48
1 สรุปหลักกฎหมายแพงและพาณิชย หลักทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิและการใชสิทธิ 1.ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต (มาตรา 5) 2. ถามิไดกําหนดดอกเบี้ยไว ใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป (มาตรา 7) 3. ลายพิมพนิ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดี ทําลงในเอกสาร ถาไมไดทําตอหนาพนักงาน เจาหนาทีหากมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 2 คนแลว เสมอกับลงลายมือชื่อ (มาตรา 9) 4. การลงจํานวนเงินในเอกสารดวยตัวอักษรและตัวเลข ถาไมตรงกันและมิอาจทราบเจตนาที่แทจริงได ใหใช จํานวนเงินที่เขียนเปนตัวอักษรเปนประมาณ ถาไมตรงกันหลายแหง ใหเอาจํานวนเงินหรือปริมาณนอยที่สุดเปน ประมาณ (มาตรา 12 , 13 ) 5. ถาเอกสารทําไวสองภาษา เปนภาษาไทยภาษาหนึ่งดวย หากมีความแตกตางกันและไมอาจทราบเจตนาของ คูกรณีไดวาจะใหใชภาษาใดบังคับ ใหใชภาษาไทยบังคับ (มาตรา 14) บุคคล บุคคลธรรมดา สภาพบุคคล ยอมเริ่มแตเมื่อคลอด การคลอดนั้นหมายถึง การที่ทารกออกมาจากครรภมารดาหมดทั้งตัวแลว แมจะยังไมตัดสายสะดือ และตองรอดอยูดวย แมเพียงชั่วระยะเวลานิดเดียวก็มีสิทธิตางๆ ในทรัพยสินยอนไปตั้งแตวัน แรกที่ปฏิสนธิในครรภมารดก เชน อาจรับมรดกของบิดาซึ่งตายกอนเด็กคลอดได เปนตน (มาตรา 15) ภูมิลําเนาของบุคคล มีหลักตามกฎหมายดังนี1. ภูมิลําเนาของบุคคลธรรมดา ไดแก ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยูเปนหลักแหลงสําคัญ (.37) 2. ถาบุคคลมีถิ่นที่อยูหลายแหงสับเปลี่ยนกัน หรือมีแหลงที่ทํามาหากินเปนปกติหลายแหง ก็ใหถือเอาแหงใด แหงหนึ่งเปนภูมิลําเนาของบุคคลนั้น (. 38) 3. ถาภูมิลําเนาไมปรากฏ ใหถือวาถิ่นที่อยูเปนภูมิลําเนา (.39) 4. ถาไมมีถิ่นที่อยูเปนปกติ หรือไมมีที่ทําการงานเปนหลักแหลง ถาพบตัวในถิ่นไหนก็ใหถือวาถิ่นนั้นเปน ภูมิลําเนา (. 40) 5. บุคคลอาจแสดงเจตนากําหนดภูมิลําเนา ถิ่นใดเพื่อกระทําการใด ก็ถือวาถิ่นนั้นเปนภูมิลําเนาเฉพาะการ นั้น (. 42) 6. ภูมิลําเนาของบุคคลบางประเภท เชน ผูเยาว หรือผูไรความสามารถ กฎหมายใหใชภูมิลําเนาของผูแทนโดย ชอบธรรมหรือของผูอนุบาล (.44,45) 7. ขาราชการ ภูมิลําเนาไดแกถิ่นที่ทํางานตามตําแหนงหนาที่อยูประจํา ถาเปนเพียงแตไดรับคําสั่งใหไปชวย ราชการชั่วคราวไมถือวาที่นั้นเปนภูมิลําเนา (. 46) 8. ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดหรือตามคําสั่งโดยชอบดวยกฎหมาย ภูมิลําเนาไดแก เรือนจําหรือทัณฑ สถานที่ถูกจําคุกอยู จนกวาจะไดรับการปลอยตัว (. 47) *** การเปลี่ยนภูมิลําเนากระทําไดโดยการแสดงเจตนาวาจงใจจะเปลี่ยนภูมิลําเนาและยายถิ่นที่อยู (. 41) ความสามารถของบุคคล www.SITTIGORN.net To the INTELLIGENT LAWYER

Civil Overview

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Civil Overview

Citation preview

Page 1: Civil Overview

1

สรุปหลักกฎหมายแพงและพาณชิย

หลักท่ัวไปเกี่ยวกับสิทธิและการใชสิทธิ

1.ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต (มาตรา 5) 2. ถามิไดกําหนดดอกเบี้ยไว ใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป (มาตรา 7) 3. ลายพิมพนิ้วมือ แกงได หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานี้ก็ดี ทําลงในเอกสาร ถาไมไดทําตอหนาพนักงานเจาหนาที่ หากมีพยานลงลายมือช่ือรับรอง 2 คนแลว เสมอกับลงลายมือช่ือ (มาตรา 9) 4. การลงจํานวนเงินในเอกสารดวยตัวอักษรและตัวเลข ถาไมตรงกันและมิอาจทราบเจตนาที่แทจริงได ใหใชจํานวนเงินที่เขียนเปนตัวอักษรเปนประมาณ ถาไมตรงกันหลายแหง ใหเอาจํานวนเงินหรือปริมาณนอยที่สุดเปนประมาณ (มาตรา 12 , 13 ) 5. ถาเอกสารทําไวสองภาษา เปนภาษาไทยภาษาหนึ่งดวย หากมีความแตกตางกันและไมอาจทราบเจตนาของคูกรณีไดวาจะใหใชภาษาใดบังคับ ใหใชภาษาไทยบังคับ (มาตรา 14)

บุคคล

☺ บุคคลธรรมดา

สภาพบุคคล ยอมเริ่มแตเมื่อคลอด การคลอดนั้นหมายถึง การที่ทารกออกมาจากครรภมารดาหมดทั้งตัวแลว แมจะยังไมตัดสายสะดือ และตองรอดอยูดวย แมเพียงช่ัวระยะเวลานิดเดียวก็มีสิทธิตางๆ ในทรัพยสินยอนไปตั้งแตวันแรกที่ปฏิสนธิในครรภมารดก เชน อาจรับมรดกของบิดาซึ่งตายกอนเด็กคลอดได เปนตน (มาตรา 15)

ภูมิลําเนาของบุคคล มีหลักตามกฎหมายดังนี้ 1. ภูมิลําเนาของบุคคลธรรมดา ไดแก ถิ่นอันบุคคลนั้นมีสถานที่อยูเปนหลักแหลงสําคัญ (ม.37) 2. ถาบุคคลมีถิ่นที่อยูหลายแหงสับเปลี่ยนกัน หรือมีแหลงที่ทํามาหากินเปนปกติหลายแหง ก็ใหถือเอาแหงใดแหงหนึ่งเปนภูมิลําเนาของบุคคลนั้น (ม. 38) 3. ถาภูมิลําเนาไมปรากฏ ใหถือวาถิ่นที่อยูเปนภูมิลําเนา (ม.39) 4. ถาไมมีถิ่นที่อยูเปนปกติ หรือไมมีที่ทําการงานเปนหลักแหลง ถาพบตัวในถิ่นไหนก็ใหถือวาถิ่นนั้นเปนภูมิลําเนา (ม. 40) 5. บุคคลอาจแสดงเจตนากําหนดภูมิลําเนา ณ ถิ่นใดเพื่อกระทําการใด ก็ถือวาถิ่นนั้นเปนภูมิลําเนาเฉพาะการนั้น (ม. 42) 6. ภูมิลําเนาของบุคคลบางประเภท เชน ผูเยาว หรือผูไรความสามารถ กฎหมายใหใชภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือของผูอนุบาล (ม.44,45) 7. ขาราชการ ภูมิลําเนาไดแกถิ่นที่ทํางานตามตําแหนงหนาที่อยูประจํา ถาเปนเพียงแตไดรับคําสั่งใหไปชวยราชการชั่วคราวไมถือวาที่นั้นเปนภูมิลําเนา (ม. 46) 8. ผูที่ถูกจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดหรือตามคําสั่งโดยชอบดวยกฎหมาย ภูมิลําเนาไดแก เรือนจําหรือทัณฑสถานที่ถูกจําคุกอยู จนกวาจะไดรับการปลอยตัว (ม. 47) *** การเปลี่ยนภูมิลําเนากระทําไดโดยการแสดงเจตนาวาจงใจจะเปลี่ยนภูมิลําเนาและยายถิ่นที่อยู (ม. 41) ความสามารถของบุคคล

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 2: Civil Overview

2

1. ผูเยาว บรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบ 20 ปบริบูรณ (ม. 19) ทําการสมรสโดยชอบดวยกฎหมาย (ม.20) สมรสเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17ปบริบูรณ หรือ เมื่อศาลอนุญาตใหทําการสมรส (ม. 1448) จําไววา “บรรลุแลวบรรลุเลย” ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของ “ผูแทนโดยชอบธรรม” กอน มิฉะนั้นนิติกรรมนั้นๆ เปนโมฆียะ คืออาจถูกบอกลางไดในภายหลัง (ม.21) ผูเยาวอาจทํานิติกรรมที่สมบูรณไดเอง โดยไมตองขอความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม คือ 1. ทําพินัยกรรมไดเมื่อมีอายุ 15 ปบริบูรณ (ม.25) 2. นิติกรรมที่เปนประโยชนแกผูเยาวฝายเดียว (ม. 22) เชน รับการใหโดยไมมีขอผูกพัน 3. นิติกรรมที่ตองทําเองเฉพาะตัว (ม. 23) เชน การรับรองบุตร กรณีตาม มาตรา 1548 4. นิติกรรมที่สมควรแกฐานานุรูป และเปนการจําเปนในการดํารงชีพตามควร (ม.24) 5. เมื่อผูเยาวไดรับอนุญาตจากผูแทนโดยชอบธรรมใหประกอบการคา (ม.27)

2. คนไรความสามารถ คือ คนวิกลจริตที่คูสมรส บุพการี ผูสืบสันดาน ของผูนั้น หรือพนักงานอัยการไดรองขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนไรความสามารถ (ม. 28) และจัดใหอยูในความอนุบาล นิติกรรมที่คนไรความสามรถกระทําลงยอมตกเปนโมฆียะทั้งสิ้น แมจะไดรับความยินยอมจาก “ผูอนุบาล” ก็ไมได (ม. 29) สวนคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ หากไปทํานิติกรรม ยอมตองถือวามีผลสมบูรณ เวนแตวา ไดกระทําในขณะจริตวิกล + คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูอยูแลว นิติกรรมนั้นจึงตกเปนโมฆียะ (ม.30)

3. คนเสมือนไรความสามารถ คือบุคคลที่ปรากฏวา ไมสามารถจัดทําการงานของตนเองได เพราะมีกายพิการ จิตฟนเฟอน ไมสมประกอบ แตไมถึงขนาดวิกลจริต ประพฤติสุรุยสุราย เสเพลเปนอาจิณ ติดสุรายาเมา เมื่อคูสมรส บุพการี ผูสืบสันดาน หรือพนักงานอัยการรองขอตอศาล ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนเสมือนไรความสามารถ โดยใหอยูใน “ความพทิักษ” ก็ได (ม. 32)

