

ตารางที 3 ขอ้มูลบุคลากรแยกเป็นรายตาํแหน่ง ดงันีประเภท จํานวน (คน)

แพทย (ไมนับรวม ผอ.) 55

ทันตแพทย 14

เภสัชกร 22

พยาบาลวิชาชีพ/พยาบาลเทคนิค 356/3

ขาราชการตําแหนงอ่ืนๆ 106

Page 7: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย รายงานผลการปฏิบตัริาชการ รอบที 2 กรณีปกต ิประจาํปี 2560 ง

แผนยุทธศาสตรโรงพยาบาลหนองคาย ปงบประมาณ 2559 – 2563

ประเด็นยุทธศาสตร กลยุทธ 2. การพัฒนาบุคลากร

1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 1. การใหบริการอยางมีคุณภาพระดับสูง (Ultimate Care)

G1. พัฒนาคุณภาพบริการมีประสิทธิภาพและปลอดภัย

G2. โรงพยาบาลหนองคายไดรับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ

G3. ผูรับบริการพึงพอใจ

2. พัฒนาระบบบริหารจัดการและสนับสนุนระบบบริการสุขภาพ

1. สนับสนุนระบบบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ

G4. พัฒนาระบบขอมูลเทคโนโลยีสารสนเทศG5. มีกลไกการตรวจสอบท่ีเขมแข็งG6. การบริหารจัดการระบบสาธารณูปโภค

และเครื่องมือท่ีเพียงพอพรอมใช2. ความผูกพันองคกร G7. ความผูกพันของบุคลากรตอ

องคกร

3. สนับสนุนระบบบริการสุขภาพ G8. มีการจัดระบบบริการท่ีดี

3. บูรณาการสรางเสริมสุขภาพกับเครือขาย

1. พัฒนาบริการสูชุมชนโดยการมีสวนรวมของภาคีเครือขาย

G9. เครือขายการดูแลโรคระบาดท่ีปองกันได

G10. เครือขายการดูแลโรคท่ีไมติดตอG11. ลดความแออัด

4. เปนสถาบันรวมผลิตและฝกอบรม

1. การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพบุคลากร

G12. เปนองคกรแหงการเรียนรูG13. สถาบันรวมสอนและฝกทักษะ

บุคลากรสาธารณสุข

Page 8: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย รายงานผลการปฏิบตัริาชการ รอบที 2 กรณีปกต ิประจาํปี 2560 ฉ

ตารางท่ี 4 จําแนกแพทยเฉพาะทางสาขาตางๆ ในโรงพยาบาลหนองคาย

หมายเหตุ : ไมนับรวม ผอ.ท่ีมา : ฝายการเจาหนาท่ี โรงพยาบาลหนองคาย ณ วันท่ี 31 พ.ค. 2560

สาขา จํานวนสูติ-นรีเวชกรรม 8ศัลยกรรมท่ัวไป 4ศัลยกรรมระบบประสาท 1ศัลยกรรมหลอดเลือด 1ศัลยกรรมระบบทางเดินปสสาวะ 2ศัลยกรรมออรโธปดิกส 4กุมารเวชกรรม 6กุมารเวชกรรมทารกแรกเกิดและปริกําเนิด 1กุมารเวชกรรมพัฒนาการและพฤติกรรม 1อายุรกรรมท่ัวไป 3อายุรกรรมโรคขอและรูมาติสซั่ม 1อายุรกรรมโรคเลือด 1อายุรกรรมระบบประสาท 1อายุรกรรมโรคไต 1อายุรกรรมโรคระบบทางเดินอาหาร 1อายุรกรรมโรคหัวใจ 1โสต ศอ นาสิก 3จักษุวิทยาวินิจฉัย 4วิสัญญีวิทยา 2รังสีวิทยาวินิจฉัย 3เวชกรรมฟนฟู 2จิตเวช 1เวชกรรมปองกัน 1แพทยท่ัวไป 2

รวม 55

Page 9: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 1

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาNCD 1.1 โรคไมติดตอ (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

หัวขอการตรวจราชการ :ตัวชี้วัดท่ี 19 ผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูงควบคุมระดับน้ําตาลและความดันโลหิตตามคาเปาหมายท่ี

เหมาะสม- ผูปวยเบาหวานควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดไดดี (เปาหมาย> รอยละ 40)- ผูปวยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับความดันโลหิตไดดี (เปาหมาย >รอยละ 50)

20 รอยละของผูปวย DM/HT ท่ีไดรับการประเมินโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) มากกวาหรือเทากับรอยละ 80

SP1สถานบริการผานเกณฑ NCD Clinic Plus มากกวารอยละ 601. ขอมูลแสดงผลการดําเนินงาน1.1 แสดงขอมูลเชิงปริมาณระดับจังหวัด

ลําดับ ตัวชี้วัด รายการขอมูล

เมือง

หนอง

คาย

ทาบอ

โพนพิ

สัย

ศรีเชีย

งใหม

สังคม

สระใค

เฝาไร

รัตนว

าป

โพธิ์ต

าก

ภาพร

วมจัง

หวัด

1 รอยละของผูปวยโรคเบาหวานท่ีควบคุมได(>รอยละ40)

เปาหมาย 7626 4117 4519 1408 926 1004 2934 1782 642 24957ผลงาน 1161 668 1324 139 56 50 237 227 342 42.04รอยละ 15.23 16.23 29.30 9.87 6.05 4.98 8.08 12.74 53.27 16.84

2 รอยละของผูปวยโรคความดันโลหิตสูงท่ีควบคุมได(>รอยละ50)

เปาหมาย 11092 6874 6163 2683 2115 1498 2992 2574 1104 37,095ผลงาน 4642 2451 3546 1483 1409 623 1669 1111 583 17,517รอยละ 41.85 35.66 57.54 55.27 66.62 41.59 55.78 43.16 52.81 47.22

3 รอยละของผูปวยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงท่ีข้ึนทะเบียนไดรับการประเมินโอกาสเสี่ยงตอโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVDRisk)ใน10 ปขางหนา(≥รอยละ 80)

เปาหมาย 4938 3304 3153 1108 1094 864 1588 1264 457 17770ผลงาน 3818 2959 2881 938 770 545 974 892 381 14158รอยละ 77.32 89.56 91.37 84.66 70.38 63.08 61.34 70.57 83.37 79.67

Page 10: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 2

ลําดับ ตัวชี้วัด รายการขอมูล

เมืองห

นองค

าย

ทาบอ

โพนพิ

สัย

ศรีเชีย

งใหม

สังคม

สระใค

เฝาไร

รัตนว

าป

โพธิ์ต

าก

ภาพร

วมจัง

หวัด

4 สถานบริการผานเกณฑNCD ClinicPlus >60%

เปาหมาย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9ผลงาน 1 1 1 1 1 1 1 1 1 9รอยละ 100 100 100 100 100 100 100 100 100 100ระดับ ดีมาก ดีเดน ดีเดน ดีมาก ดี ดี ดี ดี ดี

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ป 2560

1.2 แสดงขอมูลเชิงคุณภาพตารางท่ี 1 แสดงรอยละผูปวยโรคเบาหวานท่ีควบคุมได จําแนกรายอําเภอ ป 2560(มากกวาหรือเทากับรอยละ 40 )

อําเภอ จํานวนผูปวย ไดรับการตรวจ รอยละ ควบคุมได รอยละโพธ์ิตาก 642 484 75.39 342 53.27โพนพิสัย 4,519 2,234 49.44 1,324 29.30ทาบอ 4,117 1,842 44.74 668 16.23

เมืองหนองคาย 7,625 3,801 49.85 1,161 15.23รัตนวาป 1,782 445 24.97 227 12.74

ศรีเชียงใหม 1,408 438 31.11 139 9.87เฝาไร 2,934 751 25.60 237 8.08สังคม 926 233 25.16 56 6.05

สระใคร 1,004 434 43.23 50 4.98จังหวัด 24,957 10,662 42.72 4,204 16.84

เขต 263,284 117,412 44.60 38,952 14.79ประเทศ 2,612,110 1,288,199 49.32 510,785 19.55

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560จากตารางท่ี 1 การตรวจหาคาระดับน้ําตาลในเลือด (HbA1C) ในผูปวยโรคเบาหวานในชวงเดือนท่ี 8

สามารถตรวจไดรอยละ 42.72 เนื่องจากการนัดผูปวยเบาหวานเพ่ือดูแลรักษาไมตรงกัน และจํานวนท่ีตรวจไมสามารถตรวจ lab HbA1C ไดทุกรายเพราะตนทุนคาตรวจสูง จากผลการควบคุมระดับน้ําตาลในผูปวยเบาหวานสามารถควบคุมไดรอยละ 16.84 (เกณฑคาเปาหมาย > 40%) มีอําเภอท่ีผานเกณฑ คืออําเภอโพธิ์ตาก คือรอยละ53.27

Page 11: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 3

ตารางท่ี 2 แสดงรอยละผูปวยโรคเบาหวานท่ีควบคุมได (FBS 70 -130mg/dl2 ครั้งติดกัน) จําแนกรายอําเภอป 2560 (มากกวาหรือเทากับรอยละ 40 )

อําเภอ ผูปวยเบาหวาน คุมน้ําตาลไดดี รอยละโพนพิสัย 4,559 2,838 62.25สังคม 932 486 52.15โพธิ์ตาก 643 318 49.46เมือง 7,705 2,761 35.83รัตนวาป 1,791 576 32.16ทาบอ 4,199 1,315 31.32เฝาไร 2,945 876 29.75ศรีเชียงใหม 1,412 219 15.51สระใคร 1,006 149 14.81รวมจังหวัด 25,192 9,538 37.86

แหลงขอมูล : รายงาน Cockpit60 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 30 มิ.ย.2560จากตารางท่ี 2 แสดงผลการควบคุมระดับน้ําตาลไดดี โดยใชคา FBS = 70-130 mg/dl 2 ครั้งติดกัน

พบวาภาพรวมจังหวัดควบคุมไดรอยละ 37.86 ซึ่งเม่ือเทียบกับคาเปาหมาย คือมากกวาหรือเทากับรอยละ 40ยังไมผานเกณฑ และมีอําเภอท่ีผานเกณฑ 3 อําเภอ ไดแก อําเภอโพนพิสัย สังคม และโพธิ์ตาก คิดเปนรอยละ 62.25,52.15 และ 49.46 ตามลําดับ

ตารางท่ี 3 แสดงผลผูปวยเบาหวานสามารถควบคุมความดันโลหิตไดดี จําแนกรายอําเภอ ป 2560(เปาหมาย > 60%)

อําเภอ จํานวนผูปวยเบาหวาน ไดรับการตรวจ รอยละศรีเชียงใหม 1,698 1,613 95.0เมืองหนองคาย 8,340 7,721 92.6สังคม 1,347 1,204 89.4เฝาไร 4,436 3,900 87.9โพธิ์ตาก 802 704 87.8โพนพิสัย 6,322 5,486 86.8สระใคร 1,323 1,044 78.9รัตนวาป 2,006 1,561 77.8ทาบอ 5,033 3,624 72.0จังหวัด 31,307 26,857 85.79เขต 334,558 276,920 82.77ประเทศ 2,940,298 2,229,514 75.83แหลงขอมูล : รายงาน Cockpit60 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 30 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 3 ผูปวยเบาหวานสามารถควบคุมความดันโลหิตไดดี ภาพรวมจังหวัดรอยละ 85.79 ทุกอําเภอผานเกณฑคาเปาหมาย อําเภอท่ีสามารถควบคุมไดมากท่ีสุด คืออําเภอศรีเชียงใหม รองลงมาอําเภอเมืองและสังคมคือรอยละ 95.0, 92.6 และ 89.4 ตามลําดับ

Page 12: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 4

ตารางท่ี 4 แสดงรอยละผูปวยโรคความดันโลหิตสูงท่ีควบคุมได จําแนกรายอําเภอ ป 2560(มากกวาหรือเทากับรอยละ 50 )

อําเภอ จํานวนผูปวย ไดรับการตรวจ รอยละ ควบคุมได รอยละสังคม 2,115 1,695 80.14 1,409 66.62โพนพิสัย 6,163 4,482 72.72 3,546 57.54เฝาไร 2,992 2,040 68.18 1,669 55.78ศรีเชียงใหม 2,683 1,668 62.17 1,483 55.27โพธ์ิตาก 1,104 789 71.47 583 52.81รัตนวาป 2,574 1,812 70.40 1,111 43.16เมืองหนองคาย 11,092 5,629 50.75 4,642 41.85สระใคร 1,498 1,082 72.23 623 41.59ทาบอ 6,874 4,303 62.60 2,451 35.66จังหวัด 37,095 23,500 63.35 17,517 47.22เขต 391,443 244,602 62.49 155,394 39.70ประเทศ 5,494,016 3,073,536 55.94 1,714,121 31.20

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 4ผูปวยความดันโลหิตสูงไดรับการตรวจวัดระดับความดันโลหิตภาพรวมจังหวัด รอยละ 63.35ซึ่งถือวาคอนขางต่ํา จึงควรเรงรัดใหผูปวยโรคความดันโลหิตสูงเขาถึงบริการท่ีมากข้ึน ผลการควบคุมระดับความดันโลหิตไดดี คิดเปนรอยละ 47.22 มากกวาคาเขตสุขภาพท่ี 8 และประเทศอําเภอท่ีผานเกณฑมากกวารอยละ 50 ไดแกอําเภอสังคม โพนพิสัย เฝาไร ศรีเชียงใหม และอําเภอโพธิ์ตาก คือรอยละ 66.62, 57.54, 55.78, 55.27 และ 52.81ตามลําดับ

ตารางท่ี 5 แสดงรอยละผูปวยโรคเบาหวานและหรือโรคความดันโลหิตสูงท่ีข้ึนทะเบียนไดรับการประเมินความเสี่ยงตอโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) จําแนกรายอําเภอ ป 2560

อําเภอ เปาหมาย ผลงาน รอยละโพนพิสัย 3,153 2,881 91.37ทาบอ 3,304 2,959 89.56ศรีเชียงใหม 1,108 938 84.66โพธ์ิตาก 457 381 83.37เมืองหนองคาย 4,938 3,818 77.32รัตนวาป 1,264 892 70.57สังคม 1,094 770 70.38สระใคร 864 545 63.08เฝาไร 1,588 974 61.34จังหวัด 17,770 14,158 79.67เขต 197,957 150,668 76.11ประเทศ 2,306,658 1,780,351 77.18

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560

Page 13: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 5

ตารางท่ี 5 ผูปวยโรคเบาหวานและหรือโรคความดันโลหิตสูงท่ีข้ึนทะเบียนไดรับการประเมินความเสี่ยงตอโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) ใน 10 ปขางหนา ในชวง 8 เดือนมีผลงานภาพรวมจังหวัดรอยละ 79.67(เกณฑ > 80 %) มากกวาภาพรวมเขตสุขภาพท่ี 8 และประเทศ อําเภอท่ีตรวจประเมินไดเกณฑคาเปาหมายคืออําเภอโพนพิสัย ทาบอ ศรีเชียงใหม และโพธิ์ตาก คิดเปนรอยละ 91.37, 89.56, 84.66และ 83.37 ตามลําดับ เม่ือจําแนกตาม Risk Score รายอําเภอ พบความเสี่ยงสูงมาก (ระดับ 4) และสูงอันตราย (ระดับ 5) รวมจํานวน 28 รายพบมากท่ีสุดในอําเภอทาบอ และอําเภอเมือง ซึ่งตองใหการดูแลปรับพฤติกรรมอยางเขมขนและไดรับยารักษาทุกรายรายละเอียดดังตารางท่ี 6ตารางท่ี 6 แสดงจํานวนและรอยละผูปวยท่ีไดรับการประเมิน CVD Risk จําแนกตาม Risk Score รายอําเภอ ป 2560

อําเภอ

จํานวนผูปวยท่ีไดรับการประเมิน CVD Risk จําแนกตาม Risk Score

B ระดับ 1 รอยละ ระดับ 2 รอยละ ระดับ 3 รอยละ ระดับ 4 รอยละ ระดับ 5 รอยละ

เมืองหนองคาย 3,818 3,209 84.05 545 14.27 57 1.49 4 0.1 3 0.08ทาบอ 2,959 2,337 78.98 526 17.78 79 2.67 13 0.44 4 0.14

โพนพิสัย 2,881 2,580 89.55 282 9.79 18 0.62 1 0.03 0 0ศรีเชียงใหม 938 818 87.21 115 12.26 5 0.53 0 0 0 0

สังคม 770 714 92.73 51 6.62 4 0.52 1 0.13 0 0สระใคร 545 474 86.97 61 11.19 10 1.83 0 0 0 0เฝาไร 974 852 87.47 115 11.81 6 0.62 1 0.1 0 0

รัตนวาป 892 819 91.82 63 7.06 9 1.01 0 0 1 0.11โพธ์ิตาก 381 339 88.98 42 11.02 0 0 0 0 0 0

รวม 14,158 12,142 85.76 1,800 12.71 188 1.33 20 0.14 8 0.06แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8มิ.ย.25601.3 สถานบริการผานเกณฑ NCD Clinic plus >รอยละ 60ผลการประเมินตนเองรอบท่ี 1 และรอบท่ี 2 ดังตารางตอไปนี้ตารางท่ี 7 โรงพยาบาลทุกระดับไดประเมินตนเองตามเกณฑการประเมิน และมีผลผานเกณฑ NCD Clinic plus>รอยละ 60

ผลการประเมินตนเอง รอบที่ 1 คะแนน หนองคาย ทาบอ โพนพิสัย

ศรีเชียงใหม สังคม สระใคร เฝาไร รัตนวาป โพธิ์ตาก

สวนที่ 1 รวมคะแนนองคประกอบที่ 1-6 50 50.00 47.45 45.10 37.45 38.16 42.76 40.7 45.82 34.90สวนที่ 2 รวมผลลัพธตัวชีว้ัดบริการ NCD Clinic Plus

50 22.6 27.4 34.6 32.6 35.1 23.1 26.4 33.8 32.3

ผลรวมสวนที่ 1+2 100 72.58 74.9 79.7 70.1 73.3 65.8 67.1 79.6 67.2ผลประเมินสวนที่ 1+2 ระดับ ดี ดี ดี ดี ดี พื้นฐาน พื้นฐาน ดี พื้นฐานผลการประเมินตนเองรอบที่ 2สวนที่ 1 รวมคะแนนองคประกอบที่ 1-6 50 48.78 48.98 45.92 43.88 38.37 42.86 38.1 40.82 37.24สวนที่ 2 รวมผลลัพธตัวชีว้ัดบริการ NCD Clinic Plus

50 33.0 37.2 41.2 37.5 36.6 32.7 33.2 34.8 38.8

ผลรวมสวนที่ 1+2 100 81.80 86.21 87.10 81.34 74.97 75.54 71.25 75.60 76.00ผลประเมินสวนที่ 1+2 ดีมาก ดีเดน ดีเดน ดีมาก ดี ดี ดี ดี ดี

หมายเหตุ เกณฑการตัดสินการพัฒนาคลินิก NCD clinic plus คุณภาพ แบงเปน 4 ระดับ ดังนี้

Page 14: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 6

เกณฑการตัดสิน :ระดับพ้ืนฐาน = 60 -69 คะแนนระดับดี =70 - 79 คะแนนระดับดีมาก = 80 - 84 คะแนนระดับดีเดน = 85 - 100 คะแนนจากตารางท่ี 7โรงพยาบาลทุกระดับไดประเมินตนเองตามเกณฑการประเมินคลินิก NCD clinic plusคุณภาพ

รอบท่ี 1 ณ เดือนมกราคม 2560 พบวา มีโรงพยาบาลผานเกณฑระดับดีข้ึนไปจํานวน 6 แหง คิดเปนรอยละ 66.67โรงพยาบาลท่ียังไมผานเกณฑคืออยูในระดับพ้ืนฐานจํานวน 3 แหง ไดแก โรงพยาบาลสระใคร เฝาไร และโพธิ์ตากสําหรับการประเมินตนเองรอบท่ี2 ณ เดือนพฤษภาคม 2560 พบวาทุกโรงพยาบาลผานเกณฑระดับดีข้ึนไป คิดเปนรอยละ 100 เม่ือจําแนกตามเกณฑการตัดสินพบวา โรงพยาบาลท่ีผานเกณฑระดับดีเดนจํานวน 2 แหง ไดแกโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทาบอ และโรงพยาบาลโพนพิสัย ระดับดีมาก 2 แหง ไดแก โรงพยาบาลหนองคาย และโรงพยาบาลศรีเชียงใหม สวนระดับดี 5 แหง ไดแก โรงพยาบาลสังคม สระใคร เฝาไร รัตนวาป และโพธิ์ตาก

ในการประเมินรับรองคลินิก NCD Clinic plus คุณภาพ เขตสุขภาพท่ี 8 มีคําสั่งฯ ใหมีการจับคูจังหวัดประเมินไขว โดยใหคณะกรรมการประเมินจากทุกจังหวัดในเขตสุขภาพท่ี 8 และจากสํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 8ตามคําสั่งท่ี126/2560 ลงวันท่ี 12 มิถุนายน 2560 รวมออกประเมิน กําหนดชวงเดือน กรกฎาคม ถึง15 สิงหาคม2560แผนภูมิท่ี 1 แสดงผลผูปวยเบาหวาน ไดรับการคัดกรองภาวะแทรกซอนทางตา ป 2555 -2559(เปาหมาย >60%)

จากแผนภูมิท่ี 1 แสดงผลการคัดกรองภาวะแทรกซอทาง ตา ไต เทา ในผูปวยเบาหวาน เปรียบเทียบป2555-2559 พบวาความครอบคลุมของการคัดกรองท้ังทางตา ไต เทา สูงข้ึนทุกป คือในป 2559 มากกวารอยละ 69และยังภาวะแทรกซอนมีแนวโนมลดลงในปเดียวกัน โดยเฉพาะภาวะแทรกซอนทางไตจากรอยละ 36.49 ลดลงเปนรอยละ 34.43

Page 15: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 7

ตารางท่ี 8 ผลการคัดกรองภาวะแทรกซอนทางตาในผูปวยเบาหวาน ป 2560 จําแนกรายอําเภอ (เกณฑเปาหมาย>60%)

อําเภอจํานวนผูปวย

เบาหวานไดรับการ

ตรวจ รอยละ พบภาวะแทรกซอน รอยละ สงตอรักษา รอยละ

รัตนวาป 1,782 1,358 76.2 29 1.63 29 100ศรีเชียงใหม 1,408 985 70.0 68 4.83 68 100สระใคร 1,004 686 68.3 86 8.57 86 100โพนพิสัย 4,519 3,042 67.3 57 1.26 57 100ทาบอ 4,117 2,746 66.7 91 2.21 91 100สังคม 926 612 66.1 36 3.89 36 100โพธ์ิตาก 642 416 64.8 9 1.40 9 100เมืองหนองคาย 7,625 3,960 51.9 137 1.80 137 100เฝาไร 2,934 1,152 39.3 59 2.01 59 100จังหวัด 24,957 14,957 59.93 572 2.29 572 100เขต 263,284 156,796 59.55 NA NA NA NAประเทศ 2,612,110 1,159,460 44.39 NA NA NA NA

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560 พบแทรกซอนทางตา จาก Cockpit60

จากตารางท่ี 8 ผลการคัดกรองภาวะแทรกซอนทางตาในผูปวยโรคเบาหวาน ป 2560 ขอมูล ณ 8 มิถุนายน2560 ผลงานความครอบคลุมการคัดกรองภาพรวมจังหวัด รอยละ 59.93 ซึ่งเม่ือเทียบกับเปาหมายยังไมผานเกณฑเม่ือจําแนกรายอําเภอพบวาอําเภอท่ียังไมผานเกณฑ จํานวน 2 อําเภอ ไดแก อําเภอเมืองหนองคาย และอําเภอเฝาไรคือ รอยละ 51.9 และ 39.3 ตามลําดับตารางท่ี 9 แสดงผลผูปวยเบาหวาน ไดรับการคัดกรองภาวะแทรกซอนทางเทา ป 2560 (เปาหมาย > 70%)

อําเภอ จํานวนผูปวยเบาหวาน

ไดรับการตรวจ รอยละ พบ

ภาวะแทรกซอน รอยละ สงตอรักษา รอยละ

เมืองหนองคาย 7,704 5,405 70.16 25 0.32 25 100ทาบอ 4,204 2,928 69.65 50 1.19 50 100โพนพิสัย 4,562 3,576 78.39 36 0.79 36 100ศรีเชียงใหม 1,414 1,055 74.61 152 10.75 152 100สังคม 932 738 79.18 83 8.91 83 100สระใคร 1,006 712 70.78 77 7.65 77 100เฝาไร 2,945 1,960 66.55 122 4.14 122 100รัตนวาป 1,793 1,439 80.26 35 1.95 35 100โพธ์ิตาก 643 481 74.81 26 4.04 26 100จังหวัด 25,203 18,294 72.59 606 2.4 606 100เขต 265,377 178,180 67.14 NA NA NA NAประเทศ 2,635,609 1,386,589 52.61 NA NA NA NA

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560 พบแทรกซอนทางตา จาก Cockpit60

Page 16: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 8

จากตารางท่ี 9 ผลการคัดกรองความครอบการตรวจภาวะแทรกซอนทางเทาในผูปวยเบาหวาน ป 2560พบวาความครอบคลุมการคัดกรองภาพรวมจังหวัด มีผลงานเกินคาเปาหมาย คือรอยละ 72.59 เม่ือจําแนกผลงานรายอําเภอ พบวาอําเภอท่ียังไมผานเกณฑ 2 อําเภอ ไดแก อําเภอเฝาไร และทาบอ คือรอยละ 66.55 และ 69.65ตามลําดับ และพบภาวะแทรกซอนทางเทามากท่ีสุดท่ีอําเภอ ศรีเชียงใหม สังคม และสระใคร คือรอยละ 10.75, 8.91และ 7.65 ตามลําดับตารางท่ี 10แสดงผลผูปวยเบาหวานพบภาวะแทรกซอนทางเทา ไดรับการรักษาโดยการตัดนิ้ว ป 2559

อําเภอ ผูปวยDMท่ีมารับบริการ ตัดนิ้ว,ขา รอยละเมืองหนองคาย 3,725 0 0ทาบอ 3,379 0 0โพนพิสัย 2,801 0 0ศรีเชียงใหม 343 0 0สังคม 804 3 0.37สระใคร 778 0 0เฝาไร 1,474 3 0.2รัตนวาป 1,361 0 0โพธิ์ตาก 497 5 1.01จังหวัด 15,162 11 0.07

แหลงขอมูล: รายงาน Cockpit 60: ณ ต.ค.2558-30 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 10ผูปวยเบาหวาน ไดรับการตัดนิ้ว เทา ขา จํานวน 11 ราย คิดเปนรอยละ 0.07 พบท่ีอําเภอโพธิ์ตาก 5 ราย อําเภอเฝาไร และสังคม อําเภอละจํานวน 3 ราย

ตารางท่ี 11 แสดงอัตราผูปวยเบาหวานท่ีมีภาวะอวนลงพุง (รอบเอว มากกกวา (สวนสูง(ซม.)/2) )จําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2560

อําเภอจํานวนผูปวยเบาหวาน

ท่ีขึ้นทะเบียนมารับบริการ

จํานวนผูปวยเบาหวานท่ีขึ้นทะเบียนมารับบริการและ

ไดรับตรวจอวนลงพุงรอยละ ผูปวยเบาหวานมี

ภาวะอวนลงพุง รอยละ

โพนพิสัย 6,340 6,332 99.9 389 6.1รัตนวาป 2,013 2,013 100.0 152 7.6เฝาไร 4,442 4,442 100.0 383 8.6สังคม 1,366 1,348 98.7 136 10.1โพธ์ิตาก 810 779 96.2 83 10.7เมืองหนองคาย 8,667 8,352 96.4 1,075 12.9สระใคร 1,332 1,324 99.4 171 12.9ศรีเชียงใหม 1,700 1,695 99.7 228 13.5ทาบอ 5,059 4,871 96.3 716 14.7จังหวัด 31,729 31,156 98.2 3,333 10.70เขต 359,008 318,263 88.7 32,088 10.08ประเทศ 3,092,691 2,693,126 87.1 338,023 12.55

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560

Page 17: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 9

จากตารางท่ี 11ผูปวยเบาหวานท่ีข้ึนทะเบียนและมารับบริการท่ีไดรับการตรวจภาวะอวนลงพุง ภาพรวมจังหวัดรอยละ 98.2 และมีรอบเอวมากกกวา (สวนสูง(ซม.)/2) ในครั้งสุดทายรอยละ 10.7 อําเภอท่ีพบผูปวยเบาหวานรอบเอวเกินมากท่ีสุดคือ อําเภอทาบอ รองลงมาคืออําเภอศรีเชียงใหม และสระใคร รอยละ 14.7, 13.5 และ 12.9ตามลําดับตารางท่ี 12 แสดงอัตราผูปวยเบาหวานท่ีเกิดภาวะแทรกซอนเฉียบพลันจําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคาย

ปงบประมาณ 2560(เปาหมาย นอยกวารอยละ 2)อําเภอ จํานวนผูปวย DM ผูปวยDM ท่ีมารักษาดวยอาการ

Hypoglycemiaรอยละ

โพธ์ิตาก 810 5 0.62เฝาไร 4,442 28 0.63รัตนวาป 2,013 13 0.65เมืองหนองคาย 8,667 68 0.78ศรีเชียงใหม 1,700 18 1.06สังคม 1,366 15 1.10สระใคร 1,332 16 1.20ทาบอ 5,059 69 1.36โพนพิสัย 6,340 99 1.56จังหวัด 31,729 331 1.04เขต 359,099 4,675 1.30ประเทศ 3,092,727 43,354 1.40

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560จากตารางท่ี 12 ผูปวยเบาหวานท่ีมารับการรักษาดวยอาการ Hypoglycemia ภาพรวมจังหวัดอัตรา 1.04

ผานเกณฑคาเปาหมายคือไมเกินรอยละ 2 และไมมีอําเภอใดเกินเกณฑตารางท่ี 13 แสดงอัตราประชากรกลุมเสี่ยงเบาหวานในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของปท่ีผานมาไดรับการตรวจน้ําตาลซ้ํา

จําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2560(เปาหมาย >รอยละ 90)

อําเภอ กลุมเสี่ยง DMอายุ 35 ปขึ้นไปปท่ีผานมา

ไดรับการตรวจระดับน้ําตาลในเลือดซํ้าในป

รอยละ

โพธ์ิตาก 1,127 1,076 95.5เฝาไร 3,951 3,758 95.1รัตนวาป 715 673 94.1เมืองหนองคาย 107 100 93.5ศรีเชียงใหม 1,674 1,533 91.6สังคม 688 627 91.1สระใคร 1,042 944 90.6ทาบอ 2,775 2,447 88.2โพนพิสัย 570 447 78.4จังหวัด 12,649 11,605 91.75เขต 194,552 181,003 93.04ประเทศ 2,528,563 2,251,837 89.06

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560

Page 18: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 10

จากตารางท่ี 13 ประชากรท่ีมีอายุ 35 ป ข้ึนไป ในเขตรับผิดชอบ ท่ีมีคาระดับ FBS 100 - 125mg/dl ในปท่ีผานมา ไดรับการตรวจระดับน้ําตาลในเลือดซ้ําในปปจจุบัน ภาพรวมจังหวัดรอยละ 91.75 ผานเกณฑคาเปาหมายท่ีกําหนดมากกวาหรือเทากับรอยละ 90 อําเภอท่ีไมผานเกณฑคาเปาหมาย 2 อําเภอ ไดแก อําเภอโพนพิสัยและอําเภอทาบอ คือรอยละ 78.4 และ 88.2 ตามลําดับ

ตารางท่ี 14 อัตราปวยรายใหมของโรคเบาหวานตอแสนประชากร จําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคายปงบประมาณ 2560 (DM ลดลง 5% เม่ือเทียบกับปท่ีผานมา)

ปชก.กลางป รายใหม อัตรา/แสนปชก. รายใหม อัตรา/แสนปชก. เพิม่+ /ลด -เมอืงหนองคาย 149,356 1,293 86.57 766 51.29 40.76ทาบอ 83,069 595 71.59 292 35.15 50.90โพนพสิัย 98,448 226 22.97 438 44.49 -93.72ศรีเชียงใหม 30,959 169 54.62 102 32.95 39.68สังคม 24,984 438 175.29 66 26.42 84.93สระใคร 26,533 96 36.16 62 23.37 35.38เฝาไร 52,124 58 11.12 127 24.36 -119.15รัตนวาป 38,749 89 23.05 231 59.61 -158.68โพธ์ิตาก 15,345 163 106.48 70 45.62 57.16รวม 519,567 3,127 60.19 2,154 41.46 31.12

DM2559 2560

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 14 อัตราปวยรายใหมของโรคเบาหวาน ป 2560 ภาพรวมจังหวัดท่ีอัตรา 41.46 ตอแสนประชากร เม่ือเทียบกับอัตราปวยรายใหมป 2559 พบวาลดลงท่ีรอยละ 31.21 และยังพบวาอําเภอท่ีมีรายใหมเพ่ิมข้ึนจากปท่ีผานมา ไดแก อําเภอรัตนวาป เฝาไร และโพนพิสัย คือ เพ่ิมข้ึนรอยละ 158.68, 119.15 และ 93.72ตามลําดับ

Page 19: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 11

ตารางท่ี 15 อัตราปวยรายใหมของโรคความดันโลหิตสูงตอแสนประชากร จําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคายปงบประมาณ 2560 (HT ลดลง 2.5%เม่ือเทียบกับปท่ีผานมา)

ปชก.กลางป รายใหม อัตรา/แสนปชก. รายใหม อัตรา/แสนปชก. เพิม่+ /ลด -เมอืงหนองคาย 149,356 1,710 114.49 1,209 80.95 29.30ทาบอ 83,069 877 105.57 627 75.48 28.51โพนพสิัย 98,448 1,148 116.61 832 84.51 27.53ศรีเชียงใหม 30,959 468 151.17 294 94.96 37.18สังคม 24,984 352 140.89 175 70.04 50.28สระใคร 26,533 189 71.23 155 58.42 17.99เฝาไร 52,124 358 68.68 295 56.60 17.60รัตนวาป 38,749 400 103.23 382 98.58 4.50โพธ์ิตาก 15,345 281 183.12 127 82.76 54.80รวม 519,567 5,783 111.30 4,096 78.83 29.17

HT2559 2560

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 15อัตราปวยรายใหมของโรคความดันโลหิตสูง ป 2560 ภาพรวมจังหวัดท่ีอัตรา 78.83 ตอแสนประชากร เม่ือเทียบกับอัตราปวยรายใหมป 2559 พบวาลดลงท่ีรอยละ 29.17 และยังพบวาอําเภอท่ีมีรายใหมลดลงจากปท่ีผานมามากท่ีสุด ไดแก อําเภอโพธิ์ตาก และสังคม คือ ลดลงรอยละ 54.80 และ 50.28 ตามลําดับ

ตารางท่ี 16 อัตราผูปวยเบาหวานท่ีข้ึนทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ จําแนกรายอําเภอจังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2560(เปาหมาย >90%)

อําเภอ ผูปวย DM ท่ีขึ้นทะเบียนและมารับบริการ

ผูปวย DM ในเขต (type Area 1และ 3)

จํานวนท่ีมารับการรักษาในเขต รอยละ

ทาบอ 5,059 4,117 3,553 86.30โพนพิสัย 6,340 4,519 3,837 84.91รัตนวาป 2,013 1,782 1,465 82.21โพธ์ิตาก 810 642 512 79.75สระใคร 1,332 1,004 764 76.10สังคม 1,366 926 689 74.41เฝาไร 4,442 2,934 2,116 72.12ศรีเชียงใหม 1,700 1,408 1,006 71.45เมืองหนองคาย 8,667 7,625 5,059 66.35จังหวัด 31,729 24,957 19,001 76.13แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8มิ.ย.2560

Page 20: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 12

จากตารางท่ี 16อัตราผูปวยเบาหวานท่ีข้ึนทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ภาพรวมจังหวัดรอยละ 76.13 ไมผานเกณฑคาเปาหมาย และไมมีอําเภอใดผานเกณฑเชนเดียวกัน

ตารางท่ี 17 อัตราผูปวยโรคความดันโลหิตสูงท่ีข้ึนทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบ จําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2560(เปาหมาย >90%)

อําเภอ ผูปวย HT ท่ีขึ้นทะเบียนและมารับบริการ

ผูปวย HT ในเขต (type Area 1และ 3)

จํานวนท่ีมารับการรักษาในเขต รอยละ

โพนพิสัย 7,301 6,163 4,675 75.86ทาบอ 7,061 6,874 5,033 73.22โพธ์ิตาก 1,198 1,104 797 72.19สังคม 2,874 2,115 1,469 69.46รัตนวาป 2,629 2,574 1,784 69.31เฝาไร 3,993 2,992 1,875 62.67สระใคร 1,578 1,498 873 58.28ศรีเชียงใหม 2,651 2,683 1,535 57.21เมืองหนองคาย 10,418 11,092 6,075 54.77จังหวัด 39,703 37,095 24,116 65.01แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 8 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 17อัตราผูปวยความดันโลหิตสูงท่ีข้ึนทะเบียน และมารับการรักษาในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบภาพรวมจังหวัดรอยละ 65.01 ไมผานเกณฑคาเปาหมาย และไมมีอําเภอใดผานเกณฑเชนเดียวกันปญหาและอุปสรรค

1. ตัวชี้วัด และ Template มีการปรับเปลี่ยนทําใหผูปฏิบัติสับสน ขาดการบริหารจัดการท่ีดี2. ดานระบบขอมูลสารสนเทศ ผูรับผิดชอบงานจาก รพ./รพ.สต.ขาดความรู ความเขาใจในการบันทึก

ตรวจสอบความถูกตองขอมูล ขาดการติดตาม ตรวจสอบความกาวหนาและการนําขอมูลมาใชประโยชน3. ผูรับผิดชอบงาน NCDs เปลี่ยนบอย การดําเนินงานจึงขาดความตอเนื่อง

ขอเสนอแนะ1. ควรพัฒนาศักยภาพบุคลากรผูรับผิดชอบงานดานความรู ทักษะการบันทึก ตรวจสอบความถูกตองและ

การนําขอมูลมาใชประโยชนตอเนื่องทุกป2. เขตสุขภาพ/กรม กอง/กระทรวง สนับสนุนการอบรมหลักสูตร ผูจัดการระบบบริหารจัดการโรค NCDs

และ Case manager ในระดับอําเภอ เพ่ือทดแทนคนเดิม

ผูรายงาน 1. นางสาวยลจิต บุตรเวทยตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการโทร. 089-7102475e-mail : [email protected]

2. นางวัลยา ศรีพลตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 086-8504666e-mail : [email protected]

Page 21: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 13

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา NCD 1.2 โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)

หัวขอการตรวจราชการ :21.อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง นอยกวารอยละ 7SP2. Stroke Unitโรงพยาบาล ระดับ A รอยละ100,โรงพยาบาล ระดับ S รอยละ 60สามารถใหยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดําภายใน 4.5 ชั่วโมง หลังเกิดอาการ หรือใหยา Aspirin ทางปากภายใน 48 ชั่วโมง หลังเกิดอาการ

1.ประเด็นการตรวจราชการ(1) รอยละอัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ในโรงพยาบาล นอยกวารอยละ 7(2) การจัดตั้งหออภิบาลผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Unit) ในโรงพยาบาล ระดับ S รอยละ 60

2.สถานการณโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เปนภาวะฉุกเฉินและวิกฤตทางระบบประสาทเปนปญหาสาธารณสุข ท่ี

สําคัญของประเทศไทยจากการศึกษาความชุกของโรคพบวาในชวง 20 ปท่ีผานมานั้นมีความชุกเพ่ิมข้ึนจาก 690 คนเปน 2,460 ตอประชากรแสนคนโดยพบวาชนิดขาดเลือดมาเลี้ยง (Cerebral infarction) และชนิดเลือดออกใกลเคียงกันซึ่งเปนสาเหตุการตายอันดับ3 รองจากอุบัติเหตุและมะเร็งในปจจุบันถึงแมวาจะมีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีทางการแพทยก็ตามแตก็ยังไมสามารถลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองจึงทําใหเสียชีวิตเจ็บปวยเรื้อรังพิการไปตลอดชีวิตและสูญเสียเศรษฐกิจตามมา (American Heart Association,2008 ; สปสช , 2551) จากขอมูลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองจังหวัดหนองคายป 2559 (I60-I69) มีจํานวน 912 ราย เปนกลุมเสนเลือดสมองแตก 335ราย คิดเปนรอยละ 36.29 เปนกลุมเสนเลือดสมองตีบ/อุดตัน 581 ราย คิดเปนรอยละ 63.71 ซึ่งกลุมหลอดเลือดสมองตีบมีสัดสวนมากกวากลุมเสนเลือดสมองแตกถึง 2 เทา การรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในปจจุบันดวยการฉีดยาละลายลิ่มเลือด (Recombinant Human Tissue–Type Plasminogen Activator: rt-PA) ในผูปวยท่ีมีขอบงชี้และผูปวยท่ีมารับบริการทันทีภายหลังเกิดอาการภายในเวลา 3-4.5 ชั่วโมงสามารถชวยผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันในระยะเฉียบพลันใหรอดชีวิตและลดความพิการทุพพลภาพได จังหวัดหนองคายไดมีการพัฒนาระบบชองทางดวนการดูแลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบอยางตอเนื่องซึ่งชวยใหผูปวยมารับบริการทันเวลา 4.5 ชั่วโมงมากข้ึน จากป 2557ถึงปจจุบัน คิดเปนรอยละ 17.7, 18.3, 27.6 และ 36.2 ตามลําดับ ซึ่งชวยใหผูปวยไดรับยาละลายลิ่มเลือดเพ่ิมมากข้ึน แตยังพบวาผูปวยสวนใหญยังมารับบริการไมทันภายในเวลา 4.5 ชั่วโมง

Page 22: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 14

3.ขอมูลประกอบการวิเคราะห3.1ขอมูลเชิงปริมาณ1.อัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ในโรงพยาบาล (เปาหมาย< 7%)ตารางท่ี 18 แสดงรอยละอัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ในโรงพยาบาล จําแนกรายอําเภอจังหวัดหนองคาย ป 2560

โรงพยาบาลผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ ผลการดําเนินงาน

2557 2558 2559 เปาหมาย ผลงาน รอยละหนองคาย 13.91 4.73 7.26 550 17 3.09ทาบอ 13.00 10.56 8.88 190 5 2.63โพนพิสัย 18.49 6.46 7.96 33 0 0.00ศรีเชียงใหม 7.23 6.91 6.25 19 1 5.26สังคม 15.12 12.50 10.08 5 0 0.00สระใคร 24.14 11.03 9.70 5 0 0.00เฝาไร 20.83 10.26 9.26 0 0 0.00รัตนวาป 25.55 7.33 15.31 6 0 0.00โพธ์ิตาก 10.94 1.23 5.77 0 0 0.00จังหวัด 15.71 7.08 8.33 808 23 2.85

ท่ีมา: ขอมูลจาก HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 11มิ.ย.2560จากขอมูลในตารางท่ี 18 พบวา จังหวัดหนองคายมีอัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ในโรงพยาบาล

คิดเปนรอยละ 2.85 ซึ่งต่ํากวาเกณฑคาเปาหมายท่ีกําหนด (เกณฑนอยกวารอยละ 7) และเม่ือเปรียบเทียบขอมูลกับป 2557 – 2559 พบวาอัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ในโรงพยาบาล มีแนวโนมลดลง

ตารางท่ี 19 แสดงผลการดําเนินงาน Stroke Fast Track จังหวัดหนองคายป 2560

กิจกรรม คาเปาหมายป 2560

ผลการดําเนินงาน2557 2558 2559 2560

จํานวนผูปวย Ischemic Stroke (ราย) 451 655 728 468รอยละของผูปวย Ischemic strokeไดรับยาละลายลิ่มเลือด(rt-PA) >รอยละ 5 4.87 5.04 5.77 7.05

อัตราผูปวย Ischemic stroke ไดรับยาละลายลิม่เลือด(rt-PA)ภายใน 60 นาที รอยละ 60 74.26 84.8 62.99 74.28

อัตราการเขาถึงบริการ Stroke fasttrack ภายใน 4.5 ช่ัวโมง >รอยละ 30 17.73 18.32 27.60 33.12

ท่ีมา: ขอมูลจากแบบรายงานเฉพาะกิจโรงพยาบาลหนองคาย

Page 23: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 15

จากขอมูลในตาราง 19 ผลการดําเนินงาน Stroke Fast Track จังหวัดหนองคาย ป 2560พบวาอัตราผูปวยเขาสูระบบ Stroke Fast Trackภายใน 4.5 ชั่วโมงผูปวย Ischemic strokeไดรับยาละลายลิ่มเลือด (rt-PA)และอัตราผูปวย Ischemic stroke ไดรับยาละลายลิ่มเลือด(rt-PA )ภายใน 60 นาที เพ่ิมข้ึนทุกปและผานเกณฑท่ีกําหนด

2.การจัดตั้งหออภิบาลผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Unit) ในโรงพยาบาล ระดับ S และ ระดับ M

โรงพยาบาล เปาหมาย (มีStroke Unit *)

ผลงาน ถามี Stroke Unitโปรดระบุจํานวน

เตียงมี Stroke Unit ไมมี Stroke Unit

หนองคาย (ระดับ S) 1 /

จังหวัดหนองคาย มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบ Stroke fast track และทุกโรงพยาบาลมีการจัดระบบStroke fast track โดยโรงพยาบาลท่ีสามารถใหบริการยาละลายลิ่มเลือดได 2 แหง คือ โรงพยาบาลหนองคาย และโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทาบอ ซึ่งแบงโซนการใหบริการเปนโซนเหนือมีโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทาบอเปน node ท่ีสามารถใหยาละลายลิ่มเลือดได (รับผิดชอบอําเภอสังคม ศรีเชียงใหม โพธิ์ตากและทาบอ)สวนโรงพยาบาลหนองคายเปนโรงพยาบาลแมขายภายในจังหวัด (รับผิดชอบอําเภอเมือง โพนพิสัย เฝาไร รัตนวาปและสระใคร) โดยใหบริการโรงพยาบาลในเขตโซนเหนือกรณีท่ีไมสามารถใหยาได สําหรับการจัดตั้งหออภิบาลผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke Unit) ในโรงพยาบาลระดับS (โรงพยาบาลหนองคาย) เนื่องจากขาดอัตรากําลังและสถานท่ีในการจัดตั้งแตไดมีการจัดทําแนวทางในการดูแลผูปวยstroke หลังใหยาละลายลิ่มเลือด 24 ชั่วโมง

กระบวนการดําเนินงาน 6 building blocks สาขาโรคหลอดเลือดสมอง(Stroke)ระดับหนวยบริการ A S, M1 M2 F PHealthWorkforce

อบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผูปวยSFTสําหรับแพทยพยาบาลและทีมที่เกี่ยวของ-Stroke Nurse 4เดือน และ Basicstroke 5 วัน

อบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผูปวยSFTสําหรับแพทยพยาบาลและทีมที่เกี่ยวของ-Stroke Nurse 4เดือน และ Basicstroke 5 วัน

อบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผูปวยSFTสําหรับแพทย พยาบาลและทีมที่เกี่ยวของ- basic stroke 5 วัน

อบรมพัฒนาศักยภาพการดูแลผูปวยSFTสําหรับแพทย พยาบาลและทีมที่เกี่ยวของ-เนนการคัดกรองผูปวยโดยใช FASTScore ในโรงเรียนอสม.ทุกแหง

-อบรม จนท. เพื่อคัดกรองผูปวยโดยใชFAST Score-เนนการคัดกรองผูปวยโดยใช FASTScore ในโรงเรียนอสม.ทุกแหง

Healthinformationsystem

พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองStroke databaseManagementsystem รวมกับสถาบันประสาทวิทยา

พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยโรคหลอดเลือดสมองStroke databaseManagementsystem รวมกับสถาบันประสาทวิทยา

พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง

-พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง

รายงานผลการคัดกรองกลุมเส่ียงอัมพาตผานโปรแกรมJHCISหรือโปรแกรมอื่นๆมายังเขตฯ

TechnologyEquipment &Medicine

เพิ่มอุปกรณที่จําเปนใน Stroke Unit เชนVolume respiratorNIBP Syringe pumpAlpha bed เปนตน

เพิ่มอุปกรณที่จําเปนใน Stroke Unit เชนVolume respiratorNIBP Syringe pumpAlpha bed เปนตน

เพิ่มอุปกรณที่จําเปนในStroke Unit เชนVolume respiratorNIBP Syringe pumpAlpha bed เปนตน-เพิ่มรายการยาที่จําเปนในการดูแลผูปวยstroke เชน ASAPlavix Warfarin

-เพิ่มรายการยาที่จําเปนในการดูแลผูปวย stroke เชนASA PlavixWarfarin

Page 24: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 16

Leadership &Governance

-เงิน Top up rt-PAสิทธิ UCจากสปสช.รายละ 49,000บาทคณะกรรมการโรคหลอดเลือดสมองระดับจังหวัดดําเนินงานและติดตามความกาวหนา

เงิน Top up rt-PAสิทธิ UCจากสปสช.รายละ 49,000บาทคณะกรรมการโรคหลอดเลือดสมองระดับจังหวัดดําเนินงานและติดตามความกาวหนา

เงิน Top up rt-PAสิทธิUCจากสปสช.รายละ49,000บาทคณะกรรมการโรคหลอดเลือดสมอง ระดับจังหวัด ดําเนินงานและติดตามความกาวหนา

คณะกรรมการโรคหลอดเลือดสมองระดับจังหวัดดําเนินงานและติดตามความกาวหนา

คณะกรรมการโรคหลอดเลือดสมองระดับจังหวัดดําเนินงานและติดตามความกาวหนา

Community orOther StakeholderParticipation

รวมกับ อปท. มูลนิธิตางๆ หนวยราชการภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ

รวมกับ อปท. มูลนิธิตางๆ หนวยราชการภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ

รวมกับ อปท. มูลนิธิตางๆ หนวยราชการภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ

รวมกับ อปท. มูลนิธิตางๆ หนวยราชการภาคเอกชนในการประชาสัมพันธ

ผูนําชุมชนมีสวนรวมในการประชาสัมพันธ

4.ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุ

วัตถุประสงคแนวทางการพัฒนา

การเขาถึงบริการยาละลายลิม่เลือดยังไมครอบคลมุ -พัฒนาเครือขายในการดําเนินงานโรคหลอดเลือดสมองในชุมชน (อสม./แกนนําสุขภาพครอบครัว)-เพ่ิมการประชาสัมพันธใหผูปวยเขาถึงบริการใหเร็วข้ึน

รูปแบบpost stroke care หลังผูปวยD/C ยังไมชัดเจน จัดทําแนวทางการติดตามดูแลผูปวยในชุมชนโดยทีมสหวิชาชีพ

ระบบขอมลู และการ Feedback ขอมูล ยังไมเปนระบบ

จัดทําระบบขอมูล และการ Feedback ขอมูล เพ่ือใหหนวยบริการในระดับปฐมภูมไิดเขาถึงขอมูลในพ้ืนท่ีรับผดิชอบ

ผูรายงาน 1. นางสาวยลจิต บุตรเวทยตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการโทร. 089-7102475e-mail : [email protected]

2. นางวันเพ็ญ วิศิษฎชัยนนทตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 083-623137e-mail : [email protected]

Page 25: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 17

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา NCD 1.3 โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและหอบหืด

หัวขอการตรวจราชการ : SP3.อัตราการเกิดการกําเริบเฉียบพลันในผูปวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง<130 ครั้งตอแสนประชากร

SP4. อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังครบวงจรและไดมาตรฐาน>60 %1.ประเด็นการตรวจราชการ

(1) อัตราการกําเริบเฉียบพลันท่ีตองเขารับการรักษาท่ีหองฉุกเฉินและหรือตองเขารบัการรักษาในโรงพยาบาลดวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง(เปาหมาย : ไมเกิน 130 ครั้ง/แสนประชากรอายุ 15 ป ข้ึนไป)

(2) รพศ./รพท./รพช. อัตราการมีคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังครบวงจรและไดมาตรฐาน ไดแก- วินิจฉัยถูกตองตามมาตรฐานการรักษา- มีการติดตามการรักษา เชน MMRC, CAT score- มีการประเมินการใชยาพนควบคุม (controller)- ใหคําแนะนําการสูบบุหรี่ในผูท่ียังสูบ

(เปาหมาย = 60%)2.สถานการณ

โรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง(COPD)เปนกลุมโรคไมติดตอท่ียังคงเปนปญหาสําคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทยรวมท้ังในจังหวัดหนองคายโดยผูปวยสวนใหญเปนผูสูงอายุ มีประวัติการสูบบุหรี่หรือยังคงสูบบุหรี่ ผูปวยจะมาดวยอาการหายใจหอบเหนื่อย มีอาการกําเริบเฉียบพลันตองไดรับการรักษา โดยการพนยา และผลการดําเนินงานพบอัตราการเกิดการกําเริบเฉียบพลันในผูปวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง มีแนวโนมสูงข้ึนและเกินเปาหมายท่ีกําหนด(เปาหมาย : ไมเกิน 130 ครั้ง/แสนประชากรอายุ 15 ป ข้ึนไป) ดังนั้น การชวยใหผูปวยสามารถเขาถึงบริการไดอยางรวดเร็ว และไดรับการรักษาท่ีมีคุณภาพไดมาตรฐาน เพ่ือปองกันและรักษาภาวะอาการกําเริบ รวมถึงลดปจจัยเสี่ยงกระตุนโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ จะชวยใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน

การดําเนินงานโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังจังหวัดหนองคายมีการจัดตั้งคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง(COPD)ในโรงพยาบาลครบ9แหงมีคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังครบวงจรและไดมาตรฐาน จํานวน 3 แหงคิดเปนรอยละ33.33(เกณฑ >รอยละ60 ) และระดับจังหวัดมีการจัดตั้งคณะทํางานตามคณะทํางาน service plan ในคณะกรรมการNCD board ระดับจังหวัด เพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงานโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง

Page 26: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 18

3.ขอมูลประกอบการวิเคราะห3.1 ขอมูลเชิงปริมาณ

(1) อัตราการกําเริบเฉียบพลันท่ีตองเขารับการรักษาท่ีหองฉุกเฉินและหรือตองเขารับการรักตารางท่ี 20 แสดงอัตราการกําเริบเฉียบพลันท่ีตองเขารับการรักษาท่ีหองฉุกเฉินและหรือตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาล

โรงพยาบาล ป 2558 ป 2559 ป 2560เปาหมาย ผลงาน อัตรา เปาหมาย ผลงาน อัตรา เปาหมาย ผลงาน อัตรา

หนองคาย 100,352 214 213.25 102,200 215 210.37 102,254 111 108.55ทาบอ 45,843 131 285.76 46,801 111 237.17 47,461 131 276.02โพนพิสัย 59,320 149 251.18 60,757 119 195.86 62,560 138 220.59ศรีเชียงใหม 13,948 94 673.93 14,266 97 679.94 14,571 124 851.01สังคม 16,548 75 453.23 16,916 103 608.89 17,171 104 605.67สระใคร 12,986 28 215.62 13,344 34 254.80 13,644 49 359.13เฝาไร 24,050 61 253.64 24,588 154 626.32 25,891 147 567.76รัตนวาป 26,447 6 22.69 27,060 11 40.65 27,479 3 10.92โพธ์ิตาก 8,295 22 265.22 8,498 17 200.05 8,656 59 681.61จังหวัด 307,789 780 253.42 314,430 861 273.83 319,687 866 270.89

ท่ีมา:ขอมูลจาก HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 11 มิ.ย.2560จากตารางท่ี 20 จังหวัดหนองคายมีอัตราการเกิดการกําเริบเฉียบพลันในผูปวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง คิดเปน

270.89 ครั้งตอแสนประชากรอายุ และมีแนวโนมสูงข้ึน โดยโรงพยาบาลท่ีมีอัตราการเกิดการกําเริบเฉียบพลันในผูปวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังสูงท่ีสุด คือ โรงพยาบาลศรีเชียงใหม โรงพยาบาลโพธิ์ตาก และโรงพยาบาลสังคมตามลําดับคิดเปนอัตรา 851.01, 681.61 และ 605.67 ครั้งตอแสนประชากร และโรงพยาบาลท่ีมีอัตราการเกิดการกําเริบเฉียบพลันในผูปวยโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังต่ําท่ีสุด คือ โรงพยาบาลรัตนวาป คิดเปนอัตรา 10.92 ครั้งตอแสนประชากรมีคลินิกโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังครบวงจรและไดมาตรฐานมีเกณฑดังนี้- วินิจฉัยถูกตองตามมาตรฐานการรักษา (Spirometry)- มีการติดตามการรักษาเชน MMRC, CAT score- มีการประเมินการใชยาพนควบคุม (controller)- ใหคําแนะนําการสูบบุหรี่ในผูท่ียังสูบ(เปาหมาย = 60 %) ทําไดไมครอบคลุม ผลงาน33.33%

3.2 ขอมูลเชิงคุณภาพ กิจกรรมพัฒนาท่ีดําเนินการในปงบประมาณ 2560 คัดกรองโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังในประชากรอายุ 60 ปข้ึนไป(เปาหมาย >50%) ผลงาน 65.47 % พัฒนาคลินิกโรคปอดอุดก้ันเรื้อใหมีคุณภาพ และไดมาตรฐาน คลินิกอดบุหรี่ ระดับ รพ./ รพ.สต. มีคุณภาพ และไดมาตรฐาน พัฒนาบุคลากร : พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในดานการดูแลผูปวยโรคหืดและปอดอุดก้ันเรื้อรัง

รวมถึงคลินิกอดบุหรี่ พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศ

Page 27: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 19

ตารางท่ี 21 แสดงผลการตรวจคัดกรองโรคปอดอุดก้ันเรื้อรัง จําแนกรายอําเภอ จังหวัดหนองคายปงบประมาณ 2560

อําเภอ จํานวนประชากร ไดรับการคัดกรอง รอยละอายุ60 ปขึ้นไป (คน) โรคปอดอุดกั้นเร้ือรัง (คน)

เมือง 18,762 13,489 71.90ทาบอ 10,029 3,062 30.53โพนพิสัย 10,704 9,109 85.10ศรีเชียงใหม 3,693 2,700 73.11สังคม 2,862 2,231 77.95สระใคร 2,314 972 42.01เฝาไร 5,420 3,409 62.90รัตนวาป 4,704 2,893 61.50โพธ์ิตาก 1,777 1,588 89.36จังหวัด 60,265 39,453 65.47

ท่ีมา:ขอมูลจาก Cockpit 60ณ ต.ค.2559 - 30 มิ.ย.2560

4.ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ

ปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

แนวทางการพัฒนา

ขาดอัตรากําลัง บุคลากรท่ีมีขีดจํากัดและมีภาระงานมากทําใหการดําเนินงานคัดกรองลาชา

บูรณาการการคัดกรอง Asthma & COPDรวมกับการคัดกรองโรคไมติดตอเรื้อรังอ่ืนๆ

การวินิจฉัยโรคในโรงพยาบาลท่ีขาดอุปกรณSpirometry

พัฒนาแนวทางการสงตอผูปวยไปยังโรงพยาบาลท่ีมีอุปกรณ Spirometry

ระบบขอมูล การลงรหัส ICD10 ติดตาม/ตรวจสอบการบันทึกขอมูลการลงรหัสICD10 ใหถูกตอง

วัคซีนไขหวัดใหญไมเพียงพอ และไมถูกกําหนดใหเปนFirst Priority

ประสานและจัดทําทะเบียนผูปวย COPD ใหผูรับผิดชอบงานวัคซีนไขหวัดใหญ ในการสนับสนุนเพ่ือใหบริการผูปวย COPD

ผูรายงาน 1.นางสาวยลจิต บุตรเวทยตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการโทร. 089-7102475e-mail : [email protected]

2.นางสาวกัลยณัช กุพันลําตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 094-2296595e-mail : [email protected]

Page 28: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 20

คณะท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาไต

หัวขอการตรวจราชการ :ตัวชี้วัดท่ี 28 รอยละของผูปวยCKD ท่ีมีอัตราการลดลงของ eGFR< 4 ml/min/1.72 m2 /yr(> 65%)

1.สถานการณตารางท่ี 1 แสดงผูปวยเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูง ไดรับการคัดกรองภาวะแทรกซอนทางไตเปรียบเทียบป 2557 -2560 (เปาหมาย > 90%)

อําเภอ 2557 2558 2559 2560เปาหมาย คัดกรองไต รอย

ละเมืองหนองคาย 23.17 21.83 63.35 11,632 2,505 21.54ทาบอ 67.99 69.04 75.10 7,311 2,585 35.36โพนพิสัย 44.36 62.63 71.42 6,555 3,636 55.47ศรีเชียงใหม 65.52 68.03 73.91 2,539 889 35.01สังคม 70.99 70.38 78.33 1,892 1,242 65.64สระใคร 56.46 72.74 69.19 1,684 1,168 69.36เฝาไร 40.19 68.36 74.45 3,207 880 27.44รัตนวาป 37.99 57.61 70.26 2,528 557 22.03โพธิ์ตาก 52.90 65.73 80.41 1,171 420 35.87รวมจังหวัด 45.37 53.73 70.65 38,519 13,882 36.04เขตสุขภาพ 55.59 64.12 69.91 398,967 137,685 34.51ประเทศ 43.84 56.76 68.12 5,432,483 1,831,142 33.71

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 11 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 1 ผูปวยเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูง ไดรับการคัดกรองภาวะแทรกซอนทางไต ป 2560โดยผูปวยเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงจะไดรับการตรวจ Urine Protein และ serum creatinine อยางนอย1 ครั้งในปงบประมาณเดียวกัน โดยไมระบุเวลาระหวางการตรวจปสสาวะและเลือด เปาหมาย > 80% ภาพรวมจังหวัดหนองคายตรวจไดรอยละ 36.04 และเม่ือจําแนกผลงานรายอําเภอพบวาไมผานเกณฑเปาหมาย

Page 29: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 21

ตารางท่ี 2 รอยละของผูปวย DM, HT เปนโรคไตเรื้อรังรายใหม จําแนกรายอําเภอจังหวัดหนองคาย ป 2560อําเภอ ผูปวย DM,HTไดรับการคัดกรอง CKD รายใหม รอยละ

สังคม 1,224 873 71.32โพธิ์ตาก 410 229 55.85สระใคร 1,150 477 41.48ทาบอ 1,933 525 27.16เมืองหนองคาย 2,277 563 24.73โพนพิสัย 3,553 817 22.99ศรีเชียงใหม 856 160 18.69เฝาไร 452 80 17.70รัตนวาป 238 40 16.81จังหวัด 12,093 3,764 31.13เขต 114,467 31,599 27.61ประเทศ 1,604,777 441,375 27.5แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 11 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 2 ผูปวย DM, HT เปนโรคไตเรื้อรังรายใหม (ในปงบประมาณ) (พิจารณาเฉพาะผูปวยท่ีวันท่ีไดรับการคัดกรองเกิดกอนวันท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปน CKD) ภาพรวมจังหวัดหนองคาย รอยละ 31.13 และพบวาอําเภอท่ีมี CKD รายใหมมากท่ีสุด ท่ีอําเภอ สังคม โพธิ์ตาก และสระใคร คือรอยละ 71.32, 55.82 และ 41.48ตามลําดับ

ตารางท่ี 3 รอยละผูปวยมีอัตราการลดลงของ eGFR< 4 ml/min/1.72 m2 /yrป 2560

อําเภอ จํานวนผูปวยโรคไตเรื้อรังStage 3-4

ไดรับการตรวจcreatinine/มีผล eGFR ≥ 2 คา และมี

คาเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลง< 4รอยละ

เมืองหนองคาย 1,221 766 62.74ทาบอ 736 380 51.63โพนพิสัย 672 393 58.48ศรีเชียงใหม 423 344 81.32สังคม 528 440 83.33สระใคร 113 56 49.56เฝาไร 803 650 80.95รัตนวาป 151 101 66.89โพธิ์ตาก 168 103 61.31จังหวัด 4,815 3,233 67.14เขต 62,048 37,973 61.20ประเทศ 525,570 327,616 62.34แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 11 มิ.ย.2560

Page 30: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 22

จากตารางท่ี 3 ผูปวยโรคไตเรื้อรัง Stage 3-4 สัญชาติไทยท่ีมารับบริการท่ีโรงพยาบาลไดรับการตรวจcreatinine/มีผล eGFR ≥ 2 คา และมีคาเฉลี่ยการเปลี่ยนแปลง <4 ml/min/1.72 m2 /yภาพรวมจังหวัดรอยละ67.14 อําเภอท่ีมีผลงานมากท่ีสุดคือ อําเภอสังคม รองลงมาคือ อําเภอศรีเชียงใหม และเฝาไร คิดเปนรอยละ 83.33,81.32 และ 80.95 ตามลําดับตารางท่ี 4 จํานวนผูปวยโรคไตเรื้อรังในเขตรับผิดชอบ จําแนกตาม Stage รายอําเภอ จังหวัดหนองคาย ป 2560

โรงพยาบาล รวม Stage1 รอยละ Stage2 รอยละ Stage3 รอยละ Stage4 รอยละ Stage5รอยละ

หนองคาย 2,074 260 12.54 357 17.21 813 39.2 369 17.79 275 13.26.ทาบอ 2,092 420 20.08 472 22.56 550 26.29 306 14.63 344 16.44โพนพิสัย 1,738 408 23.48 445 25.6 460 26.47 251 14.44 174 10.01ศรีเชียงใหม 745 86 11.54 351 47.11 248 33.29 46 6.17 14 1.88สังคม 1,283 478 37.26 498 38.82 239 18.63 43 3.35 25 1.95สระใคร 372 115 30.91 115 30.91 100 26.88 28 7.53 14 3.76โพธ์ิตาก 354 32 9.04 154 43.5 138 38.98 23 6.5 7 1.98เฝาไร 1,791 591 33 523 29.2 417 23.28 189 10.55 71 3.96รัตนวาป 343 52 15.16 75 21.87 138 40.23 47 13.7 31 9.04จังหวัด 10,792 2,442 22.63 2,990 27.71 3,103 28.75 1,302 12.06 955 8.85

แหลงขอมูล : รายงาน HDC43 ขอมูล: ณ ต.ค.2559 - 11 มิ.ย.2560

จากตารางท่ี 4 ผูปวยโรคไตเรื้อรังเม่ือจําแนกตาม Stage พบวา ภาพรวมจังหวัด ผูปวยอยูใน Stage 3 มากท่ีสุด รอยละ 28.75 รองลงมาเปน Stage 2 รอยละ 27.71 จําแนกรายอําเภอพบวาอําเภอรัตนวาป อําเภอเมือง และอําเภอโพธิ์ตาก มีผูปวยใน Stage 3 มาก คือรอยละ 40.23, 39.20 และ 38.98 ตามลําดับแนวทางปฏิบัติท่ีด(ีBest Practice)

รูปแบบการจัดการ คลินิกชะลอไตเสื่อม CKD clinic คุณภาพ จังหวัดหนองคาย ป 2560

Page 31: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 23

กระบวนการดําเนินงาน1. พัฒนาจัดตั้งคลินิก CKD Clinic ดังนี้

Level 1 ไดแก รพ.หนองคาย ดูแลปองกันรักษา ชะลอไตเสื่อม CKD ระยะ 4,5 หรือ ระยะ 3 ท่ีมีภาวะแทรกซอนและจัด CKD coner ใน DM/HT clinic

Level 2 ไดแก รพช. ทุกแหง รพ.ระดับ M2 (รพร.ทาบอ, รพ.โพนพิสัย) รพช.ระดับ F2 จํานวน 2 แหง(รพ.ศรีเชียงใหม,รพ.สังคม) รพช.ระดับ F3 จํานวน 4 แหง (รพ.สระไคร,รพ.เฝาไร,รพ.รัตนวาป,รพ.โพธิ์ตาก)

Level 3 ระดับ รพ.สต. จัดบริการชะลอไตเสื่อมเชิงรุก ดูแลปองกันควบคุม CKD ระยะ 1-2 และระยะ 3 ท่ีไมมีภาวะแทรกซอน2. มีการจัดอบรมพยาบาล CKD Manager ใน CKD Clinic3. จัดประชุมฟนฟูความรูและทักษะการจัดการชะลอไตเสื่อมเชื่อมโยงถึงระดับ รพ.สต.และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางรพท./รพช./รพ.สต4. สงบุคลากรเขารับการอบรม การดูแลผูปวยกรณีทีปฏิเสธการรักษาทดแทนไต(Palliative care) จํานวน 2 ครั้ง5. ปรับปรุง ออกแบบระบบการประเมิน CKD clinic ทุกระดับ level 1-3 โดยเฉพาะในระดับรพ.สต. มีการตั้งเกณฑการประเมินครั้งแรกในป25606. มีระบบรายงานผลการตรวจ cr เปน eGFR โดยใช Enzymatic method 100 %7. มีการติดตอสื่อสารทาง Internet, Line Group ฯลฯ ในระดับเครือขายและภายในจังหวัด รพช.,รพ.สต.ทุกแหงอยางมีประสิทธิภาพ8. มีการนําเอานวัตกรรมคาเงนิบาท สําหรับเปนสื่อการสอนแกผูปวยโรคไต นอกจากนั้น ยังมีการจัดทํานวัตกรรมโดยสหสาขาวิชาชีพ เชน ระบบ การReconcile ยา การใชแผนแปะลดปวด โดยทีมแพทยแผนไทย เปนตน9. CAPD : ขยายบริการ CAPD ใกลบาน โดยตั้ง Node ใน รพ.โพนพิสัย โดยไดข้ึนทะเบียนกับสปสช.เปนท่ีเรียบรอยแลว ในป 256010. HD : จังหวัดหนองคาย มีการจัดบริการมี ฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียมท้ังจังหวัด 63 เครื่อง เพียงพอกับความตองการบริการ กระจายไปตามรพ.ระดับ M2 และภาคเอกชนอีกจํานวน 3 แหง

CKD clinic :19 กรกฏาคม 2560รพ. แยกclinic corner enzymatic Jaffe

1.รพ.หนองคาย . .2.รพร.ทา่บอ่ . .3.รพ.สงัคม . .4.รพ.ศรีเชียงใหม่ . . .5. รพ.โพนพิสยั . .6. รพ.สระไคร . .7.รพ.เฝ้าไร่ .8.รพ.รัตนวาปี . .9.รพ.โพธิตาก . (.รอนํ ายาหมด)

Page 32: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 24

ผลงานเดน/นวัตกรรม

1. โลรางวัลการจัดระบบบริการสาขาไต ป 2558 จากเขตสุขภาพท่ี 82. รางวัลชนะเลิศ CKD clinic level I ป 2558 จาก เขตสุขภาพท่ี 83. รางวัลรองชนะเลิศ CKD clinic ดีเดน จากสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย ในป 25584. โลรางวัลการจัดกิจกรรมสัปดาหวันไตโลกดีเดน จากสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย ป25585. โลรางวัลชนะเลิศ CKD clinic ดีเดน จากสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย ในป 25596. ไดรับคัดเลือกเปน Best practice สาขาไต จากกระทรวงสาธารณสุข ใหนําเสนอผลงานท้ังรูปแบบ

โปสเตอรและ Oral presentation ในการประชุม Service plan sharing ในป 25597. รางวัล PD Start Strong Award ในป 25598. โลรางวัลการจัดกิจกรรมสัปดาหวันไตโลกดีเดน จากสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย ป25609. รางวัล R2R ดีเดนระดับเขตสุขภาพท่ี8 และไดนําเสนอผลงาน R2R Show and Share ในป 2560

ณ โรงแรมบุศยรินทร จังหวัดหนองคาย10. โลรางวัล R2R ดีเดนระดับประเทศ และไดนําเสนอผลงานในการประชุม งานประจําสู

งานวิจัย Routine to Research (R2R) ครั้งท่ี 10 “ทศวรรษ R2R พัฒนาคนสูสังคม 4.0” ท่ี อิมแพคฟอรั่มเมืองทองธานี ในวันท่ี 5-7 กรกฎาคม 2560

ผูรายงาน 1. นางมณีวรรณ ตั้งขจรศักดิ์ตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษโทร. 081-2623076e-mail : [email protected]

2. นางสาวยลจิต บุตรเวทยตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการโทร. 089-7102475e-mail : [email protected]

Page 33: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 25

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาหัวใจ

หัวขอการตรวจราชการ :ตัวชี้วัด26. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจตัวชี้วัด SP23. รอยละโรงพยาบาลตั้งแตระดับ F2ข้ึนไปมีการรักษาโดยการใหยาละลายลิ่มเลือด

(Fibrinolytic Drug) ในผูปวยชนิดSTEMI 100%ตัวชี้วัด SP24. ผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดSTEMI ไดรับการขยายหลอดเลือดและหรือยา

ละลายลิ่มเลือด(PPCI)≥80%ตัวชี้วัด SP25. อัตราตายในโรงพยาบาลของผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ≤ 10%

1. ประเด็นการตรวจราชการ- เพ่ือใหผูรับบริการเขาถึงบริการยาละลายลิ่มเลือดไดรวดเร็วและมากข้ึน- ลดอัตราตาย

2. สถานการณโรคหัวใจเปนสาเหตุการเสียชีวิตในอันดับตนๆมีแนวโนมเพ่ิมข้ึนจากพฤติกรรมเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจท่ี

เพ่ิมข้ึน จังหวัดหนองคายมีโรงพยาบาลอุดรธานีเปนศูนยโรคหัวใจระดับตติยภูมิ เปนโรงพยาบาลแมขาย ท่ีสามารถใหบริการตรวจสวนหัวใจและผาตัดหัวใจเพียงแหงเดียว จากนโยบายService plan มุงพัฒนาระบบบริการทุกระดับสรางระบบท่ีเชื่อมโยงกันเปนเครือขายโดยใชหลักการเครือขายบริการท่ีไรรอยตอ

จังหวัดหนองคาย จากขอมูลป 2556-2558มีผูปวยACS 182,232,226รายผูปวยHeart Failureป2556-2558มีผูปวย 69,80,67 ราย เปนผูปวยSTEMI 47,57,52รายและจากการวิเคราะหขอมูลผูปวย STEMI ป 2558 จํานวน52 รายแบง เปนเพศชาย 39 ราย (75%) เพศหญิง 13 ราย( 25%) อายุนอยวา 30 ป 1 ราย (1.92%)vอายุ 30-60 ป23 ราย (44.23%) อายุมากกวา 60 ป 28 ราย (53.84%) อยูในเขตอําเภอเมือง 22 ราย (42.30%) นอกเขต 25 ราย(48.07%) ตางจังหวัด 3 ราย(5.76%) ตางชาติ (ลาว, เดนมารก) 2ราย (3.84%) โรครวมท่ีพบคือ ความดันโลหิตสูง18 ราย (34.61%) เบาหวาน 12 ราย (23.07%) ไขมันในเสนเลือดสูง 5 ราย (9.61%) สูบบุหรี่ 31 ราย (59.61%)โรคทางเดินหายใจ 2 ราย(3.84 %) โรคไตเสื่อม 1ราย (1.92%) มีประวัติสมาชิกในครอบครัวเปนโรคหัวใจ 6 ราย(11.51%)

ในป2560จังหวัดหนองคายผลงาน 9 เดือนโรงพยาบาลชุมชนทุกแหงสามารถใหยาละลายลิ่มเลือดได ลดปญหาผูปวยโรคกลามเนื้อหัวใจตาย (STEMI) เขาถึงบริการลาชา โดยรพ.ท้ัง 9 แหงสามารถใหยาละลายลิ่มเลือด (SK)รอยละ 100 ไดรับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 30 นาทีรอยละ 54.55(18/33)เปาหมาย >50%คา mean 43นาทีOnset To Hospital ภายใน 150นาทีทําได 20 ราย(60.61%)คา MEAN 90 นาที Onset to needle time ภายใน180 นาทีทําได 16 ราย(48.48%) ผูปวย STEMI เสียชีวิตรอยละ 3.92(2/51) เปาหมาย <10%

โรงพยาบาลชุมชนทุกแหงในจังหวัดหนองคาย สามารถรักษาผูปวยกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันดวยยาละลายลิ่มเลือดได ผูปวยสามารถเขาถึงบริการไดรวดเร็วและเพ่ิมข้ึน ผูปวยท่ีมีอาการมาโรงพยาบาลเร็วข้ึน แตยังพบผูปวยท่ีไมไดรับยาละลายลิ่มเลือดเนื่องจากการมารพ.ลาชา จาก onset >12 ชั่วโมงจํานวน 4 รายซึ่งตองพัฒนาเชิงรุกในระดับปฐมภูมิ เพ่ิมการประชาสัมพันธ การจัดการกลุมเสี่ยง เพ่ือลดปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคโดยเฉพาะกลุมผูปวยสูบบุหรี่ใหสามารถเลิกบุหรี่ไดรวมท้ังการติดตามการดูแลตอเนื่อง

คลินิกวารฟารินสามารถดําเนินการครบ 100 % ในโรงพยาบาลระดับ F2-M2และควรกําหนดเปนนโยบายในการจัดตั้งคลินิกวารฟารินในทุกรพช.เปนแผนพัฒนาตอเนื่อง

Page 34: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 26

3. ขอมูลประกอบการวิเคราะห (ระบุรายการขอมูลท่ีจําเปนสําหรับการตรวจติดตามท่ีจําเปนในแตละประเด็น)3.1 ขอมูลเชิงปริมาณ

ลําดับ รายการขอมูล จังหวัดหนองคายป 2557 ป 2558 ป2559 ป

2560(9)1 ผูปวยโรคกลามเน้ือหัวใจขาดเลือด

เฉียบพลัน (STEMI) ไดรับการรักษาโดยการเปดหลอดเลือด (PPCI+SK)

คาที่พึงประสงค

>70 % >75% >75% >75%

ผลงาน 43/43 60/60 70/70 33/33รอยละ 100% 100% 100% 100%

2 มีการจัดตั้ง Wafarin clinic ครบทุกแหงในโรงพยาบาลตั้งแตระดับ F2 โดยสหวิชาชีพ

คาที่พึงประสงค

80 % 80 % 80% 80%

ผลงาน 3/5 3/5 3/5 5/5รอยละ 60 % 60 % 60% 100%

3 มีศูนยโรคหัวใจ (ระดบั 1) เขตละ 1 แหง มี / / / /ไมมี

เหตุผลที่ไมมี

4 มีการใหบริการตรวจรักษาโรคหัวใจในรพท. อยางนอยจังหวัดละ 1 แหง(ศูนยโรคหัวใจระดับ 3)

คาที่พึงประสงค

100% 100% 100% 100%

ผลงาน 1/1 1/1 1/1 1/1รอยละ 100% 100% 100% 100%

5 รพช.ระดับ F2 ข้ึนไป สามารถใหยาละลายลิม่เลือด(SK)ได

คาที่พึงประสงค

100 % 100 % 100% 100%

ผลงาน 4/4 4/4 4/4 4/4รอยละ 100% 100% 100% 100%

ตัวชี้วัด เปาหมาย 2557 2558 2559 2560(9)เขต จังหวัด เขต จังหวัด เขต จังหวัด เขต จังหวัด

1.รอยละ รพ. M2-F2 ท่ีให SK

100% 96.96 75(4/5)

98.95 100(5/5)

100 100(5/5)

- 100(5/5)

2.รอยละ STEMI ท่ีไดรับยา SK

95% 95.28 100(43/43)

78.19 100(60/60)

83.56 100(70/70)

- 100(33/33)

3.Door to needletimeภายใน30นาที

50% 35.14 41.67(20/48)

46.22 21.67(13/60)

40.89 64.44(42/70)

- 54.55(18/33)

4.Door to needletime (median)

≤30นาที 50 38 44.8 53 38 29 - 28

5.รอยละ STEMI OTNภายใน 180 นาที

>70% 60.18 60.47(26/43)

66.67 59.02(36/61)

63 72.81(51/70)

- 48.48(16/33)

6.รอยละผูปวย STEMIเสียชีวิต

< 7% 7.06 3.17(2/63)

8.05 14.61(13/89)

17.72 8.14(7/86)

- 3.92(2/51)

7.รอยละ STEMI OTHภายใน150 นาที

>70% - 63.04(29/46)

- 59.70(40/67)

- 80(56/70)

- 60.60(20/33)

Page 35: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 27

(ตอ)ลําดับ รายการขอมูล จังหวัดหนองคาย

ป 2557 ป 2558 ป2559 ป2560(3)

6 ลดอัตราการตายจากโรคหลอดเลอืดหัวใจนอยกวารอยละ 10 (เปรียบเทียบขอมูลกับป 57) (รหัส ICD-10=I210-I213, I22)

คาที่พึงประสงค

< 7 % < 7 % < 7 % < 10 %

ผลงาน 2/64 13/89 7/86 2/51รอยละ 3.13 14.61 8.14 3.92

7 มีการจัดตั้ง heart failure clinic ในโรงพยาบาลระดับ S ข้ึนไป

คาที่พึงประสงค

- - - -

ผลงาน 0 0 0 0รอยละ 0 0 0 0

8 ระบบการพัฒนาเครือขาย มเีครือขายการสงตอผูปวยโรคหัวใจอยางเปนระบบตั้งแต DHS

คาที่พึงประสงค

100 % 100 % 100% 100%

ผลงาน 9/9 9/9 9/9 9/9รอยละ 100% 100% 100% 100%

3.2 ขอมูลเชิงคุณภาพกระบวนการดําเนินงาน 6 building blocks สาขาหัวใจปงบประมาณ 2559ระดับหนวยบริการ A S, M1 M2 F PHealth Delivery -บริการตรวจสวน

หัวใจ 24 ช่ัวโมงback up CVT- บริการผาตัดหัวใจแบบเปด 24 ช่ัวโมง- เปดบริการ Heartfailure clinic- Cardiacrehabilitation- ประเมิน NSTEMIhigh risk ดวยGRACE Score

-พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ- Risk

stratification ดวยEcho/ultrasound- การใหยาละลายลิ่มเลือด- การสงตอคุณภาพ- การดูแลตอเน่ือง

- พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ- การใหยาละลายลิ่มเลือด- การสงตอคุณภาพ- การดูแลตอเน่ือง

- ใหความรู, BLS- การคัดกรอง- การสงตอ- การดูแลตอเน่ือง

- ใหความรู, BLS- การคัดกรอง- การสงตอ

HealthWorkforce

-เพ่ิมแพทยinterventionistและ EP study-พยาบาลหอง cathlab-พยาบาลหองผาตัดหัวใจ พยาบาเฉพาะทางโรคหลอดเลือดหัวใจและทรวงอก

ACS manager- ACS Team- Case/CareManager

ACS manager- ACS Team- Case/CareManager

- ผูรับผดิชอบโรคหัวใจ- แพทยท่ีปรึกษา- Family careteam ตําบล/นสค.