การสิ้นสภาพบุคคล 1. ตาย (ม.15) 2. สาบสูญ (โดยผลของกฎหมาย) ไดแก 2.1 บุคคลไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู โดยไมมีใครทราบวาเปนตายรายดีอยางไรตลอดระยะเวลา 5 ป (ม.61 วรรคแรก) 2.2 บุคคลไปทําการรบหรือสงคราม หรือตกไปอยูในเรือเมื่ออับปราง หรือตกไปในฐานะที่จะเปนภยันตรายแกชีวิตประการอื่นใด หากนับแตเมื่อภยันตรายประการอื่นๆ ไดผานพนไปแลวนับไดเวลาถึง 2 ป ยังไมมีใครทราบวาบุคคลนั้นเปนตายรายดีอยางไร (ม.61 วรรคสอง)

☺ นิติบุคคล เกิดขึ้นตามกฎหมาย เชน 1. ทบวงการเมือง ไดแก กระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล เทศบาลและสุขาภิบาลทั้งหลาย กรมตํารวจ กองทัพบก/เรือ/อากาศ แตกรมในกองทัพนั้นไมเปนนิติบุคคล 2. วัดวาอาราม เฉพาะวัดในพระพุทธศาสนา ที่เรียกกันวาเปนวัดที่ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา สวนถาเปนมัสยิดหรือวัดของศาสนาคริสต ตองจดทะเบียนเปนนิติบุคคลจึงจะเปนเจาของที่ดินได

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 3: Civil Overview

3

3. หางหุนสวนที่จดทะเบียนแลว / บริษัทจํากัด / สมาคม และมูลนิธิ สวนสาขาของนิติบุคคลตางประเทศที่เขามาประกอบการในประเทศไทยก็เปนนิติบุคคลเชนเดียวกับนิติบุคคลในประเทศนั้น แมนิติบุคคลในตางประเทศนั้นจะมิไดมาจดทะเบียนในประเทศไทยก็ตาม เมื่อนิติบุคคลดังกลาวไดเปนนิติบุคคลโดยชอบดวยกฎหมายของประเทศนั้นๆ แลว ทรัพย

☺ ความหมาย “ทรัพย” หมายความวา วัตถุมีรูปราง (ม.137)

“ทรัพยสิน” หมายความรวมทั้งทรัพยและวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาได (ม. 138)

☺ ประเภทของทรัพย 1.อสังหาริมทรัพย คือ ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได เชน 1.1 ที่ดิน หมายถึง พ้ืนแผนดิน รวมตลอดถึง ภูเขา เกาะ และที่ชายทะเลดวย 1.2 ทรัพยที่ติดกับที่ดินมีลักษณะเปนการถาวร 1.3 ทรัพยซึ่งประกอบเปนอันเดียวกับที่ดิน 1.4 สิทธิอันเกี่ยวกับ 1.1, 1.2 และ 1.3 อันไดแก สิทธิในกรรมสิทธิ์ (ม.1336), สิทธิครอบครอง (ม.1367), สิทธิจํานอง, สิทธิเก็บกิน (ม.1417) ภาระจํายอม (ม.1387) เปนตน 2. สังหาริมทรัพย ไดแก 2.1 ทรัพยสินอื่นนอกจากอสังหาริมทรัพย 2.2 สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับสังหาริมทรัพย เชน สิทธิจํานอง สิทธิยึดหนวง เปนตน 3. ทรัพยแบงได (ม.141) ไดแกทรัพยอันอาจแยกออกจากกันเปนสวนๆ ได โดยยังคงสภาพเดิมอยู 4. ทรัพยแบงไมได (ม.142) ไดแก 4.1 ทรัพยที่ไมอาจแยกออกจากกันไดโดยสภาพ เชน บาน โตะ เกาอี้ เปนตน 4.2 ทรัพยที่กฎหมายถือวาแบงไมได เชน หุนของบริษัท สวนควบของทรัพย เปนตน 5. ทรัพยนอกพาณิชย (ม.143) ไดแก 5.1 ทรัพยที่ไมอาจถือเอาได เชน กอนเมฆ ดวงอาทิตย เปนตน 5.2 ทรัพยที่ไมอาจโอนกันไดโดยชอบดวยกฎหมาย เชน ที่ดินธรณีสงฆ ยาเสพติด เปนตน

☺ สวนประกอบของทรัพย 1. สวนควบ (ม.144) ไดแก สวนซึ่งวาโดยสภาพแหงทรัพย หรือโดยจารีตประเพณีแหงทองถิ่น เปนสาระสําคัญในความเปนอยูของทรัพยนั้น และไมอาจจะแยกจากกันได นอกจากทําลาย ทําใหบุบสลาย หรือทําใหทรัพยนั้นเปลี่ยนแปลงรูปทรงหรือสภาพไป ขอยกเวนในเรื่องสวนควบมีดังนี้ (ม.145, 146) 1.1 ไมลมลุกหรือธัญชาติ 1.2 ทรัพยอันติดกับที่ดิน หรือโรงเรือนช่ัวคราว 1.3 โรงเรือนหรือการปลูกสรางอยางอื่น ซึ่งผูมีสิทธิในที่ดินของผูอื่นไดใชสิทธิปลูกทําลงไว

2. อุปกรณ (ม.147) ไดแก สิ่งที่ใชบํารุงดูแลรักษาทรัพยประธาน และสามารถแยกออกจากทรัพยประธานไดโดยไมทําใหเปลี่ยนแปลงรูปทรง ตางจากการเปนสวนควบ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 4: Civil Overview

4

3. ดอกผล คือ ผลประโยชนที่ไดงอกเงยจากทรัพยสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นเองโดยสม่ําเสมอ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ (ม.148) 3.1 ดอกผลธรรมดา คือ สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของทรัพยซึ่งไดมาจากตัวทรัพย โดยการมีหรือใชทรัพยนั้นตามปกตินิยม เชน ผลไม น้ํานม ขนสัตว และลูกของสัตว เปนตน 3.2 ดอกผลนิตินัย ซึ่งเกิดขึ้นโดยผลของกฎหมาย เชน ดอกเบี้ย กําไร คาเชา คาปนผล ฯ บุคคลสิทธิและทรัพยสิทธิ

☺ “บุคคลสิทธิ” คือ สิทธิหรือบุคคลที่จะบังคับใหกระทําการ งดเวนกระทําการหรือสงมอบทรัพยสินให ไดแกสิทธิตางๆ ที่เจาหนี้จะบังคับเอาไดจากลูกหนี้นั่นเอง

☺ “ทรัพยสิทธิ” คือ สิทธิเหนือทรัพยสิน สามารถบังคับไดโดยตรงเอากับตัวทรัพยสินได ทรัพยสิทธิ เกิดขึ้นไดก็แตอาศัยอํานาจของกฎหมายเทานั้น ไดแก กรรมสิทธิ์ สิทธอิาศัย ภาระจํายอม สิทธิเหนือพ้ืนดิน สิทธิเก็บกิน และภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย (ม.1387-1434) เปนตน

☺ การไดมาซึ่งทรัพยสิทธิ 1. ผลของนิติกรรม เชน สัญญาซื้อขาย เปนตน 2. ผลของกฎหมาย ไดแก การครอบครองปรปกษ / การไดรับมรดก / การรับรองลิขสิทธิ์ เปนตน นิติกรรม

☺ หลักเกณฑสําคัญของนิติกรรม (ม.149) 1) ตองมีการแสดงเจตนา 2) ตองกระทําโดยใจสมัคร 3) มุงใหมีผลผูกพันทางกฎหมาย 4) เปนการทําลงโดยชอบดวยกฎหมาย และ 5) ผูที่ทํานิติกรรมตองมี “ความสามารถ” ในการทํานิติกรรมดวย

☺ ประเภทของนิติกรรม 1. นิติกรรมฝายเดียว เชน การทําพินัยกรรม / การปลดหนี้ (ม.340) / การบอกเลิกสัญญา (ม.386) / โฆษณาจะใหรางวัล (ม.362 และ 365) เปนตน นิติกรรมฝายเดียวนี้ มีผลตามกฎหมายแลว แมจะยังไมมีผูรับก็ตาม 2. นิติกรรมหลายฝาย คือ มีฝายที่ทําคําเสนอและอีกฝายทําคําสนอง เมื่อคําเสนอและคําสนองตรงกัน ก็เกิดสัญญา เชน สัญญาซื้อขาย / สัญญาเชา / สัญญาค้ําประกัน เปนตน

☺ ความไมสมบูรณของนิติกรรม 1. ความสามารถในการทํานิติกรรม กลาวคือ ถานิติกรรมไดกระทําลงโดยผูหยอนความสามารถ คือ 1.1) ผูเยาว 1.2) คนไรความสามารถ 1.3) คนเสมือนไรความสามารถ เปนโมฆียะ (ม.153) 2. วัตถุประสงคแหงนิติกรรม 2.1) เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย

เปนโมฆะ (ม.150)

2.2) เปนการพนวิสัย 2.3) เปนการขัดความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน

3. แบบแหงนิติกรรม 3.1) การทําเปนหนังสือ เชน การโอนหนี้ (ม.306) / สัญญาเชาซื้อ (ม.572) / สัญญาตัวแทนบางประเภท (ม.798) ถาตกลงเพียงวาจา สัญญานั้น เปนโมฆะ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 5: Civil Overview

5

3.2) การทําเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ เชน การคัดคานตั๋วแลกเงิน (ม.961) / การทําพินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมือง (ม.1658) เปนตน ถาไมไดทําเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ ยอมใชบังคับไมได 3.3) การทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เชน สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย (ม. 456) / สัญญาขายฝาก (ม.491) / สัญญาจํานอง (ม.714) เปนตน ถาไมทําตามแบบ เปนโมฆะ

4. การแสดงเจตนา 4.1 เจตนาอยางหนึ่งแตแสดงออกอีกอยางหนึ่ง นิติกรรมนั้นมีผลใชบังคับได เวนแตอีกฝายหนึ่งจะไดรูถึงเจตนาที่แทจริง (ม.154) หรือ การแสดงเจตนาลวง โดยสมรูกับคูกรณีอีกฝายหนึ่ง (ม.155) หรือนิติกรรมอําพราง (ม.155 ว.สอง) เปนโมฆะ 4.2 การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิด (1) สําคัญผิดในสาระสําคัญของนิติกรรม - สําคัญผิดในประเภทของนิติกรรม - สําคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเปนคูสัญญา - สําคัญผิดในวัตถุแหงนิติกรรม (2) สําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย ถาคุณสมบัติดังกลาว เปนสาระสําคัญของนิติกรรม กลาวคือ ถารูวา บุคคลหรือทรัพยไมไดคุณสมบัติที่ตองการ ก็คงไมทํานิติกรรมดวย นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ (ม. 157)

เปนโมฆะ (ม.156)

(3) สําคัญผิดเพราะกลฉอฉล ไดแก การที่คูกรณีฝายหนึ่งใชอุบายหลอกลวง ใหเขาหลงเชื่อ แลวเขาทํานิติกรรม ซึ่งถามิไดใชอุบายหลอกเชนวานั้น เขาคงไมทํานิติกรรมดวย นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ (ม. 159) (4) การแสดงเจตนาเพราะถูกขมขู นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ (ม. 164) ถาการขมขูนั้นถึงขนาดที่ทําใหผูถูกขูกลัวจริงๆ แตการขูวาจะใชสิทธิตามปกตินิยมก็ดี หรือความกลัวเพราะนับถือยําเกรงก็ดี ไมถือวาเปนการขู (ม.165)