- อสม.เช่ียวชาญ- แกนนําสุขภาพครอบครัว

Healthinformationsystem

- พัฒนาชองทางดวน- HotlineCounseling- ฐานขอมูล Refer

- พัฒนาชองทางดวน- HotlineCounseling- ฐานขอมูล Refer

- พัฒนาชองทางดวน- HotlineCounseling- ฐานขอมูล Refer

-ขอมูลประชากร-ขอมูลกลุมด/ีเสี่ยง/ปวย- ขอมูลการสงตอ/การดูแล

-ขอมูลประชากร-ขอมูลกลุมด/ีเสี่ยง/ปวย

Page 36: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 28

กระบวนการดําเนินงาน 6 building blocks สาขาหัวใจปงบประมาณ 2559ระดับหนวยบริการ A S, M1 M2 F P

link/LTC-ฐานขอมูล STEMIonline

link/LTC-ฐานขอมูล STEMIonline

link/LTC-ฐานขอมูล STEMIonline

ตอเน่ือง

TechnologyEquipment &Medicine

งบเขต- งบ UC, เงินบํารุง

งบเขต- งบ UC, เงินบํารุง

งบเขต- งบ UC, เงินบํารุง

-งบ PP, CUP-งบ อปท.

-งบ PP, CUP-งบ อปท.

Leadership &Governance

- ควบคุม กํากับและตดิตามประเมินผล- การสนับสนุน

- ควบคุม กํากับและติดตามประเมินผล- การสนับสนุน

- ควบคุม กํากับและตดิตามประเมินผล- การสนับสนุน

- การติดตามประเมินผลและรายงาน ทุก3 เดือน

- การติดตามประเมินผลและรายงาน ทุก3 เดือน

Community orOtherStakeholderParticipation

อสม เครือขายสุขภาพในชุมชนแกนนําโรคหัวใจภาคประชาชน

อสม เครือขายสุขภาพในชุมชน

อสม เครือขายสุขภาพในชุมชน

อสม เครือขายสุขภาพในชุมชน

อสม เครือขายสุขภาพในชุมชน

4. สรุปประเด็นสําคัญท่ีเปนความเสี่ยงตอการทําใหการขับเคลื่อนนโยบายหรือการดําเนินงานไมประสบความสําเร็จ(Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซ่ึงไดจากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห สงัเคราะห จากการตรวจติดตาม

รพ.ทุกแหงในจังหวัดหนองคายสามารถใหยาละลายลิ่มเลือดไดปงบประมาณ2560 (ต.ค.59-ธ.ค.59)มีผูปวยSTEMI 21 รายมีขอบงชี้ในการใหยา15รายไดรับยาท้ัง15ราย (100%) Door to needle timeภายใน30นาทีทําได 10ราย (66.67%) คาmean 28 นาที Onset To Hospital ภายใน 150 นาทีทําได 12 ราย (80%) คา MEAN130 นาที Onset to needle timeภายใน 180 นาทีทําได 10 ราย (66.67%) อัตราตายผูปวย STEMI รอยละ 4.76(1/21) มีผูปวยท่ีไมไดยา 6 รายแบงเปน มี CHF 1 ราย,เจ็บหนาอกเกิน 12 ชั่วโมง 2 ราย สงสัย coronary spasm1 ราย ปรึกษาอุดรให referและปรึกษาอุดรใหสงทํา primary pci 2 ราย สําหรับการจัดตั้ง warfarin clinic ปจจุบันทําได 3 รพ. คือ รพท.หนองคาย/รพร.ทาบอและรพ.โพนพิสัย ปญหาจากการขาดงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องตรวจ INRและSTRIP ตรวจและความไมพรอมของบุคลากรของ รพช.

5. ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ

ปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ

สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดําเนินการตอ

1.ยังพบวามีผูปวยเขาถึงบริการลาชา(onset เกิน 12 ชั่วโมง)

-เพ่ิมการประชาสัมพันธใหผูปวยเขาถึงบริการใหเร็วข้ึน

Page 37: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 29

6. ขอเสนอแนะตอนโยบาย /ตอสวนกลาง / ตอผูบริหาร / ตอระเบียบ กฎหมาย1. โครงการใหความรู อสมเพ่ือการเขาถึงบริการและการดูแลผูปวยในชุมชนใหครบทุกอําเภอ2. การสอนการแปลผล EKG ใหกับแพทย พยาบาลในทุกรพในจังหวัดเพ่ือสรางความม่ันใจในการดูแลผูปวย

และเขาใจในระบบFAST TRACKมากยิ่งข้ึน3. การรณรงคการลดละเลิกสูบบุหรี่ในผูปวยกลุมเสี่ยงรวมท้ังการประชาสัมพันธในกลุมเด็กและเยาวชนให

เขาถึงพิษภัยของบุหรี่

ผูรายงาน 1. นางนงเยาว ทาวพรมตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 091-8679269e-mail : [email protected]

2. นางสาวยลจิต บุตรเวทยตําแหนงนักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการโทร. 089-7102475e-mail : [email protected]

Page 38: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 30

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาการใชยาอยางสมเหตุสมผล (rational drug use)

2. ประเด็นการตรวจราชการเปาหมายการตรวจราชการป 60

ติดตามตัวชี้วัด RDU1 ตัวชี้วัดท่ี 1-5 : ผานเกณฑ ติดตามตัวชี้วัด RDU2 ตัวชี้วัดท่ี 19-20 : ผานเกณฑ≥ 40% ติดตามตัวชี้วัด RDU1 ตัวชี้วัดท่ี 21: มีขอมูลพ้ืนฐาน

3. ผลการดําเนินงานผลการดําเนินงาน ณ ไตรมาส 3 (มิ.ย. 2560) มีตัวชี้ท่ี 2 ท่ียังไมผานเกณฑ ซึ่งเปนตัวชี้วัดท่ีเก่ียวของกับตัวชี้วัดท่ี19 และ 20 ท่ีเปนตัวชี้วัดของ รพ.สต. และตัวชี้วัดท่ี 20

KPI รายละเอียด เกณฑ ไตรมาส 3พ.ค 60

1 รอยละของรายการยาท่ีสั่งใชยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ≥ รอยละ 80 90.32 ประสิทธิผลการดําเนินงานของคณะกรรมการ PTC ระดับ 3 23 การดําเนินงานในการจัดทําฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และ

เอกสารขอมูลยาใน 13 กลุม ท่ีมีรายละเอียดครบถวนยา 13 กลุม(ระดับ 3)

3

4 รายการยาท่ีควรพิจารณาตัดออก 8 รายการท่ียังคงมีอยูในบัญชียาโรงพยาบาล

≤ 1 รายการ 0

5 การดําเนินงานเพ่ือสงเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อและสงเสริมการขายยา

ระดับ 3 3

19 รอยละของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลและหนวยบริการปฐมภูมิในเครือขายท่ีมีอัตราการใชยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อท่ีระบบการหายใจชวงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน≤รอยละ 20

รอยละ 100(ป 60 ผาน

เกณฑ≥40%)

68.42

20 รอยละของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลและหนวยบริการปฐมภูมิในเครือขาย ท่ีมีการใชยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน ≤ รอยละ 20 (ผานเกณฑ≥ 40%)

รอยละ 100(ป 60 ผาน

เกณฑ≥40%)

26.31

21 อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือดตอผูปวยท่ีสงตรวจแบคทีเรียดื้อยา 8 ชนิด

มี baseline 2.09

Page 39: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 31

ขอมูลประกอบการวิเคราะห

ตัวช้ีวัด19อัตราการใชยาปฏิชีวนะในโรคติดเช้ือท่ีระบบการหายใจชวงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน (URI)(≤ รอยละ 20) ผานเกณฑ≥ 40% = 13/19 = 68.42%

รพ.สต. ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ท้ังปงบ 60รพ.สต. มีชัย 26.55 8.79 1.82 15.06รพ.สต.โพธิ์ชัย 20.09 10 6.76 12.97รพ.สต. กวนวัน 4.93 8.11 0 4.23รพ.สต. เวียงคุก 20.15 10.46 9 14.08รพ.สต. วัดธาตุ 21.8 8.59 4.33 12.92รพ.สต. หาดคํา 15.17 4.76 18.12 13.1รพ.สต. หินโงม 9.57 5.71 3.95 6.86รพ.สต. ทาจาน 10 5.32 4.92 7.46รพ.สต.บานเดื่อ 22.73 5.65 1.94 11.75รพ.สต. บานนาฮี 12.07 6.96 7.07 8.97รพ.สต. คายบกหวาน 20.18 15.5 12.01 15.9รพ.สต. โพนสวาง 41.12 28.09 10.89 28.96รพ.สต. พระธาตุบังพวน 38.4 24.92 1.49 25.08รพ.สต. หนองกอมเกาะ 21.81 18.8 0.56 15.45รพ.สต. ปะโค 39.93 18.03 7.69 23.54รพ.สต. เมืองหมี 40.66 39.24 1.25 21.21รพ.สต. สีกาย 6.79 4.91 1.89 4.73เทศบาลเมืองหนองคาย 53.13 36.93 41.38 43.97ศูนยบริการสาธารณสุข2 0 100 100 100

Page 40: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 32

ตัวช้ีวัดท่ี 20 อัตราการใชยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน (AD) ของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล(≤ รอยละ 20)ผานเกณฑ≥ 40% = 5/19 = 26.31%

รพ.สต. ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ท้ังปงบ 60รพ.สต. มีชัย 100 0 0 36.84รพ.สต.โพธิ์ชัย 50 50 42.86 48.28รพ.สต. กวนวัน 83.33 0 0 33.33รพ.สต. เวียงคุก 76.67 37.04 46.15 54.22รพ.สต. วัดธาตุ 100 42.86 25.93 47.83รพ.สต. หาดคํา 25 0 0 6.25รพ.สต. หินโงม 100 7.14 0 18.42รพ.สต. ทาจาน 0 0 0 0รพ.สต.บานเดื่อ 83.33 0 0 21.74รพ.สต. บานนาฮี 25 3.03 3.45 4.55รพ.สต. คายบกหวาน 76.92 33.33 26.32 44.74รพ.สต. โพนสวาง 100 57.14 33.33 52.17รพ.สต. พระธาตุบังพวน 34.38 36.36 0 21.7รพ.สต. หนองกอมเกาะ 87.5 50 0 71.43รพ.สต. ปะโค 87.5 83.33 63.64 79.49รพ.สต. เมืองหมี 88.89 100 37.5 72.73รพ.สต. สีกาย 87.5 30.77 0 20เทศบาลเมืองหนองคาย 0 33.33 90 76.92ศูนยบริการสาธารณสุข2 100 100 0 100

แผนการดําเนนิการตอไป1. ท่ีดี รักษาไว2. มองหาเปาหมายท่ีมีความเปนไปได3. ลงหนางาน คนหาปญหา อุปสรรค4. แนวทางปฏิบัติการรักษา URI และ AD5. กํากับติดตาม

Page 41: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 33

อัตราการใชยาปฏิชีวนะในโรคติดเช้ือท่ีระบบการหายใจชวงบน&หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน และในในโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน (AD) ขอมูลรวมท้ังปงบประมาณ และขอมูลในแตละไตรมาส

หนวยบริการ ท้ังปงบ ไตรมาส 3AD URI AD URI

5/19 = 26.32% 9/19 = 47.36%มีชัย 36.84 15.06 0 1.82โพธิ์ชัย 48.28 12.97 42.86 6.76กวนวัน 33.33 4.23 0 0เวียงคุก 54.22 14.08 46.15 9วัดธาตุ 47.83 12.92 25.93 4.33หาดคํา 6.25 13.1 0 18.12หินโงม 18.42 6.86 0 3.95ทาจาน 0 7.46 0 4.92บานเดื่อ 21.74 11.75 0 1.94บานนาฮี 4.55 8.97 3.45 7.07คายบกหวาน 44.74 15.9 26.32 12.01โพนสวาง 52.17 28.96 33.33 10.89พระธาตุบังพวน 21.7 25.08 0 1.49หนองกอมเกาะ 71.43 15.45 0 0.56ปะโค 79.49 23.54 63.64 7.69เมืองหมี 72.73 21.21 37.5 1.25สีกาย 20 4.73 0 1.89เทศบาลเมือง 76.92 43.97 90 41.38นาโพธิ์ 100 100 0 100

Page 42: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 34

4. สรุปปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะท่ีทําใหการขับเคลื่อนนโยบายไมประสบความสําเรจ็ปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงาน

ไมบรรลุวัตถุประสงคขอเสนอแนะ

1. ความไมม่ันใจท่ีจะไมสั่งใชยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน และหรือการไมมียาทางเลือกอ่ืนท่ีจะสั่งใชแกผูปวย

- สวนกลาง/เขตจัดทําแนวทางการรักษาโรคอุจจาระรวงเฉียบพลันใหแกหนวยบริการ

- เพ่ิมรายการอ่ืนในบัญชียา รพ.สต เชนcarbon เม็ด

2. การตั้ ง เป าหมาย ท่ี สู ง เ กิ นไปสํ าหรั บการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชยาปฏิชีวนะ ซึ่งเปนเรื่องท่ีตองใชเวลาท้ังในสวนของผูใหบริการและผูรับบริการท่ียังมีความเชื่อและความเขาใจท่ีไมถูกตองกับการใชยาปฏิชีวนะ

- สวนกลาง จัดทําสื่อรณรงคท้ังทางวิทยุโทรทัศนและ social medial

- บรรจุลงในหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษา

- ทบทวนการข้ึนทะเบียนยา การโฆษณายา- ควรท่ีจะมีนโยบายนี้ใหครอบคลุมทุกสวน ท้ัง

ในสวนของภาครัฐ ภาคเอกชน เชน รานยาคลินิก รพ.เอกชนรวมท้ังครอบคลุมการใชยาตานจุลชีพทุกสวนท้ังการใชในคน สัตว และพืช

- การกําหนดตัวชี้วัดการสั่งใชยาปฏิชีวนะควรอิง baseline เพ่ือสะทอนขอมูลท่ีแทจริง

3. การประเมินผลการดําเนินงานโดยใชขอมูลสะสมอาจไมไดสะทอนขอมูลหรือประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีแทจริง เนื่องจากกอนเริ่มดําเนินการมีอัตราการใชยาปฏิชีวนะในกลุมโรค AD และURI คอนขางสูง (baseline) หลังการดําเนินงานแมวาอัตราการใชยาปฏิชีวนะในกลุมโรคดังกลาวในหนวยบริการลดลงแตหากมี baseline ท่ีสูงเม่ือดูขอมูลสะสมก็เปนการยากท่ีจะเปนไปตามเปาหมาย ประกอบกับการนํานโยบายลงสูพ้ืนท่ีประมาณชวงปลายไตรมาสแรก

- ในการประเมินผลการดําเนินงาน ควรท่ีจะดูแนวโนมผลการดําเนินงาน และขอมูลเม่ือสิ้นสุด ณ ไตรมาสนั้นๆ รวมดวย

ผูรายงาน 1. ภก.พิชิต บุตรสิงหตําแหนงเภสัชกรชํานาญการพิเศษ

2. ภญ.สุพัตรา แข็งกลางตําแหนงเภสัชกรชํานาญการ

Page 43: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 35

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาทารกแรกเกิด

1. Health outcome(1) อัตราการตายของทารกแรกเกิดอายุต่ํากวาหรือเทากับ 28 วัน ไมเกิน 4 ตอ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ

Service outcome(2) เพ่ิมเตียง NICU ใหไดตามเกณฑ 1:500 ทารกเกิดมีชีพ (เตียง NICU ภาพรวมเขต)(3) รอยละของโรงพยาบาลตั้งแตระดับ F1 ข้ึนไปท่ีมีการคัดกรองโรคหัวใจพิการแตกําเนิด (>60%)(4) มี intrauterine transfer system ภายในเขตสุขภาพ

2. สถานการณปญหาสถานการณการดูแลทารกแรกเกิดของเขตสุขภาพท่ี 8 ในป 2559 ตั้งเปาหมายอัตราตายนอยกวา 4:1000

การเกิดมีชีพ พบวาจังหวัดหนองคายมีอัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดดีข้ึนจากเดิม โดยในป 2558 อัตราการตาย7.05:1000 การเกิดมีชีพ ซึ่งเกินเปาหมาย เม่ือป 2559 อัตราการเสียชีวิต 3.62 : 1000การเกิดมีชีพ ไดตามเปาหมายแตในป 2560 ในรอบ 6 เดือนแรกพบอัตราตายเพ่ิมข้ึนเปน 5.2 ตอ 1000 การเกิดมีชีพ ซึ่งเกินเปา สาเหตุการตายท่ีสําคัญคือ ทารกขาดออกซิเจนแรกคลอด (Birth asphyxia) ทารกเกิดกอนกําหนดน้ําหนักตัวนอยมาก (PretermELBW) ทารกบวมน้ํา ทารกพิการแตกําเนิด ติดเชื้อในกระแสเลือด และ PPHN มีปญหาทารกเสียชีวิตระหวางการสงตอจากปญหาอุณหภูมิกายต่ํา อีกท้ังยังมีทารกท่ีจําเปนตองสงตอไปรับการรักษานอกเขตบริการเนื่องจากขาดบุคลากรและอุปกรณท่ีเหมาะสม ไดแก ทารกท่ีมีปญหาหัวใจพิการแตกําเนิดชนิดซับซอน (complex heart disease) ทารกไตวาย (Renal failure) ทารกท่ีรอดชีวิต พบวามีภาวะแทรกซอนจากการดูแลรักษา เชนจอประสาทตาเสื่อม(Retinopathy of newborn)

จากขอมูลการบริการสุขภาพป 2559 มีเปาหมายเพ่ือลดอัตราตายและภาวะแทรกซอน รวมถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพการสงตอของจังหวัดหนองคาย โดยใหผูปวยสามารถเขาถึงบริการมากข้ึน การพัฒนาระบบการดูแลทารกแรกเกิดโดยมีการใชระบบ New born Fast Track มีระบบconsult กุมารแพทยกอนสงผูปวย มีการสงตอมารดาตั้งครรภความเสี่ยงสูงมาคลอดในสถานท่ีๆพรอมดูแลหลังคลอด หรือIntrauterine transfer เพ่ือลดปญหาการสงตอทารกในจังหวัด สรางระบบเครือขายดูแลทารกแรกเกิดจังหวัดหนองคาย ไดแก ระบบสง TPN สูโรงพยาบาลชุมชน ระบบปรึกษาแพทยเฉพาะทางทารกแรกเกิด เม่ือมีปญหาในการดูแล ระบบปรึกษากุมารแพทยโรคหัวใจกอนสงตอทารกไปโรงพยาบาลศูนย ใหความรูการกูชีพและการสงตอทารกอยางถูกตอง มีการทํางานรวมกันของทีมสหสาขาวิชาชีพอยางเปนรูปธรรม ภายในโรงพยาบาลมีเกณฑการสงตรวจคัดกรองจอประสาทตา เกณฑการตรวจการไดยิน เกณฑการคัดกรองเลือดออกในสมองชัดเจน รวมถึงติดตามพัฒนาการทารกโดยแพทยผูเชี่ยวชาญ เพ่ือใหเปนมาตรฐานเดียวกันเริ่มจัดการประชุมรวมกันระหวางกุมารแพทยและสูตินรีแพทยทุกเดือน เพ่ือคุยเรื่องปญหาและพัฒนางานรวมกัน จังหวัดหนองคายมี NICU 12 เตียง/SNB 12 เตียง สามารถผสม TPN ไดมาตรฐานโดยทีมงานเภสัชกร กรณีเกินศักยภาพเชนการผาตัดทารกแรกเกิดท่ีมีปญหาทางศัลยกรรม การทําLaser ROP ทารกหัวใจพิการแตกําเนิดชนิดซับซอน ทารกไตวายสงไปโรงพยาบาลแมขาย

Page 44: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 36

ผลงาน

ตัวช้ีวัด เปาหมาย 2558 2559 2560(6m) 2560(8m)1.อัตราการตายทารกแรกเกิดอาย<ุ28 วัน < 4: 1000 เกิดมีชีพ 7.05 3.62 12/2307

(5.2)16/3049

(5.2)2.จํานวนเตียง NICU 1:500 1:391 1:391 1:391 1:391

3.รอยละของโรงพยาบาลตั้งแต F1 ข้ึนไป ท่ีมีการคัดกรองโรคหัวใจพิการแตกําเนิด

>รอยละ 60 67%(2/3)

100%(3/3)

100%(3/3)

100%(3/3)

4.มี intrauterine transfer ภายในจังหวัด มี NA มี มี มี

แผนการพัฒนาป 601. สรางระบบคัดกรองโรคหัวใจพิการแตกําเนิดในจังหวัด สนับสนุนความรูและอุปกรณในโรงพยาบาลท่ียังไม

พรอม เพ่ือใหมีการพัฒนา2. เพ่ิมประสิทธิภาพและศักยภาพเจาหนาท่ีทุกระดับในการดูแลทารกแรกเกิด

แผนการดําเนนิงานป 601. ลดความแออัด

- จัดระบบประสานกับโรงพยาบาลระดับ A เพ่ือรับการสงกลับ ลดความแออัดในโรงพยาบาลศูนยรวมถึงจัดระบบสงตอจากโรงพยาบาลจังหวัดสูโรงพยาบาลชุมชน

- เพ่ิมศักยภาพ รพช และ node (สนับสนุนดานการใหคําปรึกษา, ยา, TPN , เครื่องมือ อุปกรณ2. ลดอัตราตาย

- จัดหา total body cooling สําหรับทารกขาดออกซิเจน เพ่ือเพ่ิมอัตราการรอดชีวิตและลดภาวะทุพพลภาพ

- ใหความรูการดูแลทารกเพ่ือลดปญหาอุณหภูมิการต่ําแกผูเก่ียวของไดแก หองคลอด หองผาตัด หองฉุกเฉิน แผนกหลังคลอด ในกรณีเกิดปญหาท่ีโรงพยาบาลชุมชน จัดสงทีมดูปญหา ดูสถานท่ีและใหคําแนะนําท่ีโรงพยาบาลชุมชนท่ีมีปญหาในการสงตอ

- ประชุมรวมกับทีมสูตินรีเวช เพ่ือทบทวนผูปวยท่ีมีปญหาระหวางฝากครรภ ระหวางคลอด และหลังคลอด เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการดูและติดตามผูปวย โดยจัดใหมีการประชุมทุกเดือน

- ประสานทีมสงตอ ทีมเวชศาสตรฉุกเฉิน และรพ.โหนด เพ่ือสงตอทารกแรกเกิดใหมีประสิทธิภาพและลดปญหาภาวะแทรกซอนระหวางการสง

- จัดหายาและเครื่องมือสําหรับการดูแลทารกความดันเลือดในปอดสูง รวมถึงอบรมใหความรู earlywarning sing ในผูปวย PPHN

3. ลดการสงตอนอกเขต- ปองกันการเกิดภาวะแทรกซอนในทารก เชน ปองกันการเกิดภาวะจอประสาทตาเสื่อมโดยมีแนว

ทางการลดออกซิเจนในทารกคลอดกอนกําหนด และสงตรวจตาตามแนวทางปฏิบัติ- กระตุนในเขต หรือโรงพยาบาลศูนยจัดหาแพทยเชี่ยวชาญเฉพาะทาง เชน กุมารแพทยโรคไต

กุมารแพทยตอมไรทอ- รับทารกกลับจากโรงพยาบาลศูนยใกลเคียง เพ่ือเพ่ิมลดความแออัดในรพ.ศูนย

Page 45: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 37

4. พัฒนาการดูแลทารกแรกเกิด- อบรม Breast feeding in sick baby ภายในจังหวัด- สงพยาบาลและทีมเรียนรูการดูแลทารกแรกเกิดตามหลักสูตร- ใหความรูและมีระบบเตรียมพรอมกอนการทํา PICC line ภายในจังหวัด- มีคลินิก High risk clinic newborn ติดตามพัฒนาการ และอบรมการใช DSPM เพ่ือเพ่ิมศักยภาพ

ผูปกครอง ทีมดูแลเบื้องตนใหสามารถคัดกรองพัฒนาการเบื้องตนได

ผูรายงาน นางปริณดา ไตรยะวงศตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 081-7496251e-mail :[email protected]

Page 46: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 38

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา Palliative Care

หัวขอการตรวจราชการ : การขยายบริการการดูแลแบบประคับประคองใหครอบคลุมท่ัวท้ังประเทศSP9. รอยละโรงพยาบาลระดับ M2, F1-3 ดําเนินการไดตามมาตรฐานการดูแลแบบประคับประคองSP10. รอยละโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 ดําเนินการไดตามมาตรฐานการดูแลแบบประคับประคอง

1.สถานการณและขอมูล1.1 ขอมูลผูปวย Palliative Care จังหวัดหนองคาย พ.ศ. 2557-2560

ตาราง แสดงจํานวน รอยละ ผูปวย Palliative Care จังหวัดหนองคาย

พ.ศ. ปชก.กลางป Palliative Careจํานวน รอยละ

2557 514,943 57 0.0112558 517,260 154 0.0302559 519,580 130 0.0252560 519,580 203 0.039

ท่ีมา : ขอมูลหนวยการุณรักษ โรงพยาบาลหนองคาย พ.ศ. 2557-2560ป 2560 ขอมูล ชวงเดือนตุลาคม 2559 - พฤษภาคม 2560

ตาราง แสดงจํานวน รอยละ ผูปวย Palliative Care จําแนกรายโรค ป 2557

ท่ี โรค Palliative Care (จํานวนผูปวย 57 ราย)จํานวน รอยละ

1 CHCA 16 28.072 CA Liver 13 22.813 CA Lung 6 10.534 ESRD/non CA 5 8.775 CA Colon 3 5.26

ป 2557 จังหวัดหนองคาย มีผูปวย Palliative Care รอยละ 0.01(จํานวน 57 ราย) พบวาผูปวยท่ีพบบอย 5อันดับ ไดแก CHCA รอยละ 28.07(16 ราย) CA Liver รอยละ 22.81(13 ราย) CA Lung รอยละ 10.53(6 ราย)ESRD/non CA รอยละ 8.77(5 ราย) CA Colon รอยละ 5.26(3 ราย) ตามลําดับ

ตาราง แสดงจํานวน รอยละ ผูปวย Palliative Care จําแนกรายโรค ป 2558

ท่ี โรค Palliative Care (จํานวนผูปวย 154 ราย)จํานวน รอยละ

1 CA Lung 24 15.582 CHCA 23 14.943 CA Liver 23 14.944 CA Colon+Rectum 18 11.695 CA Breast 13 8.44

ป 2558 จังหวัดหนองคาย มีผูปวย Palliative Care รอยละ 0.03 (จํานวน 154 ราย) พบวาผูปวยท่ีพบบอย5 อันดับ ไดแก CA Lung รอยละ 15.58(24 ราย) CHCA รอยละ 14.94 (23 ราย) CA Liver รอยละ 14.94 (23 ราย)CA Colon+Rectum รอยละ 11.69 (18 ราย) CA Breast รอยละ 8.44 (13 ราย) ตามลําดับ

Page 47: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 39

ตาราง แสดงจํานวน รอยละ ผูปวย Palliative Care จําแนกรายโรค ป 2559

ท่ี โรค Palliative Care (จํานวนผูปวย 130 ราย)จํานวน รอยละ

1 CHCA 22 16.922 CA Colon+Rectum 21 16.153 CA Liver 19 14.624 CA Lung 14 10.775 Unknown Primary 9 6.92

ท่ีมา : ขอมูลหนวยการุณรักษ โรงพยาบาลหนองคาย พ.ศ. 2559ป 2559 จังหวัดหนองคาย มีผูปวย Palliative Care รอยละ 0.025 (จํานวน 130 ราย) พบวาผูปวยท่ีพบ

บอย 5 อันดับ ไดแก CHCA รอยละ 16.92 (22 ราย) CA Colon+Rectum รอยละ 16.15(21 ราย) CA Liverรอยละ 14.62(19 ราย) CA Lung รอยละ 10.77(14 ราย) Unknown Primary รอยละ 6.92(9 ราย) ตามลําดับ

ตารางแสดงจํานวนรอยละผูปวยPalliative Careจําแนกรายโรค ป 2560(ต.ค.59-พ.ค.60)

ท่ี โรค Palliative Care (จํานวนผูปวย 203 ราย)จํานวน รอยละ

1 CHCA 40 19.702 CA Liver 36 17.733 CA Lung 29 14.284 CA colon 11 5.415 CA อ่ืนๆ +Non CA 76 37.43

ท่ีมา : ขอมูลหนวยการุณรักษ โรงพยาบาลหนองคาย พ.ศ. 2560ป 2560 จังหวัดหนองคาย มีผูปวย Palliative Care รอยละ 0.03 (จํานวน 203 ราย) พบวาผูปวยท่ี

พบบอย 5 อันดับ ไดแก CHCA รอยละ 19.70 (40ราย) CA Liver รอยละ 17.73 (36 ราย) CA Colon+Rectumรอยละ 16.15(21 ราย) CA Lung รอยละ 14.28(29 ราย) CA อ่ืนๆและ non CA รอยละ 37.43 (76ราย) ตามลําดับ

จังหวัดหนองคาย มีหนวยบริการสาธารณสุขท่ีเปนโรงพยาบาล จํานวน 9 แหง แบงเปน โรงพยาบาลท่ัวไปจํานวน 1 แหง (S:รพ.หนองคาย) โรงพยาบาลชุมชน จํานวน 11 แหง M2:รพร.ทาบอ รพ.โพนพิสัย F2:รพ.ศรีเชียงใหมรพ.สังคม F3:รพ.สระใคร รพ.เฝาไร รพ.รัตนวาป รพ.โพธิ์ตาก

จังหวัดหนองคาย มีผูปวย Palliative Care จากป พ.ศ. 2557 - 2560 มีแนวโนมเพ่ิมมากข้ึน จากรอยละ0.011, 0.030, 0.039 ตามลําดับ2.แผนการดําเนินงาน(มาตรการ/แนวทาง/Small Success 3m,6m,9m,12m) ปงบประมาณ 2560

2.1 วิเคราะหสถานการณปญหาดานการบริหารจัดการองคกร:GAP Analysis (วิเคราะหจากผลงานท่ีผานมา)1) พยาบาลผูดูแลผานการอบรม Clinical Palliative Care for Community Nurse หลักสูตร 4 สัปดาหมี 2 แหง คือ รพช.โพนพิสัย ศรีเชียงใหม (เหลือ รพร.ทาบอ รพ.สังคม รพ.สระใคร รพ.โพธิ์ตาก รพ.รัตนวาป รพร.ทาบอ รพ.สังคม รพ.เฝาไร)2) ผูรับผิดชอบงาน Palliative care nurse ระดับ รพช. บางแหงยังไมชัดเจน3) ระบบบริการหรือ function การทํางานยังไมชัดเจน4) ระบบการเชื่อมโยงโดยการใชโปรแกรมยังมีปญหา5) หนวยบริการมีการสํารวจผูปวยอยูในเกณฑท่ีตองไดรับการคัดกรองตามแนวทางการดูแลแบบประคับประคองยังไมครอบคลุม ทําใหไมทราบคาเปาหมายท่ีใชในการประเมินความครอบคลุมของการบริการ

Page 48: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 40

2.2 แผนปฏิบัติการดานการพัฒนา2.2.1 ระดับจังหวัด

บูรณาการการดําเนินงาน Palliative care รวมกับการการดูแลตอเนื่องท่ีบานทีมสหสาขวิชาชีพ2.2.2 ระดับพ้ืนท่ี

ออกติดตาม นิเทศ และประเมินรับรองการดําเนินงาน2.3 รูปแบบการพัฒนางาน (Model) เพ่ือ Fill GAP และ/หรือ พัฒนาตอยอดผลงาน

Input Process Output Outcome1.คน พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการดําเนินงานLTC/Palliative care ใหมีความรู ความเขาใจ และทักษะในการใชเครื่องมือการประเมิน/การบันทึกโปรแกรม LTC ใหตอเน่ืองเปนปจจุบัน2.สรางภาคเีครือขาย COC/LTC/ Palliative careระวาง COC ใน รพช. และรพ.สต.ทุกแหง3.วัสดุ กระตุนใหศูนย COCใน รพ. และ รพ.สต. Nodeจัดตั้งศูนยสํารองเครื่องมือทางการแพทย และมีเครื่องมือทางการแพทยตามเกณฑกําหนด โดยสํารวจอุปกรณและความตองการเสนอผูบริหาร4.ระบบขอมูลสารสนเทศกระตุนใหหนวยบริการทุกแหงมกีารตดิตั้งและใชโปรแกรม LTC Version2ขอรับการสนับสนุน

1.บุคลากรผูรับผิดชอบงาน1.1 มีความรู ความเขาใจ

ในการดําเนินงาน LTC/Palliative care

1.2 มีทักษะในการใชเครื่องมือประเมิน ADLBarthel Index, Palliativeperformance scale version 2(PPS v2)

1.3 มีความรูและทักษะในการใชโปรแกรม LTC

1.4 พ้ืนท่ีทบทวนความรูในการประเมิน ดูแลผูตองการพ่ึงพิงแก อสม.2.พ้ืนท่ีประสาน อปท. และภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของในการดําเนินงาน LTC/Palliative care3.หนวยบริการ ดังน้ี

3.1 ศูนย COC ในรพช.ทุกแห ง จั ดตั้ งศู นย สํ า รองเครื่องมือทางการแพทยและมี เครื่องมืออุปกรณทาง3.2 รพ.สต. Node มีการสํารองเครื่องมืออุปกรณทางการแพทย4.พ้ืนท่ีมีการติดตั้งและใชโปรแกรม LTC Version2

1.ความครอบคลุมของบุคลากรผูรับผิดชอบงานPalliative care ผานการอบรม ดังน้ี

1.1 พยาบาล manager รพ.หนองคาย ผานการอบรมหลักสตูร Basic CertificateCourse in Palliative Nursing

1.2 หลักสูตร ClinicalPalliative Care forCommunity Nurse หลักสตูร4 สัปดาห อยางนอย รพ.ละ 1 คน

1.3 เขารวมประชุมการใชงานโปรแกรม LTC Version2ทุกหนวยบริการ

1.4 พยาบาล NP (NursePractitioner) (รพช./รพ.สต.)ผานการอบรมการพยาบาลแบบประคับประคอง :หลักสตูรสภาการพยาบาล2.มีภาคีเครือขายในการดําเนินงาน LTC3.ความครอบคลุมของอุปกรณเครื่องมือทางการแพทยมีอุปกรณครบตามเกณฑกําหนด ดังน้ี

3.1 ศูนย COC ในรพช.ทุกแหง มีศูนยสํารองอุปกรณเครื่องมือทางการแพทย

1.รอยละ 50 ของโรงพยาบาลท่ีมีการดูแลแบบประคับประคอง(Palliative care )

Page 49: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 41

2.4 Small Successระดับ ผลผลิต

3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือนS,M1 1. มีคณะกรรมการ /หรือศูนย

การดูแลแบบประคับประคองประกอบดวยบุคลากร สหสาขาวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