☺ ผลแหงความไมสมบูรณของนิติกรรม “โมฆะ” หมายถึง นิติกรรมนั้นเสียเปลามาตั้งแตตน ไมมีผลบังคับตามกฎหมาย คือ เสมือนวาไมมีการทํานิติกรรมนั้นๆ เลย จะฟองรองบังคับกันไมได จะใหสัตยาบันก็ไมได (ม.172) “โมฆียะ” หมายถึง นิติกรรมที่สมบูรณตามกฎหมายจนกวาจะมีการบอกลาง (ม.176) ถาไมมีการบอกลางภายในระยะเวลา ( 1 ป นับแตเวลาที่อาจใหสัตยาบันไดหรือ 10 ป นับแตไดทํานิติกรรม ม. 181) หรือมีการใหสัตยาบัน (ม.179) โดยบุคคลที่กฎหมายกําหนด นิติกรรมนั้นเปนอันสมบูรณตลอดไป สัญญา

☺ สาระสําคัญของสัญญา 1. ตองมีบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป 2. ตองมีการแสดงเจตนาตองตรงกัน (คําเสนอ+คําสนองตรงกัน) “คําเสนอ” เปนคําแสดงเจตนาขอทําสัญญา คําเสนอตองมีความชัดเจน แนนอน ถาไมมีความชัดเจน แนนอน เปนแตเพียงคําเชิญชวน “คําสนอง” คือ การแสดงเจตนาของผูสนองตอผูเสนอ ตกลงรับทําสัญญาตามคําเสนอ คําสนองตองมีความชัดเจน แนนอน ปราศจากขอแกไข ขอจํากัด หรือขอเพิ่มเติมใดๆ 3. ตองมีวัตถุประสงคในการทําสัญญา

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 6: Civil Overview

6

☺ ประเภทของสัญญา 1. สัญญาตางตอบแทนกับสัญญาไมตางตอบแทน “สัญญาตางตอบแทน” ไดแก สัญญาที่ทําใหคูสัญญาตางเปนเจาหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน

(ม. 369) กลาวคือ คูสัญญาตางมีหนี้ หรือหนาที่จะตองชําระใหแกกันเปนการตอบแทน “สัญญาไมตางตอบแทน” คือ สัญญาที่กอหนี้ฝายเดียว เชน สัญญายืม (ม.640, 650) 2. สญัญามีคาตอบแทนกับสัญญาไมมีคาตอบแทน 3.สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ “สัญญาประธาน” หมายถึง สัญญาที่เกิดขึ้นและเปนอยูไดโดยลําพัง ไมขึ้นอยูกับสัญญาอื่น “สัญญาอุปกรณ” นอกจากสัญญาอุปกรณจะตองสมบูรณตามหลักความสมบูรณของตัวเองแลว ยังขึ้นอยูกับความสมบูรณของสัญญาประธานอีกดวย กลาวคือ ถาสัญญาประธานไมสมบูรณ สัญญาอุปกรณยอมไมสมบูรณดวยเชนกัน เชน สัญญาค้ําประกัน (ม.680) / สัญญาจํานอง (ม.702) / สัญญาจํานํา (ม.747) 4. สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก โดยคูสัญญาตกลงวาจะชําระหนี้ใหแกบุคคลภายนอกโดยที่บุคคลภายนอกนั้นไมไดเขามาเปนคูสัญญาดวย เชน สัญญาประกันชีวิต 5. เอกเทศสัญญาตาม ป.พ.พ. บรรพ 3 กับสัญญาไมมีช่ือ

☺ สิทธิในการบอกเลิกสัญญา 1. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยบทบัญญัติแหงกฎหมาย 1.1 เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไมชําระหนี้ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะกําหนดระยะเวลาพอสมควร แลวบอกกลาวใหฝายนั้นชําระหนี้ภายในระยะเวลานั้นก็ได ถาฝายนั้นไมชําระหนี้ภายในระยะที่กําหนดให อีกฝายหนึ่งจะเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.387) 1.2 เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไมชําระหนี้ซึ่งโดยสภาพหรือโดยเจตนาที่คูสัญญาไดแสดงไว วัตถุประสงคแหงสัญญาจะเปนผลสําเร็จไดก็แตดวยการชําระหนี้ ณ เวลาที่กําหนดหรือภายในระยะเวลาซึ่งกําหนดไว เจาหนี้มีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที โดยไมจําเปนตองบอกกลาวกําหนดระยะเวลาชําระหนี้กอน (ม.388) 1.3 เมื่อการชําระหนี้ทั้งหมดหรือแตบางสวนกลายเปนพนวิสัย เพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่งอันจะโทษลูกหนี้ได เจาหนี้จะเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.389) 2. สิทธิบอกเลิกสัญญาโดยขอสัญญา หมายความวา คูสัญญาไดตกลงกันกําหนดสิทธิในการเลิกสัญญาไวลวงหนา ถามีเหตุการณอยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนดไวเกิดขึ้น ก็ใหสิทธิบอกเลิกสัญญาแกคูกรณี

☺ ผลของการเลิกสัญญา 1. คูสัญญาแตละฝายตองใหอีกฝายหนึ่งกลับคืนสูฐานะเดิม (ม.391 วรรคหนึ่ง) เชน - ทรัพยสินที่ไดสงมอบหรือโอนใหแกกันไปตามสัญญา ก็ตองคืนทรัพยสินนั้นในสภาพที่เปนอยูเดิมขณะมีการสงมอบหรือโอนไปตามสัญญา และถาเปนการพนวิสัยที่จะคืนไดทั้งหมดหรือบางสวน ก็ตองชดใชคาเสียหายแทน - หากทรัพยสินที่จําตองสงคืนนั้นเปนเงินตรา กฎหมายกําหนดใหบวกดอกเบี้ย คิดต้ังแตเวลาที่ไดรับเงินไปดวย (ม.391 วรรคสอง) อัตราดอกเบี้ยนั้น ถามิไดกําหนดเอาไว ใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป (ม.7) - อยางไรก็ตาม การเลิกสัญญาอันมีผลทําใหคูสัญญากลับคืนสูฐานะเดิมนี้ จะเปนสาเหตุทําใหบุคคลภายนอกเสื่อมเสียสิทธิไมได 2. การเลิกสัญญาไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิของเจาหนี้ที่จะเรียกคาเสียหาย (มาตรา 391 วรรคทาย)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 7: Civil Overview

7

หนี้

☺ ลักษณะสําคัญของหนี้ ตองประกอบดวย 1. การมีนิติสัมพันธ (ความผูกพันกันในทางกฎหมาย) 2. การมีเจาหนี้และลูกหนี้ (สิทธิเหนือบุคคล) 3. ตองมีวัตถุแหงหนี้ (การกระทํา / งดเวนกระทําการ / สงมอบทรัพยสิน) 3.1 ทรัพยซึ่งเปนวัตถุแหงการชําระหนี้ ไดระบุไวเปนประเภทและตามสภาพแหงนิติกรรม หรือตามเจตนาของคูกรณี ไมอาจกําหนดไดวา ทรัพยนั้นจะพึงเปนชนิดอยางไรแลว กฎหมายกําหนดใหลูกหนี้ตองสงมอบชนิดปานกลาง (ม.195 วรรคหนึ่ง) เวนแต หากเปนกรณีที่อาจสันนิษฐานเจตนาของคูกรณีไดแลว เชน ในครั้งกอนๆ นั้นไดสงมอบของชนิดที่ดีที่สุดเสมอมา ดังนี้ ลูกนี้จะสงมอบชนิดปานกลางไมได 3.2 วัตถุแหงการชําระหนี้เปนเงินตรา ถาหนี้เงินไดแสดงไวเปนเงินตางประเทศ จะสงใชเปนเงินไทยก็ได การแลกเปลี่ยนเงินนี้ใหคิดตามอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ณ สถานที่และในเวลาที่ใชเงิน (ม.196) 3.3 กรณีวัตถุแหงการชําระหนี้มีหลายอยาง โดยหลักกฎหมาย ใหสิทธิลูกหนี้ที่จะเลือก (ม.198)

วิธีเลือกนั้น ใหทําโดยแสดงเจตนาแกอีกฝายหนึ่ง (ม.199 วรรคหนึ่ง) และตองแสดงเจตนาเลือกภายในระยะเวลาที่กําหนดไวดวย ถาไมเลือกภายในเวลาที่กําหนด สิทธิที่จะเลือกนั้นก็จะตกไปอยูแกอีกฝายหนึ่ง (ม. 200 ว.หนึ่ง) - ในกรณีที่กําหนดใหบุคคลภายนอกเปนผูมีสิทธิเลือก บุคคลภายนอกตองแสดงเจตนาเลือกตอลูกหนี้ และลูกหนี้ตองแจงความนั้นแกเจาหนี้ แตถาบุคคลภายนอกไมประสงคจะเลือกหรือไมเลือกภายในระยะเวลาที่กําหนดไว สิทธิเลือกนั้นยอมตกแกฝายลูกหนี้ (ม.201) - ในกรณีที่การอันพึงตองชําระหนี้มีหลายอยาง และอยางใดอยางหนึ่งตกเปนอันพนวิสัยที่จะกระทําไดมาตั้งแตตน หรือกลายเปนพนวิสัยในภายหลัง ใหจํากัดการชําระหนี้นั้นไวเพียงการชําระหนี้อยางอื่นที่ไมพนวิสัย แตการจํากัดหนี้ในกรณีเชนนี้ไมอาจใชบังคับได หากวาการชําระหนี้ที่กลายเปนพนวิสัยนั้น เกิดขึ้นเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่ง ซึ่งฝายที่ไมมีสิทธิเลือกนั้นตองรับผิดชอบ (ม.202)

☺ บอเกิดแหงหนี้ 1. นิติกรรม-สัญญา 2. นิติเหตุ หมายถึง เหตุที่มิไดเกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาเขาผูกพันตนเพื่อกอหนี้ แตกฎหมายเปน

กําหนด ซึ่งอาจเปนเหตุธรรมชาติ หรือ อาจเปนเหตุที่กอขึ้นโดยการกระทําของบุคคล โดยเขามิไดมุงใหมีผลในกฎหมาย แตกฎหมายก็กําหนดใหตองมีหน้ีหรือหนาที่ตอบุคคลอื่น ไดแก 2.1 ละเมิด (ม.420) 2.2 จัดการงานนอกสั่ง (ม.395, 401) 2.3ลาภมิควรได (ม.406) 2.4 ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เชน บุตรจําตองอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา (ม.1563)

☺ การบังคับชําระหนี้ 1. กําหนดชําระหนี้ ถาเปนกรณีที่คูกรณีไมไดตกลงกําหนดเวลาชําระหนี้ไวแนนอนแลว กฎหมาย ถือวา หน้ีนั้นถึงกําหนดชําระโดยพลัน (ม. 203) 2. การผิดนัดของลูกหนี้ 2.1 เมื่อหน้ีถึงกําหนดชําระแลว และภายหลังแตนั้น เจาหนี้ไดใหคําเตือนลูกหนี้แลว ลูกหนี้ยังไมชําระหนี้ ลูกหนี้ไดช่ือวาผิดนัด เพราะเขาเตือนแลว (ม. 204 วรรคหนึ่ง)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 8: Civil Overview