2. มีการแตงตั้งเลขานุการ ซึ่งเปนพยาบาลท่ีผานการอบรมหลักสูตรฺ BasicCertificate Course in PalliativeNursing

3. มีการกําหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุมโรคสําคัญของโรงพยาบาล

1. ประเมินผลตามรอบ 3เดือน

2. มีการจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองเปนหนวยบริการหน่ึงในกลุมงานการพยาบาลมอบหมายใหพยาบาลท่ีผานการอบรมหลักสูตรBasic Certification Course inPalliative Nursingรับผิดชอบเต็มเวลา

3. กลุมผูปวยท่ีอยูในเกณฑไดรับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care ≥รอยละ 50

1. ประเมินผลตามรอบ6 เดือน

2. มีระบบบริการ หรือFunction การทํางานการเช่ือมโยงดูแลตอเน่ืองท่ีบาน

1. ประเมินผลตามรอบ9 เดือน

2. มีการรักษาดวย StrongOpioid Medication ≥รอยละ 30 ของจํานวนผูปวยท่ีไดรับการดูแลตามแนวทาง PalliativeCare และมีการจดัการดูแลแบบการแพทยแผนไทย/การแพทยทางเลือก

3. มีแผน/โครงการ หรือกิจกรรม และดําเนินการรวมกับองคกรตางๆ อยางนอย 1 เรื่อง/โรงพยาบาล

M2,F 1-3

1. มีคณะกรรมการ /หรือศูนยการดูแลแบบประคับประคองประกอบดวยบุคลากร สหสาขาวิชาชีพท่ีเก่ียวของ

2. มีการแตงตั้งเลขานุการ ซึ่งเปนพยาบาลท่ีผานการอบรมหลักสูตร PalliativeCare

3. มีการกําหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุมโรคสําคัญของโรงพยาบาล

1. ประเมินผลตามรอบ 3เดือน

2. มีการจัดตั้งงานการดูแลแบบประคับประคองเปนหนวยบริการหน่ึงในกลุมงานการพยาบาลมอบหมายใหพยาบาลท่ีผานการอบรมหลักสูตรPalliative Care รับผิดชอบเต็มเวลา

3. กลุมผูปวยท่ีอยูในเกณฑไดรับการดูแลตามแนวทาง Palliative Care ≥รอยละ 50

1. ประเมินผลตามรอบ6 เดือน

2. มีระบบบริการ หรือFunction การทํางานการเช่ือมโยงดูแลตอเน่ืองท่ีบาน

1. ประเมินผลตามรอบ 9เดือน

2. มีการรักษาดวย StrongOpioid Medication ≥รอยละ 20 ของจํานวนผูปวยท่ีไดรบัการดูแลตามแนวทาง PalliativeCare และมีการจดัการดูแลแบบการแพทยแผนไทย/การแพทยทางเลือก

3. มีแผนงาน/โครงการหรือกิจกรรม และดําเนินการรวมกับองคกรตางๆ อยางนอย 1 เรื่อง/โรงพยาบาล

admin
Pencil
Page 50: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 42

3. ผลการดําเนินงานปงบประมาณ 2560(ตุลาคม 2559 - พฤษภาคม 2560)

ตาราง แสดงโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง Palliative Care ข้ันตอนที่ 1 และข้ันตอนที่ 31.1 1.2 1.3 1.4 1.5 ขั้นตอน

ที่ 3ท่ี รพ ขนาด กรรม

การพยาบาล กําหนด

แนวทางจัดตั้งหนวยบริการ

กลุมผูปวย

การสงตอ

การใชMo

แผนงาน/โครงการPCN CPCCN PCWN

1 หนองคาย S -

2 ทาบอ M2 - - ศูนย COC

3 โพนพิสัย M2 - ศูนย COC

4 ศรีเชียงใหม F2 - ศูนย COC

5 สังคม F2 - - ศูนย COC

6 สระใคร F3 - - ศูนย COC -

7 เฝาไร F3 - - ศูนย COC -

8 รัตนวาป F3 - - ศูนย COC -

9 โพธ์ิตาก F3 - - ศูนย COC -

ท่ีมา:ขอมูลจากการสํารวจ โดยผูรับผิดชอบงาน LTC, ศูนย COC รายหนวยบริการ ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2560จากการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2560 พบวา โรงพยาบาลหนองคาย (S) ดําเนินงานการดูแลแบบประคับ

ประครอง ครบตามเกณฑ ข้ันตอนท่ี 1 และ ข้ันตอนท่ี 3 โรงพยาบาลชุมชนทุกแหง (M2 และ F1-F3) มีพยาบาลผูรับผิดชอบงานผานการอบรมหลักสูตร Clinical Palliative Care for Community Nurse : CPCCN (หลักสูตร 4สัปดาห) จํานวน 2 แหง ไดแก รพ.โพนพิสัย และ รพ.ศรีเชียงใหม นอกนั้นพยาบาลผูรับผิดชอบงานผานการอบรมหลักสูตร Palliative Care Ward Nurse:PCWN (หลักสูตร 3 วัน) มีการกําหนดแนวทางการดูแลแบบประคับประคองในกลุมโรคสําคัญของโรงพยาบาล ครบทุกแหง การจัดตั้งหนวยบริการ โรงพยาบาลหนองคาย มีการจัดตั้งศูนยการุณรักษ สวนโรงพยาบาลชุมชน มีการดําเนินการดูแลแบบประคับประครอง รวมกับศูนย COC สําหรับการโรงพยาบาลท่ียังไมมียากลุม Strong Opioid Medication ในรูปของยารับประทาน ไดแก รพ.สระใคร รพ.เฝาไรรพ.รัตนวาปและรพ.โพธิ์ตาก4. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

1. แพทยท่ีรับผิดชอบมี1คนและมีงานอ่ืนท่ีตองรับผิดชอบเปนงานประจํา (วิสัญญีแพทย) สามารถออก OPDไดเพียง 1วัน (ศุกรบาย) ถาผูปวยมาไมตรงวันผูปวยตองไปพบแพทยท่ีแผนกวิสัญญี

2. เภสัชกร ท่ีรับผิดชอบงาน Palliative care ผานการอบรม ยังไมครบตามเกณฑ3. พยาบาลรับผิดชอบงานมี 1 คนและมีงานอ่ืนท่ีตองรับผิดชอบเปนงานประจํา4. PCWN ประจําward ในโรงพยาบาลยังตองมีการพัฒนาสมรรถนะ5. บุคลากรตองมีทัศนะคติท่ีดีตอผูปวยระยะทาย และครอบครัวของผูปวย6. ไมมีสถานท่ีเฉพาะสําหรับผูปวย อยูรวมกับผูปวยอ่ืนและไมสามารถจัดมุมท่ีเหมาะสมได7. อุปกรณจําเปนสําหรับผูท่ีตองใชดูแลตอเนื่องท่ีบานไมเพียงพอ8. ข้ันตอนการจัดซื้อยา กลุม strong Opioid ยุงยากเม่ือยาหมด ทําใหมีความไมตอเนื่องในการใชยา9. รพช. สวนมากยังไมมียา strong Opioid ในรูปแบบยารับประทาน ผูปวยไมสะดวกในการรับยา

ตอเนื่องสถานบริการใกลบานผูรายงาน นางลํายอง เลขนอกตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 089-6179089e-mail : [email protected]

Page 51: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 43

คณะท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย

วัตถุประสงคเพ่ือใหผูพิการทางรางกายและการเคลื่อนไหว ผูสูงอายุในระยะฟนฟู ผูปวยหลอดเลือดสมองระยะพนวิกฤต

ตลอดจนผูปวยรายอ่ืนๆท่ีสงปรึกษาสามารถเขาถึงบริการการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยท่ีมีคุณภาพกลยุทธขับเคลื่อนการดําเนินการ

ใหบริการการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยรองรับ Service Plan ในสาขารุกและรับท่ีมีคุณภาพ เชื่อมโยงและไรรอยตอ โดยผานการตรวจประเมินจากแพทยเวชศาสตรฟนฟู และใหบริการครบท้ังงานกายภาพบําบัด งานกิจกรรมบําบัด และงานกายอุปกรณประเด็นการตรวจราชการ1. ผูพิการ ผูมีปญหาดานการเคลื่อนไหว/ทางรางกาย เขาถึงบริการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย(เม่ือไดรับการปรึกษา)2. ผูปวยกลุม strokeไดรับการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทยแลวมี Barthel’s index เพ่ิมข้ึน(เลื่อนจากเตียง 3 เปนเตียง

ผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัด

ตัวช้ีวัด เปาหมายผลการดําเนินงาน

2558 2559 2560(ถึงพ.ค. 60)

1.ผูพิการ ผูมีปญหาดานการเคลื่อนไหว/ทางรางกายเขาถึงบริการฟนฟูสมรรถภาพทางการแพทย 80%

100%(966/966)

100%(719/719)

100%(334/334)

2.ผูปวยกลุม strokeมีBarthel’s index เพ่ิมข้ึน 50%40.50%

(352/869)50.08%

(291/581)44.89%

(123/274)

ผลงานท่ีเปน Best Practice1. การลดรอบระยะเวลานัดหมายผูปวยระบบหลอดเลือดสมอง (Stroke/HI) ในงานเวชศาสตรฟนฟู เพ่ือให

ผูปวย/ผูพิการ สามารถเขาถึงบริการได จากผูปวยในหลังจําหนาย ( ในเขตcupเมือง)สามารถนัดมาทํากายภาพบําบัดตอเนื่องเปนผูปวยนอกไดโดยไมตองเขาระบบนัดใหม ซึ่งใชระยะเวลารอคอย 1-3 เดือน เปนผลใหผูปวยมีอาการดีข้ึนวัดจากดัชนี Barthel’s index ท่ีดีข้ึน ผูปวยและญาติมีความพึงพอใจ

2. กายภาพบําบัดเชิงรุกท่ี รพ.สต.นาฮี ในผูพิการทางกาย/โรคหลอดเลือดสมองสรุปรายใหม 23 ไดรับการฟนฟู 22 รายเกา 12 ไดรับการฟนฟู 12 ผูปวยมีคะแนน Barthel’s index (BI)เพ่ิมข้ึน อยูในภาวะพ่ึงพาปานกลางชวง 10-14 คะแนนจนถึงภาวะพ่ึงพาเล็กนอย ชวง 15-19 คะแนน

จากนวัตกรรมการบริการนี้ มุงเนนประโยชนไปท่ีผูปวยท่ีมาสามารถมารับบริการตามนัดไดบทบาทของนักกายภาพบําบัดจึงไมจําเปนตองใหบริการอยูใน รพ.อยางเดียว การใหบริการเชิงรุกผูรับบริการเขาถึงการบริการตลอดจนทุกภาคสวนเกิดความรวมมือในการดูแลสุขภาพประชาชน ผูปวยและญาติมีการพบปะพูดคุย เกิดสังคมในกลุม ใหกําลังใจซึ่งกันและกัน ผูปวยรายใหมมีโอกาสเขาถึงบริการ และขยายกลุมผูรับบริการไปยังผูสูงอายุใหไดรับการฟนฟูสุขภาพดวย

1. การเยี่ยมบานรวมกับทีม COC และทีมสหวิชาชีพ หากพบผูปวยหรือผูพิการท่ีตองการทํากายภาพบําบัดตอเนื่องหรืออุปกรณเสริม อุปกรณชวยเดิน ก็สามารถเขามารับบริการตอเนื่องท่ีโรงพยาบาลไดทันที

2. “นวัตกรรมสําหรับผูพิการ” โดยรวมใหคําปรึกษาและปรับปรุงอุปกรณทางการแพทยสําหรับผูพิการท่ีมีคุณภาพในราคาไมแพง

Page 52: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 44

ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ1. ผูพิการ/ผูปวยโรคหลอดเลือดสมองในชุนชน เขาถึงการบริการทางฟนฟูไดนอย เนื่องจากไมสะดวกในการ

เดินทาง2. บุคลากรดานฟนฟูสมรรถภาพมีนอย ไมเพียงพอตอการใหบริการเชิงรุก3. สถานท่ีรองรับการใหบริการทางการฟนฟูคับแคบ อุปกรณ เครื่องมือไมเพียงพอและไมครอบคลุมกับความ

ตองการของผูมารับบริการ และผูพิการรวมถึงการซอมแซมอุปกรณผูพิการท่ีชํารุด

แผนพัฒนาป 25601. พัฒนางานกายภาพบําบัดเชิงรุกในชุมชน เริ่มจากการใหบริการในพ้ืนท่ี รพ.สต.ท่ีมีความพรอม วาง

แผนการเยี่ยมบานรวมกับ COC ติดตามเยี่ยมผูพิการ/ผูสูงอายุ ติดเตียง2. พัฒนาสมรรถนะของ care giver ในการดูแลผูพิการ ผูสูงอายุติดเตียง ในทุก รพ.สต.3. จัดตั้งศูนยฟนฟูสุขภาพ ในการดูแลฟนฟูสภาพ และจาย /ซอมอุปกรณผูพิการ4. ผลักดันใหมีการจัดตั้งกองทุนฟนฟูสมรรถภาพคนพิการระดับจังหวัด5. จัดตั้ง Intermediate Care Service (Stroke TBI) ใน รพช.ท่ีมีความพรอม

ผูรายงาน นางธัชนันท วสันธรางกูรตําแหนง นักกายภาพบําบัดชํานาญการโทร. 085-0018228e-mail : [email protected]

Page 53: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 45

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา LTC ผูสูงอายุ

หัวขอการตรวจราชการ :กลุมเปาหมาย ผูสูงอายุท้ังท่ีจําหนายออกจากโรงพยาบาล และในชุมชนเปาประสงค “บุคคล ครอบครัว และชุมชน ไดรับการสนับสนุนใหมีขีดความสามารถ ดํารงชีวิตไดอยางมีศักดิ์ศรี”การดําเนินงาน

- คัดกรองสุขภาพกาย/จิต- Home care- ระบบการดูแลผูสูงอายุในชุมชน/ ชมรมผูสูงอายุ- ศูนย COC คุณภาพ / pain clinic- คลินิกผูสูงอายุมาตรฐาน- อบรม Care Manager / Care giver- Care plan ผูสูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง

ผลการดําเนินงาน- การคัดกรองภาวะสุขภาพผูสูงอายุ CUP เมือง ป 2560 ความครอบคลุมการประเมินคัดกรอง ADL รอยละ

87.26 จํานวนผูสูงอายุ ท้ังหมด 19,230 คน ติดสังคม 16,108 คน ติดบาน 581 คน ติดเตียง 91 คน ความครอบคลุมการประเมิน DM รอยละ 85.09 ปวยเปน DM 3,979 ราย ความครอบคลุมการประเมิน HT รอยละ99.92 ปวยเปน HT 6,128 ราย ตรวจสุขภาพชองปาก รอยละ 74.9 % ผิดปกติ 753 ราย ตรวจคัดกรองภาวะตาตอกระจก รอยละ 73.19 คัดกรองภาวะสมองเสื่อม ATM รอยละ 78.99 ผิดปกติ 179 ราย คัดกรองภาวะซึมเศราดวย 2 Q รอยละ 82.73 ผิดปกติ 45 ราย การคัดกรองขอเขาเสื่อม รอยละ 75.99 ผิดปกติ 801 ราย การคัดกรองภาวะหกลม รอยละ 82.23 ผิดปกติ 1196 ราย ความครอบคลุมการเมินคาดัชนีมวลกาย BMI รอยละ 88.65 BMIสมสวน 11,137 ราย ไดจัดโครงการสงเสริมสุขภาพผูสูงอายุในชุมชน ปรึกษารวมกับแผนกทันตกรรม ออกบริการตรวจสุขภาพชองปากและฟนในผูสูงอายุติดบาน/ติดเตียง เยี่ยมบานผูสูงอายุติดบาน/ติดเตียงรวมกับแพทย, FCT,ทีมสหสาขาวิชาชีพ, เครือขาย อปท.

- คลินิกผูสูงอายุผานเกณฑระดับดีมาก ประเมิน Geriatric Assessment Tools ประเมิน ADL , IADLมีจํานวน ท้ังหมด 175 ราย ผิดปกติ 28 ราย ประเมิน Dementia (Cognitive Impairment) MMSE-Thai 2002มีจํานวนท้ังหมด 175ราย ผิดปกติ 16 ราย สงพบ แพทยอายุรกรรมประสาท 6 ราย

- มีศูนย COC คุณภาพ/ ศูนยสํารองอุปกณสําหรับใชท่ีบาน /ศูนยเรียนรู/ระบบใหคําปรึกษา/ทีมสหสาขาวิชาชีพ ครบ/pain clinic

- ผูสูงอายุกลุมติดบาน ติดเตียง ไดรับการเยี่ยมบาน โดย Family Care Team โดยมี Family med เยี่ยมทุกราย หมุนเวียนทุกพ้ืนท่ีตลอดเดือน และในรายท่ีมีปญหาซับซอน Family med จะ consult ทีมสหสาขาวิชาชีพ ท่ีเก่ียวของกับสภาพปญหานั้นๆ ศูนย COC ซึ่งเปน manager จะนําทีมสหสาขาฯ ออกใหบริการ หลังจากนั้น FCT จะเวียนมาเยี่ยมประเมินผลหลัง consult อีกครั้ง ทําใหผูสูงอายุ ไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง เหมาะสมกับสภาพ

- ผูสูงอายุกลุมติดสังคมมีชมรมผูสูงอายุ ชมรมจิตอาสา เพ่ือชวยเพ่ือน และกิจกรรมสงเสริมสุขภาพตางๆและไดรับการตรวจสุขภาพเปนประจําสมํ่าเสมอ

- Cup เมือง มี care manager ท้ังหมด 14 คน เปน CM รพ.3 คน , รพ.สต 9, และ เทศบาล 2 คน โดยไดรับการอบรมจากกรมอนามัย 2 คน และของเขตสุขภาพท่ี 8 อีก 12 คน

- พ้ืนท่ีดําเนินงาน LTC สําหรับผูสูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง ประกอบดวย รพ.สต.วัดธาตุ (ป 2558),รพสต.พระธาตุบังพวน (ป 2559),เทศบาลเมืองหนองคาย, เทศบาลศูนยบริการสาธารณสุข 2, รพ.หนองคาย และ

Page 54: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 46

รพสต.มีชัย (ป 2559) รพสต.นาฮี, รพสต. โพธิ์ชัย และรพ.สต. หาดคํา (ป 2560)- มีการอบรม care giver หลักสูตร 70 ชม.ในพ้ืนท่ีตําบล LTC ตนแบบ รพสต. วัดธาตุ 40 คน

ของเทศบาล 40 คน รพสต. พระธาตุบังพวน 40 คน รพสต. นาฮี 10 คน รพสต.หาดคํา 10 คน- การจัดทํา Care plan ในการดูแลผูสูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิงทุกราย ดําเนินการเสร็จสิ้นใน รพสต.วัดธาตุ

สวนพ้ืนท่ีตนแบบอ่ืนๆ อยูระหวางดําเนินการจัดทํา- มีกองทุน LTC ซึ่งไดเงินจากการทําผาปา อสม. จํานวน 70,000 บาท ป 59 ไดมอบทุนใหแลว 6 ราย

พื้นท่ีเปาหมาย อปท./หนวยบริการ ดําเนินงาน LTCป 2559-2560 อําเภอเมืองหนองคาย

ท่ี ประเภทอปท. ช่ืออปท. ตําบล หนวยบริการ CM ป1 เทศบาลตําบล ตําบลวัดธาตุ วัดธาตุ รพ.สต.วัดธาตุ 1 25592 เทศบาลเมือง หนองคาย ในเมือง PCU.รพ.หนองคาย 3 2560

เทศบาลเมือง นค.1 1เทศบาลศูนยฯ 2 1รพ.สต.มีชัย 1

3 อบต. พระธาตุบังพวน พระธาตุบังพวน รพ.สต.พระธาตุบังพวน 1 25604 เทศบาลตําบล โพธิ์ชัย โพธิ์ชัย รพ.สต.โพธิ์ชัย 1 25605 อบต. คายบกหวาน คายบกหวาน รพ.สต.นาฮี 1 25606 เทศบาลตําบล หาดคํา หาดคํา รพ.สต.หาดคํา 1 2560

ผลการสํารวจผูสูงอายุท่ีมีภาวะพึ่งพิง ในพื้นท่ีดําเนินการ LTC ผูสูงอายุ cup เมือง ป 2560อําเภอ พ้ืนท่ีนํารอง (1 อปท/อําเภอ) ผูสูงอายุท่ีมีภาวะพ่ึงพิง รวม

เมือง

อปท. หนวยบริการสาธารณสุข กลุมท่ี 1 กลุมท่ี2 กลุมท่ี3 กลุมท่ี4อบต.วัดธาตุ รพสต.วัดธาตุ 40 24 12 3 79อบต.พระธาตบุังพวน รพสต.พระธาตุบังพวน 64 17 2 0 83เทศบาลเมืองหนองคาย เทศบาลเมืองหนองคาย 28 11 12 3 54

เทศบาลศูนยบริการสาธารณสุข2 39 5 14 1 59รพท.หนองคาย 101 18 27 2 148รพสต.มีชัย 12 3 3 1 19รวม 284 78 70 10 442

Page 55: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 47

ผลการดูแลตอเนื่องผูสูงอายุประเภท ติดเตียง ท่ีจําหนายออกจากรพ.หนองคาย ผานศูนยดูแลตอเนื่อง (COC)ป

งบประมาณ

สงตอ

ทั้งหม

ด(รา

ย)

ไดรับ

การเย

ี่ยมบา

น(รา

ย)

อากา

รดีขึ้น

(ADLเพิ่

มขึ้น)

(ราย)

อากา

รคงที่

(ราย)

เสียชีวิ

ต(รา

ย)

Comp

licati

on(คิด

จากเต

ยีง.

3ทั้งห

มด)

Re-ad

mitte

d

2558 195 181(92.82%)

36(19.88%)

55(30.38%)

90(49.75%) 17.42 %

7(3.86%)

2559 195 174(89.23%)

42(24.13%)

82(47.12%)

50(28.73%) 10.28%

16(9.19%)

2560(ตค.59-มิย.60)

80 70(87.50%)

13(18.57%)

48(68.57%)

9(12.85%) 19.37 %

5(7.14%)

รวม/เฉลี่ย

470 425(89.85%)

91(20.86%)

185(48.69%)

149(30.44%) 15.69%

28(6.73%)

สรุป 5 อันดับโรค ผูสูงอายุติดเตียงท่ีไดรับการสงดูแลตอเนื่องจากรพ.หนองคายอันดับ กลุมโรค

2558 2559 25601 อ่ืนๆ อ่ืนๆ Ischemic stroke2 Ischemic Stroke Ischemic stroke อ่ืนๆ3 STEMI STEMI Old age4 HT DM/HT ผูปวยระยะทาย5 DM/CKD+ CAPD SHI/CKD -

ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ1. ระบบการดูแลตอเนื่อง การ D/C plan ยังไมครอบคลุมสภาพปญหา การเตรียมผูดูแลไมพรอม

การสงตอยังลาชาและ miss transfer การติดตามเยี่ยมบานยังลาชาหรือไมติดตามเยี่ยม และไมตอบกลับผลการเยี่ยมบานในโปรแกรม LTC การบันทึกผลเยี่ยมบานไมตอเนื่อง ทําใหไมเห็นการเลื่อนประเภทเตียง

2. อุปกรณสําหรับยืมใหใชท่ีบาน ไมมีงบประมาณสนับสนุนท่ีเพียงพอ อุปกรณไมพอใช3. อัตรากําลังศูนยดูแลตอเนื่อง มีพยาบาลวิชาชีพเพียง 1 คน และรับภาระงานทุกอยาง ทําใหลาชาตอการ

ใหบริการ4. ขาดแคลนผูดูแลในครอบครัว ผูดูแลไมมีเวลาดูแล สัมพันธภาพในครอบครัวไมแนนแฟน ผูสูงอายุ

ถูกทอดท้ิง การดูแลไมมีคุณภาพ เกิดภาวะแทรกซอน และ re-admitted ท่ีสูงเกินเกณฑ (เกณฑ < 5 %)5. องคความรูในการดูแลผูสูงอายุ ศาสตรของการฟนฟูสภาพ ของผูรับผิดชอบงาน ยังไมเพียงพอ6. ไมมีแพทยเฉพาะทางผูสูงอายุ ทําใหการดําเนินงานคลินิกผูสูงอายุไมตอเนื่อง ชุมชนคัดกรองแลวสงตอ

เพ่ือแกไขปญหา แตไมมีแพทยรับโดยตรง ทําใหไมมีผูสูงอายุท่ีมีปญหา geriatric syndrome มารับบริการ (ท่ีมาเพราะเจ็บปวย และตองการรักษากับแพทยเฉพาะแตละแผนก)

Page 56: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 48

แผนพัฒนาป25601. พัฒนาระบบการดูแลตอเนื่อง ท้ังการวางแผนจําหนาย การสงตอ และการติดตามเยี่ยมบาน2. พัฒนาระบบการสํารองอุปกรณสําหรับดูแลท่ีบาน โดยกระจายอุปกรณไปยัง node รพสต.ตางๆ เพ่ิมข้ึน

และพัฒนาระบบการยืมอุปกรณใหสามารถหมุนเวียนใชไดท่ัวถึงมากข้ึน3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ขออัตรากําลังพยาบาลวิชาชีพเพ่ิม 1 อัตรา และสงอบรมพยาบาลเวชศาสตร

ฟนฟู4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร รพสต. + PCU รพ.หนองคาย โดยสงอบรม Care manager ใหครบ 100 %5. จัดอบรม care giver ใหครอบคลุมพ้ืนท่ี LTC ในเขตเทศบาล6. พัฒนาการใชโปรแกรม LTC version 2 ท่ีสามารถ link program Hosxp., JHCIS ได7. พัฒนาระบบ feedback ขอมูล สูหนวยงาน

Page 57: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 49

ผูรายงาน นางสาวกิตติยา จิตจักรตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 081-8723593e-mail : [email protected]

Page 58: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 50

คณะท่ี 2 : การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน

หัวขอการตรวจราชการ :รอยละ 18.5 ของผูปวยนอกไดรับบริการการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกท่ีไดมาตรฐาน

1. สถานการณจังหวัดหนองคายเปดใหบริการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือกครอบคลุมท้ัง 8 อําเภอ และเปด OPD

คูขนานดานการแพทยแผนไทยครบทุกอําเภอ ใหบริการตรวจวินิจฉัยโรคดานการแพทยแผนไทย นวดรักษาอาการปวด ประคบสมุนไพร อบสมุนไพร จายยาสมุนไพร ยาปรุงเฉพาะราย และหัตถการดานการแพทยแผนไทยอ่ืนๆ เปดบริการคลินิกเฉพาะโรค 4 โรค สัดสวนบริการผูปวยดานการแพทยแผนไทยเดือน ต.ค.2559-ม.ค.2560 ภาพรวมจังหวัด คิดเปน 28.42% ทุกอําเภอผานเกณฑ 18.5% อําเภอท่ีมีผลงานสูงสุดไดแก อําเภอรัตนวาป คิดเปน 57.08.%และในปงบประมาณ 2560 จังหวัดหนองคายไดดําเนินงานตามแผนงานของกรมการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือกในการเปดคลินิกเฉพาะโรค 4 โรคท่ี OPD คูขนานทุกโรงพยาบาลแบบครบวงจร ไดแก โรคเขาเสื่อม โรคไมเกรนโรคภูมิแพ โรคอัมพฤกษ อัมพาต และโรงพยาบาลหนองคายไดเปดใหบริการโรคดังกลาวตั้งแตเดือนมีนาคม 2559และไดเพ่ิมการดูแลโรคอัมพาตใบหนาดวยศาสตรการแพทยแผนไทยรวมดวย

ขอมูลประกอบการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ

เชิงคุณภาพและ แผนการดําเนินงาน (มาตรการ/แนวทาง/Small Success 3m,6m,9m,12m) ปงบประมาณ 25591. จัดใหมีการดําเนินการเชิงรุกในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาล2. จัดใหมีการบริการเชิงรุกในชุมชนโรคเรื้อรัง/ผูพิการ/ผูสูงอายุ/หญิงหลังคลอดในชุมชน3. จัดใหมีการบริการคลินิกเฉพาะโรคเพ่ิมเติม ไดแก โรคเขาเสื่อม โรคไมเกรน โรคภูมิแพ อัมพฤกษ อัมพาต

และอัมพาตใบหนา4. จัดใหมีการประชาสัมพันธดานการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกเพ่ือใหผูรับบริการเขาถึงการ

บริการมากยิ่งข้ึน5. พัฒนายาปรุงเฉพาะรายในการดูแลสุขภาพดานการแพทยแผนไทย10-20ตําหรับ6. พัฒนานวัตกรรมใหมๆในการดุแลผูปวยดานการแพทยแผนไทยและการแพทยผสมผสาน7. จัดใหมีการอบรมอาสาสมัครดานการแพทยแผนไทยและแพทยทางเพ่ือใหมีการดูแลผูปวยในชุมชนอยางยั่งยืน8. จัดใหมีการอบรมนวดไทยสายใยรักในโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตอําเภอเมืองหนองคาย

รายการขอมูล

ตัวชี้ว

ดั รายงาน ผลการดําเนินงาน2557 2558 2559

ต.ค.58-มี.ค.592560

11 ก.ค. 60รอยละของผูมารับบริการผูปวยนอกที่ไดรับบริการการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกที่ไดมาตรฐาน

18%

เขต 19.60(15,466,764/3,030,850)

24.53(15,018,159/3,683,583)

29.30(9,471,065/2,786,958)

29.17(11,684,017/3,408,661)

จังหวัด 25.76(1,781,081/458,826)

24.73(1,637,122/404,916)

29.48(913,467/269,322)

28.61(1,196,261/342,219)

โรงพยาบาล 9.17(302,285/27,707)

11.22(278,008/31,195)

13.35(133,962/17,880)

19.19(238,588/45,784)

Page 59: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 51

ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2558 และ ปงบประมาณ 2559 (Small Success 3 เดือน) มิ.ย.60

ขอมูลพ้ืนฐานตัวชี้วัด จํานวน (คร้ัง) หนวยวัด (รอยละ)จํานวนผูปวยนอกทั้งหมด 238,588

19.19จํานวนผูปวยนอกที่มารับบริการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือกที่ไดมาตรฐาน

45,784

สัดสวนการใหบริการแพทยแผนไทย รายปงบประมาณ ปงบประมาณ 2560เขตสุขภาพ รวมท้ังปงบประมาณ

บริการผูปวยนอก(คร้ัง) บริการแพทยแผนไทย(คร้ัง) รอยละการรับบริการเขตสุขภาพท่ี 1 13,128,017 1,763,925 13.44เขตสุขภาพท่ี 2 6,997,707 1,393,101 19.91เขตสุขภาพท่ี 3 7,541,557 1,602,557 21.25เขตสุขภาพท่ี 4 9,153,326 1,553,587 16.97เขตสุขภาพท่ี 5 12,160,162 1,985,586 16.33เขตสุขภาพท่ี 6 9,816,439 1,806,701 18.40เขตสุขภาพท่ี 7 10,904,824 2,845,588 26.09เขตสุขภาพท่ี 8 11,684,017 3,408,661 29.17เขตสุขภาพท่ี 9 13,396,178 2,548,492 19.02เขตสุขภาพท่ี 10 9,961,866 1,993,854 20.01เขตสุขภาพท่ี 11 8,819,062 1,348,240 15.29เขตสุขภาพท่ี 12 9,948,216 1,755,484 17.62

จังหวัด รวมท้ังปงบประมาณบริการผูปวยนอก(คร้ัง) บริการแพทยแผนไทย(คร้ัง) รอยละการรับบริการ

บึงกาฬ 736,789 184,155 24.99หนองบัวลําภู 1,046,138 264,252 25.26อุดรธานี 3,072,113 775,839 25.25เลย 1,551,174 413,132 26.63หนองคาย 1,196,261 342,219 28.61สกลนคร 2,582,416 1,005,341 38.93นครพนม 1,499,129 423,723 28.26

อําเภอ รวมท้ังปงบประมาณบริการผูปวยนอก(คร้ัง) บริการแพทยแผนไทย(คร้ัง) รอยละการรับบริการ

เมืองหนองคาย 336,643 79,196 23.53ทาบอ 246,105 65,123 26.46โพนพิสัย 193,770 51,627 26.64ศรีเชียงใหม 63,086 15,115 23.96สังคม 98,504 34,905 35.44สระใคร 46,740 12,713 27.20เฝาไร 117,185 41,465 35.38รัตนวาป 64,123 34,617 53.99โพธ์ิตาก 30,105 7,458 24.77

:ขอมูล จาก HDC วันท่ีประมวลผล :: 11 กรกฎาคม 2560

Page 60: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 52

ผลงานระดับโรงพยาบาล ในเขตสุขภาพท่ี 8

: ขอมูล จาก HDC วันท่ีประมวลผล :: 11 กรกฎาคม 2560

ผลงานท่ีเปนนวัตกรรม1. การดูแลผูปวยอัมพาตใบหนาดวยหนากากยิ้มสวย2. แผนแปะสมุนไพรลดปวดในผูปวยไตเสื่อมระดับ 4 และระดับ 5 (รางวัล:รองชนะเลิศอันดับ 2 งาน

มหกรรมคุณภาพโรงพยาบาลหนองคาย ประจําป 2560 ณ วันท่ี 3 กุมภาพันธ 2560)

ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ1. การประชาสัมพันธใหผูมารับบริการดานการแพทยแผนไทยยังทําไดไมเต็มท่ี ภาครัฐควรมีการ

ประชาสัมพันธใหมากกวานี้2. ใหมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการแพทยแผนไทยใหมีความเชี่ยวชาญมากยิ่งข้ึน3. ยังพบปญหาการเชื่อมตอผูปวยระหวางแพทยแผนปจจุบันและแพทยแผนไทย4. การพัฒนาการดูแลดานการแพทยแผนไทยโดยหมอพ้ืนบาน5. การเชื่อมตอและการสงตอผูปวยในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลมายังคลินิกแพทยแผนไทย6. เสนอใหแพทยแผนปจจุบันสั่งจายยาสมุนไพรใหมากข้ึน

ผูรายงาน นางบงกชจันทร กถนานนทตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร . 081-9752640e-mail : [email protected]

24.99 25.26 25.25 26.6328.61

38.13

28.26

05

1015202530354045

บึงกาฬ หนองบัวลําภู อุดรธานี เลย หนองคาย สกลนคร นครพนม

Page 61: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 53

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด

สถานการณปญหาจากผลการดําเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชจังหวัดหนองคาย ป 2559 พบวามีผูฆาตัวตายท้ังหมด 25 ราย

คิดเปนอัตรา 4.8 ตอแสนประชากร และป 2560อัตราการฆาตัวตายมีแนวโนมลดลงจากปท่ีผานมา พบวาในระหวางเดือนตุลาคม 2559–30 มิถุนายน 2560มีผูฆาตัวตายสําเร็จ 18 ราย คิดเปน 3.45 ตอแสนประชากร ซึ่งยังอยูในเกณฑตัวชี้วัดท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนด (อัตราการฆาตัวตายสําเร็จไมเกิน 6.3 ตอแสนประชากร) เม่ือแยกรายอําเภอพบวา อัตราการฆาตัวตายสําเร็จสูงสุดคือ อําเภอสระใคร,อําเภอศรีเชียงใหม และอําเภอโพธิ์ตากตามลําดับ โดยมีอัตราการฆาตัวตายสําเร็จ 15.04 ,9.72 และ6.51 ตอแสนประชากรตามลําดับผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัด

1. รอยละผูปวยโรคจิตเวชท่ีสําคัญเขาถึงบริการสุขภาพจิต (โรคจิต โรคซึมเศรา ออทิสติส สมาธิสั้น)1.1 การเขาถึงโรคซึมเศรามากวารอยละ 501.2 การเขาถึงโรคจิตมากกวารอยละ 651.3 อัตราการฆาตัวสําเร็จไมเกิน 6.3/แสนประชากร

2. รอยละของผูปวยยาเสพติดท่ีหยุดเสพตอเนื่อง 3 เดือน หลังจากจําหนายจากการบําบัดรักษา(3 mouth remission rate) รอยละ 92

ตารางท่ี 1 การเขาถึงบริการโรคซึมเศรามากวารอยละ 50 แยกรายอําเภอ (3 ปยอนหลัง) ระดับจังหวัด

ท่ีมา : รายงานขอมูลจากฐานขอมูล 43 แฟม / HosXP

หมายเหตุ ขอมูลการเขาถึงซึมเศรามีการลงรายงานซ้ําหลายโปรแกรม (depressive online , Hos xp) และมีการดึงขอมูลจาก 43 แฟม เม่ือนําขอมูลมาวิเคราะหพบวาขอมูลไมตรงกันไดเชิญผูเก่ียวของ ท้ังหมดเชน ศูนยขอมูล43แฟม (IT) รวมปรึกษาเพ่ือแกปญหา ซึ่งอยูระหวางดําเนินการ ดังนั้นผูรับผิดชอบงานจึงยึดเอาขอมูลจาก 43 แฟมเพ่ือรายงานในครั้งนี้ และจัดทําแผนเพ่ือพัฒนางานเพ่ือเพ่ิมการเขาถึงบริการของผูปวยโรคซึมเศราและโรคจิต เชิงรุกในชุมชน โดยคนหาคัดกรองกลุมเปาหมาย (ผูสูงอายุ ผูพิการ ผูปวยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภและหญิงหลังคลอดผูท่ีดื่มสุราแบบอันตราย หรือกลุมบําบัดยาเสพติด) ในพ้ืนท่ีเปาหมาย

ท่ี อําเภอ

ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการป 2558 ป 2559 ป 2560(1ต.ค.-30มิ.ย.60)

คาประมาณการณ

จํานวน รอยละคา

ประมาณการณ

จํานวน รอยละคา

ประมาณการณ

จํานวน รอยละ

1 เมือง 3,343 1,622 48.5 3,366 1,727 51.30 3366 1173 34.842 ทาบอ 1,889 520 27.52 1,894 1,012 53.43 1894 1564 82.573 โพนพิสัย 2,148 815 37.94 2,162 1,266 58.55 2162 908 41.994 ศรีเชียงใหม 690 242 35.07 692 298 43.06 692 676 97.685 สังคม 540 277 51.29 545 294 53.94 545 413 75.776 สระใคร 578 244 42.21 583 264 45.28 583 299 51.287 เฝาไร 1,136 112 9.85 1,143 276 24.14 1143 67 5.868 รัตนวาป 842 72 8.55 846 192 22.26 846 120 14.189 โพธ์ิตาก 339 39 11.50 339 83 24.48 339 108 31.85

รวม 11,505 3,943 34.27 11,570 5,412 46.77 11,570 5,328 46.05

Page 62: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 54

ตารางท่ี 2 การเขาถึงบริการโรคจิตมากกวารอยละ 65 แยกรายอําเภอ (3 ปยอนหลัง) ระดับจังหวัด

ท่ีมา : รายงานขอมูลจากฐานขอมูล 43 แฟม/hos xp

ตารางท่ี 3 อัตราการฆาตัวสําเร็จไมเกิน 6.3/แสนประชากร แยกรายอําเภอ (3ปยอนหลัง)

ท่ีมา : รายงานโปรแกรม 506 S (www.suicidethai.com)

ท่ี อําเภอ

ผูปวยโรคจิตเขาถึงบริการป 2558 ป 2559 ป 2560(1ต.ค.-30มิ.ย.60)

คาประมาณการณ

จํานวน รอยละคา

ประมาณการณ

จํานวน รอยละคา

ประมาณการณ

จํานวน รอยละ

1 เมือง 991 889 89.70 997 998 100.10 997 1128 113.132 ทาบอ 560 297 53.03 561 362 64.52 561 406 72.373 โพนพิสัย 636 431 67.76 640 515 80.45 640 586 91.564 ศรีเชียงใหม 204 383 187.74 205 429 209.26 205 457 222.925 สังคม 160 78 48.75 161 97 60.24 161 100 62.116 สระใคร 171 154 90.05 173 174 100.57 173 203 117.347 เฝาไร 336 72 21.42 339 129 38.05 339 155 45.728 รัตนวาป 249 50 20.08 251 66 26.29 251 81 34.269 โพธ์ิตาก 100 12 12 101 15 14.85 101 17 16.83

รวม 3,407 2,366 69.44 3,428 2,785 81.24 3,428 3,133 91.39

ท่ี รพ.จํานวนและอัตราการฆาตัวตาย 3 ปยอนหลัง (แยกรายอําเภอ)

ป 2558 ป 2559 ป 2560(1ต.ค.-30มิ.ย.60)ปชก. จํานวน อัตรา ปชก. จํานวน อัตรา ปชก. จํานวน อัตรา

1 เมือง 149,337 6 4.01 149,868 15 10.00 149,868 7 4.672 ทาบอ 83,095 9 7.22 83,098 2 2.40 83,098 4 4.813 โพนพิสัย 98,477 3 3.04 98,566 2 2.02 98,566 2 2.024 ศรีเชียงใหม 30,960 0 0 30,853 2 6.48 30,853 3 9.725 สังคม 24,977 2 0 25,131 2 7.95 25,131 1 3.976 สระใคร 26,532 0 0 26,595 0 0 26,595 4 15.047 เฝาไร 52,101 0 0 52,108 2 3.83 52,108 2 3.838 รัตนวาป 38,743 0 0 38,806 0 0 38,806 0 09 โพธ์ิตาก 15,358 0 0 15,338 0 0 15,338 1 6.51

รวม 519,580 20 3.84 520,363 25 4.80 520,363 24 4.61

Page 63: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 55

ผลการดําเนินงานปงบประมาณ 2560 (9เดือน : ตุลาคม 59 – มิถุนายน60)เปรียบเทียบผลการดําเนินงานสุขภาพจิต ระดับจังหวัด ระดับเขต และระดับประเทศ (3 ปยอนหลัง 2558-2560)

ผลการดําเนินงานสุขภาพจิต ป 2560 (ต.ค.59 – มิ.ย.60)1. ดานบริหารจัดการ

1.1 จัดทําแผนงานโครงการการดําเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวชโรงพยาบาลหนองคาย และเครือขายรพช.และ รพสต.ในพ้ืนท่ีจังหวัดหนองคาย

1.2 รวมประชุมคณะทํางานเครือขายสุขภาพจิตและจิตเวชจังหวัดหนองคาย ในวันท่ี 23 ธันวาคม 2559ณ หองประชุมเดนชัย ศรกิจ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย รวมท้ังหมด 20 คน

1.3 จัดทําโครงการบริการดูแลรักษาผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน จังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2560 เริ่มมกราคม ถึง กรกฎาคม 2560 และจัดประชุมสรุปผลการทํางานแลกเปลี่ยนเรียนรูในเครือขายจังหวัดหนองคาย ในวันท่ี 7 กรกฎาคม ณ หองประชุมอรัญญา สุจนิล ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลหนองคายกลุมเปาหมายคือผูรับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวชใน รพท./รพช./สสอ./รพสต./สสจ. และโรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทร (โรงพยาบาลพ่ีเลี้ยงโครงการจิตเวชเรื้อรัง) รวมท้ังหมด 50 คน

2. พัฒนาศักยภาพบุคลากร2.1 เขารวมประชุมกับสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคายรวมกับศูนยสุขภาพจิตท่ี 8 จัดกิจกรรม

โครงการประชุมสัมมนาขับเคลื่อนการดําเนินงานสุขภาพจิตตามมาตรฐานสงเสริมปองกันในระดับจังหวัดในวันท่ี 28 พฤศจิกายน 2559 ณ หองประชุมสวัสดิ์ สัมพาหะ สํานักงานสาธรณสุขจังหวัดหนองคาย โดยมีกลุมเปาหมายคือ ผูรับผิดชอบงานสุขภาพจิตใน รพ./สสอ. และรพ.สต. รวมท้ังหมด 40 คน

2.2 รวมอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานเชี่ยวชาญสาขาสุขภาพจิตชุมชน ปงบประมาณ 2560 ระหวางวันท่ี 26–27 มิถุนายน 2560 ณ หองประชุมโรงแรมนภาลัยจังหวัดอุดรธานี กลุมเปาหมายมีท้ังหมด 90 คน จัดโดยศูนยสุขภาพจิตท่ี 8 อุดรธานี

ตัวชี้วัด เปาหมายผลการดําเนินงานปงบประมาณ

2558 2559 2560 (1ต.ค.-30มิ.ย.60)ประเทศ เขต8 จังหวัด ประเทศ เขต8 จังหวดั ประเทศ เขต8 จังหวัด

1. อัตราการฆาตัวตายไมเกิน 6.3ตอแสนประชากร

ไมเกิน 6.3ตอแสน

ประชากร

6.08(อัตรา)

3.73(อัตรา)

3.84 (อัตรา)(519,580/20)

6.31(อัตรา)

3.09(อัตรา)

4.80 (อัตรา)(520,363/25)

รอสรุปจากกรม

รอสรุปจากเขต

4.03 (อัตรา)(520,363/21)

2. ผูปวยโรคซึมเศราเขาถึงบริการ(F30-F39)

มากกวาหรือเทากับ รอย

ละ 50

- 49.56 34.27(11,505/3,943)

48.50 53.64 46.77(11,570/5,412)

52.80 58.21 46.05(11,570/5,328)

3. ผูปวยโรคจิตเขาถึงบริการ(F20)

มากกวาหรือเทากับ รอย

ละ 60

- 66.66 69.44(3,407/2,366)

- 93.13 81.24(3,488/2,785)

68.55 81.62 91.39(3,488/3,133

Page 64: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 56

2.3 การดําเนินงานกิจกรรมสรางสุขในชุมชน โดยการนํากระบวนการ Top Model มาใชในตําบลนํารอง1 ตําบล ตอ 1 อําเภอดังตอไปนี้

1. อําเภอเมือง ดําเนินการในวันท่ี26 กุมภาพันธ 2560 ณ ตําบลบานนาฮี2. อําเภอโพนพิสัย ดําเนินการในวันท่ี 30 มกราคม 2560 ณ ตําบลนาหนัง3. อําเภอศรีเชียงใหม ดําเนินการในวันท่ี 29 ธันวาคม 2560 ณ ตําบลบานหมอ4. อําเภอสังคม ดําเนินการในวันท่ี 5 มกราคม 2560 ณ ตําบลบานมวง5. อําเภอสระใคร ดําเนินการในวันท่ี 22 มิถุนายน 2560 ณ PCU รพ.สระใคร6. อําเภอเฝาไร ดําเนินการในวันท่ี 26 มกราคม 2560 ณ ตําบลเฝาไร7. อําเภอรัตนวาป ดําเนินการในวันท่ี 26 มีนาคม 2560 ณ ตําบลพระบาทนาสิงห8. อําเภอโพธิ์ตาก ดําเนินการในวันท่ี 27 มกราคม 2560 ณ ตําบลโพธิ์ตาก

3. การกํากับติดตาม3.1 จิตแพทยและพยาบาลจิตเวชโรงพยาบาลหนองคาย ออกติดตามเยี่ยมเครือขายสุขภาพจิต

และจิตเวชใน รพช. ท้ังหมด 8 แหง แหงละ 2 ครั้ง/ป กิจกรรมตรวจรักษาผูปวยจิตเวชท่ีมีปญหาซับซอน รวมกับแพทยและพยาบาลในพ้ืนท่ี รพช. และ รพสต. ในพ้ืนท่ีจังหวัดหนองคาย

3.2 ออก Coaching แพทย ในโรงพยาบาลชุมชนท้ังหมด 8 แหง แหงละ 1 ครั้ง4. อุปสรรคปญหาท่ีพบ

4.1 จากการติดตามประเมินผลการดําเนินงานในพ้ืนท่ี พบวาตัวชี้วัดการเขาถึงบริการโรคซึมเศราใน อําเภอเมือง โพนพิสัย เฝาไร รัตนวาป และโพธิ์ตาก ยังไมผานเกณฑ 50 % และการเขาถึงบริการโรคจิตอําเภอท่ีไมผานเกณฑ 60% ไดแก เฝาไร รัตนวาป และโพธิ์ตาก

4.2 ระบบรายงานโรคจิต/โรคซึมเศรามีการลงรายงานซ้ําหลายโปรแกรม (โปรแกรม depressiononline/Hos xp) เม่ือนําขอมูลจาก 2 โปรแกรมมาวิเคราะหพบวาขอมูลไมตรงกัน

4.3 บางตัวชี้วัดยังไมมีระบบรายงานการติดตามท่ีชัดเจน เชน ผูพยายามฆาตัวตายไมกลับไปทํารายตนเองซ้ําภายใน 1 ป5. แนวทางการแกไข

5.1 จัดทีมจิตแพทย ออก Coaching แพทย ในโรงพยาบาลชุมชนท่ีมีผลการดําเนินงานไมผานตามเกณฑตัวชี้วัด5.2 กรม/กระทรวงควรพัฒนาระบบรายงานใหงายตอการนําขอมูลมาใชในการวิเคราะห

6. Next Step6.1พัฒนาระบบการคัดกรองและคนหาผูปวยซึมเศรา เพ่ือเพ่ิมการเขาถึง6.2 พัฒนาระบบการเก็บขอมูลรวมกับศูนยขอมูล (IT) และวิเคราะหขอมูลใหถูกตองและเท่ียงตรง6.3 สรุปผลการดําเนินงานประจําป

สถานการณปญหางานยาเสพติดสถานการณยาเสพติดในประเทศไทย พบวาผูเก่ียวของกับยาเสพติดในประเทศไทย พบวาผูเก่ียวของกับยา

เสพติดในประเทศไทย มีประมาณ 1.2 ลานคนในป 2553 คิดเปนอัตราสวน 19:1,000 ประชากร ซึ่งสูงกวาคาท่ีรับไดตามเกณฑมาตรฐานสากลท่ีกําหนดไวไมเกิน 3:1,000 ประชากร โดยเฉพาะเยาวชนนอก สถานศึกษา ในกลุมอายุ15-19 ป พบวามีถึงรอยละ 77.7 ถือเปนกลุมเสี่ยงสําคัญท่ีตองเฝาระวัง จากขอมูลผูปวยยาเสพติดท่ีเขารับการบําบัดรักษาป 2559 พบวา ผูเสพรายใหมยังคงเปนปญหาหลัก แมวาจะมีแนวโนม สัดสวนลดลงบางแตในกลุมผูเขารับการบําบัดรักษาก็ยังมีไมต่ํากวา 3 ใน 5 (รอยละ 69 ใน พ.ศ. 2557) โดยนักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีเขารับการบําบัดมีจํานวนเพ่ิมมากข้ึนเรื่อยๆ นักเรียนระดับประถมศึกษา จากรอยละ 10.4 ใน พ.ศ. 2557 เปนรอยละ19.9 ในพ.ศ. 2557 และนักเรียนระดับมัธยมตน จากรอยละ 43.5 ในป 2547 เปนรอยละ 47.7 ในพ.ศ.2547 ดานคุณภาพการบําบัดรักษา ในภาพรวมท้ังประเทศพบวาผูปวยท่ีเขารับการบําบัดรักษาไมครบตามโปรแกรมกําหนด

Page 65: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 57

(Drop out) อยูเกือบรอยละ 20 โดยเปนผูปวยในระบบบังคับบําบัดสูงเกือบรอยละ 30 ในเชิงปริมาณผลการติดตามผูผานการบําบัดชวงป 2556-2557 ยังทําไดเพียงรอยละ 42.14 เทานั้น ชนิดของยาเสพติดท่ีเปนปญหา คือ ยาบารองลงมา คือ กัญชาและยาไอส

สรุปสถานการณยาเสพติด กลุมผูเสพติดยังคงเปนกลุมผูมีอาชีพรับจาง กลุมนักเรียนนักศึกษาและเกษตรผูใชแรงงานตามลําดับ

สรุปผลการดําเนินงานตามตัวช้ีวัดงานยาเสพติด

ตัวช้ีวัด 2557 2558 2559 2560(1ต.ค -30มิ.ย.60)

รอยละของผูปวยยาเสพติดท่ีหยุดเสพตอเน่ือง 3 เดือนหลังจําหนายจากการบําบดัรักษาตามเกณฑกําหนด รอยละ 92

85.71 100% 100% 100%

อยูระหวางติดตาม

( 37 ราย )

แผนการดําเนนิงานยาเสพติด ปงบประมาณ 25601. เพ่ิมชองทางการเขาถึงบริการบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูเสพยาและผูติดยาเสพติดทุกระบบโดยการสราง

เครือขายในการดําเนินการคัดกรองและคนหา สงตอเขาสูระบบการบําบัด2. ใหการบําบัดผูเสพหรือผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ และบังคับบําบัด โดยใชการบําบัดแบบจิต สังคม

บําบัด (Matrix Program) 120 วัน หรือ หลักสูตรการบําบัดในชุชมชน และสถานศึกษา 16ครั้ง3. ติดตามเยี่ยมหลังการบําบัดครบโปรแกรม 7 ครั้งใน 1 ป ของเสพหรือผูติดยาเสพติดในระบบสมัครใจ

(สวนผูเสพหรือผูติดยาเสพติดในระบบบังคับบําบัดนั้น สนง.คุมประพฤติและฝายปกครองสวนทองถ่ินจะติดตามเอง)4. เขารวมเปนวิทยากร คายขวัญแผนดิน รวมกับฝายปกครอง และคายบําบัดฟนฟูสมรรถภาพผูติดยาเสพติดอ่ืนๆ5. การบําบัดรักษาฟนฟูสมรรถภาพผูเสพ/ติดยาเสพติด เชิงรุกในสถานศึกษา และสถานประกอบการ6. จัดตั้งศูนยคัดกรองในโรงพยาบาล และเปดบริการ 24 ชั่วโมง7. จัดทําโครงการทักษะชีวิตในสถานศึกษา/สถานประกอบการ ในเขต อําเภอเมืองหนองคาย8. พัฒนาระบบรายงาน บสต.ใหม ใหเชื่อมตอกับหนวยงานท่ีเก่ียวของไดอยางมีประสิทธิภาพ

อุปสรรคและปญหาในการดําเนินงานสุขภาพจิตและยาเสพติด1.ดานบุคลากร

1.1 บุคลากรใน รพ.เฝาไร ยังไมไดรับการอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง (PG จิตเวช)แนวทางแกไข

- ผูบริหารควรใหความสําคัญและสงบุคลากรเขารับการอบรมหลักสูตร PG จิตเวชตามท่ีกรมกําหนด1.2 บุคลากรใน รพ.หนองคาย/รพ.โพธิ์ตาก/รพ.รัตนวาป/รพ.เฝาไร ยังไมไดรับการอบรมหลักสูตรเฉพาะ

ทาง (PG ยาเสพติด)แนวทางแกไข

- ผูบริหารควรใหความสําคัญและสงบุคลากรเขารับการอบรมหลักสูตร PG ยาเสพติดตามท่ีกรมกําหนด

1.3 แพทยท่ีไดรับอนุมัติบัตรวิชาชีพสาขาเวชศาสตรปองกันแขนงสุขภาพจิตชุมชนยังไมครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี

Page 66: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 58

แนวทางแกไข- จัดใหมีการอบรมทักษะความรูดานการวินิจฉัยโรคทางจิตเวชไดตามบริบทของ รพ. และสามารถให

การรักษาเบื้องตนแบบผูปวยนอกใหแกผูปวยได

2.ดานระบบบริการ2.1 ผูปวยในบางพ้ืนท่ียังไมเขาถึงบริการโรคซึมเศราทําใหผลการดําเนินงานยังไมผานตัวชี้วัดตามกระทรวง

กําหนดแนวทางแกไข

- เพ่ิมการคัดกรองคนผูปวยในชุมชนแบบเชิงรุกใน 5 กลุมเปาหมายหลัก (ผูพิการ ผูสูงอายุ ผูปวยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ และหญิงหลังคลอด)อ่ืนๆ

2.2 ญาติผูปวยไมใหความรวมมือในการสงผูปวยใหมารับบริการอยางตอเนื่องแนวทางแกไข

- บุคลากรเจาหนาท่ีควรใหความรูและสรางความตระหนักใหกับญาติคนปวยเขาใจแนวทางการรักษาโรคซึมเศราและโรคจิตเวช

3.ระบบฐานขอมูล- ในการบันทึกและดึงขอมูลการใชบริการซึมเศราในระบบ Hosxpยังมีปญหาในการนําขอมูลมา

วิเคราะหเพราะขอมูลจากพ้ืนท่ีและขอมูลของจังหวัดไมตรงกัน- การลงขอมูล บสต. ระบบใหมยังมีปญหาเรื่องการเชื่อมตอระหวางหนวยงานท่ีเก่ียวของ

ขอเสนอแนะ1. พัฒนาระบบการสงตอรวมกับเครือขาย ใหไดขอมูลท่ีครบถวน รวดเร็วถูกตองและเปนปจจุบัน2. การสนับสนุนโครงการท่ีชุมชนเขามามีสวนในการดําเนินสุขภาพจิตโดยชุมชน เพ่ือชุมชน เพ่ือใหเกิดความยั่งยืน3. การชี้แจงตัวชี้วัด/KPI/Service plan/ถึงผูปฏิบัติใหชัดเจน4. ควรมีการศึกษาดูงานดานสุขภาพจิตและจิตเวชท่ีสามารถนําไปใชปฏิบัติไดจริง5. ควรจัดใหมียาท่ีสําคัญและใชบอยใน รพ.ทุกแหง เชน

HaloperidolDiazepamFloxetineFluphenazineTrihexyphenidyl ฯลฯ

แนวทางการดําเนินงานสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด จังหวัดหนองคายปงบประมาณ 2560ระดับจังหวัด

1. รวมประชุมชี้แจงคณะกรรมการงานสุขภาพจิตจังหวัดหนองคายปละ 2 ครั้ง2. รวมกับ สสจ. และโรงพยาบาลจิตเวชเลยราชนครินทรทบทวนระบบการสงตอ ในการดูแลรักษาผูปวยจิต

เวชฉุกเฉินใหเปนมาตรฐานเดียวกัน3. ขับเคลื่อน พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 ระดับจังหวัดใหเปนรูปธรรม4. จัดทําฐานขอมูลเฝาระวังผูพยายามฆาตัวตายท้ังสําเร็จ และไมสําเร็จ ในภาพรวมจังหวัดเพ่ือติดตามกํากับ5. รวมกํากับติดตามการใช Top Model ในการสรางสุขในชุมชนในพ้ืนท่ีตนแบบ อําเภอละ 1 ตําบล6. วิเคราะหสถานการณการเขาถึงบริการโรคซึมเศรา โรคจิต และผูพยายามฆาตัวตาย เปนรายไตรมาส และ

คืนขอมูลใหพ้ืนท่ี7. รวมกับพ้ืนท่ีในการสอบสวนในกรณีมีการฆาตัวตายสําเร็จ8. รวมดําเนินงานในโครงการการดูแลผูปวยจิตเวชเรื้อรัง ในฐานะ โรงพยาบาลพ่ีเลี้ยง( โรงพยาบาลหนองคาย)

Page 67: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 59

ระดับอําเภอ1. จัดทําฐานขอมูลผูปวยโรคซึมเศรา ผูพยายามฆาตัวตายท้ังสําเร็จและไมสําเร็จ และลงรายงานในโปรแกรม

รง. 506 S , ผูปวยโรคจิต ท้ังผูใหญ และจิตเวชเด็ก และ ผูปวย พรบ.สุขภาพจิต2. รวมการนํากระบวนการ Top Model มาใชในการสรางสุขในชุมชนพ้ืนท่ีตนแบบ อําเภอละ 1 ตําบล3. เตรียมความพรอมชุมชนในการดูแลผูปวยจิตเวชท่ีสงกลับพ้ืนท่ีใหไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง ตามแนวทาง

กองทุนจิตเวชเรื้อรัง (งบสนับสนุนจาก สปสช. ป 2560 แกโรงพยาบาลประจํา และโรงพยาบาลพ่ีเลี้ยง)4. ผูรับผิดชอบงานสุขภาพจิตและจิตเวชท่ีเปนขาราชการใน รพท. รพช.และ รพสต. ทุกแหง ใหสมัครเปน

พนักงานเจาหนาท่ีตาม พรบ.สุขภาพจิต ป 25515. ในอําเภอท่ีการเขาถึงโรคซึมเศราต่ํากวาคาเปาหมาย ใหเรงรัดดําเนินการ Thabo Model เพ่ือใหไดผล

การดําเนินงานผานเกณฑตามเปาหมาย6. เขารวมโครงการเตรียมความพรอมผูบําบัด ผูเสพ และผูติดเหลา ดวยสติบําบัด โดย สสส.

ผูรายงาน1. แพทยหญิงมนฤดี วงคจิตรัตน หัวหนากลุมงานจิตเวช2. นางเกศินี เชื้อสะอาด พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ

Page 68: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 60

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา 3 สาขาหลัก

สาขาสูติกรรม5. หัวขอการตรวจราชการ

1.1 การถายทอดนโยบายและการขับเคลื่อนงาน1.2 การจัดการระบบขอมูลและการเฝาระวัง1.3 พัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ1.4 สรางเครือขายการดูแลรักษา

ตัวช้ีวัด 1) รอยละของผูปวยท่ีไดรับการผาตัดคลอดใน รพ.M2= 25%2) อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด=0

6. ขอมูลแสดงผลการดําเนินงาน2.1 แสดงขอมูลเชิงปริมาณ

ลําดับ ตัวช้ีวัด รายการขอมูล

รพ.หน

องคา

ย(S)

รพร.ท

บอ(M

2)

รพ.โพ

นพิสัย

(M2)

รพ.สัง

คม(F2

)

รพ.ศรี

เชียงให

ม(F2)

รพ.สร

ะใคร(F

3)

รพ.เฝ

าไร(F3

)

รพ.รัต

นวาป

(F3)

รพ.โพ

ธตาก

(F3)

ภาพรวมจังหวัด

(ขอมูล ณวันรับตรวจ)

19 ม.ิย. 2560

ภาพรวมจังหวัด

- รอบ 2 ณไตรมาส 2(ขอมูล ต.ค.

59 – ม.ีค..60)1 รอยละของผูปวย

ท่ีไดรับการผาตัดคลอดใน รพ.M2=25%

เปาหมาย 1,515 1,515 1,515 0 0 0 0 0 0 912 912ผลงาน 912 398 205 0 0 0 0 0 0 603 603

รอยละ 60.19 26.27 13.53 0 0 0 0 0 0 66.12 66.12

2. อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด=0

เปาหมาย 10 19 16 0 0 0 0 0 0 45 45ผลงาน 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0รอยละ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

2.2 แสดงขอมูลเชิงคุณภาพ (การวิเคราะห /สังเคราะห ขอมูลเชิงลึกตามประเด็นและกรอบแนวทางการตรวจราชการ)กิจกรรมการดําเนินงาน

1. MCH Board2. เพ่ิมสมรรถนะการดูแลผูปวยภาวะวิกฤตทางสูติกรรมท่ีสําคัญและจําเปน3. พัฒนาการเฝาระวังภาวะทารกแรกเกิดน้ําหนักนอย/ดูแลภาวะคลอดกอนกําหนด/4. พัฒนาการเฝาระวังเพ่ือลดอุบัติการณรุนแรงจากการตกเลือดหลังคลอด5. พัฒนาการดูแลภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ (ภาวะซีดกอนคลอดเปนปจจัยสงเสริมท่ีทําใหความรุนแรงของ

การตกเลือดเพ่ิมข้ึน)6. จัดทําแนวทางและอบรมเรื่องภาวะซีดในหญิงตั้งครรภแกบุคลากรทางการแพทย ในเครือขาย7. โครงการเสริมสรางความสามารถการดูแลสุขภาพของมารดาวัยรุนและครอบครัวเพ่ือแกปญหาทารก

น้ําหนักนอย8. การพัฒนาระบบการใหขอมูลขาวสารแกผูปวยและญาติ

Page 69: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 61

3. ความสําเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซ่ึงไดจากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห สังเคราะห จากการตรวจติดตาม

1. การทํางานเปนทีม ชวยเหลือกันแบบพ่ีนอง2. การติดตามประเมินผลงานและการสงกลับขอมูล3. ไมพบมารดาเสียชีวิตจากภาวะตกเลือดหลังคลอด มีใชถุงตวงเลือดเพ่ือประเมินภาวะตกเลือด มี CPG ท่ีใช

รวมกันท้ังจังหวัด นําไปสูการใหรักษาอยางทันทวงที

4. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดําเนินการตอ

-ระบบการดูแลรักษาและการสงตอ• สูติแพทยไมเพียงพอในรพช.โพนพิสัยลาไปศึกษาตอ• หัตถการท่ีมีความยุงยากยังจําเปนตองสงผูปวยไปรักษาตอ (รพท.หนองคาย)ท่ีมีศักยภาพดานบุคลากรและเครื่องมือเชนเดิม

- จัดการระบบการดูแลภายในจังหวัดโดยผาน MCH Board- เพ่ิมพูนสมรรถนะแพทย/พยาบาลรพช.ในการดูแลผูคลอดกรณีฉุกเฉินทางสูติศาสตร- พัฒนาระบบการสงตอใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนโดยเฉพาะระบบ Fast tract- ทบทวนอุบัติการณPPHท้ังในระดับรพ.และระดับจังหวัดอยางตอเนื่อง- พัฒนา Competency พยาบาลLR/การอบรมหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทางสูติศาสตร 4 เดือน

- ระบบการดูแลรักษาและการสงตอเชื่อมโยงกันท้ังเขตสุขภาพ- ใหขอมูลจัดทําแผนจัดสรรแพทยประจําบาน ระดับเขตฯ- การจัดหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทางสูติศาสตร เสนอผานสํานักงานเขตสุขภาพและกรมการแพทย

5. ขอเสนอแนะตอนโยบาย /ตอสวนกลาง/ตอผูบริหาร/ตอระเบียบ กฎหมาย1.การจัดหลักสูตรพยาบาลเฉพาะทางสูติศาสตร 4 เดือน มีสถาบันท่ีเปดหลักสูตรเพียงพอ2.การจัดทําแผนจัดสรรแพทยประจําบาน ระดับเขตฯ/จังหวัด ท่ีสอดคลองกับความจําเปนตามบริบทในพ้ืนท่ี

ผูรายงาน นางสาวปรานตศศิ อินทรวิเชียรตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 085-4651515e-mail : [email protected]

Page 70: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 62

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา 3 สาขาหลัก

หัวขอ : กุมารเวชกรรม7. หัวขอการตรวจราชการ

1.1 การถายทอดนโยบายและการขับเคลื่อนงาน1.2 การจัดการระบบขอมูลและการเฝาระวัง1.3 พัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ1.4 สรางเครือขายการดูแลรักษาตัวช้ีวัด อัตราปวยตายโรคปอดบวมในเด็ก 1ด.–5 ปบริบูรณลดลง 10 %

8. ขอมูลแสดงผลการดําเนินงาน8.1 แสดงขอมูลเชิงปริมาณ

ลําดับ ตัวชี้วัด รายการขอมูล

รพ.หน

องคา

ย(S)

รพร.ท

บอ(M

2)

รพ.โพ

นพิสัย

(M2)

รพ.สัง

คม(F2

)

รพ.ศรี

เชียงให

ม(F2)

รพ.สร

ะใคร(F

3)

รพ.เฝ

าไร(F3

)

รพ.รัต

นวาป

(F3)

รพ.โพ

ธตาก

(F3) ภาพรวม

จังหวัด(ขอมูล ณ

วันรับตรวจ)19 มิ.ย. 2560

ภาพรวมจังหวัด- รอบ 2 ณ ไตร

มาส 2(ขอมูล ต.ค.

59–มี.ค..60)

1 อัตราปวยตายโรคปอดบวมในเด็ก1ด.–5ปบริบูรณลดลง 10 %

เปาหมาย 78 74 37 10 4 13 17 0 0 233 233ผลงาน 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

2.2 แสดงขอมูลเชิงคุณภาพ (การวิเคราะห /สังเคราะห ขอมูลเชิงลึกตามประเด็นและกรอบแนวทางการตรวจราชการ)1. มีการแตงตั้งคณะกรรมการระดับจังหวัดเพ่ือสงเสริมและสนับสนุนใหมีการดําเนินงานตามนโยบายอยางมี

ประสิทธิภาพ2. จัดทําแนวทางปฏิบัติเม่ือเกิด Early Warning Sign3. ทบทวนเหตุการณสําคัญ กําหนดแนวทางแกไขปญหารวมกันระหวางผูเก่ียวของ/แพทยใชทุนท่ีER/รพช.4. จัดประชุมวิชาการฟนฟูความรู ทักษะเรื่องการชวยฟนคืนชีพในเด็กทุกป 100 %5. เตรียมอุปกรณชวยฟนคืนชีพใหพรอมใชทุกเวร 100 % (เม่ือ CPR ใหใชเกณฑ MRRT ทุกครั้ง ในการ

เรียกทีมมาชวย)6. สื่อสารแผนการดําเนินการสูเครือขาย7. พัฒนาแนวทางการดูแลผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ (ARIC) การนําสูการปฏิบัติไดแก8. ระบบการคัดกรองและการดูแลผูปวย (กอน-ขณะ-หลังการรักษาในโรงพยาบาล)9. ระบบการปรึกษาและสงตอ (Consult/refer/LTC)

3. ความสําเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซ่ึงไดจากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห สังเคราะห จากการตรวจติดตาม

1. บูรณาการการทํางานรวมกับ MCH Board2. ใหนโยบายการสนับสนนุการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดูแลผูปวย/การปรึกษาและสงตอ (Consult/refer/LTC)

Page 71: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 63

4. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดําเนินการตอ

ดานผูปวย-ผูปวยโรคเรื้อรังท่ีมีปญหาระบบทางเดินหายใจไดแก BPD. Birthasphyxia ผูปวยคลอดกอนกําหนด มีปญหาพัฒนาการลาชา-พยาธิสภาพของโรคปอดมีการติดเชื้อท่ีรุนแรง ทําใหมีระบบทางเดินหายใจลมเหลวดานบุคลากร-ทักษะในการดูแลผูปวย-การดูแลผูปวยวิกฤต โรคปอด-การใชเครื่องมือพิเศษ เชน HFOVventilatorระบบบริการ-ระบบการสงตอท่ีมีประสิทธิภาพ

-พัฒนาระบบการดูแลผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ

•มีระบบประสานงานและสามารถConsult case ท่ีมีปญหากอนการAdmitted ท้ังใน รพ.และจาก รพช.

•จัดหาอุปกรณท่ีเหมาะสมตอการดูแลและเตรียมเครื่องมือใหพรอมใช

•ปฏิบัติตามแนวทางการดูแลผูปวยภาวะวิกฤต-จัดอบรมใหความรูเรื่องโรคระบบทางเดินหายใจและCPG ใหกับเจาหนาท่ีในหนวยงาน

•ตระหนักถึงหลัก IC:เทคนิคการsuction, การเฝาระวังการติดเชื้อ-พัฒนาสมรรถนะการใชเครื่องมือแพทย (พยาบาลท่ีมีความชํานาญสอนพยาบาลท่ีเขาทํางานใหม)

•พ่ีสอนนอง•เชิญวิทยากรของบริษัทเครื่องมือ

แพทยสาธิตวิธีใช-ทําแผนจัดสงบุคลากรไปอบรมเฉพาะทางดานการพยาบาลChest nurse

-ประสานเครือขายกุมารฯ/CPGตางๆระดับเขต/ระดับประเทศ-ระบบขอมูล-ระบบเครือขาย

5.ขอเสนอแนะตอนโยบาย /ตอสวนกลาง /ตอผูบริหาร / ตอระเบียบ กฎหมาย1.การบริหารจัดการเครื่องมือ/อุปกรณโดยการสนับสนุนงบประมาณในจังหวัดและการสนับสนุนงบประมาณ

สําหรับการจัดอบรมใหความรูเจาหนาท่ีรพช.และการลงนิเทศติดตามผลงาน

ผูรายงาน นางสาวปรานตศศิ อินทรวิเชียรตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 085-4651515e-mail : [email protected]

Page 72: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 64

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา 3 สาขาหลัก

หัวขอ : ออรโธปดิกส

1.หัวขอการตรวจราชการ1.1 การถายทอดนโยบายและการขับเคลื่อนงาน1.2 การจัดการระบบขอมูลและการเฝาระวัง1.3 พัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ1.4 สรางเครือขายการดูแลรักษา

ตัวช้ีวัด รอยละของการดูแลรักษาผูปวยท่ีมีกระดูกหักไมซับซอนใน รพ.M2ลงไป 70 %2.ขอมูลแสดงผลการดําเนินงาน

2.1 แสดงขอมูลเชิงปริมาณ

ลําดับ ตัวชี้วัด รายการขอมูล

รพ.หน

องคา

ย(S)

รพร.ท

บอ(M

2)

รพ.โพ

นพิสัย

(M2)

รพ.สัง

คม(F2

)

รพ.ศรี

เชียงให

ม(F2)

รพ.สร

ะใคร(F

3)

รพ.เฝ

าไร(F3

)

รพ.รัต

นวาป

(F3)

รพ.โพ

ธตาก

(F3) ภาพรวม

จังหวัด(ขอมูล ณ

วันรับตรวจ)19 ม.ิย. 2560

ภาพรวมจังหวัด- รอบ 2 ณ ไตร

มาส 2(ขอมูล ต.ค.