8

2.2 เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระตามวันแหงปฏิทินแลว และลูกหนี้มิไดชําระหนี้ตามกําหนด ลูกหนี้ไดช่ือวาตกเปนผูผิดนัดแลว โดยมิตองเตือนกอนเลย (ม. 204) 2.3 ถาเปนหนี้อันเกิดแตมูลละเมิด ลูกหนี้ไดช่ือวาผิดนัดมาแตเวลาที่ทําละเมิด (ม. 206)

☺ ผลของการที่ลูกหนี้ผิดนัด 1. เจาหนี้มีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากการนั้นได (ม.215) 2. ถาโดยเหตุที่ผิดนัดนั้น ทําใหการชําระหนี้กลายเปนอันไรประโยชนแกเจาหนี้ เจาหนี้มีสิทธิที่จะบอกปดไมรับการชําระหนี้นั้น และมีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อการไมชําระหนี้ได (ม. 216) 3. ลูกหนี้จะตองรับผิดชอบในความเสียหายบรรดาที่เกิดแตความประมาทเลินเลอในระหวางที่ตนผิดนัด ทั้งจะตองรับผิดชอบในการที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยเพราะอุบัติเหตุอันเกิดขึ้นในระหวางผิดนัดดวย เวนแตความเสียหายนั้นถึงอยางไรก็จะเกิดมีขึ้นอยูดีถึงแมวาตนจะไดชําระหนี้ทันกําหนดเวลา (ม.217) 4. ในระหวางผิดนัด ถาไมมีการกําหนดไวเปนอยางอื่น ในกรณีของหนี้เงินใหคิดดอกเบี้ยรอยละเจ็ดครึ่งตอป (ม. 224)

☺ ขอแกตัวของลูกหนี้ ถาการชําระหนี้นั้นยังมิไดกระทําลง เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบ ลูกหนี้ก็ยังหาไดช่ือวาเปนผูผิดนัด (ม.205) ☺ การผิดนัดของเจาหนี้ 1. ถาลูกหนี้ไดขอปฏิบัติการชําระหนี้ และเจาหนี้ไมรับชําระหนี้นั้น โดยปราศจากมูลเหตุอันจะอางกฎหมายได เจาหนี้ตกเปนผูผิดนัด (ม.207) 2. ในกรณีของสัญญาตางตอบแทน ซึ่งลูกหนี้จะตองชําระหนี้สวนของตนตอเมือเจาหนี้ชําระหนี้ตอบแทนดวยนั้น ถึงแมวาเจาหนี้จะไดเตรียมพรอมที่จะรับชําระหนี้ตามที่ลูกหนี้ขอปฏิบติัการชําระหนี้ก็ตาม แตถาเจาหนี้ไมเสนอที่จะทําการชําระหนี้ตอบแทนตามที่พึงตองทําแลว เจาหนี้ก็เปนอันไดช่ือวาผิดนัด (ม.210) - เหตุแหงความผิดนัดในขอนี้ เนื่องมาจากหนี้อันเกิดจากสัญญาตางตอบแทนซึ่งมีลักษณะที่คูสัญญาฝายหนึ่งจะไมยอมชําระหนี้จนกวาอีกฝายหนึ่งจะชําระหนี้หรือขอปฏิบัติการชําระหนี้ก็ได (ม.369)

☺ ผลของการที่เจาหนี้ผิดนัด 1. ปลดเปลื้องความรับผิดในอันที่จะตองใชคาสินไหมทดแทน เพราะเหตุชําระหนี้ลาชา 2. ปลดเปลื้องความรับผิดในกรณีที่การชําระหนี้นั้นกลายเปนอันไรประโยชนแกเจาหนี้ 3. ปลดเปลื้องความรับผิดในความเสียหายอยางใดๆ ที่เกิดแกตัวทรัพยอันเปนวัตถุแหงหนี้นั้น 4. ปลดเปลื้องความรับผิดในดิกเบี้ยสําหรับกรณีที่เปนหนี้เงิน

☺ ขอแกตัวของเจาหนี้ 1. ในเวลาที่ลูกหนี้ขอปฏิบัติการชําระหนี้นั้น (ไมวาเจาหนี้พรอมที่จะรับชําระหนี้นั้นหรือยัง) หากลูกหนี้มิไดอยูในฐานะที่จะสามารถชําระหนี้ไดจริงๆ เจาหนี้ก็หาตกเปนผูผิดนัดไม (ม.211) 2. ในกรณีที่มิไดกําหนดเวลาชําระหนี้ไว หรือลูกหนี้มีสิทธิที่จะชําระหนี้ไดกอนเวลากําหนด การที่เจาหนี้มีเหตุขัดของช่ัวคราวไมอาจรับชําระหนี้ไดนั้น หาทําใหเจาหนี้ตกเปนผูผิดนัดไม (ม.212)

☺ การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย 1. ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยจะทําได เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ตองรับผิดชอบลูกหนี้จะตองใชคาสินไหมทดแทนใหแกเจาหนี้เพื่อคาเสียหายอยางใด ๆ อันเกิดแตการไมชําระหนี้นั้น (ม.218) กรณีที่การชําระหนี้กลายเปนพนวิสัยแตเพียงบางสวน และสวนที่ยังเปนวิสัยจะทําไดนั้นเปนอันไรประโยชน

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 9: Civil Overview

9

แกเจาหนี้แลว เจาหนี้จะไมยอมรับชําระหนี้นั้น และเรียกคาสินไหมทดแทนเพื่อการไมชําระหนี้เสียทั้งหมดทีเดียวก็ได (ม.218 วรรคสอง) 2. ถาการชําระหนี้กลายเปนพนวิสัย เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งลูกหนี้ไมตองรับผิดชอบแลว ลูกหนี้เปนอันหลุดพนจากการชําระหนี้นั้น (ม. 219 วรรคสอง) ถาภายหลังที่ไดกอหนี้ขึ้นแลวนั้น ลูกหนี้กลายเปนคนไมสามารถจะชําระหนี้ได ก็ใหถือเสมือนวาเปนพฤติการณที่ทําใหการชําระหนี้ตกเปนอันพนวิสัย (ม.219 วรรคสอง)

☺ ความรับผิดของลูกหนี้เพื่อคนที่ตนใชในการชําระหนี้ ลูกหนี้สามารถตั้งผูใดผูหนึ่งเปนตัวแทนในการชําระหนี้ก็ได เวนแตสภาพแหงหนี้จะไมเปดชองใหกระทําได หรือขัดตอเจตนาที่คูกรณีตกลงกันไว (ม.314) เมื่อลูกหนี้ไดมอบหมายใหตัวแทนจัดการชําระหนี้ ลูกหนี้ตองรับผิดชอบในความผิดของบุคคลที่ลูกหนี้มอบหมายนั้นเสมือนกับวาเปนความผิดของตนเอง (ม.220)

☺ สิทธิของเจาหนี้ท่ีจะบังคับชําระหนี้จากทรัพยสินของลูกหนี้ ดวยอํานาจแหงมูลหนี้ เจาหนี้มีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระหนี้ได หากลูกหนี้ไมชําระ เจาหนี้ชอบที่จะฟองรองตอศาลขอใหศาลบังคับคดีให โดยการบังคับชําระหนี้เอาจากทรัพยสินของลูกหนี้จนสิ้นเชิง รวมทั้งเงินและทรัพยสินอื่นๆ ซึ่งบุคคลภายนอกคางชําระแกลูกหนี้ดวย (ม.214)

☺ การบังคับชําระหนี้โดยเฉพาะเจาะจง หากลูกหนี้ละเลยไมยอมชําระหนี้ เจาหนี้ยอมมีสิทธิรองขอตอศาลบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ได การบังคับชําระหนี้นี้ จะกระทําไมไดหากสภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับได (ม.213 วรรคหนึ่ง) ในกรณีที่สภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้ได ถาวัตถุแหงหนี้เปนอันใหกระทําการอันใดอันหนึ่ง เจาหนี้จะรองขอตอศาลใหบังคับบุคคลภายนอกกระทําการอันนั้นโดยใหลูกหนี้เสียคาใชจายแทนก็ได (ม.213 วรรคสอง) และในกรณีที่วัตถุแหงหนี้เปนอันใหกระทํานิติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง ศาลอาจสั่งใหถือเอาคําพิพากษาแทนการแสดงเจตนาของลูกหนี้ได ในกรณีที่สภาพแหงหนี้ไมเปดชองใหบังคับชําระหนี้ได ถาวัตถุแหงหนี้เปนการใหงดเวนการอันใด เจาหนี้จะเรียกรองใหรื้อถอนการที่ไดกระทําลงแลวนั้น โดยใหลูกหนี้เสียคาใชจาย และใหจัดการอันควรเพ่ือกาลภายหนาดวยก็ได (ม.213 วรรคสาม)

☺ การควบคุมทรัพยสินของลูกหนี้ 1.การใชสิทธิเรียกรองของลูกหนี้ (ม. 233) 1.1 ลูกหนี้ตองขัดขืนไมยอมใชสิทธิเรียกรองหรือเพิกเฉยไมใชสิทธิเรียกรอง 1.2 การที่ลูกหนี้ขัดขืนหรือเพิกเฉยนั้น เปนเหตุใหเจาหนี้ตองเสียประโยชน 1.3 สิทธิเรียกรองที่เจาหนี้จะเขาใชแทนลูกหนี้ ตองมิใชการสวนตัวของลูกหนี้โดยแท

2. การเพิกถอนกลฉอฉล (ม.237) 2.1 ลูกหนี้ไดทํานิติกรรมอันมีผลเปนการจําหนายจายโอนทรัพยสินของลูกหนี้ใหแกบุคคลอื่น 2.2 การกระทํานิติกรรมดังกลาวนั้น ลูกหนี้รูอยูวาเปนทางทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ 2.3 ในการเพิกถอนนิติกรรมซึ่งลูกหนี้ไดกระทําลงไป เจาหนี้ตองพิสูจนวาในขณะที่ทํานิติกรรมนั้นบุคคลซึ่งเปนผูไดลาภงอกจากการทํานิติกรรมนั้นไดรูความจริงดวยวาเปนการทําใหเจาหนี้เสียเปรียบ แตถาเปนการที่ลูกหนี้ทําใหโดยเสนหาแลว เพียงแตลูกหนี้รูถึงการฉอฉลนั้นฝายเดียวก็เพียงพอแลวที่จะขอเพิกถอนได 3. การรับชวงสิทธิ ถามีบุคคลภายนอกที่ไมไดเปนฝายในมูลหน้ีมาแตเดิม แตเปนผูมีสวนไดเสียเปนพิเศษ อาจ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 10: Civil Overview

10

เขามาเกี่ยวของโดยการเขามาใชหนี้แทนลูกหนี้ได และโดยผลของกฎหมายบุคคลภายนอกนั้นก็จะเปนผูเขามาสวมตําแหนงเปนเจาหนี้แทนตอไป เรียกวา “การรับชวงสิทธิ” (ม.226)