59–ม.ีค..60)

1. รอยละของการดูแลรักษาผูปวยท่ีมีกระดูกหักไมซับซอนใน รพ.M2ลงไป 70%

เปาหมาย 493 296 127 43 38 15 47 31 0 597 597ผลงาน 493 209 87 37 33 12 37 23 0 438 438รอยละ 100 70.61 68.50 86.05 86.84 80 57.45 74.19 0 73.37 73.37

2.2 แสดงขอมูลเชิงคุณภาพ(การวิเคราะห /สังเคราะห ขอมูลเชิงลึกตามประเด็นและกรอบแนวทางการตรวจราชการ)

1. แตงตั้งคณะกรรมการ Service Plan สาขาออรโธปดิกส2. อบรมฟนฟูความรูและทักษะการดูแลผูปวยโรคทางศัลยกรรมกระดูกและขอ

-ทีมพ่ีเลี้ยงลงพ้ืนท่ีใน รพ. Node-ทีมงานจาก node มาเรียนรูท่ี รพท.หนองคาย

3. จัดประชุมสัญจรอบรมเชิงปฏิบัติการกลุมเปาหมายคือรพ.ในโซนตามท่ีกําหนดและโรงพยาบาลท่ีอยูในเขตใกลเคียง เพ่ือใหมีบุคลากรมีสมรรถนะในการดูแลผูปวยออรโธปดิกส

4. มีระบบทบทวนภาวะวิกฤติรวมกับเครือขายเชนปองกันการเกิดภาวะHypovolemic shock โดยความรวมมือกันตั้งแตรพช/ER และ Ward ในการเฝาระวังและปฏิบัติตามมาตรฐานการดูแล

5.นิเทศงานในรพ.ท่ีอยูในโซน โดยสนับสนุนทรัพยากรคน/งบประมาณในรูปแบบของพ่ีนอง

Page 73: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 65

3. ความสําเร็จ (Key Risk Area/ Key Risk Factor) ซ่ึงไดจากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห สังเคราะห จากการตรวจติดตาม

1. ขอตกลงให รพช. ลงรหัสโรค ในผูปวย refer2. การประสานงานในระดับภาพรวมเพ่ือขับเคลื่อนแผนการ ปฏิบัติงาน3. ความพรอมของโรงพยาบาลระดับ M2 ลงไป เชนสถานท่ี/บุคลากร/การกํากับดูแล4. แพทยเพ่ิมพูนทักษะผานการฝกหัตถการ/มีระบบ consult/เครือขาย consult กอนออกชุมชน

4. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดําเนินการตอ

-ระบบขอมูล-ระบบการสงตอ-การเฝาระวังภาวะแทรกซอน

-รพช.ไมลงรหัสโรค ในผูปวย refer-พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลลูกขาย(ท่ีรพช.โพนพิสัย) โดยจัดประชุมวิชาการและเพ่ิมพูนทักษะ/CPGการดูแลรักษาผูปวยและแนวทางการสงตอผูปวย/เปนแพทยพ่ีเลี้ยงใหแกรพ.ลูกขาย- ใชหลักSEAMLESS ในการดูแลผูปวยท้ังใน/นอกรพ.เนนพัฒนาศักยภาพของรพ.ลูกขาย 3 step ในการบริหารจัดการ-สํารวจปญหาและอุปสรรค ในการดูแลรักษาผูปวยโรคทางศัลยกรรมกระดูกและขอ รวมถึงการ Refer in& Refer out-ติดตามและประเมินผล จากรอยละRefer in และรอยละการปฏิบัติตามCPG-เก็บรวบรวม/วิเคราะหขอมูลในระดับรพช.และระดับจังหวัด-ระบบเฝาระวังภาวะแทรกซอนเกิดข้ึน-ทบทวนระบบ refer in/referback และการดูแลตอเนื่อง

-ประสานเครือขายออรโธปดิกส/CPGตางๆระดับเขต/ระดับประเทศ

ผูรายงาน นางสาวปรานตศศิ อินทรวิเชียรตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 085-4651515e-mail : [email protected]

Page 74: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 66

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขา 3 สาขาหลัก

หัวขอ : อายุรกรรม (Sepsis/Septic shock)

ประเด็นการตรวจราชการ: ลดอัตราตายจาก Sepsis / Septic shock< 30%วัตถุประสงค/เปาหมาย

1. ผูปวยไดรับการเขาถึงบริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาอยางเหมาะสม รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ2. ลดอัตราตายจาก Sepsis / Septic shock3. ลดการสงตอนอกเขต (Regional Refer Out)

ตัวช้ีวัด 1อัตราตายจาก Sepsis / Septic shock< 30%1. รายละเอียดขอมูลพื้นฐานขอมูลโรงพยาบาลหนองคาย

อันดับโรคท่ีเกิด sepsis รพ.หนองคายป 2559No. รหัสโรค ชื่อโรค จํานวน1 A419 Septicaemia, unspecified (Septic Shock) 822 A415 Septicaemia due to other Gram-negative organisms 723 N390 Urinary tract infection, site not specified 584 J189 Pneumonia, unspecified 305 A418 Other specified septicaemia 266 A411 Septicaemia due to other specified staphylococcus 147 N10 Acute tubulo-interstitial nephritis 138 A408 Other streptococcal septicaemia 129 K650 Acute peritonitis 1110 M0096 Pyogenic arthritis, unspecified 1111 A410 Septicaemia due to Staphylococcus aureus 1012 J150 Pneumonia due to Klebsiella pneumoniae 1013 J151 Pneumonia due to Pseudomonas 1014 J159 Bacterial penumonia, unspeicfied 10

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ2558 2559 2560(9ด)

1.ผูปวยSepsisท้ังหมด 475(100) 614(100) 360(100)- Sepsis 388(81.70) 436(71.00) 299(83.05)- Severe sepsis 2(0.40) 3(28.50) 2(0.55)- Septic shock 85(17.90) 175(28.50) 59(16.38)

2.ผูปวย sepsis ท่ีเสียชีวิตในรพ.ท้ังหมด 65(13.70) 74(12.05) 46(12.77)- Sepsis 41(10.50) 35(8.03) 28(9.36)- Severe sepsis < 30% 1(50.00) 1(33.33) 0- Septic shock < 30% 23(27.10) 38(21.71) 18(30.50)

3.ผูปวย sepsis ท่ี ไมสมัครอยู 80(16.80) 108(17.59) 57(15.83)4.อัตราตายSevere Sepsis / Septic shock < 30% 24(27.58) 39(21.91) 18(29.50)5.ผูปวย Severe Sepsis / Septic shock ท่ีไดเขา ICU 94(19.80) 117(19.05) 57(15.83)

Page 75: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 67

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด เปาหมาย ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ2558 2559 2560(9ด)

6. ผูปวย Sepsis ท่ีรอดชีวิต > 80% 330(69.50) 432(70.36) 257(71.38)7. ผูปวย Sepsis ท่ี refer in < 30% 143(30.10) 217(35.34) 113(31.38)8.ผูปวย sepsis ท่ี refer out ท้ังหมด < 30% 6(1.26) 15(2.44) 9(2.50)9.ผูปวย sepsis ท่ี refer out นอกเขต < 30% 2(0.42) 2(0.32) 3(0.83)10.ผูปวย sepsis ท่ี refer back 2(0.42) 31(5.05) 4(1.11)

2. ผลการดําเนินงานปงบประมาณ 2560 (9 เดือน : ตุลาคม 2559 - มิถุนายน 2560)2.1 Model

2.2 KPI แสดงผลงาน 3 ปยอนหลัง (2558-2560) เปรียบเทียบผลงานเขตประเทศ

Page 76: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 68

2.3 GAP7 building block รพท.หนองคาย(S,M1) รพช.(M2) รพ.สต.(F) GAP แผนงาน ฯเพ่ือปด

GAP1.ระบบบริการService delivery

-จัดระบบบรกิารชองทางดวนผูปวย Sepsis (Fast TrackSepsis ระดับ S = 1, ระดับM2= 2, F = 6)-ใหการรกัษา SepsisตามCPG-รับสงตอในเขตบริการตามแนวทางปฏิบัติ- ใหการผาตดัเบ้ืองตนAppendicitis ,Debridementและหัตถการที่สูงกวาระดับM2-ER :resuscitation zone- ward :Sepsis Zone-Intensive Care Unit-refer back เมื่อพนวิกฤติ

-จัดระบบบรกิารชองทางดวนผูปวยSepsis (Fast TrackSepsis)(M1&M2)-ใหการรกัษา Sepsisตาม CPG- Node เครือขายSepsis (ระดับ M1M2)-ใหการผาตัดเบ้ืองตนAppendicitis ,Debridement

-จัดระบบบรกิารชองทางดวนผูปวยSepsis (FastTrack Sepsis)-ใหการรกัษาSepsisตาม CPG- สงตอผูปวย Sepsisไป รพ.แมขาย-Node เครอืขายSepsis

-Sepsis Fast Track-ระบบคัดกรองและการวินิจฉัยเบ้ืองตน-ระบบ refer-จํานวน node M1,M2 ที่มีศักยภาพสามารถดแูลรักษา sepsis(มี ICU) ควรมี 2 มีแลว 1 (ทาบอ) ตองเพ่ิม 1 (โพนพิสัย)

- ประชาสมัพันธรณรงค แกประชาชนทัวไป และกลุมเสี่ยง-จัดระบบบรกิารชองทางดวนผูปวยSepsis (Fast TrackSepsis)-สื่อสารการใช CPGใหครอบคลุมตั้งแตรพ.สต., รพช., med,Sx., เด็ก-มีระบบการคัดกรองและการวนิิจฉัยเบ้ืองตน- สงตอผูปวย Sepsisไป รพช.-ขยายบริการ ICU(โพนพิสัย)

2.กําลังคนดานสุขภาพHealthworkforce

1.เพ่ิมแพทยเฉพาะทาง- EP- General med-General surgeon2. Sepsis manager nurse3.อบรมใหความรูแพทยพยาบาลเรื่องโรคติดเชื้อที่พบบอยในชุมชน แนวการดแูลรักษา Sepsis &หลักการวินิจฉัย Sepsis และการบันทกึเวชระเบียน4.อบรมการพยาบาลผูปวยวิกฤต

1.เพ่ิมแพทยเฉพาะทาง- General med-General surgeon2. Sepsis managernurse3.พัฒนาศักยภาพ เปนNode เครอืขาย4.อบรมใหความรูแพทย พยาบาล การดูแลรกัษา Sepsis

-อบรมใหความรูแพทย พยาบาลการดูแลรกัษา Sepsis

-จํานวน General med-จํานวน Generalsurgeon-จํานวนพยาบาลวิกฤติ

-1.เพ่ิมแพทยเฉพาะทาง- General med-General surgeon2. Sepsis managernurse3.พัฒนาศักยภาพ เปนNode เครอืขาย4.อบรมการคัดกรองผูปวย โดยใช SOSscore

3.ขอมูลขาวสารInformationsystem

1.พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยSepsis การสรุปบันทกึเวชระเบียน2.รายงานขอมูลผูปวย Sepsisตามตัวชี้วดัไปยังเขตฯ

-พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวย Sepsis การสรุปบันทึกเวชระเบียน-รายงานขอมูลผูปวยSepsis ตามตัวชีว้ัดทกุ3 เดือน

-พัฒนาระบบฐานขอมูลผูปวยSepsis การสรุปบันทึกเวชระเบียน-รายงานขอมูลผูปวยSepsis ตามตัวชีว้ัดทุก 3 เดือน

-การรายงานขอมูลผูปวยSepsis ตามตัวชีว้ัดครบถวน ทนัเวลา-การสรุปบันทกึเวชระเบียน ฐานขอมูลsepsis

-พัฒนาระบบการจัดเก็บขอมลู,feedback ขอมูล,การรายงาน จัดใหมี datacenter establish-พัฒนาระบบการสรุปบันทึกเวชระเบียนฐานขอมูล sepsis

4.เทคโนโลยีทางการแพทยDrug &Equipment

1.เครื่อง Automate, ขวดHemoculture และเพ่ิมเครื่องตรวจ Blood lactate,ABG2. เพ่ิม ATB Item

Ceftazidime iv.Levofloxacin iv

3.ยา Vasopressor(norepinephrine)Levophed4. Lab: Blood lactate strip5. Pressure controlventilator :Oxylog 3000plus/Halminton C2

1. อุปกรณ Cutdown/Central line2. มี ขวดHemoculture ในNode โรงพยาบาลเครือขาย3. เพ่ิม ATB Item.-.ยาVasopressor(norepinephrine)Levophed4. Lab: Bloodlactate strip5.ventilator

1. อุปกรณCutdown2.มีขวดHemoculture เจาะสงรพ.แมขาย3.เพ่ิม ATB Item-.ยาVasopressor(norepinephrine)Levophed4. Lab: Bloodlactate strip

1.เครื่อง Automate,ขวด Hemoculture และเพ่ิมเครื่องตรวจ Bloodlactate, ABG2. Lab: Blood lactatestrip3. Pressure controlventilator :Oxylog3000 plus/HalmintonC2

-พัฒนาระบบจัดการคาใชจายในการสงตรวจ Lab-พัฒนาระบบจัดซ้ือรวม/สอบราคาculture screening(การใชขวด H/C แบบเดียวกนัทั้งจังหวัด)-นโยบายการตรวจbiochemistry bloodlactate ในเลือกใชใหเหมาะสมกับ case-เพ่ิมศักยภาพ M1,M2(Blood lactate,ventilator)

Page 77: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 69

7 building block รพท.หนองคาย(S,M1) รพช.(M2) รพ.สต.(F) GAP แผนงาน ฯเพ่ือปดGAP

5.คาใชจายดานสุขภาพFinancing

UC UC UC UC UC

6.ภาวะผูนําและธรรมาภิบาลLeadership &Governance

คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการโรคติดเชื้อ(Sepsis)ระดับจังหวัดดําเนนิงานและนิเทศติดตามความกาวหนา

คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการโรคติดเชือ้(Sepsis) ระดับจังหวดัดําเนนิงานและนเิทศติดตามความกาวหนา

คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการโรคตดิเชื้อ(Sepsis)ระดับคปสอ.ดําเนนิงานและนเิทศติดตามความกาวหนา

คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการโรคติดเชือ้(Sepsis) ระดับคปสอ.ดําเนนิงานและนเิทศติดตามความกาวหนา

คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการโรคติดเชื้อ(Sepsis)ระดับคปสอ.ดําเนนิงานและนเิทศติดตามความกาวหนา

7.การมีสวนรวมของชุมชนCommunity ofother StakeholderParticipation

ผูนําชุมชน อสม. รพสต.องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ผูนําชุมชนอสม. รพสต.องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ผูนําชุมชน อสม. รพสต.องคกรปกครองสวนทองถิน่

ผูนําชุมชน อสม. รพสต.องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ผูนําชุมชน อสม.องคกรปกครองสวนทองถิ่น

2.4 Process (ต.ค.59-มิ.ย.60)

ลําดับ

ตัวช้ีวัด รายการขอมูล

รพ.หน

องคา

ย(S)

รพ.โพ

นพิสัย

(M2)

รพร.ท

าบอ(M

2)

รพ.ศรี

เชียงให

ม(F2)

รพ.สัง

คม(F2

)

รพ.รัต

นวาป

(F3)

รพ.เฝ

าไร(F3

)

รพ.สร

ะใคร(F

3)

รพ.โพ

ธิ์ตาก

(F3)

รวม

1 ผูปวย sepsis ทั้งหมด 360 347 420 47 33 41 54 21 46 13692 Fluid resuscitate (%) ผลงาน 42/57 340 115 47 33 41 54 18 46 736/751

เปาหมาย> 80% รอยละ 73.68 97.98 100 100 100 100 100 85.71 100 98.003 ATB within 1 hr. (%) ผลงาน 354 347 418 47 33 41 50 18 46 1354

เปาหมาย> 80% รอยละ 98.33 10099.5

2 100 100 100 92.59 85.71 100 98.904 H/C กอนให ATB(%) ผลงาน 284 347 420 47 32 40 50 18 46 1284

เปาหมาย> 80% รอยละ 78.88 100 100 100 96.96 97.56 92.59 85.71 100 93.79

2.5 Output Outcome (แยกผลงานเปนรายอําเภอ)ต.ค.59-มิ.ย.60ลําดับ

ตัวช้ีวัดรายการขอมูล

รพ.หน

องคา

ย(S)

รพ.โพ

นพิสัย

(M2)

รพร.ท

าบอ(

M2)

รพ.ศรี

เชียงให

ม(F2

)

รพ.สัง

คม(F2

)

รพ.รัต

นวาป

(F3)

รพ.เฝ

าไร(F3

)

รพ.สร

ะใคร(F

3)

รพ.โพ

ธิ์ตาก

(F3)

รวม

1 ผูปวย sepsis ทั้งหมด 360 347 420 47 33 41 54 21 46 1369-Sepsis ผลงาน 299 265 305 42 24 25 44 14 46 1064

รอยละ 83.05 76.36 72.62 89.36 72.72 60.97 81.48 66.66 100 77.72-Severe sepsis ผลงาน 2 36 21 0 0 11 6 0 0 76

รอยละ 0.55 10.37 5.00 26.83 11.11 5.55-Septic shock ผลงาน 59 46 94 5 9 5 4 7 0 229

รอยละ 16.38 13.25 22.38 10.63 27.27 12.19 7.40 33.33 16.722 sepsis ที่ deadทั้งหมด ผลงาน 46 0 66 0 1 1 0 0 0 89

รอยละ 12.77 15.71 3.03 2.44 6.50-Sepsis ผลงาน 28 0 41 0 0 0 0 0 0 44

รอยละ 9.36 13.44 4.13-Severe sepsis ผลงาน 0 0 1 0 0 1 0 0 0 2

รอยละ 4.76 9.09 2.63-Septic shock ผลงาน 18 0 24 0 1 0 0 0 0 43

รอยละ 30.50 25.53 11.11 18.77

Page 78: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 70

ลําดับ

ตัวช้ีวัดรายการขอมูล

รพ.หน

องคา

ย(S)

รพ.โพ

นพิสัย

(M2)

รพร.ท

าบอ(

M2)

รพ.ศรี

เชียงให

ม(F2

)

รพ.สัง

คม(F2

)

รพ.รัต

นวาป

(F3)

รพ.เฝ

าไร(F3

)

รพ.สร

ะใคร(F

3)

รพ.โพ

ธิ์ตาก

(F3)

รวม

3 sepsis ที่รอดชีวติ ผลงาน 257 297 343 47 32 40 54 21 46 1137ทั้งหมด รอยละ 71.38 85.59 81.66 100 96.96 97.56 100 100 100 83.05

4 sepsis ที่ refer ผลงาน 9 50 7 0 24 39 22 7 46 204ทั้งหมด รอยละ 2.50 14.41 1.66 100 95.12 40.74 33.33 100 14.90

5 sepsis ที่ไมสมัครอยู ผลงาน 57 0 42 0 0 0 0 0 0 99รอยละ 15.83 10.00 7.23

6 sepsis ที่เขา ICU ผลงาน 57 0 7 0 0 0 0 0 0 64รอยละ 15.83 1.66 4.67

7 sepsis ที่ refer back ผลงาน 4 8 2 0 24 3 6 2 0 49รอยละ 1.11 2.30 0.47 100 7.31 11.11 9.52 3.57

8 sepsis ที่เปน NI ผลงาน 5 1 5 2 0 2 0 0 0 15รอยละ 1.38 0.28 1.19 4.25 4.87 1.09

9 sepsis ที่เปน CI ผลงาน 355 346 415 45 33 39 54 21 46 1354รอยละ 98.61 99.71 98.80 95.74 100 95.12 100 100 100 98.90

10 sepsis NI ที่ dead ผลงาน 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1รอยละ 20.00 6.66

10 sepsis CI ที่ dead ผลงาน 45 0 65 0 1 0 0 0 0 112รอยละ 12.67 15.66 3.03 8.27

Outcome ผูปวย sepsis รพช. ท่ี refer in มารพ.หนองคาย(ต.ค.59-มิ.ย.60)

Sepsis / Septic shockท่ี refer in

Sepsis / Septic shockท่ีรอดชีวิต

Sepsis / Septic shockท่ี dead

Sepsis / Septicshock ท่ีไมสมัครอยู

Sepsis / Septic shockท่ีรับ refer back

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละรพ.โพนพิสัย(M2) 44 38.93 25 56.82 7 15.91 12 27.27 8 17.77รพร.ทาบอ(M2) 8 7.07 6 75.00 1 12.50 1 12.50 2 4.44รพ.ศรีเชียงใหม(F2) 1 0.88 1 100 0 0 0รพ.สังคม(F2) 0 0 0 0 24 53.33รพ.สระใคร(F3) 9 7.96 4 44.44 4 44.44 1 11.11 2 4.44รพ.รัตนวาป(F3) 6 5.31 3 50.00 3 50.00 0 3 6.66รพ.เฝาไร(F3) 12 10.62 5 41.66 4 33.33 3 25.00 6 13.33รพ.โพธิ์ตาก(F3) 0 0 0 0 0รพ.พิสัยเวช 4 3.54 3 75.00 0 1 25.00 0อ่ืนๆ 29 25.66 20 68.96 5 17.24 4 13.79รวม 113 100 67 59.29 24 21.24 22 19.47 45 100

2.6 What next1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร จนท.รพ.สต.2.สื่อสารการใช CPG ใหครอบคลุมตั้งแต รพ.สต.รพช.med Sx. เด็กสนับสนุนรพช./PCTอ่ืนๆใหใช CPG ใน

การวินิจฉัย, ประเมิน SOS score และการดูแลรักษา ตลอดจนเนนย้ําใหมีการเพาะเชื้อจากสิ่งสงตรวจกอนใหยาปฏิชีวนะทุกครั้ง

3.สนับสนุนโครงการ “แพทยพ่ีเยี่ยมแพทยนอง” เพ่ือสรางเครือขาย รับฟงปญหา ใหความชวยเหลือ การจัดประชุม KM

Page 79: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 71

4.ขยาย node เครือขาย รพ.ระดับM2 (ทาบอ,โพนพิสัย) ในการรักษา Sepsis5.พัฒนาระบบสนับสนุน drug+equipment (ยา/เครื่องมือแพทย/lab)6.พัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูล feedback ขอมูล

3. ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ (เสนอตอทีมตรวจราชการเพื่อรวมวางแผนแกไขปญหา)ปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ

สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจราชการรับไปประสาน หรือ ดําเนินการตอ

ระบบการรายงานขอมูล -ควรมี data center establish จัดใหมี data center establishการดําเนินการตาม CPGแนวทาง/เกณฑ refer ของรพช.

-push to routine work-ประเมินผลรายงาน

รพช.ยังไมมีเครื่องตรวจ bloodlactate คาใชจายในการสงตรวจ

-จัดหา เครื่องตรวจ blood lactateใหกับรพช. โดยพิจารณาการใชbiochemistry lactateเลือกใชใหเหมาะสมกับ case

สนับสนุนการจัดหา เครื่องตรวจblood lactate

ผูรายงาน 1. พญ.สุกัญญา กราบไกรแกวตําแหนง นายแพทยชํานาญการพิเศษโทร. 042-413456-65

2. นางกัญญัณณัฏฐ พรหมเขจรตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 042-422-923 ตอ 640, 641

Page 80: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 72

คณะท่ี 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาศัลยกรรม

หัวขอการตรวจราชการ :SP19. รอยละการแตกของภาวะไสติ่งอักเสบ (<20%)SP20. รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยปวดทองเฉียบพลัน 5 ภาวะ (<4%)SP21. รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยภาวะขาดเลือดทีขาหรือแขน (<20%)SP22. รอยละของการถูกตัดขาตั้งแตระดับขอเทาข้ึนมาของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขา

1.ขอมูลแสดงผลการดําเนินงาน1) รอยละการแตกของภาวะไสติ่งอักเสบ (<20%)

ตารางท่ี 1 รอยละการแตกของภาวะไสติ่งอักเสบ (<20%)

ลําดับ โรงพยาบาล

ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2559 ปงบประมาณ 2560(ตุลาคม59 –มิถุนายน 60)

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะไส

ติ่งแต

ก(คน

)จํา

นวน

ผูปวย

ไสติ่ง

อักเสบ

ทั้งหม

ด(คน

)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะไส

ติ่งแต

ก(คน

)

จํานว

น ผูป

วยไส

ติ่งอัก

เสบทั้ง

หมด(

คน)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะไส

ติ่งแต

ก(คน

)

จํานว

น ผูป

วยไส

ติ่งอัก

เสบทั้ง

หมด(

คน)

รอยล

1 รพ.หนองคาย(S) 49 312 15.71 68 480 14.17 109 611 17.832 รพร.ทาบอ(M2) 36 340 10.59 37 224 16.52 18 132 13.633 รพ.โพนพิสัย(M2) 1 41 2.44 4 27 14.81 3 24 12.54 รพ.สังคม(F2) 0 26 0 0 18 0 0 11 05 รพ.ศรีเชียงใหม(F2) 0 5 0 1 9 11.11 0 4 06 รพ.สระใคร(F3) 0 7 0 0 13 0 0 8 07 รพ.เฝาไร(F3) 0 0 0 0 0 0 0 7 08 รพ.รัตนวาป(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 09 รพ.โพธตาก(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 86 731 11.76 110 711 15.47 130 797 16.31ท่ีมา : ฐานขอมูลตามรหัสโรค ICD10: k35.2,k35.3 และk35.8)

Appendicitis ยังเปน 1 ใน 5 อันดับโรค high volume ของแผนกศัลยกรรม รพ.หนองคาย RuptureAppendicitis ทําให morbidity และคาใชจายเพ่ิมข้ึนท้ังของผูปวยและโรงพยาบาล จึงไดวาง ระบบ กําหนดตัวชี้วัดและตั้งเปาหมายการพัฒนาให Appendicitis ไดรับการวินิจฉัยเร็ว ถูกตอง สงตอเร็ว สุดทายผาตัดเร็ว ตั้งแตระดับรพช./หนวยบริการดานหนาของรพ.หนองคาย (OPD,ER)และหอผูปวย เ พ่ือลดอัตราการเกิด RuptureAppendicitis อยางตอเนื่อง

ขอมูลยอนหลัง 3 ป อัตราการเกิด Rupture Appendicitis มีแนวโนมลดลง แมวาการใช Diagnosis flowchart for Appendicitis, Missed Diagnosis,Delay operation ยังไมบรรลุเปาหมาย ไดมีการพัฒนาระบบและดําเนินการตอเนื่อง

Page 81: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 73

จากขอมูลพบวา การแตกของภาวะไสติ่งอักเสบภาพรวมจังหวัด ปงบ 2558 2559 และ 2560 (ปงบ2560 ระหวางเดือนตุลาคม 59- มิถุนายน 60)รอยละของใสติ่งอักเสบรอยละ.11.76/14.27. และ 16.31 ตามลําดับซึ่งโรงพยาบาลท่ีใหการรักษาผาตัดไสติ่งมีโรงพยาบาลหนองคาย รพร.ทาบอ(M2)และรพ.โพนพิสัย.(M2)ประเด็นของการลดอุบัติการณไสติ่งแตกจาก รพช.

- โครงการพ่ีเยี่ยมนอง ทบทวนความรู Acute appendicitis แกแพทย Intern ท่ี รพช. และเจาหนาท่ีของรพช.ในจังหวัดหนองคาย

- นํา Diagnosis flow chart for Appendicitis ไปใชท่ี รพช.- Empower ชุมชน ใหมีความรูเรื่อง Acute appendicitis ผาน อสม. เจาหนาท่ี รพสต.- ใชแบบประเมิน Alvarado ในผูปวยท่ีไดรับการวินิจฉัยวาเปน Appendicitis ทุกราย- เพ่ิม Competency พยาบาลในการตรวจและเฝาระวังsign ทางหนาทอง

2) รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยปวดทองเฉียบพลัน 5 ภาวะ (<4%)ตารางท่ี 2 รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยปวดทองเฉียบพลัน 5 ภาวะ (<4%)

ลําดับ

โรงพยาบาล ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2559 ปงบประมาณ 2560(ตุลาคม59 –มิถุนายน60)

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะป

วดทอ

งเฉีย

บพัน

5ภาว

ะแลว

ตาย(ค

น)

จํานว

น ผูป

วยที่ม

ีภาวะ

ปวดท

องเฉีย

บพัน

5ภาว

ะทั้งห

มด(คน

)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะป

วดทอ

งเฉีย

บพัน

5ภาว

ะแลว

ตาย(

คน)

จํานว

น ผูป

วยที่ม

ีภาวะ

ปวดท

องเฉีย

บพัน

5ภาว

ะทั้งห

มด(คน

)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะป

วดทอ

งเฉีย

บพัน

5ภาว

ะแลว

ตาย(

คน)

จํานว

น ผูป

วยที่ม

ีภาวะ

ปวดท

องเฉีย

บพัน

5ภาว

ะทั้งห

มด(คน

)

รอยล

1 รพ.หนองคาย(S) 10 360 2.78 13 475 2.74 19 498 3.812 รพร.ทาบอ(M2) 17 545 3.12 11 296 3.72 8 308 2.593 รพ.โพนพิสัย(M2) 0 152 0 0 119 0 0 67 04 รพ.สังคม(F2) 0 24 0 1 29 3.45 0 14 05 รพ.ศรีเชียงใหม(F2) 0 15 0 0 12 0 0 8 06 รพ.สระใคร(F3) 0 14 0 0 39 0 0 23 07 รพ.เฝาไร(F3) 0 0 0 0 19 0 0 28 08 รพ.รัตนวาป(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 09 รพ.โพธตาก(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 27 1,110 2.43 25 989 2.53 27 946 2.85ท่ีมา : ฐานขอมูลตามรหัสโรค (ICD-10: K80.0, K81.0, K80.4,K83.0, K80.3,K85.1,K85.2, K85.3, K85.9,K56.1-K56.6, K25.5, K26.5, K27.5)

จากขอมูลพบวา รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยปวดทองเฉียบพลัน 5 ภาวะภาพรวมจังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2558,2559,และ2560 (ปงบ 2560 ระหวางเดือนตุลาคม 59- มิถุนายน 60)ผูปวยปวดทองเฉียบพลันท่ีเสียชีวิตพบเกิดจากภาวะแทรกซอนขณะท่ีผูปวยนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล

Page 82: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 74

3) รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขาหรือแขน(<20%)ตารางท่ี 3 รอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขาหรือแขน(<20%)

ลําดับ โรงพยาบาล

ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2559 ปงบประมาณ 2560(ตุลาคม59 –มิถุนายน60)

จํานว

นผูปว

ยขาด

เลือดที่

ขาหร

ือแขน

และเส

ียชีวิต

(คน)

จํานว

น ผูป

วยขา

ดเลือด

ที่ขาห

รือแข

นทั้ง

หมด(ค

น)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยขาด

เลือดที่

ขาหร

ือแขน

และเส

ียชีวิต

(คน)

จํานว

น ผูป

วยขา

ดเลือด

ที่ขาห

รือแข

นทั้ง

หมด(ค

น)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยขาด

เลือดที่

ขาหร

ือแขน

และเส

ียชีวิต

(คน)

จํานว

น ผูป

วยขา

ดเลือด

ที่ขาห

รือแข

นทั้ง

หมด(ค

น)

รอยล

1 รพ.หนองคาย(S) 2 70 2.86 2 96 2.08 7 73 9.582 รพร.ทาบอ(M2) 0 15 0 0 3 0 1 4 253 รพ.โพนพิสัย(M2) 0 1 0 0 8 0 0 0 04 รพ.สังคม(F2) 0 0 0 0 0 0 0 0 05 รพ.ศรีเชียงใหม(F2) 0 0 0 0 0 0 0 0 06 รพ.สระใคร(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 07 รพ.เฝาไร(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 08 รพ.รัตนวาป(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 09 รพ.โพธตาก(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 2 862.33

2 107 1.87

8 77 10.38

ท่ีมา : ฐานขอมูลตามรหัสโรค ICD10 (I 74.0-I 74.9,และ I 70.2 )จากขอมูลพบวารอยละของผูปวยท่ีเสียชีวิตภายในโรงพยาบาลของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขาหรือแขน

ภาพรวมจังหวัดหนองคาย ปงบประมาณ 2558,2559,และ 2560 (ปงบ 2560 ระหวางเดือนตุลาคม 2559- มิถุนายน2560)

Page 83: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 75

4) รอยละของการถูกตัดขาตั้งแตระดับขอเทาข้ึนมาของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขาตารางท่ี 4 รอยละของการถูกตัดขาตั้งแตระดับขอเทาข้ึนมาของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขา

ลําดับ โรงพยาบาล

ปงบประมาณ 2558 ปงบประมาณ 2559 ปงบประมาณ 2560(ตุลาคม -ธันวาคม)

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะข

าดเลือ

ดและ

ถูกตัด

ขา(คน

)

จํานว

น ผูป

วยที่ม

ีภาวะ

ขาดเล

ือดที่ข

าทั้ง

หมด(

คน)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะข

าดเลือ

ดและ

ถูกตัด

ขา(คน

)

จํานว

น ผูป

วยที่ม

ีภาวะ

ขาดเล

ือดที่ข

าทั้ง

หมด(ค

น)

รอยล

จํานว

นผูปว

ยที่มีภ

าวะข

าดเลือ

ดและ

ถูกตัด

ขา(คน

)

จํานว

น ผูป

วยที่ม

ีภาวะ

ขาดเล

ือดที่ข

าทั้ง

หมด(

คน)

รอยล

1 รพ.หนองคาย(S) 14 55 25.45 6 77 7.79 22 417 5.272 รพร.ทาบอ(M2) 0 7 0 0 1 0 0 2 03 รพ.โพนพิสัย(M2) 0 0 0 0 3 0 0 0 04 รพ.สังคม(F2) 0 0 0 0 0 0 0 0 05 รพ.ศรีเชียงใหม(F2) 0 0 0 0 0 0 0 0 06 รพ.สระใคร(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 07 รพ.เฝาไร(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 08 รพ.รัตนวาป(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 09 รพ.โพธตาก(F3) 0 0 0 0 0 0 0 0 0

รวม 14 62 22.58 6 81 7.41 22 419 5.25ท่ีมา : ฐานขอมูลตามรหัสโรค (ICD-10:I 74.0, I 74.3, I 74.5) (ICD-9-CM :8413-8418)

จากขอมูลพบวา รอยละของการถูกตัดขาตั้ งแตระดับขอเทาข้ึนมาของผูปวยภาวะขาดเลือดท่ีขาปงบประมาณ 2558,2559,และ 2560 (ปงบ 2560 ระหวางเดือนตุลาคม 59- มิถุนายน 60)4. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

1. ใหความรูกับแพทยใชทุน/พยาบาลในการวินิจฉัย/ประเมินผูปวยอยางตอเนื่องท้ังใน รพ.ทุกระดับ2. ใหความรูเชิงรุกเรื่องการวินิจฉัย/ประเมินผูปวยโดยสาขาศัลยกรรมแกเจาหนาท่ี รพ.เปดใหม คือรพช.

เฝาไร/รพช.รัตนวาป/รพช.โพธิ์ตาก ,3. ประสานเครือขายผานศูนย COCเพ่ือการดูแลตอเนื่องใน กรณีสงตอผูปวยเพ่ือรักษาตอใหรวดเร็วมากข้ึน4. ประสานกลุมงานเวชกรรมสังคม ใหความรูเชิงรุกในกลุมประชาชนท่ัวไปและกลุมเปาหมายไดแกผูปวย

ท่ีมาดวยกลุมโรค abdominal pain/ไสติ่งอักเสบ/NF/DM foot เพ่ือใหตระหนัก และมารับการรักษาไดทันเวลา5. พัฒนาระบบ FastTract.6. พัฒนาศักยภาพnode ไดแก รพช.โพนพิสัยใหมีศักยภาพในการวินิจฉัยโรค appendicitis ไดอยางถูกตอง

และสงตอรวดเร็ว7. ขอมูลและการบันทึก/ตรวจสอบเวชระเบียน8. ระบบการสงตอทุกระดับแตยังไมมีการเชื่อมโยงระบบและท่ีมีระบบอยูแลวยังดําเนินการไมสมบูรณ

ผูรายงาน นางสมนา สกุลคูตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร. 089-9448697e-mail : [email protected]

Page 84: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 76

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาโรคมะเร็ง

หัวขอการตรวจราชการ :ตัวช้ีวัดท่ี SP27 อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ เปาหมาย: ลดลงรอยละ 5 ในระยะ 5 ป(2564) เปรียบเทียบ

กับ baseline ในป 2558 (25.2 ตอประชากรแสนคน)

1. รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด เปาหมายผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ

พ.ศ.2558 2559

1.อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ ลดลงรอยละ 5 ในระยะ 5 ป(2564)เปรียบเทียบกับ baseline ในป 2558 (25.2ตอประชากรแสนคน)

31.18 19.33

ท่ีมา : HDC สสจ.หนองคาย

อัตราปวยตายดวยโรคมะเร็งตับในจังหวัดหนองคายในภาพรวม ในปงบประมาณ 2559 มีอัตราตายลดลงจากป 2558 อยางชัดเจน แตเม่ือพิจารณารายอําเภอพบวา อําเภอทาบอและอําเภอสระใครมีอัตราปวยตายดวยโรคมะเร็งตับท่ีสูงกวาภาพรวมระดับจังหวัด ในปงบประมาณ 2560 ขอมูลระหวางเดือน ตุลาคม 2559 – มิถุนายน 2560 มีอัตราปวยตายในภาพรวมจังหวัด 11.34 ตอแสนประชากร อัตราตายดวยโรคมะเร็งตับต่ํากวาระดับประเทศและระดับเขต

Page 85: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 77

2. แผนการดําเนินงาน (มาตรการ/แนวทาง/Small Success 3m,6m,9m,12m) ปงบประมาณ 2560

Care Circle Map: Cancer

Tertiary Care

Secondary CareCare

Primary CareCare

รพท.

รพช.

Early diagnosis, Early Treatment (ผา่ตดั, เคมีบําบดั, อนืๆ)

Palliative care เชื่อมกับ COC , Cancer informatics, ReferralSystem

คลินิกพิเศษเฉพาะมะเร็ง (Chemo Unit, คลิก Ultra sound CCA)Primary Prevention (รณรงค Health education บูรณาการเขากับงานสงเสริมสุขภาพ งานควบคุมโรคไมติดตอ และงานภาคประชาชน) Earlydiagnosis

Palliative care เชื่อมกับ COC , Cancer informatics, ReferralSystem-Primary Prevention (รณรงค Health education

บูรณาการเขากับงานสงเสริมสุขภาพ งานควบคุมโรคไมติดตอ และงานภาคประชาชน)

-Early diagnosis (คดักรองกลุม่เสียงมะเร็ง ด้วยแบบคดักรอง/ตรวจ pap smear/ ตรวจเต้านม (BSE))

-Palliative care เชื่อมกับ COC

-Cancer informatics (มีการจัดทําฐานขอมูลกลุมเสี่ยงและผูปวยโรคมะเร็ง

-Referral System (มีระบบการสงตอ)

อปท.

-จัดทําโครงการPrimary Prevention(รณรงค Healtheducation)

-สนับสนุนงบประมาณในการดูแลผูปวยติดเตียง Palliative care

-ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ หลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งทุกชนิด

-สตรี ตรวจเตานมดวยตนเองอยางสมํ่าเสมอทุกเดือน

-เขารวมกิจกรรมในชุมชนอยางสมํ่าเสมอ

โรงเรียน

-จัดการเรียนการสอนเก่ียวกับโรคมะเร็งทอน้ําดี ในทุกชวงชั้น

-จัดกิจกรรม/นิทรรศการความรูเรื่องโรคมะเร็งอยางนอย ปละ 1 ครั้ง

ชมุชน

-จัดกิจกรรมสรางสุขภาพข้ึนในชุมชน

-สรางหมูบานตนแบบในการปองกันโรคมะเร็ง

-จัดทํานโยบายสาธารณะไมกินปลาดิบในชุมชน เพ่ือการปฏิบัติรวมกัน

อสม.

-รวมเปนเครือขายในการดูแลผูปวยท่ีบาน

-มี อสม.เชี่ยวชาญ สาขามะเร็ง ในทุกหมูบาน

- อสม.ตนแบบในการปองกันโรคมะเร็ง

รพ.สต.

ครัวเรือน

Page 86: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 78

ตารางท่ี 2 แผนการดําเนินกิจกรรมโครงการ ปงบประมาณ 2560มาตรการ กิจกรรม เปาหมาย ผูรับผิดชอบ

1. สรางเสริมสุขภาพ 1.1 รณรงคใหความรู ทุ ก ห มู บ า น /ร า นค า /รานอาหาร

สสอ./รพ.สต./รพช.ทุกแหง

1.2 ผลักดันให อบต.ออกขอบัญญัติการกําจัดสิ่งปฏิกูล

9 ตําบล สสจ./สสอ.

1.3 สรางความตระหนักรูและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหมูบานตนแบบโดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน อยางนอย 1 หมูบานตอ 1 ตําบล และมีกระบวนการประเมินผลกอนและหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

9 หมูบาน (ตําบลละ 1หมูบาน)

สสจ./สสอ.(9แหง)/รพ.สต.(10 แหง)/อบต.(9 แหง)/ผูนําชุมชนและอสม.

1.4 โรงเรียนจัดการเรียนการสอน ovcca 46 แหงในตําบลตนแบบ สสจ./สสอ./รพ.สต.

2. ควบคุมปองกันโรค 2.1 ตรวจคัดกรองอุจจาระประชาชนอายุ15 ป

9 ตําบลๆ ละ 905 ราย รพช. 3 แห ง/รพ.สต.13 แหง

2.2 คนหาผูปวยมะเร็งทอน้ําดีดวยวิธีอัลตราซาวดในกลุมอายุ 40 ปข้ึนไป ท่ีมีความเสี่ยง3 ขอข้ึนไปจากการ Verbal screening

ทุกหมูบาน กองทุนสุขภาพตํ าบล/อบต . /รพช./รพท.

3. รักษาพยาบาล 3.1 ผูท่ีติดเชื้อหนอนพยาธิไดรับการรักษาและติดตามผลการรักษาทุกราย

รอยละ 100 ผู ท่ีติดเชื้อพยาธิใบไมตับ

รพช. 9 แหงรพท. 1 แหงรพ.พิสัยเวช

3.2 ผูปวยท่ีสงสัยเปนมะเร็งทอน้ําดีไดรับการตรวจยืนยันทุกราย

รอยละ 100 ของผูสงสัยปวยเปนมะเร็งทอน้ําดี

สงตอ รพศ.อุดร

3.3 ผูปวยมะเร็งตับและมะเร็งทอน้ําดี ไดรับการรักษาทุกราย

รอยละ 100 ของปวยเปนมะเร็งทอน้ําดี

สงตอ รพศ.อุดร

4. ดูแลแบบประคับประคอง

4.1 ผูปวยมะเร็งตับมะเร็งทอน้ําดีไดรับการดูแลแบบประคับประคอง ดูแลแบบองครวมทุกราย

รอยละ 100 รพช./รพ.สต./รพท.

Page 87: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 79

ตารางท่ี 3 Small successกิจกรรม 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน

ตําบลตนแบบจัดการสุขภาพแบบครบวงจร

- รับนโยบาย ทราบแนวทางการดําเนินงานตามโครงการ-ตําบลเสี่ยง 9 ตําบล-สสจ.ประสาน พ้ืนท่ีเสี่ยง ช้ีแจงวัตถุประสงคและรวมดําเนินกิจกรรมโครงการ

-สสจ.รวมประชุมกับหัวหนาสวนราชการในตําบลเปาหมายเพ่ือคืนขอมูล สถานการณปญหาของโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอนํ้าดี- สสจ.รวมกับ สสอ.และรพ.สต. อบต.ในตําบลเปาหมายรวมจัดทําประชาคมหมูบานและรวมทําแผนการจัดการสุขภาพครบวงจรในตําบลตนแบบ-ประเมินพฤติกรรมสุขภาพในหมูบานตนแบบกอนการปรับเปลีย่นพฤติกรรม

-ดําเนินการตามแผน-ติดตามความกาวหนา และใหการสนับสนุน

- ประเมินผลหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเปรียบเทียบกอน-หลัง กอนปรับเปลีย่นพฤติกรรม-นําเสนอตําบลตนแบบท่ีมีคุณภาพ เพ่ือเปนตนแบบในการดําเนินงานในจังหวัดหนองคาย

คัดกรองประชาชนอายุ15 ปข้ึนไป ดวยแบบVerbal screening(cca01)

รอยละ 60 รอยละ 80 รอยละ 90 รอยละ 100

ตรวจอุจจาระและปสสวาะในประชาชนอายุ 15 ปข้ึนไป

วางแผนการเก็บอุจจาระเพ่ือสงตรวจ

รอยละ 40 รอยละ 80 รอยละ 100

ผูท่ีติดเช้ือหนอนพยาธิไดรับการรักษาและติดตามผลการรักษาทุกราย

รอยละ 100 รอยละ 100 รอยละ 100 รอยละ 100

คนหาผูปวยมะเร็งทอนํ้าดีดวยวิธีอัลตราซาวดในกลุมอายุ 40 ปข้ึนไป ท่ีมีความเสีย่ง 3 ขอข้ึนไปจากการ Verbalscreening

วางแผนการสงตรวจดวยวิธีอัลตราซาวด

รอยละ 40 รอยละ 80 รอยละ 100

ผูปวยมะเร็งตับและมะเร็งทอนํ้าดี ไดรับการผาตัดเพ่ือการรักษา

รอยละ 100 รอยละ 100 รอยละ 100 รอยละ 100

แพทย/พยาบาลในอําเภอเปาหมายไดรับการอบรมและพัฒนาศักยภาพในการตรวจคัดกรองมะเร็งทอนํ้าดี

4 ราย 4 ราย

Page 88: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 80

3. ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2560 (ตุลาคม 2559 – มิถุนายน 2560)การดําเนินงานแกไขปญหาภายใตโครงการกําจัดพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ําดี ถวายเปนพระราชกุศลแด

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จข้ึนครองราชยครบ ๗๐ ป ในปพุทธศักราช ๒๕๕๙ พรอมท้ังสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ จะทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ตลอดจนในปพุทธศักราช ๒๕๖๐ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จะทรงเจริญพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา นั้น กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดใหจังหวัดหนองคายดําเนินโครงการดังกลาวในอําเภอเปาหมาย 9 อําเภอ ครอบคลุมท้ังจังหวัดหนองคาย อําเภอละ ๑ ตําบล โดยมีเปาหมายเพ่ือสรางตําบลตนแบบการควบคุมโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ําดีอยางครบวงจร เพ่ือใหคนไทยลดการเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งทอน้ําดีในพ้ืนท่ี ซึ่งจังหวัดหนองคาย มีตําบลเปาหมายในการดําเนินกิจกรรมตามโครงการดังตารางท่ี 4

ตารางท่ี 4 อําเภอ/ตําบลเปาหมายในการดําเนินงานโครงการกําจัดพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ําดีฯอําเภอ ตําบล หนวยงานรับผิดชอบ

เมืองหนองคาย วัดธาตุ 1. รพ.สต.วัดธาตุทาบอ น้ําโมง 1. รพ.สต.น้ําโมง

2. รพ.สต.ทาสําราญโพนพิสัย จุมพล 1. PCU รพ.โพนพิสัย

2. PCU พิสัยเวชศรีเชียงใหม พระพุทธบาท 1. รพ.สต.พระพุทธบาท

2. รพ.สต.หวยไฮสังคม แกงไก 1. PCU รพ.สังคมสระใคร คอกชาง 1 รพ.สต.คอกชางเฝาไร หนองหลวง 1. รพ.สต.หนองหลวง

2. รพ.สตงวังไฮรัตนวาป บานตอน 1. รพ.สต.บานตอนโพธิ์ตาก โพธิ์ตาก 1. รพ.สต.โพธิ์ตาก

2. รพ.สต.สาวแล3. รพ.โพธิ์ตาก

ตารางท่ี 5 ผลการดําเนินงานตามโครงการปงบประมาณ 2560 ใน 9 อําเภอกิจกรรม ผลการดําเนินงาน

อําเภอ/ตําบล เปาหมาย ผลงาน รอยละรณรงคผานสื่อตางๆ เมืองหนองคาย/วัดธาตุ 14 หมูบาน 14 หมูบาน 100

ทาบอ/ตําบลน้ําโมง 13 หมูบาน 13 หมูบาน 100โพนพิสัย/จุมพล 17 หมูบาน 17 หมูบาน 100ศรีเชียงใหม/พระพุทธบาท

10 หมูบาน 10 หมูบาน 100

สังคม/แกงไก 6 หมูบาน 6 หมูบาน 100สระใคร/คอกชาง 13 หมูบาน 13 หมูบาน 100เฝาไร/หนองหลวง 20 หมูบาน 20 หมูบาน 100รัตนวาป/บานตอน 9 หมูบาน 9 หมูบาน 100โพธิ์ตาก/โพธิ์ตาก 7 หมูบาน 7 หมูบาน 100

Page 89: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 81

การจัดการเรียนการสอนพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ําดี เปาหมาย 46 แหง

เมืองหนองคาย/วัดธาตุ 6 โรงเรียน 6 โรงเรียน 100ทาบอ/ตําบลน้ําโมง 6 โรงเรียน 6 โรงเรียน 100โพนพิสัย/จุมพล 12 โรงเรียน 12 โรงเรียน 100ศรีเชียงใหม/พระพุทธบาท

4 โรงเรียน 4 โรงเรียน 100

สังคม/แกงไก 3 โรงเรียน 3 โรงเรียน 100สระใคร/คอกชาง 4 โรงเรียน 4 โรงเรียน 100เฝาไร/หนองหลวง 6 โรงเรียน 6 โรงเรียน 100รัตนวาป/บานตอน 2 โรงเรียน 2 โรงเรียน 100โพธิ์ตาก/โพธิ์ตาก 3 โรงเรียน 3 โรงเรียน 100

พัฒนาตําบลจัดการสุขภาพตนแบบและการจัดการสิ่งแวดลอม

- ดําเนินการขับเคลื่อนจากระดับจังหวัด บูรณาการรวมกับงานอนามัยสิ่งแวดลอม และ DHS

- มีการนําเสนอแผนงานการกําจัดสิ่งปฏิกูลระดับจังหวัดหนองคาย- มีแผนออกติดตามเยี่ยมการบังคับใชกฎหมายขอบัญญัติการกําจัดสิ่ง

ปฏิกูล อบต./เทศบาล 9 แหง ในเดือนกรกฎาคม 2560- การพัฒนาตําบลจัดการสุขภาพตําบลตนแบบ เปาหมาย 9 ตําบล มี

แนวคิดในการใชรูปแบบการดําเนินงานท่ีแตกตางกัน แตเปาหมายเดียวกันคือ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพปองกันโรคท่ีดีและยั่งยืน โดยแตละตําบลมีจุดเดนดังนี้ตําบล จุดเดน ตําบล จุดเดนวัดธาตุ กองทุนสุขภาพตําบล จุมพล ระบบบริการจัดการดีเยี่ยมน้ําโมง ชุมชนและโรงเรียน พระพุทธบาท อบต.แกงไก คอกชาง ธรรมนูญสุขภาพ

หนองหลวง เครือขายสุขภาพ บานตอน ผูนําตนแบบโพธิ์ตาก

ตําบลตนแบบ ป 60

กิจกรรม ผลการดําเนินงานตรวจคนหาพยาธิใบไมตับในอุจจาระประชาชนอายุ 15ปข้ึนไป 5 ตําบลๆละ 905ราย ตรวจปสสาวะ 3ตําบลๆ 250 ราย

ตําบล ตัวอยาง เปาหมาย ผลงาน รอยละวัดธาตุ อุจจาระ 905 909 100แกงไก อุจจาระ 905 569 62.9คอกชาง อุจจาระ 905 860 95.0หนองหลวง อุจจาระ 905 752 83.1โพธ์ิตาก อุจจาระ 905 641 70.8จุมพล ปสสาวะ 250 242 96.8

นํ้าโมง ปสสาวะ 250 237 94.8

พระพุทธบาท ปสสาวะ 250 220 88.0

ท่ีมา Isan cohortผูท่ีติดเชื้อหนอนพยาธิไดรับการรักษาและติดตามผลการรักษาทุกราย

- ผลการตรวจอุจจาระ พบติดพยาธิใบไมตับ จํานวน 118 คน (ความชุก3.16%)ไดรับการรักษาทุกราย 100 %

- ผลการตรวจปสสาวะ รอผลตรวจจาก มข.

Page 90: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 82

คนหาผูปวยมะเร็งทอน้ําดีดวยวิธีอัลตราซาวดในกลุมอายุ 40 ปข้ึนไป ท่ีมีความเสี่ยง 3 ขอข้ึนไปจากการVerbal screening

อําเภอ ประชากรอายุ40 ปขึ้นไป

ลงทะเบียนกลุมเสี่ยง

Isan cohort

คัดกรอง CCA02(US)

เมืองหนองคาย 9,072 6,836 598ทาบอ 29,819 11,835 245โพนพิสัย 33,880 22,227 2,499ศรีเชียงใหม 9,700 9,252 0สังคม 9,643 627 130สระใคร 7,890 2,916 354เฝาไร 15,594 1,194 713รัตนวาป 14,502 3,295 114โพธ์ิตาก 5,297 4,788 522

รวม 185,397 62,970 5,172ท่ีมา Isan cohort

ผูปวยมะเร็งทอน้ําดีรายใหมไดรับการผาตัด

สงสัยมะเร็งทอน้ําดี 20 ราย มะเร็งทอน้ําดี 6 ราย สงตอท่ี รพศ.อุดรธานี

ผูปวยมะเร็งทอน้ําดีท่ีไดรับการดูแลแบบประคับประครอง

จํานวน 12 ราย

4. ผลงานท่ีเปน Best Practice- โพนพิสัยโมเดล เปนการบริหารจัดการ การแกปญหาโรคพยาธิใบไมตับแบบมีสวนรวมจากทุกภาคสวน

สามารถดําเนินการแกไขปญหาและขับเคลื่อนการดําเนินงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตําบลตนแบบไดอยางตอเนื่องและเปนรูปธรรม โดยสรางเครือขายความรวมมือระดับอําเภอ องคการปกครองสวนทองถ่ิน โรงเรียน สาธารณสุข และชุมชน

- คอกชางโมเดล เปนการบริหารจัดการโดยชุมชน มีธรรมนูญสุขภาพตําบลท่ีใชรวมกัน จัดทําเปนแนวปฏิบัติท่ีประชาชนตองรับผิดชอบดวยตนเอง และมีการดูแลสุขภาพอยางตอเนื่องแบบครบวงจร

- รานคารานอาหารปลอดพยาธิใบไมตับ คป.สอ.เมืองหนองคาย

5. ปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ

- โปรแกรมท่ีใชจัดเก็บขอมูล/ฐานขอมูลโรคพยาธิใบไมตับและมะเร็งทอน้ําดี เขตสุขภาพท่ี 8 ใชมากกวาเขตอ่ืนๆ มี 2 โปรแกรม ท้ัง Isan cohort และ OVSK ขอใหพิจารณาลดลง 1 โปรแกรม ซึ่งถาใหใชท้ัง 2 โปรแกรม จะทําใหพ้ืนท่ีทํางานซ้ําซอน

- หนวยงานสนับสนุนวิชาการ เชน สคร. ควรจะรวมทําแผนงานกับ สสจ. ในกรณีงานท่ีเก่ียวของกัน เนื่องจากงานท่ีตองทําเหมือนกันจะไดดําเนินงานไปพรอมกัน และการขับเคลื่อนระดับ สคร. ๘ ยังไมเห็นการดําเนินงานและลงเยี่ยมพ้ืนท่ีจังหวัดเพ่ือติดตาม ประเมินผลงาน และชวยเหลือท่ีชัดเจน

Page 91: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 83

หัวขอการตรวจราชการ :ตัวช้ีวัด 27. รอยละของผูปวยมะเร็ง 5 อันดับแรก (มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเตานม มะเร็งลําไสใหญ

และทวารหนัก มะเร็งปากมดลูก) ท่ีไดรับการรักษาตามเกณฑท่ีกําหนด > 80%

1. รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน

ขอมูลพื้นฐานประกอบตัวช้ีวัด เปาหมายผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ

พ.ศ.2557 2558 2559

1.รอยละของผูปวยมะเร็ง 5อันดับแรก (มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งเตานม มะเร็งลําไสใหญและทวารหนัก มะเร็งปากมดลูก) ท่ีไดรับการรักษาตามเกณฑท่ีกําหนด > 80%

ผูปวยมะเร็งไดรับการผาตัดภายหลังวินิจฉัย ภายใน 4 สัปดาห >รอยละ 80

100 100 97.56

ผูปวยมะเร็งไดรังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห >รอยละ 80

NA NA 59.25

ผูปวยมะเร็งไดยาเคมีบําบัดรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห >รอยละ 80

100 100 100

2. แผนการดําเนินงาน (มาตรการ/แนวทาง/Small Success 3m,6m,9m,12m) ปงบประมาณ 2560

KPI ผลผลิต3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน

รอยละของผูปวยไดรับการผาตัดภายหลังวินิจฉัยในระยะเวลา 4 สัปดาห

- นิเทศและติดตามการดําเนินงานสาขามะเร็ง-รพ.หนองคาย และรพร.ทาบอ จัดทําสรุปรายงานทุกเดือน-วิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข-ผลงานไมนอยกวารอยละ 80%-สงขอมูลใหเลขา SPสาขามะเร็ง รพ.หนองคาย ทุกเดือน

-รพ.หนองคายและ รพร.ทาบอจัดทําสรุปรายงานทุกเดือน-วิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข-ผลงานไมนอยกวารอยละ 90%-สงขอมูลใหเลขาSP สาขามะเร็งรพ.หนองคาย ทุกเดือน

-รพ.หนองคายและ รพร.ทาบอจัดทําสรุปรายงานทุกเดือน-วิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข-ผลงาน รอยละ100%-สงขอมูลใหเลขาSP สาขามะเร็งรพ.หนองคาย ทุกเดือน

-รพ.หนองคายและ รพร.ทาบอจัดทําสรุปรายงานทุกเดือน-วิเคราะหปญหาและแนวทางแกไข-ผลงาน รอยละ100%-สงขอมูลใหเลขาSP สาขามะเร็งรพ.หนองคาย ทุกเดือน

รอยละของผูปวยไดรับยาเคมีบําบัดภายในระยะเวลา 6สัปดาห

Page 92: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 84

3. ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2559 และ ปงบประมาณ 2560 (ตุลาคม 2559 – พฤษภาคม 2560)

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด หนวยวัด ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ

2559 2560ระยะเวลารอคอย ผาตัดเคมีบําบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก

ระยะเวลารอคอยผาตัด

ระยะเวลารอคอย

เคมีบําบัด

ระยะเวลารอคอย

รังสีรักษา

ระยะเวลารอคอยผาตัด

ระยะเวลารอคอยเคมี

บําบัด

ระยะเวลารอคอยรังสี

รักษา

1. มะเร็งเตานม >80% 66% 97% NA 60.87% 75% 76.47%

จํานวนท่ีได/จํานวนท้ังหมด

25/38 29/30 14/23 9/12 26/34

2. มะเร็งลําไส >80% 80% 75% NA 68.09% 70.83% 100%

จํานวนท่ีได/จํานวนท้ังหมด

32/40 24/32 32/47 17/24 12/12

3. มะเร็งตับและทอนํ้าดี >80% NA NA NA NA NA NA

จํานวนท่ีได/จํานวนท้ังหมด

4. มะเร็งปอด >80% NA NA NA NA NA 100%

จํานวนท่ีได/จํานวนท้ังหมด

19/19

5. มะเร็งปากมดลูก >80% NA NA NA NA NA 100%

จํานวนท่ีได/จํานวนท้ังหมด

12/12

สาขามะเร็งไดพัฒนาระบบบริการ 3 โรคมะเร็ง ประกอบดวย มะเร็งทอน้ําดี มะเร็งเตานม และมะเร็งปากมดลูก สําหรับการพัฒนางานมะเร็งทอน้ําดีระดับโรงพยาบาลนั้น โรงพยาบาลหนองคายจัด OPD สําหรับการคัดกรองมะเร็งทอน้ําดี ทุกพุธ เวลา 13.00-16.00 น. ตั้งแตปงบประมาณ 2558 เปนตนมา ยังพบปญหาดานการประสานงานระหวางการสงตอกลุมเสี่ยงเขารับการตรวจอัลตราซาวด รวมไปถึงการรับและสงตอผูปวย การบันทึกผลขอมูล(ไมมีการบันทึกผลขอมูลในระบบ Isan Chort) จุดแข็งมีแพทยท่ีรับผิดชอบงานหลักและปฏิบัติงานอยางตอเนื่องเพียงแตขาดทีมท่ีมีความพรอมและพัฒนางาน

การพัฒนาระบบบริการผูปวยมะเร็งเตานม ในโรงพยาบาลหนองคายในปงบประมาณ 2558-2560 ไดปรับระยะรอคอยการฟงผลชิ้นเนื้อหลังผาตัดเพ่ือวินิจฉัยใหไดรับผลการตรวจชิ้นเนื้อจากหอง Lab และนัดผูปวยมาฟงผลชิ้นเนื้อภายใน 2 สัปดาหพบวาไดรับผลชิ้นเนื้อภายในเวลา 2 สัปดาห 100% แตพบความลาชาในการนัดพบแพทยเนื่องจากแพทยมีตารางการออกตรวจตามวันท่ีกําหนดและติดชวงวันหยุดราชการหรือวันหยุดแพทยทําใหระยะเวลารอคอยการผาตัดยังไมไดตามเกณฑมีแผนทบทวนระบบการบริการใหผูปวยไดพบแพทยหลังตัดชิ้นเนื้อภายใน2 สัปดาหเพ่ือห็ผูปวยไดรับการผาตัดทันตามเกณฑ

พบปญหาความลาชาและขาดระบบท่ีชัดเจนในการผสมยาเคมีบําบัด ทบทวนรวมกับทีมสหสาขาวิชาชีพท่ีเก่ียวของใน PCT ศัลยกรรม กําหนดแนวทางท่ีชัดเจนในการกําหนดเวลาผสมยาเคมีบําบัดและจัดทําระบบ Fast Trackกรณีผูปวยมารับยาเคมีบําบัดเพ่ือลดระยะเวลานอนโรงพยาบาล ผลพบผูปวยไดรับยาตามเวลาลดระยะเวลานอนโรงพยาบาลและมีความพึงพอใจ

จัดทําแนวทางปฏิบัติในการตรวจวินิจฉัยการรักษาในกลุมโรคมะเร็งและกลุมเสี่ยงโดยมีระบบ Fast Trackและการประกันเวลาในการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาและพยาธิวิทยาภายในเวลา 2 สัปดาหเพ่ือใหผูปวยไดรับการรักษารวดเร็วทันเวลา

Page 93: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 85

ไดมีการทบทวนการเก็บขอมูลตัวชี้วัดใน PCT ศัลยกรรมและผูรับผิดชอบงานทะเบียนมะเร็งของโรงพยาบาลหนองคาย ใหมีความชัดเจนเปนระบบและทันเวลาไมซ้ําซอนโดยกําหนดใหมีการจัดเก็บขอมูลตัวชี้วัดท่ีเชื่อมโยงตอเนื่องระหวาง OPD ศัลยกรรมและหอผูปวย ทําใหมีความรวดเร็วและเปนปจจุบันมากข้ึน และจัดทําทะเบียนผูปวยผาตัดมะเร็งเตานมเพ่ือติดตามเยี่ยมทางโทรศัพท

การดําเนินโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยวิธี Pap smear นอกจากการตรวจคัดกรองใหครอบคลุมสตรีกลุมเปาหมายแลวสิ่งสําคัญผูท่ีผลการตรวจมีความผิดปกติ ตองไดรับการดูแลติดตามตรวจวินิจฉัย รับการรักษาอยางตอเนื่อง ในแตละปมีสตรีจํานวนหนึ่งท่ีมีผลการตรวจ Pap smear พบเซลลผิดปกติไมไดรับการดูแลตาม CPG โรงพยาบาลหนองคายไดมีการทบทวนรูปแบบการดูแลโดยใชการวิจัย R2R เกิดนวัตกรรม “สมุดและโปรแกรมบันทึกขอมูลสตรีท่ีมีผล Pap & Pathology พบเซลลผิดปกติ” ท่ีใชเปนแบบอยางสําหรับ รพช./รพ.สต.ในจังหวัดมาตั้งแตป 2555 สงผลใหอัตราการไดรับการดูแลติดตามของสตรีกลุมดังกลาวสูงข้ึนจนไดตามเกณฑ และโรงพยาบาลหนองคายมีการจัดตั้งคลินิกพิเศษ Colposcopy & LEEP เวลา 13.00-16.00 น. ทุกวันพฤหัสบดี เพ่ือลดคาใชจายในการสงตอผูปวย Case pre- malignancy ซึ่งเริ่มดําเนินการตั้งแต 1 กันยายน 2558 ปญหาความไมครอบคลุมของการตรวจคัดกรองท่ัวไปเกิดจากประชากรขาดความรู และมีความรูสึกอายการตรวจภายใน สวนการขาดความกระตือรือรนในการตรวจคัดกรองอาจเนื่องมาจากโรคดังกลาวมักไมมีอาการแสดงและอาการแสดง

อยางไรก็ตามการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยวิธี Conventional pap smear มีประสิทธิภาพและความแมนยําเพียง 53 % (Globocann, 2008) แมสตรีกลุมเสี่ยงจะมีการตรวจคัดกรองและไดรับการดูแลตามมาตรฐานก็ยังมีโอกาสเกิดความผิดพลาดไดสูง แตการคัดกรอง Pap smear เปนวิธีท่ีมีความคุมคาท่ีสุดเม่ือเทียบกับงบประมาณ และทรัพยากร ปจจุบันโรงพยาบาลหนองคายไดมีการนําการตรวจคัดกรองแบบ Liquid basedpreparation เขามาเสริมในรายท่ีตองการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพ่ือความแมนยําสูงข้ึนเปนทางเลือก อยางไรก็ตามการคัดกรอง Liquid based preparation ยังไมสามารถเบิกจายตามสิทธิประโยชนได การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยวิธี Conventional pap smear จึงถือวาเปนวิธีท่ีเหมาะสมในประเทศไทย ในแงบุคลากรพบวาจังหวัดหนองคายยังขาดแพทย Gynecologic Oncologist จึงยังมีการสงตอ Case malignancy

ตาราง การตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งระยะตน (Screening and Early detection) แสดงขอมูลรายอําเภอ

รายการขอมูล เกณฑ

ภาพร

วมจัง

หวัด

เมือง

ทาบอ

โพนพ

ิสัย

ศรีเชีย

งใหม

สังคม

สระใค

เฝาไร

รัตนว

าป

โพธิ์ต

าก

1.รอยละของประชากรสตรีอายุ30 - 70 ปกลุมเปาหมายตรวจมะเร็งเตานมดวยตนเอง BSE

≥ 80% 34.32 58.52 38.45 7.06 33.09 59.74 42.42 5.18 3.98 37.14ผลงาน 38,080 20,586 6,641 1,478 1,735 3,535 2,115 480 361 1,149

เปาหมาย110,970 35,180 17,270 20,935 5,243 5,917 4,986 9,270 9,075 3,094

2.รอยละของประชากรสตรี อายุ30 - 70 ป ไดรับการตรวจคัดกรองมะเร็งเตานมโดยบุคลากรสาธารณสุขCBE

≥ 80% 71.59 74.20 93.93 57.83 49.06 69.55 81.25 62.11 62.20 92.60ผลงาน 79,438 26,105 16,221 12,106 2,572 4,115 4,051 5,758 5,645 2,865

เปาหมาย 110,970 35,180 17,270 20,935 5,243 5,917 4,986 9,270 9,075 3,094

Page 94: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 86

รายการขอมูล เกณฑ

ภาพร

วมจัง

หวัด

เมือง

ทาบอ

โพนพ

ิสัย

ศรีเชีย

งใหม

สังคม

สระใค

เฝาไร

รัตนว

าป

โพธิ์ต

าก

3. รอยละของประชากรสตรีอายุ30 - 60 ป ไดรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เริ่ม ป 58

≥ 60% 41.67 32.06 56.46 49.47 28.19 37.14 43.56 49.68 34.9 40.22ผลงาน 38,653 9,455 8,066 8,706 1,192 1,865 1,835 3,830 2,662 1,042

เปาหมาย 92,764 29,487 14,287 17,599 4,229 5,021 4,213 7,709 7,628 2,591

4. สัดสวนผูปวยมะเร็งเตานมรายใหมท่ีตรวจพบและมีการคนพบระยะท่ี1 และ 2 ไมนอยกวารอยละ 70

≥ 70% 83.33 NA 83.33 - - - - - - -

ผลงาน 15 NA 15 - - - - - - -

เปาหมาย 18 NA 18 - - - - - - -

5. สัดสวนผูปวยมะเร็งปากมดลูกรายใหมท่ีตรวจพบและมีการคนพบระยะท่ี1 และ 2 ไมนอยกวารอยละ 70

≥ 70% 66.66 NA 66.66 - - - - - - -

ผลงาน 12 NA 12 - - - - - - -

เปาหมาย 18 NA 18 - - - - - - -

หมายเหตุ ขอมูลท่ี 1-3 มาจาก HDC 43 แฟม จังหวัดหนองคาย ณ วันท่ี 30 มิถุนายน 2560ขอมูลท่ี 4-5 มาจากงานมะเร็งโรงพยาบาลหนองคาย

จากขอมูลตารางการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งระยะตน (Screening and Early detection) แสดงขอมูลรายอําเภอ แสดงใหเห็นวา ผลการดําเนินงานดานการตรวจคัดกรองมะเร็งเตานมในสตรีอายุ 30-70 ปปงบประมาณ 2560 (1 ตุลาคม 2559 – 30 มิถุนายน 2560) มีสตรีกลุมเปาหมายท้ังหมดจํานวน 110,970 คนไดรับการประเมินทักษะการตรวจเตานมดวยตนเองอยางถูกตองจากเจาหนาท่ีและตรวจคัดกรองโดยเจาหนาท่ีจํานวน 79,438 คน คิดเปน รอยละ 71.59 เม่ือพิจารณารายอําเภอพบวามีจํานวน 6 แหงท่ีมีผลงานไมผานเกณฑจากขอมูลรายงานการตรวจเตานมดวยตนเองเปนประจําของสตรีกลุมเสี่ยงนั้น พบวาการรายงานต่ํากวาเกณฑอยูมาก(เกณฑไมต่ํากวารอยละ 80) ท้ังเนื่องมาจากการดึงรายงานดังกลาวจากขอมูลการบันทึกใน แฟม Special PP ซึ่งตนปงบประมาณ 2560 ยังไมมีรายละเอียดชัดเจนในการบันทึก เปนโอกาสพัฒนาในป 2561 ท่ีจะตองชี้แจงการบันทึกขอมูลและแนวทางในการดําเนินงานคัดกรองมะเร็งเตานมและการตรวจเตานมดวยตนเอง เม่ือพิจารณาขอมูลณ ชวงเวลาเดียวกันเปรียบเทียบผลงานการคัดกรองมะเร็งเตานมดวยตนเอง (BSC) และการคัดกรองมะเร็งโดยเจาหนาท่ีสาธารณสุข (CBS) จังหวัดหนองคายกับระดับประเทศ และระดับเขตสุขภาพ พบวาขอมูลผลงานไมแตกตางกันมากนัก ท้ังนี้ผลงานจังหวัดหนองคายสูงกวาระดับประเทศและระดับเขตเล็กนอยดังภาพท่ี 1 และเม่ือเปรียบเทียบราย

Page 95: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 87

จังหวัดในเขตสุขภาพท่ี 8 พบวา มีความแตกตางกันในแตละจังหวัด ซึ่งจังหวัดหนองบัวลําภูจะมีผลงานการคัดกรอง CBE ท่ีสูงกวาทุกจังหวัดแตมีผลงาน BSC ต่ํากวา จังหวัดหนองคายท่ีมีผลงานคัดกรองโดยเจาหนาท่ีเปนลําดับท่ี 2 รองจากจังหวัดหนองบัวลําภู สวนจังหวัดบึงกาฬมีผลงานคัดกรองดวยตนเองเปนลําดับ 1 ดังภาพท่ี 2

รูปท่ี 1 เปรียบเทียบ BSE CBE ประเทศและเขต รูปท่ี 2 เปรียบเทียบ BSE CBE ระดับจังหวัดในเขต 8

2559 ผลงานคัดกรองกลุมเปาหมายป 2558 รายใหม รอยละ 12.4 และในปงบประมาณ 2560 ผลงาน 9เดือน รายใหมในกลุมเปาหมายป 2558 ไดรับการคัดกรองเพียง รอยละ 7.91 ซึ่งเม่ือพิจารณาขอมูลแตละปพบวา มีผลการคัดกรองซ้ําคนเดิมในปกอนหนา และนอกกลุมเปาหมายท่ีกําหนดในปแรก (ป 2558) ซึ่งป 2559 คัดกรองซ้ํารายเกาท่ีตรวจแลวจํานวน 7,919 ราย (8.54%) และป 2560 (9 เดือน) ซ้ําปกอนหนา จํานวน 9,205 ราย (9.92%)และยังพบวาผลงานคัดกรองนอกกลุมเปาหมายมากกวารอยละ 1.5 ทุกป จะเห็นวาภาระงานของเจาหนาท่ีในแตละปมีสูงกวาผลงานตามเกณฑชี้วัด เนื่องจากเกณฑในการคัดกรองระบุเปาหมายไวคงท่ีในปเริ่มตน และนับผลงานเฉพาะรายใหมท่ีไมเคยคัดกรองในระหวาง 5 ปท่ีกําหนด แตในทางปฏิบัติงานจริงนั้น ผูรับบริการในกลุมท่ีไมอยูในเปาหมายกลับใหความสนใจซึ่งสวนใหญเปนผูสูงอายุ และกลุมท่ีสนใจสุขภาพก็จะเขารับบริการตรวจในทุกๆป รวมถึงกลุมท่ีพบความผิดปกติอ่ืนๆดวย ทําใหมีผลการคัดกรองซ้ําและนอกกลุมเปาหมายจํานวนมาก แตไมนับเปนผลงาน ท้ังนี้เปนโอกาสในการพัฒนาการดําเนินงานเฝาระวังปองกันโรคมะเร็งปากมดลูกในปตอไปซึ่งมีความทาทายและยากเพ่ิมข้ึนการกําหนดกลยุทธใหมๆเพ่ือใหกลุมเสี่ยงในเปาหมายเขารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกใหไดอยางครอบคลุม เม่ือเปรียบเทียบผลงานการคัดกรองกับระดับประเทศและเขตแลวไมแตกตางกันในแตละป ดังรูปท่ี 3

รูปท่ี 3 เปรียบเทียบผลงานคดักรองมะเร็งปากมดลูกจังหวัดหนองคายกับระดับประเทศ และเขต 8

2558 2559 2560 ผลงานสะสมประเทศ 16.49 10.88 8.26 35.63เขต 8 23.81 11.08 7.03 41.92จ.หนองคาย 21.59 12.4 7.91 41.67

05

1015202530354045

รอยล

รอยละการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุมเปาหมายจังหวัดหนองคายเปรียบเทียบผลงานระดับประเทศ และระดับเขต ปงบประมาณ 2558 - 2560

(ต.ค.59-มิ.ย.60)

Page 96: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 88

สาขามะเร็งไดพัฒนาระบบบริการ 3 โรคมะเร็ง ประกอบดวย มะเร็งทอน้ําดี มะเร็งเตานม และมะเร็งปากมดลูก สําหรับการพัฒนางานมะเร็งทอน้ําดีระดับโรงพยาบาลนั้น โรงพยาบาลหนองคายจัด OPD สําหรับการคัดกรองมะเร็งทอน้ําดี ทุกพุธ เวลา 13.00-16.00 น. ตั้งแตปงบประมาณ 2558 เปนตนมา ยังพบปญหาดานการประสานงานระหวางการสงตอกลุมเสี่ยงเขารบัการตรวจอัลตราซาวด รวมไปถึงการรับและสงตอผูปวย การบันทึกผลขอมูล (มีการบันทึกผลขอมูลในระบบ Isan Cohort นอยกวาผลการดําเนินงานจริง) จุดแข็งมีแพทยท่ีรับผิดชอบงานหลักและปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง ลาสุดนี้โรงพยาบาลหนองคายมีทีมท่ีมีความพรอมและพัฒนางาน มีการสื่อสาร แจงข้ันตอนและปญหาใหกับเครือขายระดับ รพช.และรพ.สต.เพ่ิมมากข้ึน

4. ผลงานท่ีเปน Best Practice4.1 คลินิกพิเศษ Colposcopy & LEEP เวลา 13.00-16.00 น. ทุกวันพฤหัสบดี เพ่ือลดคาใชจาย

ในการสงตอผูปวย Case pre- malignancy4.2 สมุดและโปรแกรมบันทึกขอมูลสตรีท่ีมีผล Pap & Pathology พบเซลลผิดปกติ4.3 จัดคลินิกพิเศษท่ี OPD สําหรับการคัดกรองมะเร็งทอน้ําดี ทุกพุธ เวลา 13.00-16.00 น.

5. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะและแผนพัฒนาตอเนื่องการดําเนินงาน Service Plan สาขามะเร็ง พบปญหาอุปสรรค ดังนี้5.1 ปงบประมาณ 2560 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan สาขามะเร็งมีเปาหมายการพัฒนา

มะเร็ง 5 อันดับแรกท่ีพบมาพบปญหาการจัดเก็บขอมูลทะเบียนมะเร็งยังมีความลาชา/ไมทันเวลาและไมเปนปจจุบันเนื่องจากขอมูลผูปวยโรคมะเร็งมีจํานวนมาก มีความซ้ําซอนและตองมารับการรักษาอยางตอเนื่องเปนระยะเวลานานซึ่งเก่ียวของกับหลายจุดบริการเนื่องจากเปนโรคเรื้อรัง ไดมีการประชุมทบทวนปญหาในคณะทํางานService Plan สาขามะเร็งและขอเสนอแนะจากการตรวจราชการเขตสุขภาพท่ี 8 มีแผนพัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลผูปวยมะเร็งโปรแกรม Thai Cancer Based เครือขายเขตบริการสุขภาพท่ี 8 รวมกับศูนยมะเร็งอุดรธานีใหรวดเร็วทันเวลาและเปนปจจุบันโดยนําเสนอผูบริหารกําหนดใหทุกจุดบริการท่ีเก่ียวของกับการใหบริการผูปวยมะเร็งมีการติดตั้งโปรแกรมมะเร็ง Thai Cancer Based และพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีในการบันทึกขอมูลทะเบียนมะเร็งโปรแกรม Thai Cancer Based โดยจัดทําโครงการอบรมการจัดทําทะเบียนมะเร็งโดยใชโปรแกรมThai Cancer Based รวมกับศูนยมะเร็งอุดรธานีและนําเสนอผูบริหาร จัดทําคําสั่งแตงตั้งเพ่ิมเติมคณะกรรมการผูรับผิดชอบงานทะเบียนมะเร็งทุกจุดบริการท่ีเก่ียวของและพัฒนาระบบการสงตอเพ่ือดูแลตอเนื่อง/การคนหาผูปวยในระยะเริ่มแรกใหรวดเร็วรวมกับเครือขายในชุมชนโดยใช Group Line เครือขายสุขภาพ

5.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการใหยาเคมีบําบัดหลักสูตร 10 วันในหนวยงานท่ีเก่ียวของใหครบ 100%5.3 นําเสนอผูบริหารจัดสรรเครื่องตรวจแมมโมแกรมเพ่ือเพ่ิมความรวดเร็วในการตรวจวินิจฉัย5.4 พิจารณาจัดสรรเครื่องมือในการทํา Colposcope & Biopsy & LEEP เพ่ิมในโรงพยาบาลชุมชนท่ีมี

ความพรอม และเพ่ิมศักยภาพของทีมแพทยและพยาบาลใหมีความพรอมในการบริการดวยการสงอมรมเพ่ิมเติม5.5 แผนพัฒนาใหมีหนวยเฉพาะในการดูแลผูปวยรับยาเคมีบําบัด5.6 รวมกับงานอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลหนองคายการดูแลสุขภาพบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการใหยาเคมี

บําบัดใหมีระบบท่ีชัดเจนในการตรวจคัดกรองสุขภาพผูรายงาน 1. นางสาวนติยา ชุดไธสงตําแหนง นกัวชิาการสาธารณสขชานาญการโทร. 083-3684324 e-mail : [email protected]

2. นางณิชา ตั้งพรชูพงศตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร .097-3024137e-mail : [email protected]

Page 97: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 89

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาจักษุ

1. หัวขอการตรวจราชการ1.1 โรคตอกระจก (Blinding Cataract)1.2 โรคเบาหวานข้ึนจอประสาทตา (Diabetic Retinopathy)1.3 Refractive error (เด็กไทยสายตาดี)

2. สถานการณ2.1 Blinding cataract ยังมีผูปวยตอกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ในชุมชนท้ังท่ีอยูในเขตเมืองรวม

ไปถึงเขตชนบท ท้ังท่ีมีการผาตัดตอกระจกมาโดยตลอด ซึ่งยังคงเปนปญหาเรื่องของการเขาถึงบริการการตรวจคัดกรอง การตรวจวินิจฉัยและการผาตัดจากทีมจักษุ

2.2 โรคเบาหวานข้ึนจอประสาทตา (Diabetic Retinopathy) การหมุนเวียนเครื่องถายภาพจอประสาทตายังไมมีประสิทธิภาพ เปนผลใหไมสามารถดําเนินการคัดกรองภาวะเบาหวานข้ึนจอประสาทตาในผูปวย เบาหวานไดครอบคลุมตามเปาหมายคือรอยละ 70

2.3 Refractive Error (เด็กไทยสายตาดี) การเขาถึงบริการคัดกรองสายตาเด็กยังไมครอบคลุมครูยังไมม่ันใจในการคัดกรอง VA จนท.รพ.สต.ยังลงขอมูลใน website Vision2020 ไมถูกตอง การประสานเด็กท่ีมี VA ผิดปกติมาตรวจกับทีมจักษุยังไมครอบคลุม บางอําเภออยูไกลผูปกครองปฏิเสธการรักษา3. ขอมูลประกอบการวิเคราะห

ผลการดําเนินงานปงบประมาณ 2560 ( 9 เดือน : 1ตุลาคม 2559 – 31พฤษภาคม 2560 )

อําเภอ

ตัวชี้วดัอัตราการคัดกรองสายตาในผสอ.