4. การโอนสิทธิเรียกรอง คือ ขอตกลงซึ่งเจาหนี้เรียกวา “ผูโอน” ยินยอมโอนสิทธิของตนอันมีตอลูกหนี้ใหแกบุคคลภายนอกเรียกวา “ผูรับโอน” เฉพาะเจาหนี้เทานั้นที่สามารถโอนสิทธิเรียกรองของตนใหบุคคลภายนอกได สวนลูกหนี้นั้นจะโอนหนี้ของตนใหบุคคลภายนอกไมได (ม.303) - สิทธิเรียกรองที่โอนไมได 1) สภาพของสิทธินั้นไมเปดชองใหโอน (ม.303 วรรคหนึ่ง) 2) สิทธิเรียกรองที่คูกรณีไดแสดงเจตนาหามโอนกัน แตการแสดงเจตนาเชนวานี้จะยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูกระทําการโดยสุจริตไมได (ม.303 วรรคสอง) 3) สิทธิเรียกรองใดที่ตามกฎหมาย ศาลจะสั่งยึดไมได สิทธิเรียกรองเชนนั้นยอมโอนกันไมได (ม.304) สิทธิเรียกรองเชนนี้ตองมีกฎหมายบัญญัติไววาไมอยูในขายแหงการบังคับคดีหรือไมอยูในความรับผิดแหงการบังคับคดี - แบบของการโอนสิทธิเรียกรอง 1) ตองทําเปนหนังสือ มิฉะนั้นการโอนจะไมสมบูรณ 2) จะยกการโอนขึ้นเปนขอตอสูลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกได ตอเมื่อ ก. บอกกลาวการโอนเปนหนังสือไปยังลูกหนี้ หรือ ข. ใหลูกหนี้ยินยอมดวยในการโอนเปนหนังสือ

☺ ลูกหนี้และเจาหนี้หลายคน ผลแหงการเปนลูกหนี้รวม มีดังนี้ 1. เจาหนี้มีสิทธิเรียกใหลูกหนี้คนใดคนหนึ่งชําระหนี้ไดสิ้นเชิง (ม.291) 2. การที่ลูกหนี้รวมคนหนึ่งชําระหนี้ ยอมไดประโยชนแกลูกหนี้อื่นๆ ดวย (ม.292) 3. การปลดหนี้ใหแกลูกหนี้รวมคนใด ยอมเปนประโยชนแกลูกหนี้รวมคนอื่นๆ เพียงเทาสวนของลูกหนี้ที่ไดปลดหนี้ให (ม.293) 4. การที่เจาหนี้ผิดนัดตอลูกหนี้รวมคนหนึ่งนั้นยอมไดประโยชนแกลูกหนี้คนอื่นๆ ดวย (ม.295) 5. การอันเปนคุณหรือเปนโทษเฉพาะตัวลูกหนี้รวม ยอมไมมีผลไปถึงลูกหนี้รวมคนอื่น (ม.295 วรรคหนึ่ง) 6. ในระหวางลูกหนี้รวมกันทั้งหลายนั้น ตางคนตางตองรับผิดเปนสวนเทาๆ กัน เวนแตจะไดกําหนดไวเปนอยางอื่น (ม.296)

ผลแหงการเปนเจาหนี้รวม มีดังนี้ 1. การที่เจาหนี้รวมคนหนึ่งผิดนัดนั้น ยอมเปนโทษแกเจาหนี้คนอื่นๆ ดวย (ม.299 วรรคหนึ่ง)

2. ถาสิทธิเรียกรองและหนี้สินเปนอันเกลื่อนกลืนกันไปในเจาหนี้รวมกันคนหนึ่ง สิทธิของเจาหนี้คนอื่นๆ อันมีตอลูกหนี้ก็ยอมเปนอันระงับสิ้นไป (ม.299 วรรคสอง) 3. เมื่อลูกหนี้ชําระหนี้หรือปฏิบัติการอยางอื่นตอเจาหนี้รวมคนใดคนหนึ่งอันมีผลใหหนี้ระงับสิ้นไปแลว ลูกหนี้ยอมหลุดพนจากหนี้นั้นไป (ม.299 วรรคสาม) 4. เมื่อเจาหนี้รวมคนใดคนหนึ่งปลดหนี้ใหแกลูกหนี้แลว ยอมเปนโทษแกเจาหนี้รวมคนอื่นเทาสวนที่ไดปลดหนี้ใหนั้น (ม.299 วรรคสาม) 5. ในระหวางเจาหนี้รวมกันนั้น เจาหนี้แตละคนชอบที่จะไดรับชําระหนี้เปนสวนเทาๆ กัน เวนแตจะไดกําหนดไวเปนอยางอื่น (ม.300)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 11: Civil Overview

11

☺ ความระงับแหงหนี้ 1. การชําระหนี้ 1.1 ผูชําระหนี้ บุคคลภายนอกจะเปนผูชําระหนี้แทนลูกหนี้ก็ได เวนแตสภาพแหงหนี้นั้นจะไมเปดชองใหบุคลภายนอกชําระ หรือขัดเจตนาของคูกรณี (ม.314) 1.2 ผูรับชําระหนี้ ลูกหนี้ตองชําระหนี้ใหแกผูที่มีสิทธิไดรับชําระหนี้ตามกฎหมายเทานั้น ถาลูกหนี้ชําระหนี้ใหแกผูที่ไมมีสิทธิโดยชอบที่จะรับชําระหนี้แลว หน้ีนั้นก็หาระงับลงไม “ผูรับชําระหนี้” คือบุคคลดังตอไปนี้ (ม.315) (1) เจาหนี้ (2) ผูมีอํานาจชําระหนี้แทนเจาหนี้ (3) ผูที่ไมมีอํานาจรับชําระหนี้ แตเจาหนี้ไดใหสัตยาบันแลว (4) การชําระหนี้แกผูครองตามปรากฏแหงสิทธิในมูลหนี้ คือ ผูที่มีหลักฐานเบื้องตนวาเปนเจาหนี้ ถาผูชําระหนี้กระทําไปโดยสุจริตแลว หนี้ยอมระงับ (ม.316) (5) การชําระหนี้ใหแกผูถือใบเสร็จโดยสุจริต (ม.318) (6) การชําระหนี้ใหแกเจาหนี้ โดยฝาฝนคําสั่งศาล (ม.319) หนี้นั้นไมระงับ (7) การชําระหนี้ใหแกผูไมมีสิทธิรับชําระหนี้ แตเจาหนี้ไดลาภงอกจากการนั้น (ม.317) 1.3 วัตถุในการชําระหนี้ หากเปนการตกลงใหชําระหนี้ดวยการสงมอบทรัพยสินอยางใดอยางหนึ่งแลว ลูกหนี้ตองชําระหนี้ดวยทรัพยสินอยางนั้นโดยตรง จะนําทรัพยสินอื่นมาชําระแทนไมได และจะบังคับใหเจาหนี้รับชําระหนี้แตเพียงบางสวนก็ไมได (ม.320) อยางไรก็ตาม หากเจาหนี้ยินยอมรับชําระเปนอยางอื่นผิดไปจากที่ตกลงกัน หรือยินยอมรับชําระหนี้แตเพียงบางสวนก็ยอมทําได ซึ่งอาจทําใหหนี้นั้นระงับไปทั้งหมด หรือบางสวนแลวแตกรณี (ม.321) - ในกรณีที่วัตถุแหงการชําระหนี้เปน “เงินสด” และมีการชําระหนี้ดวยเช็คหรือต๋ัวเงินประเภทอื่นแทนนั้น ยังไมถือวาหนี้ระงับลง จนกวาเช็คหรือต๋ัวเงินนั้นจะไดขึ้นเงินแลวเทานั้น (ม.321 ว.สาม) 1.4 สถานที่ชําระหนี้ หากคูกรณีไมไดตกลงกันไวเกี่ยวกับสถานที่ชําระหนี้ ถาเปนการชําระหนี้ดวยการสงมอบทรัพยเฉพาะสิ่ง กฎหมายใหสงมอบกัน ณ สถานที่ซึ่งทรัพยนั้นไดอยูในเวลาเมื่อกอใหเกิดหนี้นั้นขึ้น สวนสําหรับสถานที่ชําระหนี้ในกรณีอื่นๆ นั้น หากไมไดตกลงกันไวกฎหมายกําหนดใหตองชําระหนี้ ณ สถานที่ซึ่งเปนภูมิลําเนาปจจุบันของเจาหนี้ (ม.324) 1.5 คาใชจายในการชําระหนี้ หากไมไดตกลงกันเอาไว กฎหมายกําหนดใหฝายลูกหนี้เปนผูออกคาใชจาย (ม.325 1.6 หลักฐานในการชําระหนี้ ลูกหนี้จะไดรับอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปน้ี (ม.326) (1) ใบเสร็จ (2) ไดรับเวนคืนเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ (3) ขอใหทําลายหลักฐานแหงหนี้ หรือ (4) ขีดฆาเอกสารนั้นเสีย

2. การปลดหนี้ คือ การที่เจาหนี้ยอมสละสิทธิเรียกรองอันมีตอลูกหนี้ใหแกลูกหนี้ไปโดยเสนหา ซึ่งมีผลทําใหหนี้นั้นระงับลง (ม.340) ถาหากหนี้นั้นมีหนังสือเปนหลักฐาน การปลดหนี้ก็ตองทําเปนหนังสือดวย หรือตองเวนคืนเอกสารอันเปนหลักฐานแหงหนี้ใหแกลูกหนี้ หรือขีดฆาเอกสารนั้นเสีย (ม.340 วรรคสอง)

3. การหักกลบลบหนี้ (ม.341) มีหลักดังนี้

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 12: Civil Overview

12

3.1 การหักกลบลบหนี้เปนกรณีที่บุคคลสองคนตางมีความผูกพันซึ่งกันและกันโดยมูลหนี้ 3.2 มูลหนี้ตองมีวัตถุเปนอยางเดียวกัน 3.3 หนี้ทั้งสองรายนั้นถึงกําหนดชําระหนี้แลว และทั้งสภาพแหงหนี้ก็เปดชองใหหักกลบลบหนี้กันได

4. การแปลงหนี้ใหม คือ การที่คูกรณีที่เกี่ยวของไดทําสัญญาเปลี่ยนสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงหนี้กัน หนี้นั้นเปนอันระงับไปดวย “แปลงหนี้ใหม” (ม.349) เชน การเปลี่ยนวัตถุแหงหนี้

5. หนี้เกล่ือนกลืนกัน ถาสิทธิและความรับผิดในหนี้รายใด ตกอยูแกบุคคลคนเดียวกันแลว หนี้นั้นเปนอันระงับไปดวยหน้ีเกลื่อนกลืนกัน (ม.353) ละเมิด