60ปขึ้นไป(เปา75%)

อัตราการคัดกรอง DR(เปา 70 % )

อัตราผูปวยBlinding Cataractไดรับการผาตัดภายใน 30 วัน

(เปา 80%) (เฉพาะอําเภอที่มี Node ผาตัด)

เมือง 70.3220014/14074

80.313209/2577 95.63

ทาบอ 85.4410721/9160

52.073374/1757 98.56

รัตนวาป 57.884974/2879

49.181348/663

ศรีเชียงใหม 54.893853/2115

19.41340/66

สระใคร 81.412646/2154

35.22778/274

สังคม 91.423239/2961

64.17801/514

เฝาไร 92.096183/5694

45.791474/675

โพธิ์ตาก 95.662098/2007

57.06496/283

โพนพิสัย 97.8512437/12170

62.022736/1697 100

เฉล่ียภาพรวมจังหวัด 80.3166260/53215

58.4414556/8506 97.19

Page 98: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 90

4. สรุปประเด็นสําคัญ ท่ีเปนความเสี่ยงตอการทําใหการขับเคลื่อนนโยบายหรือการดําเนินงานไมประสบผลสําเร็จ( Key Risk Area/Key Risk Factor ) ซึ่งไดจากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห จากการตรวจติดตาม

4.1 การเขาถึงบริการและการบริหารจัดการระบบการคัดกรองโรคตอกระจกชนิดตาบอดในพ้ืนท่ีปฐมภูมิใหครอบคลุมกลุมเปาหมาย

4.2 ขาดการเชื่อมโยงระหวางระหวางจนท.ในพ้ืนท่ีปฐมภูมิกับจนท.ทีมจักษุ หลังจากคัดกรองสายตาประชากร 60 ปข้ึนไปแลวสวนมากไมไดประสานสงกลุมเปาหมายมาพบทีมจักษุ เพ่ือรับการตรวจวินิจฉัยและผาตัดตามเกณฑตัวชี้วัดท่ีกําหนด

4.3 Diabetic Retinopathy ยังไมสามารถดําเนินการคัดกรองภาวะเบาหวานข้ึนจอประสาทตาในผูปวยเบาหวานไดครอบคลุมตามเกณฑท่ีกําหนดคือรอยละ 70

4.4 Refractive error (เด็กไทยสายตาดี) การเขาถึงบริการคัดกรองสายตาเด็กยังไมครอบคลุม ครูยังไมม่ันใจในการคัดกรอง VA จนท.รพ.สต.ยังลงขอมูลใน website Vision2020 ไมถูกตอง การประสานเด็กท่ีมี VA ผิดปกติมาตรวจกับทีมจักษุยังไมครอบคลุม บางอําเภออยูไกลผูปกครองปฏิเสธการรักษา

5.ปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุเปาประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจราชการรับไปประสานหรือดําเนินการตอ

1.การเขาถึงบริการและการบริหารจัดการระบบการคัดกรองโรคตอกระจกชนิดตาบอดในพ้ืนท่ีปฐมภูมิใหครอบคลมุกลุมเปาหมาย

-จัดใหมีทีมจักษุรพ.หนองคายออกตรวจตอกระจกเชิงรุกท่ีรพ.โพนพิสัย ( รพ.ทาบอ มีจักษุแพทยจากรพ.หนองบัวลําภมูาออกตรวจวินิจฉัยและผาตดั 3 ครั้ง/เดือน)

2 .ขาดการเช่ือมโยงระหวางจนท.ในพ้ืนท่ีปฐมภูมิกับจนท.ทีมจักษุในการสงกลุมเปาหมายมารับการตรวจโดยทีมจักษุแพทย

- ประสานผูรับผิดชอบงาน Service Planจักษุ สส.จ.ชวยประสานงานขอความรวมมือลงสูหนวยปฐมภูมิ

3.การจัดตารางเวียน Fundus cameraยังไมมีประสิทธิภาพ

- จัดตารางเวียน Fundus Camera เนนใหผูรับผิดชอบงานใหดําเนินการถายภาพจอประสาทตาผูปวยเบาหวานใหครอบคลุมกลุมเปาหมาย ใชเครื่องใหเกิดประโยชนสูงสดุ

4.การเขาถึงบริการคัดกรองสายตาเด็กยังไมครอบคลุม ครูยังไมมั่นใจในการคัดกรอง VA จนท.รพ.สต.ยังลงขอมลูในwebsite Vision2020 ไมถูกตอง การประสานเด็กท่ีมี VA ผิดปกติมาตรวจกับทีมจักษุยังไมครอบคลมุ บางอําเภออยูไกลผูปกครองปฏเิสธการรักษา

- จัดประชุมใหความรูการคัดกรองสายตาเด็กใหแกครูประจําช้ันเด็กนักเรียนป.1 มีการประเมินผลโดย Pre Test+Post Test และการลงขอมูลใน Website Vision2020แกจนท.หนวยปฐมภมูิและวิธีการใหขอมูลเก่ียวกับความสําคัญของการมาพบทีมจักษุเพ่ือตรวจรักษาและรับแวนสายตา

ผูรายงาน นางสุนิษฐา เชี่ยวนาวินตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการโทร . 085 0003326e-mail : [email protected]

Page 99: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 91

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาสุขภาพชองปาก

หัวขอตรวจราชการ : การสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค และการคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพหัวขอท่ี 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต (ดานสุขภาพ) ทุกกลุมวัยตัวช้ีวัดท่ี 18 รอยละเด็กกลุมอายุ 0-12 ปฟนดีไมมีผุ (cavity free)

1. รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด เปาหมายผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ.

2557 2558 2559 2560รอยละเด็กกลุมอายุ 0-12 ปฟนดีไมมีผุ (cavity free)

ไมนอยกวารอยละ 52 (เพ่ิมข้ึนรอยละ2) 54.34 52.56 60.01 64.38

2. สถานการณดานสุขภาพชองปากของเด็ก 0-12 ป ( ตุลาคม 2559 – พฤษภาคม 2560)ที่ โรค/ปญหา 2557 2558 2559 2560

กลุมอายุ 0-2 ป ในคลินิกเด็กดี1 รอยละเด็ก 18 เดือน ที่มีฟนน้ํานมผุ 21.43 11.36 3.60 17.042 รอยละเด็ก 18 เดือนไดรับการแปรงฟนจากผูปกครอง

กอนนอน0.67 18.75 50.85 44.22

กลุมอายุ 3-5 ปในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก3 รอยละเด็ก 3 ปมีฟนน้าํนมผุ NA 45.32 33.90 27.14

กลุมอายุ 6-12 ป ในโรงเรียนประถมศึกษา4 รอยละเด็ก 6 ป มีฟนแทผุ 6.57 7.79 8.08 5.955 รอยละเด็ก 12 ป มีฟนแทผุ 45.66 47.44 39.99 29.996 รอยละเด็ก 12 ป ปราศจากฟนผุเปนรู(cavity free) 54.34 52.56 60.01 70.017 อัตราการบริโภคน้ําหวานของเด็กวัยเรียน (คร้ัง/วัน) 1.69 1.18 2.03 18 อัตราการกินขนมกรุบกรอบของเด็ก (คร้ัง/วัน) 1.77 1.14 1.53 1.759 รอยละของเด็กแปรงฟนหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียน

ทุกวัน44.23 14.32 43.23 96

3. การดําเนินงาน (มาตรการ/แนวทาง/Small Success 3m,6m,9m,12m)ปงบประมาณ 25601. ใหสุขศึกษาในโรงเรียนพอแมกอนคลอด2. สงเสริมการดูแลชองปากเด็กทุกคนใน wcc และฝกปฏิบัติการดูแลชองปากและฟน

Page 100: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 92

2. ผลการดําเนินงานรอยละเด ็กกลุมอายุ 12 ปฟนดีไมมีผุ ปงบประมาณ 2557-2559

OHSP รอยละของเด็กอายุ 12 ป มีฟนดีไมมีผุ (Cavity Free) (คน) อําเภอเมือง จ.หนองคายป 2560รายชื่อ ศสม./รพ.สต. เด็ก 12 ป ท้ังหมดท่ีตรวจ(คน) เด็กอายุ 12 ป มีฟนดีไมมีผุ(คน) รอยละ

1. ในเมือง 664 449 67.622.มีชัย 25 12 48.003.โพธ์ิชัย 30 17 56.674.กวนวัน 18 10 55.565.เวียงคุก 139 126 90.656.วัดธาตุ 72 48 66.677.หาดคํา 35 10 28.578.หินโงม 24 9 37.509.ทาจาน 7 3 42.8610.บานเดื่อ 63 43 68.2511.นาฮี 87 34 39.0812.คายบกหวาน 87 80 91.9513.โพนสวาง 58 49 84.4814.พระธาตุบังพวน 105 96 91.4315.หนองกอมเกาะ 56 27 48.2116.ปะโค 88 77 87.5017.เมืองหมี 0 0 0.0018.สีกาย 9 7 77.78รวมท้ังอําเภอ 1,567 1,097 70.01

ขอมูลจาก HDC เม่ือวันท่ี 30พ.ค.60 ในภาพรวมของอําเภอ มีอัตราเด็กอายุ 12 ป มีฟนดีไมมีผุ รอยละซ่ึงสูงกวาท่ีกําหนดรอยละ 52 ตําบลท่ีมีอัตราฟนดีไมมีผุ(Cavity Free) ผานเกณฑ 11 แหง3.ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ

ปญหา/อุปสรรค/ปจจัยท่ีทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ขอเสนอแนะท่ีใหตอหนวยรับตรวจ สิ่งท่ีผูทําหนาท่ีตรวจประเมินไปประสาน หรือ ดําเนินการตอ

1.ผูปกครองไมคอยเห็นความสําคญัในการดูแลชองปาก ไมมีเวลาพาบุตรหลานมารับบริการสุขภาพชองปาก หลังจากไดรับการตรวจและแจงผลดารตรวจชองปากจากทันตบุคลากรไปแลว

ประสานใหผูบริหารโรงเรยีนเห็นความสําคญัในการดูแลชองปากและสนับสนุนเรื่องกิจกรรมแปรงฟนหลังอาหารกลางวัน

2.สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธเรือ่งขนมขนมกรุบกรอบกรอบ นํ้าอัดลมและนํ้าหวานตางๆคอนขางแพรหลายและมีอิทธิพลในการบริโภคตอเด็กมาก3.ในสถานศึกษายังมีการอนุญาตใหมีการขายขนมและนํ้าหวาน

Page 101: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 93

หัวขอท่ี 2ตัวช้ีวัด- รอยละของ รพ.สต./ศสม. ท่ีใหบริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพไมนอยกวารอยละ 60

(รอยละหนวยบริการปฐมภูมิจัดบริการทันตกรรม)- อัตราใชบริการสุขภาพชองปากของประชาชนในพ้ืนท่ีไมนอยกวารอยละ 35

1. สถานการณ2. จํานวนประชากรท้ังหมด คนจํานวนประชากรสิทธิ์ UC คน2.1 หนวยบริการสุขภาพชองปาก

จํานวนตําบล 17 แหง จํานวน CUP' - แหงจํานวน ศสม. 2 แหง จํานวน รพ.สต. 17 แหงจํานวนคลินิกทันตกรรม - แหง รพ.เอกชน - แหง

2.2 จํานวนทันตบุคลากรอําเภอเมืองหนองคาย2.2.1 จํานวนทันตแพทยท้ังหมด 13 คน สัดสวนทันตแพทยตอประชากร 1: - คนทพ.กสธ. - คน ทพ.รัฐอ่ืนๆ - คนทพ.เอกชน - คน จํานวนทันตแพทยเฉพาะทาง 7 คน2.2.2จํานวนทันตาภิบาลท้ังหมด 9 คน สัดสวนทันตาภิบาลตอประชากร 1: - คนทันตาภิบาล ใน สสจ. - คน ทันตาภิบาลใน รพ. 2 คนทันตาภิบาล ใน สสอ. - คน ทันตาภิบาล ใน รพ.สต./ศสม. 7 คนทันตาภิบาลตําแหนงนักวิชาการ 2 คน

นิยามของ “นวก.” คือ ทันตาภิบาลท่ีไดรับการเปลี่ยนตําแหนงเปนนักวิชาการและยังทํางานสุขภาพชองปาก2.2.3 จํานวนผูชวยทันตแพทยท้ังหมด 12 คน ผูชวยทันตแพทย

(ในตําแหนงจพง.ทันต)8 คน

ลูกจางชวยงานทันตกรรมในรพ. 2 คน ลูกจางทันตกรรมในรพ.สต. 7 คน2.2.4 จํานวนชางทันตกรรม - คน รอยละรพ.สต.ท่ีมีลูกจางชวยงาน

ทันตกรรม2.3 ครุภัณฑทันตกรรมในการใหบริการ ใน รพ.สต./ศสม.

จํานวนรพ.สต. /ศสม. ท่ีมีครุภัณฑทันตกรรมครบชุด

19 แหง จํานวนรพ.สต./ศสม.มีครุภัณฑทันตกรรมไมครบชุด

- แหง

จํานวนรพ.สต. /ศสม. ท่ีไมมีครุภัณฑทันตกรรม

- แหง

2.4 ความพรอมในการใหบริการ ใน รพ.สต./ศสม.จํานวนรพ.สต. /ศสม. ท่ีมีทันตบุคลากรประจําและครุภัณฑทันตกรรมครบชุด

7 แหง จํานวนรพ.สต. /ศสม. ท่ีมีทันตบุคลากรหมุนเวียนจากรพ.ใหบริการและครุภัณฑทันตกรรมครบชุด

12 แหง

จํานวนรพ.สต. /ศสม. ท่ีมีทันตบุคลากรหมุนเวียนจากรพ.ใหบริการแตมีครุภัณฑทันตกรรมไมครบชุด

- แหง จํานวน รพ.สต. /ศสม.ท่ีไมมีบริการทันตกรรม

- แหง

Page 102: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 94

3. ขอมูลประกอบการวิเคราะห (ระบุรายการขอมูลท่ีจําเปนสําหรับการตรวจติดตามท่ีจําเปนในแตละประเด็น)3.1 การจัดบริการสุขภาพชองปากในรพ.สต./ศสม.อยางมีคุณภาพของคปสอ.

(รอยละหนวยบริการปฐมภูมิจัดบริการทันตกรรม)ตัวช้ีวัด:รอยละหนวยบริการปฐมภูมิ ท่ีใหบริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพรอยละ 50

ในภาพรวมคปสอ. มี รพ.สต./ศสม.ท่ีจัดบริการสุขภาพชองปากไดตามเกณฑคุณภาพงวด 5 เดือน จํานวน -แหง คิดเปนรอยละ - รพ.สต.ท่ีมีผลงานในการจัดบริการครอบคลุม 6 กลุมอายุ 14 กิจกรรม และใหบริการประชากรครอบคลุมอยางนอย 100 คน/1,000 ประชากร ในการประเมินตาม Small Success 5เดือนยังไมผานเกณฑ คือ3.2 อัตราการใชบริการสุขภาพชองปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในพื้นท่ี(ท้ัง คปสอ.)ตัวช้ีวัด: อัตราการใชบริการสุขภาพชองปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในพ้ืนท่ี >=รอยละ 35(จังหวัดหนองคายกําหนด 34)แหลงขอมูล :ตัวตั้งHDC กลุมรายงานมาตรฐาน->การเขาถึงบริการ ->ทันตกรรม (บริการ) ขอ 1

- ขอมูล จาก HDC ณ วันท่ี 30พ.ค. 2560 ในภาพรวมของอําเภอ พบวาอัตราการใชบริการสุขภาพชองปากรวมทุกสิทธขิองประชาชนในเขตเฉลี่ยรอยละ 21.61 ซึ่งถือวาผาน/ไมผานเกณฑข้ันต่ําของการประเมินรอบนี้ท่ีควรมีผลงานไมนอยกวารอยละ 32รพ.สต.

- ขอมูลท่ีไดจาก HDC ซึ่งยังเปนปญหาไมสามารถดึงขอมูลได 100 % ทางกลุมงานทันตกรรม/ทันตสาธารณสุข จะทําอะไร/ตองแกไขและพัฒนาอยางไรตารางแสดงผลงานรอยละรพ.สต./ศสม.ท่ีจัดบริการสุขภาพชองปากท่ีมีคุณภาพ>= รอยละ 60

(เดือนตุลาคม 2559 - พฤษภาคม 2560)ชื่อ ศสม./รพ.สต. มีทันตาภิบาลประจํา

( / )องคประกอบท่ี 1 มี

14กิจกรรม( / )องคประกอบท่ี 2 มี

ผลงานตามเกณฑ( / )รวมผานเกณฑ 2องคประกอบ( / )

1.รพ.สต.มีชัย / / /2.รพ.สต.โพธ์ิชัย / / / /3.รพ.สต.กวนวัน /4.รพ.สต.เวียงคุก / /5.รพ.สต.วัดธาตุ / / / /6.รพ.สต.หาดคํา / /7.รพ.สต.หินโงม / / / /8.รพ.สต.ทาจาน / /9.รพ.สต.บานเดือ่ / / / /10.รพ.สต.นาฮี / / / /11.รพ.สต.คายบกหวาน / / / /12.รพ.สต.โพนสวาง /13.รพ.สต.พระธาตุบังพวน / / / /14.รพ.สต.หนองกอมเกาะ / / /15.รพ.สต.ปะโค / / /16.รพ.สต.เมืองหมี / / /17.รพ.สต.สีกาย / / /18.ศสม.เมืองรวมท้ังอําเภอ 8 17 13 13( / )หมายถึงผานเกณฑ

Page 103: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 95

ตารางแสดงอัตราการใชบริการสุขภาพชองปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในเขต >= รอยละ 35ชื่อ ศสม./รพ.สต. รอยละการเขาถึงบริการ

สุขภาพชองปาก ป 2559ประชากรType1+3ป 2560

ผลงานทันตฯป2560 (คน)

รอยละการเขาถึงบริการ

สุขภาพชองปาก

1.รพ.สต.มีชัย 20.92 5,474 2,640 48.232.รพ.สต.โพธ์ิชัย 21.00 6,138 1,676 27.313.รพ.สต.กวนวัน 13.32 3,641 582 15.984.รพ.สต.เวียงคุก 30.79 4,685 925 19.745.รพ.สต.วัดธาตุ 22.58 7,662 1,851 24.166.รพ.สต.หาดคํา 23.71 7,258 1,329 18.317.รพ.สต.หินโงม 33.33 2,874 1,103 38.388.รพ.สต.ทาจาน 39.61 1,041 358 34.399.รพ.สต.บานเดื่อ 22.02 6,278 1,854 29.5310.รพ.สต.นาฮี 18.10 5,865 1,539 26.2411.รพ.สต.คายบกหวาน 29.40 4,916 1,622 32.9912.รพ.สต.โพนสวาง 13.46 5,692 1,123 19.7313.รพ.สต.พระธาตบุังพวน 20.50 8,147 2,563 31.4614.รพ.สต.หนองกอมเกาะ 21.97 6,436 1,461 22.715.รพ.สต.ปะโค 19.76 5,324 1,568 29.4516.รพ.สต.เมืองหมี 17.22 3,077 652 21.1917.รพ.สต.สีกาย 15.51 2,592 976 37.6518.รพ.หนองคาย 39.37 18,984 1,695 8.9319.เทศบาลเมืองหนองคาย 18.23 7,829 556 7.1ศูนยฯ2(นาโพธ์ิ) 14.16 9,781 702 7.18

รวม (19 แหง)คิดเปนรอยละ 23.82 123,694 26,775 21.65

Page 104: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 96

4.สรุปประเด็นสําคัญท่ีเปนความเสี่ยงตอการทําใหการขับเคลื่อนนโยบายหรือการดําเนินงานไมประสบความสําเร็จ(Key Risk Area / Key Risk Factor) ซ่ึงไดจากการวินิจฉัย ประมวล วิเคราะห สังเคราะห จากการตรวจติดตาม

ผูรายงาน ทพ.ณัฐ พนินทรตําแหนงทันตแพทยชํานาญการพิเศษ

ปญหาดําเนินการ

สรุปกรณีใช ใหระบุพ้ืนท่ีท่ีมีปญหาหรือระบุจํานวน

ความตองการใช ไมใช

ปญหาการลงบันทึกขอมูลการตรวจสอบการสงออก และ ใชขอมูลจาก43 แฟม เพ่ือการวางแผนและประเมินผล

/

ขาดแคลนทันตาภิบาลประจํารพ.สต /ขาดแคลนผูชวยงานทันตกรรมประจํารพ.สต. /

ขาด Oral Health Manager ในการวิเคราะหและวางแผน เพ่ือลดปญหาโรคในชองปาก

/

ศักยภาพทันตแพทยในการพัฒนาโครงการแกปญหาในพ้ืนท่ี /

ขาดแคลนทันตแพทยทําใหมีปญหาในการจดับริการหมุนเวียน /

ไดรับงบประมาณในการจัดบริการไมเพียงพอ /

ขาดยูนิตทันตกรรมในรพ.สต. /

มาตรการแกปญหาไมชัดเจน /

ปญหาอ่ืนๆระบุ

Page 105: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 97

คณะท่ี 2 : การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาการรับบริจาคและปลูกถายอวัยวะ

ตัวช้ีวัดการตรวจราชการ :ตัวชี้วัด 30 จํานวนการปลูกถายไตสําเร็จ (650 ราย)ตัวชี้วัด SP30. จํานวนผูบริจาคอวัยวะจากผูปวยสมองตายในแตละรพ.Donor

เปาหมาย 38 แหง >1ราย : 100 hospital deathตัวชี้วัดSP 31. จํานวนผูบริจาคดวงตาจากผูเสียชีวิตในแตละรพ. A และ S>5 ราย :100 hospital death

1. สถานการณ1. จํานวนผูปวยสมองตายท่ียินยอมบริจาคอวัยวะ (เปาหมาย> 1ราย ตอผูปวยท่ีเสียชีวิตใน รพ. 100 ราย

ตามยอดป 2559) (ติดตามใน รพ. organ donor center เปาหมาย 38 แหง)

2. จํานวนผูเสียชวีิตท่ียินยอมบริจาคดวงตา (เปาหมาย> 5 ราย ตอผูปวยท่ีเสียชีวิตใน รพ. 100 รายตามยอดป 2559) (ติดตามใน รพ.A, S และ M1)

รายละเอียดขอมูลพื้นฐาน

ขอมูล 2557 2558 2559 2560 (9)Hospital Death 509 514 513 106Trauma death 40 46 63 12เปาหมายเขต รอยละ 1 4 5 6 -

บริบทจังหวัดหนองคายเปนหนวยงานสนับสนุนงานสาขาการปลูกถายไต (Kidney Transplantation) ในดานการเปนศูนยรับบริจาคอวัยวะ เปดดําเนินการเม่ือ 13 พฤศจิกายน 2557ท่ีทํางานผูปวยหนัก1 อาคารหลวงปูขาวชั้น 2. ทีมงานประกอบดวย นพ.ฉัตรชัย บุญประชารัฐ เปนประธานศูนย นางณฤดี ทิพยสุทธิ์ เปนพยาบาลดําเนินงานพยาบาลหัวหนาศูนย มีทีมพยาบาลท่ีผานการอบรมเปน TC Nurse 5 คนทําหนาท่ีในการรณรงคประชาสัมพันธและประสานการดูแลผูบริจาคอวัยวะ

2. แผนการดําเนินงาน2.1 เปดศูนยรับบริจาคอวัยวะ 15 พ.ย. 2556โดยผูวาราชการจังหวัดและสํานักงานเหลากาชาดจังหวัด2.2 ศูนยฯ ตั้งอยูท่ี งานผูปวยหนัก1 โรงพยาบาลหนองคาย2.3 โครงสรางของศูนย ตามคําสั่งกระทรวง เลขท่ี สธ 0228.07.3/104502.4 คําสั่งการแตงตั้งคณะกรรมการบริจาคอวัยวะโรงพยาบาลหนองคาย: คณะกรรมการอํานวยการ

คณะกรรมการดําเนินงานและคณะกรรมการฝายประชาสัมพันธ2.5 กิจกรรมรณรงคประชาสัมพันธทุกสัปดาห รวมกับ ทีมออกรับบริจาคโลหิตและสํานักงานเหลากาชาดจังหวัดทุกสัปดาห2.6 มีผูแสดงความจํานง ดังนี้– 2557=382– 2558=433– 2559=339– 2560(9)=235

2.7 กิจกรรมทําบุญอุทิศแก ผูบริจาคอวัยวะ ทุกป

Page 106: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 98

ผลการดําเนินงานท่ีผานมา

ป 2559 บริจาค 6 ราย แตจัดเก็บไดเฉพาะดวงตา 3 รายอีก 3 ราย พบปญหา การติดเชื้อ 2 ราย อีก 1 รายสามีโดยกฎหมาย(แยกทางโดยพฤตินัยแลว3 ป)ท่ีตางประเทศไมยินยอม

ป 2560 (9) บริจาค 1 (ได ไตและกระจกตา) มีกิจกรรมทําบุญอุทิศใหแกผูบริจาคฯ ในวันท่ี 13 มิ.ย 2560

3. ปญหา อุปสรรค3.1 ระยะกอนการบริจาค- ดานผูบริจาค: ครอบครัว ไมไดรับขอมูลเก่ียวกับการบริจาคมากอน อางผูปวยไมไดแสดงความจํานงไว

(2) มีความเชื่อท่ีไมเอ้ือ (4)ยอมรับการเสียชีวิตของผูปวยไมได (5) ไดรับขอมูลท่ีในแงไมดี เชนการซื้อขาย ถูกยายออกไปท่ีอ่ืนแลวญาติขอกลับ(2) รอแม/พอมาตัดสินใจ(1)

- ดานของทีม: สถานการณไมไดดูแลมากอน ไมไดรับแจงตั้งแตเนิ่นๆเม่ือมีผูปวย ความสัมพันธกับญาติความไมม่ันใจในการเจรจา บางรายเปนแขกคนสําคัญ(1) ณ.เวลามีผูปวยไมมีผูเจรจาอยูเวร

3.2 ระหวางการรอผาตัดจากทีม :- เสียชีวิตกอน ญาติรูสึกกังวล กลัวผูปวยจะทรมาน ทีมมาชาเนื่องจากการเดินทาง การดูแลทีม ตอง

อาศัยพยาบาลเจรจา- การดูแลผูบริจาคอวัยวะ : การดูแลใหมีอวัยวะท่ีเหมาะสม(BP> 100,U > 30 cc, BT > 36 ปญหา BP,

Na สูง Polyuria ตองมีแพทยชวยบริหารหรือแกไข- การทํา Apnea test ไมไดถา BP <90- การประสานงานการสงเลือดไปยังสภากาชาด- การสื่อสารท่ีตองอาศัยเครื่องมือสื่อสารท่ีรวดเร็ว เชน line,Tel โดยตรง3.3 ดานอ่ืนๆ- ขาดทีมรวมดูแลผูบริจาคในการรักษาใหอวัยวะสมบูรณมากท่ีสุดผูปวยจะมีปญหา BP drop* ,

Electrolyte imbalance, Polyuria- การดูแลในชวงเวรกลางคืน- เครื่องมือในการสื่อสารกับองคกรท่ีเก่ียวของ- ไมมียาแกปญหาภาวะ DI ของผูปวย3.4 การนําสงรางผูบริจาค-ไมมีทีมชวยท่ีชัดเจนตองประสานเปนครั้งๆไปมีปญหาโดยเฉพาะนอกเวลาราชการ(เวรบาย/ดึก)-จุดเดน คือ สํานักงานเหลากาชาดมารวมมอบหรีดทุกราย

จํานวน 2557 2558 2559 2560

Potential Donor 19 18 21 27เจรจา 11 18 19 11บริจาค 3 3 3(6*) 1

Page 107: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 99

4. ขอเสนอแนะ- TC Nurse ท่ีเปน Full time รอการประกาศจากหนวยงานท่ีเก่ียวของ- สื่อ/กิจกรรมทาง Social Media- จัดประชุมภายในโรงพยาบาล และปรับปรุงคณะกรรมการ- ประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินการบริจาคอวัยวะภายในจังหวัด

ผูรายงาน นางณฤดี ทิพยสุทธิ์ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษโทร. 061-6894440e-mail [email protected]

Page 108: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 100

คณะที่ 2 การพัฒนาระบบบริการการตรวจราชการ : Service Plan สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

หัวขอการตรวจราชการ : การพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินครบวงจร และระบบการสงตอตัวช้ีวัด 53. รอยละ 60 ของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ข้ึนไป

54. รอยละ 25 ของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ข้ึนไป56. อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) (PS Score > 0.75) < 1%

สถานการณจังหวัดหนองคายมีโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จํานวนท้ังสิ้น 9 แหง ประกอบดวย โรงพยาบาล

ท่ัวไป (ระดับ S) 1 แหง และโรงพยาบาลชุมชน 8 แหง แบงเปนระดับ M2 จํานวน 2 แหง ระดับ F2 จํานวน 2 แหงและระดับ F3 จํานวน 4 แหง การพัฒนา ER คุณภาพในโรงพยาบาล ประเมิน 4 มิติ คือ มิติท่ี 1 มิติการบริการและนโยบาย เปนการประเมินผูอํานวยการและทีมบริหารเก่ียวกับนโยบาย การสนับสนุนการพัฒนาระบบรักษาพยาบาลมิติท่ี 2 มิติผูใหบริการ ซึ่งจะเนนในประเด็นความพรอมของทรัพยากร ไดแก อาคาร สถานท่ี บุคลากร ระบบใหคําปรึกษา การวิเคราะหขอมูล มิติท่ี 3 มิติดานผูรับบริการ เนนผลลัพธจากการเขารับการรักษาพยาบาล และมิติท่ี 4มิติดานความพึงพอใจของผูปฏิบัติงานวัตถุประสงค : เพ่ือรองรับผูปวยอุบัติเหตุและฉุกเฉินไดอยางมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ1. รายละเอียดขอมูลพืน้ฐาน

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวชี้วัด เปาหมายผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ พ.ศ.

2558 2559 25601. รอยละของโรงพยาบาลระดบั F2 ข้ึนไปมีการพัฒนาคุณภาพ ECS ผานเกณฑ2. รอยละของ ER คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ข้ึนไป3. อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma)(PS Score > 0.75)

> 60%

> 25%

< 1%

NA

NA

NA

NA

NA

NA

100%(ผาน5แหง)

20%(ผาน1แหงจาก5แหง)

1.62

2. แผนการดําเนินงาน (มาตรการ/แนวทาง/Small Success 3m,6m,9m,12m) ปงบประมาณ 2560การดําเนินงาน ECSจังหวัดหนองคาย

1. การจัดตั้งคณะทํางานพัฒนาบริการสาขาอุบัติเหตุ-ฉุกเฉินและการสงตอจังหวัดหนองคาย ตามคําสั่งท่ี7/2560 ลงวันท่ี 18 มกราคม 2560

2. รวมกับเขตสุขภาพท่ี 8 จัดทําคูมือการประเมิน ER ECS ไดใชเปนแนวทางการประเมินโรงพยาบาลระดับตางๆในการประเมินตนเอง เพ่ือหาโอกาสในการพัฒนา

3. ประชุมคณะทํางานในการใชแบบประเมินและใหโรงพยาบาลประเมินตนเองตามแนวทาง4. ผลการประเมินตนเองรพ.ในจังหวัดหนองคายท้ังหมด 9 แหงทําการประเมินตนเองท้ัง 9 แหง มีรพ.ระดับ

F2ข้ึนไปจํานวน 5 แหง (ระดับS=1แหง=รพ.หนองคาย,ระดับM1=1แหง=รพร.ทาบอ.ระดับM2=1แหง=รพ.โพนพิสัย,รพ.F2=2แหง=รพ.สังคม,รพ.ศรีเชียงใหม)

5. แตละโรงพยาบาลหาโอกาสพัฒนาตนเองและเสนอผูบริหาร ปรับปรุง พัฒนางานในระดับโรงพยาบาล6. จังหวัดรวบรวมการดําเนินงานเพ่ือดําเนินงานตามโอกาสพัฒนา

Page 109: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 101

3. ผลการดําเนินงาน ปงบประมาณ 2559 และ ปงบประมาณ 2560 (ตุลาคม 2559 – พฤษภาคม 2560)ผลการดําเนินงาน : การประเมิน ECS คุณภาพและการจักการภาวะฉุกเฉินหมูและภัยพิบัติ

ตารางแสดงผลการประเมินECSคุณภาพ(พฤษภาคม2560)ตารางท่ี1: แสดงผลการประเมินECSคุณภาพ(พฤษภาคม2560)

รายการ รอยล

รพ.

หนอง

คาย

รพร.

ทาบอ

รพช.

โพนพิ

สัยรพ

ช.สัง

คม รพช.

ศรีเชีย

งใหม

รวม

มิติท่ี 1 การประเมินผูอํานวยการและทีมบริหาร % 80 87 77.1 40 34.3 63.68

มิติท่ี 2 การประเมินคณะทํางานหรือบุคลากรในโรงพยาบาลองคประกอบท่ี 1 อาคารสถานท่ี % 60.2 54.5 29.9 40.6 43.6 45.76

องคประกอบท่ี 2 บุคลากร % 46.1 62.1 52.4 48.9 25.2 46.94

องคประกอบท่ี 3 การรักษาพยาบาล % 64.3 70.8 64.2 45.8 59.2 60.86

องคประกอบท่ี 4 MCI and Disaster management % 60 50 65 45 45 53

องคประกอบท่ี 5 Referral system % 26.7 15 30 40 45 31.34

องคประกอบท่ี 6 การปรึกษาผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง % 80 72 60 60 52 64.80

องคประกอบท่ี 7 ระบบสนับสนุน % 75.2 74 76.2 40 34.1 59.90

องคประกอบท่ี 8 Pre – Hospital EMS intervention % 56 45 34 53.3 51.7 48.00

องคประกอบท่ี 9 ระบบบริหารจัดการ % 0 60 35 20 23.00

องคประกอบท่ี 10 Inform – action system % 46.7 40 66.7 30 38.8 44.44

องคประกอบท่ี 11 การพัฒนาคุณภาพ % 80 53.3 100 60 66.7 72.00

องคประกอบท่ี 12 การศึกษาและวิจัย % 30 5 40 15 5 19.00

รวมรอยละ % 57.6 53.6 59.00 42.9 41.2 50.86

ผลการประเมิน ECS คุณภาพ รวมคะแนนท้ังรวมคะแนนท้ัง 4 มิติ 12 องคประกอบ โรงพยาบาลตั้งแตระดับ F2 ข้ึนไป มีจํานวน 5 โรงพยาบาล ผานเกณฑรอยละ 40ท้ัง 5 แหงและภาพรวมการประเมินอยูท่ี 50.86รูปภาพท่ี1

0

20

40

60

80

รอ้ยละ 57.6 53.6 59 41.2 42.9 50.86

รพ.หนองคาย รพ.ท่าบ่อ รพ.โพนพสิยั รพ.ศรเีชยีงใหม่ รพ.สงัคม รวม

57.653.6

59

41.242.9 50.86

Page 110: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 102

รูปภาพท่ี 2 :แสดงผลการประเมินดาน MCI and Disaster Management(การจักการภาวะฉุกเฉินหมูและภัยพิบัติ)เกณฑรอยละ60ของรพ.F2ข้ึนไปผานเกณฑทุกโรงพยาบาล(5 แหง)

6050 65

45 45 53

0

20

40

60

80

รพ.หนองคาย รพ.โพนพสิยั รพ.สงัคม

รอ้ยละ

การประเมิน ECS คุณภาพ เนนมิติท่ี 2 มิติผูใหบริการ พบโอกาสพัฒนา ดังนี้1. แผนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรตองผานการอบรมหลักสูตร ACLS, ATLS, Triage monitor, Pre-

hospital emergency2. แผนเพ่ิมบุคลากร เชน แพทยเวชศาสตรฉุกเฉิน แพทยนิติเวช พยาบาลเฉพาะทางผูปวยอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน

และพยาบาลดานศัลยกรรมอุบัติเหตุหลักสูตร 4 เดือน3. แผนการพัฒนาระบบสงตอ การนําประเด็นปญหามาวิเคราะหโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในระดับจังหวัด4. จัดทํา CPG ในการดูแลผูปวย EMS ครอบคลุมสถิติโรคสําคัญในพ้ืนท่ีอยางนอย 5 กลุมโรค5. สนับสนุนบุคลากรในการทําวิจัย R2R

ตารางท่ี 1 : แสดผลการดําเนินงาน ER คุณภาพตัวชี้วัดท่ีสําคัญ ปงบประมาณ 2559 ปงบประมาณ 2560 (ต.ค.-พ.ค. 2560)

เปาหมาย ผลงาน รอยละ เปาหมาย ผลงาน รอยละ

1. รอยละของผูปวย OHCAมี ROSCของ รพ. ระดับ F2ข้ึนไป รอยละ 30 56/220 25.45 รอยละ 25 35/127 27.55

2. รอยละของผูปวย OHCAของ รพ. ระดับ F2, M1และ M2 ท่ีมีชีวิตรอดจนถึงการนําสง (Survival to Refer)

รอยละ 15 30/88 34.09 รอยละ 15 10/33 30.30

3. รอยละผูปวย รพ. ระดับS/M2(รพร.ทาบอ) ท่ีมีชีวิตรอดจนถึงรับไวในรพ. (Survival to hospitalAdmission)

รอยละ 15 24/132 18.18 รอยละ 15 13/94 13.82

Page 111: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 103

รูปภาพท่ี 3 : แสดงผูปวย OHCA มี ROSC ของ รพ. ระดับ F2ข้ึนไป แยกรายโรงพยาบาล ดังภาพ

28.76

19.04

27.27

7.69

33.33

0

5

10

15

20

25

30

35

รพ.หนองคาย รพร.ทา่บอ่ รพ.โพนพสิยั รพ.สงัคม รพ.ศรเีชยีงใหม่

อัตราการมOีRSC

ตารางท่ี 2. แสดง:การวัดประสิทธิภาพ Resuscitate การ CPR ในผูปวย OHCA ไดทันเวลา

การวัดประสิทธิภาพการCPR รพ.

หนอง

คาย

รพร.

ทาบอ รพ.

โพนพิ

สัย

รพ.

สังคม รพ.

ศรีเชีย

งใหม

รวมจ

ังหวัด

ผูปวย OHCAทั้งหมด 73 21 11 13 9 127มี ROSCมากกวา20นาที

21(28.76)

4(19.04)

3(27.27)

47.69)

3(33.33)

35(27.55)

มี ROSC to refer 0(0.00)

0(0.00)

3(27.27)

4(7.69)

3(33.33)

10(30.30)

มRีOSC to admitted 9(12.35)

4(19.34)

-- -- -- 13(13.82)

รูปภาพท่ี4: แสดงการอัตราการวัดประสิทธิภาพResuscitate การCPRในผูปวยOHCAไดทันเวลา

0

5

10

15

20

25

30

35

อตัราการมRีOSCมากกวา่20นาทีอตัราROSC to Refer

อตัราROSC to Admitted

อตัราการมRีOSCมากกวา่20นาที

28.76 19.04 27.27 7.69 33.33 27.55

อตัราROSC to Refer 0 0 27.27 7.69 33.33 30.3

อตัราROSC to Admitted 12.35 19.34 -- -- -- 13.82

รพ.หนองคาย รพร.ทา่บอ่ รพ.โพน

พสิยั รพ.สงัคม รพ.ศรีเชยีงใหม่ รวม

ผา่นเกณฑ์ร้อยละ25ของรพ.F2ขึ นไป(1.25แหง่)

Page 112: ผลการดําเนินงานService Plan โรงพยาบาลหนองคาย รอบที่2/2560 ... · สารบัญ หน า การพัฒนาระบบบริการ(Service

โรงพยาบาลหนองคาย วันที่ 18 - 21 กรกฎาคม 2560หนา 104

โอกาสพัฒนาER คุณภาพ

1. การประเมินERคุณภาพวัดประสิทธิภาพResuscitate การCPRในผูปวยOHCAประเด็นความสําเร็จการมีROSC มีหลายปจจัยท่ีตองนํามาวิเคราะหเชน โรค ระยะเวลาการหยุดหายใจ ระยะทางการนําสงโรงพยาบาลและคุณภาพการ CPR

2. การเก็บขอมูลยังไมครอบคลุม ไมครบถวนขอเสนอแนะเจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานในหองฉุกเฉินทุกคนควรผานการอบรม ACLS ท่ีไดมาตรฐานมีใบรับรองคุณภาพทุกโรงพยาบาล

ผูรายงาน นางนิตยศักดิ์ เทศศรีเมืองตําแหนงพยาบาลวิชาชีพชํานาญการพิเศษโทร. 099-4636565e-mail : [email protected]