☺ องคประกอบมี ดังนี้ 1. เปนการกระทําตอบุคคลอื่นโดยมิชอบดวยกฎหมาย 2. เปนการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ ม. 420 3. การกระทํานั้นเปนเหตุใหบุคคลอื่นไดรับความเสียหาย ขอสังเกต การยอมใหบุคคลอื่นกระทําตอตนดวยความสมัครใจกลาวคือ ปราศจากการขมขูกลฉอฉลหรือสําคัญผิดและความยินยอมที่ใหนี้จะตองมีอยูตลอดเวลาในที่ทําละเมิดดวย ☺ ความรับผิดเนื่องจากการแสดงความเท็จ ผูใดกลาวหรือไขขาวแพรหลายซึ่งขอความอันฝาฝนตอความจริง โดยรูวาขอความนั้นไมจริง หรือควรจะรูไดวาขอความนั้นไมจริง เปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกช่ือเสียงหรือเกียรติคุณของบุคคลอื่นก็ดี หรือเปนที่เสียหายแกทางทํามาหาได หรือทางเจริญของเขาโดยประการอื่นก็ดี ผูนั้นจะตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกเขาเพื่อความเสียหายอยางใดๆ อันเกิดแตการนั้น (ม.423) แตมีขอยกเวน คือ หากผูกลาวหรือผูรับขอความนั้นมีทางไดเสียโดยชอบในการนั้นดวยแลว (ม. 423 วรรคสอง) การกลาวในลักษณะหมิ่นประมาทดังกลาวยอมไมเปนละเมิด

☺ ความรับผิดในการทําละเมิดของบุคคลอื่น 1. ความรับผิดในการทําละเมิดของลูกจาง หลัก นายจางตองรวมกันรับผิดกับลูกจางในผลแหงละเมิด ซึ่งลูกจางไดกระทําไปในทางการที่จางนั้น (ม.425) นายจางและลูกจางตองมีความสัมพันธกันตามสัญญาจางแรงงาน “ทางการที่จาง” หมายถึง การกระทําใดๆ ที่เปนสวนหน่ึงของงานหรืออยูในขอบเขตของงานที่จาง รวมตลอดถึงการกระทําใดๆ ที่อยูภายใตคําสั่งหรือความควบคุมดูแลของนายจาง เมื่อนายจางชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกบุคคลภายนอกไปแลว นายจางมีสิทธิไลเบี้ยเอาจากลูกจางได (ม.426)

2. ความรับผิดในการทําละเมิดของผูเยาวหรือบุคคลวิกลจริต กฎหมายสันนิษฐานใหบิดามารดา ผูอนุบาล หรือผูที่รับดูแลผูเยาวหรือบุคคลวิกลจริตอยูตองรับผิดรวมดวย เวนแตจะพิสูจนไดวาตนไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกหนาที่ดูแลนั้นแลว (ม.429 , 430)

3. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากยานพาหนะหรือทรัพยอันตราย กฎหมายกําหนดไววา บุคคลใดครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอยางใดๆ อันเดินดวยกําลังเครื่องจักรกล หรือครอบครองทรัพยซึ่งเปนของเกิดอันตรายไดโดยสภาพ หรือโดยความมุงหมายที่จะใช บุคคลนั้นตองรับผิดชอบตอความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 13: Civil Overview

13

หรือทรัพยนั้นๆ (ม.437) ผูครอบครองจะหลุดพนจากความรับผิดดังกลาวได ตอเมื่อพิสูจนไดวา ความเสียหายนั้นเกิดจากเหตุสุดวิสัยหรือเกิดจากความผิดของผูเสียหายเอง

4. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะสัตว กฎหมายใหสันนิษฐานใหเจาของสัตวหรือบุคคลที่รับเลี้ยงดูแลสัตวนั้นไวแทนเจาของเปนผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูที่ตองเสียหายนั้น อยางไรก็ดี หากเจาของสัตวหรือบุคคลที่รับเลี้ยงรับดูแลสัตวนั้นไวแทนเจาของ พิสูจนไดวา ตนไดใชความระมัดระวังอันสมควรแกการเลี้ยงการรักษาตามชนิดและวิสัยของสัตวหรือตามพฤติการณอยางอื่นหรือพิสูจนไดวา ความเสียหายนั้นยอมจะตองเกิดมีขึ้นทั้งที่ไดใชความระมัดระวังแลว (ม.433)

5. ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้นเพราะโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอื่น กฎหมายกําหนดใหผูครอบครองโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่นนั้นเปนผูรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น อยางไรก็ดี หากผูครอบครองสามารถพิสูจนไดวา ตนไดใชความระมัดระวังตามสมควร เพื่อปดปองมิใหเกิดความเสียหายแลว ผูครอบครองไมตองรับผิด และในกรณีเชนนี้กฎหมายกําหนดใหผูที่เปนเจาของโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่นนั้น เปนผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน (ม.434)

☺ คาสินไหมทดแทน ศาลจะเปนผูวินิจฉัยตามควรแกพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด (ม.438) คือ 1. กรณีทําทรัพยสินเสียหาย คาสินไหมทดแทน ไดแก การคืนทรัพยสิน ที่เสียไป ถาคืนไมไดก็ใหใชราคาทรัพยนั้น รวมถึงคาเสียหายอื่นๆ 2. กรณีเกี่ยวกับชีวิตรางกาย 2.1 ถาถึงตาย (ม.443) คาสินไหมทดแทนไดแก คาปลงศพ / คาขาดไรอุปการะ ถาไมตายทันที ไดแก คารักษาพยาบาลกอนตาย รวมทั้งคาเสียหายที่ตองขาดประโยชนทํามาหาได เพราะไมสามารถประกอบการงานนั้นดวย 2.2 ถาไมถึงตาย คาสินไหมทดแทน ไดแก คารักษาพยาบาล รวมตลอดทั้ง คาเสียหายที่ตองขาดประโยชนทํามาหาได เพราะไมสามารถประกอบการงานนั้น ทั้งในปจจุบันและในอนาคตดวย นอกจากนี้ผูเสียหายยังอาจเรียกคาเสียหาย อันไมอาจคํานวณเปนตัวเงินไดอีกดวย เชน ความเจ็บปวดทุกขทรมานในระหวางการรักษา แตคาเสียหายนี้เปนการเฉพาะตัว ไมสามารถโอนกันได และไมสืบทอดไปถึงทายาท (ม.446)

☺ นิรโทษกรรม (ม. 438) ถาการทําละเมิดดังกลาว ผูกระทําไดทําไปเพื่อปองกันก็ดี เพราะมีเหตุจําเปนก็ดี หรือเพื่อบําบัดปดปองภยันตรายสาธารณะซึ่งมีมาโดยฉุกเฉินก็ดี ผูกระทําละเมิดโดยเหตุดังกลาวนั้นไมจําตองชดใชคาสินไหมทดแทน จัดการงานนอกสั่ง

หมายถึง การที่บุคคลใดเขาทํากิจการแทนผูอื่น โดยเขามิไดวานขานวานใชใหทํา หรือไมมีสิทธิจะทําการงานนั้นแทนผูอื่นดวยประการใดก็ดี ตองจัดการงานนั้นใหเปนประโยชนตามความตองการแทจริงของผูอื่นนั้น หรือตามที่พึงจะสันนิษฐานไดวา เปนความประสงคของเขา ผูที่เขาจัดการก็มีสิทธิเรียกรองคาใชจายนั้นได (ม.395) ถาการเขาจัดการงานนั้น ขัดความประสงคของเขา ผูเขาจัดการไมสามารถเรียกคาใชจายใดๆ ได และถาเกิดความเสียหายแกทรัพยสินของบุคคลอื่นนั้นแลว ก็ตองชดใชใหกับเขาดวย (ม.396)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 14: Civil Overview

14

ลาภมิควรได ไดแก กรณีที่บุคคลใดไดมาซึ่งทรัพยสินใด เพราะการที่บุคคลอีกคนหนึ่งกระทําเพื่อการชําระหนี้ก็ดี หรือไดมาดวยประการอื่นก็ดี โดยปราศจากมูลหนี้อันจะอางกฎหมายใด และการไดมานั้นทําใหบุคคลอีกคนหนึ่งเสียเปรียบ สิ่งที่ไดมานั้นเปนลาภมิควรได ตองคืนใหผูมีสิทธิไป (ม.406) อยางไรก็ตาม ผูที่ไดทรัพยสินมานั้นไมจําตองคืนทรัพยสินนั้นใหแกบุคคลตอไปนี้คือ ผูที่ชําระหนี้โดยรูอยูวาไมมีความผูกพัน / ผูชําระหนี้ตามหนาที่ศีลธรรม หรือหนี้ที่ฝาฝนกฎหมาย (ม.408 , 411) เมื่อมีการเรียกคืนลาภมิควรไดนั้น ผูที่รับทรัพยไวโดยสุจริต ตองคืนลาภมิควรได เพียงเทาที่มีอยูหรือตามสภาพที่เปนอยูในขณะเมื่อเรียกคืน (ม.412 , 413) สัญญาซื้อขาย

☺ ความหมายของสัญญาซื้อขาย มีลักษณะดังนี้ (ม.453) 1. สัญญาซื้อขายเปนสัญญาที่ตองมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้นใหแกผูซื้อ เมื่อคูสัญญาไดแสดงเจตนาตกลงทําสัญญาซื้อขายแลว กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นตองโอนไปยังผูซื้อต้ังแตเวลาที่ไดทําสัญญาซื้อขายกันทันที (ม.458) 2. ผูซื้อตกลงจะใชราคาทรัพยสินนั้นใหแกผูขาย “ราคา” ในที่นี้หมายความถึง เงินตราปจจุบันที่สามารถชําระหนี้ไดตามกฎหมาย มิใชทรัพยสินอยางอื่น เพราะถาหากเปนทรัพยสินอยางอื่นแลว ก็อาจกลายเปนสัญญาแลกเปลี่ยนไป (ม. 518)

☺ สัญญาซื้อขายที่ตองทําตามแบบ 1. อสังหาริมทรัพย (ม.139) ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ 2. สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษ (ม.456) มิฉะนั้น สัญญาซื้อขายจะตกเปนโมฆะ (ม.456) 3. สังหาริมทรัพยราคา 500 บาทขึ้นไป ตองมีหลักฐานเปนหนังสือลงลายมือช่ือฝายผูตองรับผิด หรือตองไดมีการวางมัดจํา หรือไดชําระหนี้บางสวนแลว จึงจะฟองรองบังคับคดีได (ม.456 วรรคทาย)

☺ หนาที่และความรับผิดของผูขาย 1. การสงมอบทรัพยสิน โดยปกติผูขายก็ตองสงมอบใหผูซื้อทันทีเมื่อเกิดสัญญาซื้อขายขึ้น เวนแตคูสัญญาจะไดตกลงไวประการอื่น 2. ความรับผิดในความชํารุดบกพรอง เปนเหตุทําใหทรัพยนั้นเสื่อมราคาหรือเสื่อมความเหมาะสมที่จะนํามาใชประโยชนตามปกติ ผูขายตองรับผิดชอบ (ม. 472) ทั้งนี้โดยผูขายจะรูอยูแลวหรือไมรูวาความชํารุดบกพรองมีอยู เวนแตกรณีดังตอไปน้ี ผูขายไมตองรับผิด (ม.473) 2.1 ถาผูซื้อไดรูอยูแลวแตในเวลาซื้อขายวามีความชํารุดบกพรองหรือควรจะไดรูเชนนั้นหากไดใชความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายไดแตวิญูชน 2.2 ถาความชํารุดบกพรองนั้นเปนอันเห็นประจักษแลวในเวลาสงมอบ และผูซื้อรับเอาทรัพยสินนั้นไวโดยมิไดอิดเอื้อน 2.3 ถาทรัพยสินนั้นไดขายทอดตลาด 3. ความรับผิดในการรอนสิทธิ หากมีผูอื่นซึ่งมีสิทธิตามกฎหมาย มารบกวนสิทธิของผูซื้อแลว ผูขายตองรับผิด (ม.475) เวนแตกรณีดังตอไปนี้ ผูขายไมไดรับผิด 3.1 ถาสิทธิของผูกอการรบกวนนั้นผูซื้อรูอยูแลวในเวลาซื้อขาย (ม.476) 3.2 ถาไมมีการฟองคดี และผูขายพิสูจนไดวาสิทธิของผูซื้อไดสูญไปโดยความผิดของผูซื้อเอง (ม.473) 3.3 ถาผูซื้อไมไดเรียกผูขายเขามาในคดี และผูขายพสิูจนไดวา ถาไดเรียกเขามาผูซื้อจะชนะ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 15: Civil Overview

15

3.4 ถาผูขายไดเขามาในคดี แตศาลไดยกคําเรียกรองของผูซื้อเสียเพราะความผิดของผูซื้อเอง

☺ ขอแตกตางระหวางสัญญาจะซื้อจะขายกับสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด “สัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด” เปนการซื้อขายที่กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเปลี่ยนมือ หรือโอนไปยังผูซื้อทันทีอยางเด็ดขาด เมื่อการซื้อขายสําเร็จบริบูรณ สวนการซื้อขายจะสําเร็จบริบูรณเมื่อใดนั้น นอกจากการตกลงกันแลว ตองพิจารณาถึงแบบของสัญญาดวย ถาเปนการซื้อขายทรัพยสินชนิดที่กฎหมายกําหนดใหมีแบบแลว ตองทําตามแบบดวย มิฉะนั้น สัญญาซื้อขายก็ตกเปนโมฆะ “สัญญาจะซื้อจะขาย” เปนสัญญาจะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินจากผูขายไปยังผูซื้อในเวลาภายหนา

ขอสังเกต สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษนั้น กฎหมายไดกําหนดใหตองมีหลักฐานเปนหนังสือ หรือไดวางมัดจาํไว หรือไดชําระหนี้บางสวนแลว จึงจะฟองรองบังคับคดีได (ม.456) สัญญาขายฝาก

☺ ลักษณะของสัญญาขายฝาก (ม.491) มีดังนี้ 1. เปนสัญญาซื้อขายเสร็จเด็ดขาด ทําใหกรราสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นโอนเปลี่ยนมือจากผูขายไปยังผูซื้อฝากทันที แมจะยังไมมีการสงมอบหรือชําระราคาก็ตาม 2. มีขอตกลงใหผูขายฝากอาจไถทรัพยสินนั้นคืนได ในการทําสัญญาขายฝากไมจําเปนตองใชคําวา “ไถ” อาจใชคําอื่นๆ ที่มีความหมายทํานอเดียวกันก็ได เชน “ซื้อกลับคืน” หรือ “ซื้อคืน” เปนตน

☺ แบบของสัญญาขายฝาก ใหนําบทบัญญัติในลักษณะซื้อขายมาใชบังคับ

☺ ระยะเวลาในการใชสิทธิไถคืน (ม.494) มีดังนี้ 1. ถาเปนอสังหาริมทรัพย คูกรณีจะกําหนดระยะเวลาไถคืนไวเกินกวา 10 ปไมได 2. ถาเปนสังหาริมทรัพย คูกรณีจะกําหนดระยะเวลาไถเกินกวา 3 ปไมได 3. ถาคูกรณีกําหนดระยะเวลาไถคืนไวเกิน 10 ป หรือ 3 ป ก็ตองลดลงมาเหลือเพียง 10 ป หรือ 3 ป แลวแตประเภททรัพย (ม.495) - ในกรณีที่ไมมีขอตกลงเกี่ยวกับระยะเวลาไถไว หรือมีการขยายระยะเวลาไถ แตกําหนดเวลาไถรวมกันทั้งหมดจะตองไมเกินระยะเวลาตามกฎหมาย คือ 10 ป หรือ 3 ป แลวแตกรณี (ม.496) “สินไถ” คือ ราคาไถถอน ซึ่งตองเปนเงินตราเทานั้น จะเอาทรัพยสินอยางอื่นมาไถแทนไมได และถาหากไมไดกําหนดสินไถไวในสัญญา กฎหมายถือวา สินไถมีจํานวนเทากับราคาที่ขายฝากไว แตถามีการกําหนดราคาขายฝาก หรือสินไถไวสูงกวาราคาขายฝากที่แทจริงเกินอัตรารอยละ 15 ตอป กฎหมายกําหนดใหไถได ตามราคาขายฝากที่แทจริง รวมถึงประโยชนตอบแทนอีกรอยละ 15 ตอป (ม.499)

☺ บุคคลผูมีสิทธิไถคืนทรัพยสินและบุคคลผูมีหนาที่รับไถคืนทรัพยสิน โดยปกติบุคคลผูมีสิทธิไถทรัพยสินก็คือ ผูขายฝาก สวนบุคคลผูมีหนารับไถทรัพยสินก็คือ ผูซื้อฝากนั้นเอง อยางไรก็ตาม ทายาทของบุคคลดังกลาวยอมเปนบุคคลผูมีสิทธิไถหรือบุคคลผูมีหนาที่รับการไถดวย นอกจากนี้ บุคคลซึ่งในสัญญาขายฝากไดกําหนดไวใหเปนผูไถได (ม.497 ,498) ถามีการขอไถทรัพยภายในเวลาที่กําหนดไวในสัญญาหรือเวลาที่กําหนดตามกฎหมาย แตผูรับซื้อฝากไมยอมหรือไมอยูรับไถ ผูไถสามารถนําสินไถไปวางไวยังสํานักงานวางทรัพยภายในกําหนดเวลาดังกลาว กฎหมายใหถือวาทรัพยสินซึ่งขายฝากไวนั้น ตกเปนกรรมสิทธิ์ของผูไถ ต้ังแตเวลาที่ไดชําระสินไถ หรือวางทรัพยอันเปนสินไถ แลวแตกรณี (ม.492)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 16: Civil Overview

16

สัญญาเชาทรัพย

☺สัญญาเชาทรัพยมีลักษณะดังนี้ (ม. 537) คือ 1. เปนสัญญาตางตอบแทน สัญญาเชารายใดที่กําหนดใหผูเชาไดประโยชนในทรัพยสินฝายเดียว โดยผูเชาไมตองมีหนาที่อยางใดๆ แลว สัญญานั้นก็หาเปนสัญญาเชาไม แตอาจเปนสัญญายืม (ม.369) หรือเปนผูอาศัย 2. ผูเชามีสิทธิไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินที่เชา “ทรัพยสิน” (ม. 138) ที่เปนวัตถุแหงสัญญาเชานี้จะเปนอสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพยหรือสิทธิใดๆ ก็ได และสิทธิที่จะใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินตามสัญญาเชานั้น กฎหมายไดกําหนดไวชัดเจนวาตองเปนระยะเวลาอันมีจํากัด หรือแมจะกําหนดระยะเวลาเชาไวตลอดอายุของผูเชาหรือผูใหเชาก็ได (ม.541) เพราะเทากับเปนการกําหนดระยะเวลาอันมีจํากัดแลว 3. ผูเชาตกลงใหคาเชาเพื่อตอบแทนการใชทรัพยสิน “คาเชา” โดยปกติจะเปนเงินตรา แตคูสัญญาจะตกลงกันกําหนดคาเชาเปนทรัพยสินอยางอื่นก็ได เพราะไมมีกฎหมายกําหนดหามไวแตอยางใด

☺ แบบการทําสัญญาเชาทรัพย กฎหมายไมไดกําหนดแบบของสัญญาไวแตอยางใด ดังนั้นเพียงแตคูกรณีไดมีเจตนาตกลงกัน สัญญาเชาทรัพยก็เกิดขึ้นแลว แตในเรื่องนี้มีกรณียกเวน หากเปนการเชาอสังหาริมทรัพย กฎหมายกําหนดใหตองมีหลักฐานเปนหนังสือ มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได (ม. 538) แบงไดดังนี้ 1. การเชาอสังหาริมทรัพยที่กําหนดระยะเวลาเชาไวไมเกิน 3 ป ตองมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือฝายที่ตองรับผิด มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได 2. การเชาอสังหาริมทรัพยที่กําหนดระยะเวลาเชาไวเกิน 3 ป หรือตลอดอายุของผูเชาหรือผูใหเชา ตองทําเปนหนังสือ+จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งหากไมทําตามก็จะฟองรองบังคับคดีไดแคเพียง 3 ปเทานั้น ☺ หนาที่และความรับผิดของผูใหเชา 1. การสงมอบทรัพยสินที่ใหเชา กฎหมายกําหนดใหผูใหเชาตองสงมอบทรัพยสินที่เชาในสภาพอันซอมแซมดีแลว (ม. 546) และจะตองอยูในสภาพที่เหมาะแกการที่จะใชประโยชนตามสัญญาเชาดวย (ม.548) 2. การจัดใหผูเชาไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินที่เชาตลอกเวลาการเชา ผูใหเชามีหนาที่ตองดูแล บํารุงรักษา เวนแตการซอมแซมที่มีกฎหมายหรือจารีตประเพณีกําหนดใหผูเชาเปนผูซอมแซมเอง (ม.550) กรณีที่กฎหมายกําหนดใหผูเชาเปนผูรักษาและซอมแซม ไดแกการบํารุงรักษาตามปกติ และการซอมแซมเล็กๆ นอยๆ (ม. 553)

☺ หนาที่และความรับผิดของผูเชา 1. หนาที่ในการชําระคาเชา หากไมมีการตกลงกันไว ใหชําระเมื่อสิ้นระยะเวลาการเชาแตละคราว (ม.559) 2. หนาที่ในการสงวนรักษาทรัพยสินที่เชานั้นเสมอกับวิญูชนจะพึงสงวนทรัพยสินของตนเอง เชน 2.1 ในการใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชานั้น ผูเชาตองใชตามที่กําหนดไวในสัญญาหรือตามปกติประเพณีเทานั้น (ม.552) 2.2 ในการใชทรัพยสิน ผูเชาตองสงวนรักษาทรัพยสินนั้นเสมอที่วิญูชนจะพึงสงวนทรัพยสินของตนเอง (ม.553) 3. หนาที่ในการคืนทรัพยสินที่เชา มีขอยกเวน คือ การเชาที่นา และสัญญาไดครบกําหนดลงในขณะที่ผูเชาไดเพราะปลูกขาวแลว ผูเชาก็มีสิทธิที่จะครอบครองใชประโยชนในนานั้นตอไปจนกวาจะเก็บเกี่ยวเสร็จ แตทั้งนี้ผูเชาก็ตองชําระคาเชาในระหวางนั้นดวย (ม.571) ในการสงคืนทรัพยสินที่เชานั้น กฎหมายกําหนดใหผูเชาตองสงทรัพยสินคืนในสภาพอันซอมแซมดีแลวเชนกัน (ม.561)

☺ การสิ้นสุดของสัญญาเชาทรัพย

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 17: Civil Overview

17

1. กรณีที่สัญญาเชาระงับไปดวยผลของกฎหมาย อาจมีไดโดยเหตุตอไปนี้ คือ 1.1 เมื่อสิ้นกําหนดเวลาเชาตามที่ตกลงไวในสัญญา กฎหมายกําหนดใหสัญญาเชาระงับเมื่อสิ้นกําหนดเวลาที่ไดตกลงกันไว โดยมิพักตองบอกกลาว (ม.564) 1.2 เมื่อผูเชาตาย สัญญาเชาทรัพยนั้นคุณสมบัติของผูเชาเปนสาระสําคัญ สิทธิการเชาจึงเปนสิทธิเฉพาะตัวของผูเขา อันไมอาจตกทอดเปนมรดกแกทายาทได 1.3 เมื่อทรัพยที่เชานั้นสูญหายไปทั้งหมด (ม.567) 2. กรณีที่สัญญาเชาระงับไปดวยการบอกเลิกสัญญา อาจมีไดโดยเหตุตอไปนี้ คือ 2.1 กรณีที่มีขอตกลงในสัญญาเชาระบุใหสิทธิบอกเลิกสัญญาแกคูสัญญาเอาไวโดยเฉพาะ 2.2 เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งปฏิบัติผิดหนาที่ตามสัญญาเชาในขอสําคัญ เชน ถาผูเชาไมชําระคาเชา ผูใหเชาจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.560) 2.3 กรณีที่ไมไดกําหนดระยะเวลาสิ้นสุดของสัญญาไว และไมอาจสันนิษฐานไดวาระยะเวลาเชาจะสิ้นสุดลงเมื่อใดแลว กฎหมายไดกําหนดใหสิทธิในการบอกเลิกสัญญาแกคูกรณีทั้งสองฝายไว แตในการบอกเลิกสัญญาเชานั้นตองบอกกลาวใหอีกฝายหนึ่งรูตัวกอนช่ัวกําหนดเวลาชําระคาเชาระยะหนึ่งเปนอยางนอย แตไมจําตองบอกกลาวลวงหนาเกินกวา 2 เดือน (ม.566) สัญญาตางตอบแทนพิเศษยิ่งกวาสัญญาเชาธรรมดา คือ นอกจากจะตองชําระคาเชาเพื่อตอบแทนการไดใชหรือไดรับประโยชนจากทรัพยสินที่เชาแลว ผูเชายังตองชําระหนี้อยางใดอยางหนึ่งเปนการตอบแทนที่ไดเขาทําสัญญาเชานั้นยิ่งไปกวาการชําระคาเชาธรรมดาอีกดวย ดังนั้น แมไมไดทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ก็ใชบังคับตามขอตกลงได ขอสังเกต คาเชาที่มีเงินกินเปลาหรือเงินแปะเจี๊ยะ นั้น ถือวาเปนสวนหน่ึงของเงินคาเชา จึงไมใชสัญญาตางตอบแทนพิเศษยิ่งกวาสัญญาเชาธรรมดา ผลทางกฎหมายของสัญญาเชาตางตอบแทนพิเศษ การทําสัญญาเชาตางตอบแทนพิเศษ แมจะเปนการเชาอสังหาริมทรัพย ก็ไมจําเปนตองมีหลักฐานเปนหนังสือแตอยางใด และสัญญาเชาตางตอบแทนพิเศษนี้ แมผูเชาตาย สัญญาเชาก็ไมระงับ ทายาทของผูเชามีสิทธิเชาตอไปไดจนกวาจะครบกําหนดสัญญา สัญญาเชาซื้อ มีลักษณะดังนี้ คือ (ม.572) 1. เปนสัญญาซึ่งเจาของทรัพยสินนําทรัพยสินออกใหเชา 2.มีคํามั่นของเจาของทรัพยสินวาจะขายหรือใหทรัพยสินนั้นตกเปนกรรมสิทธิ์แกผูเชาซื้อ หากไดปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัญญาครบถวนแลว แบบของสัญญาเชาซื้อ ไมวาจะเปนการเชาซื้อสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพยก็ตาม กฎหมายไดกําหนดแบบของสัญญาเชาซื้อไว คือ ตองทําเปนหนังสือลงลายมือช่ือของคูสัญญาในสัญญาทั้งสองฝาย ถาฝายใดมิไดลงลายมือช่ือ จะถือวาฝายนั้นทําหนังสือดวยมิได มิฉะนั้นสัญญาตกเปนโมฆะ (ม.572 วรรคสอง) ความระงับแหงสัญญาเชาซื้อ 1. โดยการบอกเลิกของผูเชาซื้อ โดยการสงมอบทรัพยสินกลับคืนใหแกเจาของ (ม.573) 2. โดยการบอกเลิกสัญญาของผูใหเชาซื้อ มีสาเหตุ 2 ประการ คือ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 18: Civil Overview

18

2.1 เมื่อผูเชาซื้อผิดนัดไมใชเงินสองคราวติดๆ กัน (ม.574) หากเปนการผิดนัดไมใชเงินในงวดสุดทาย ผูใหเชาซื้อจะตองบอกเลิกสัญญาไดตอเมื่อระยะเวลาการใชเงินไดพนกําหนดไปอีกงวดหนึ่งแลว (ม.574) 2.2 เมื่อผูเชาซื้อกระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ (ม.574) ผลของการบอกเลิกสัญญา ผูใหเชาซื้อซึ่งเปนเจาของทรัพยสินชอบที่จะกลับเขาครอบครองทรัพยสินนั้น และริบเงินทั้งหมดที่ผูเชาซื้อไดชําระมาแลว (ม.574) ขอแตกตางระหวางสัญญาเชาซื้อกับสัญญาเชาทรัพย 1. สัญญาเชาทรัพย ผูเชามีสิทธิครอบครองใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชาโดยไมมีทางจะไดกรรมสิทธิ์เลย ไมวาจะเชากันนานเทาใด / แตสัญญาเชาซื้อ ผูเชาซื้อนอกจากมีสิทธิครอบครองใชประโยชนจากทรัพยสินที่เชาแลว ยังอาจไดสิทธิในทรัพยสินนั้นหากไดชําระเงินครบจํานวนครั้งตามที่กําหนดในสัญญา 2. คาเชาในสัญญาเชาทรัพยนั้น จะเปนเงินหรือทรัพยสินอยางอื่นก็ได / แตคาเชาซื้อนั้นกฎหมายระบุไวชัดเจนวาตองเปนเงินเทานั้น (ม.572) 3. สัญญาเชาซื้อเปนสัญญาที่ตองทําตามแบบ คือ ตองทําเปนหนังสือ มิฉะนั้นตกเปนโมฆะ / แตสัญญาเชาทรัพยไมตองทําตามแบบแตอยางใด สัญญาจางแรงงาน

คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งรียกวา ลูกจาง ตกลงจะทํางานใหแกบุคคลอีกบุคคลหนึ่ง เรียกวา นายจาง และนายจางตกลงจะใหสินจางตลอดเวลาที่ทํางานให (ม.575) การจางแรงงานนี้ รวมถึงการใชความรูความสามารถดวย เชน จางครูมาสอนหนังสือ เปนตน

☺สัญญาจางแรงงานมีลักษณะดังนี้ 1. ตองมีการตกลงเปนนายจางและลูกจางกัน 2. เปนสัญญาตางตอบแทน 3. สาระสําคัญอยูที่คูสัญญา นายจางจะโอนสิทธิของตนใหแกบุคคลภายนอกไดก็ตอเมื่อลูกจางยินยอมพรอมใจดวย ทํานองเดียวกัน ลูกจางจะใหบุคคลภายนอกทํางานแทนตนไมไดถานายจางไมยินยอมดวย ถาคูสัญญาฝายใดทําการฝาฝนความยินยอมนี้ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได (ม.577) 4. เปนสัญญาไมมีแบบ เพียงตกลงดวยวาจาก็ใชไดแลว

☺หนาที่ของลูกจาง 1. ตองทํางานดวยตนเอง จะใหคนอื่นทํางานแทนไมได ถานายจางไมยินยอมดวย (ม.577) 2. ตองทําการใหไดตามที่ตนรับรองไว เมื่อไดแสดงออกโดยชัดแจง หรือโดยปริยายวาเปนเปนผูมีฝมือพิเศษ (ม. 578) 3. ตองปฏิบัติตามและเชื่อฟงคําสั่งของนายจางที่ชอบดวยกฎหมาย และตองปฏิบัติงานดวยความซื่อสัตยสุจริต รักษาความลับในการงานของนายจาง

☺ หนาที่ของนายจาง 1. ตองใหสินจางแกลูกจาง แมวาจะมิไดตกลงกันไววามีสินจางหรือไม ถาตามพฤติการณไมอาจคาดหมายไดวา งานนั้นจะพึงทําใหเปลา ตองถือวา มีคํามั่นวาจะใหสินจาง (ม. 576) สวนการจายสินจางนั้น ถาไมไดกําหนดไวโดยสัญญาหรือจารีตประเพณีใหจายเมื่อทํางานเสรจ็ ถากําหนดไวเปนระยะเวลา ใหจายเมื่อสุดระยะเวลาเชนนั้นทุกคราวไป (ม.580) 2. ตองออกหนังสือรับรองผลงานและระยะเวลาที่ทํางานใหแกลูกจาง (ม.585)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 19: Civil Overview

19

3. ถาลูกจางมาจากตางถิ่น ซึ่งนายจางไดออกคาเดินทางมาให เมื่อการจางสิ้นสุดลงนายจางพึงออกคาเดินทางกลับใหดวย เวนแตการเลิกจางนั้น เนื่องมาจากการกระทําหรือความผิดของลูกจาง (ม.586) ถานายจางไมทําตามหนาที่ ลูกจางชอบที่จะบอกเลิกสัญญาได และถาเกิดความเสียหายอยางใดๆ ลูกจางยอมเรียกคาเสียหายได (ม. 215)

☺ ความระงับแหงสัญญาจางแรงงาน 1.เมื่อครบกําหนดในสัญญาจาง หรือมีการบอกเลิกสัญญา 2. สัญญาจางแรงงานระงับเมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งถึงแกความตาย (ม.584) 3. การเลิกสัญญาตามกฎหมาย ซึ่งไดแก 3.1 เมื่อนายจางหรือลูกจางทําผิดหนาที่ อีกฝายหนึ่งบอกเลิกสัญญาได (ม.577 และ ม.583) 3.2 เมื่อลูกจางขาดคุณสมบัติที่ไดใหคํารับรองไวหรือไรฝมือ (ม.578) 3.3 เมื่อลูกจางขาดงานไปโดยไมมีเหตุอนัสมควร และเปนระยะเวลานานเกินสมควร 3.4 เมื่อมีการบอกกลาวเลิกสัญญาลวงหนา เมื่อถึงกําหนดหรือกอนจะถึงกําหนดจายสินจางคราวใดคราวหนึ่ง เพื่อใหเปนผลเลิกสัญญากัน เมื่อถึงกําหนดจายสินจางคราวถัดไปขางหนา (ม.582) 4. การทํางานของลูกจางตกเปนพนวิสัย

☺ อายุความในการฟองรองคดี เปนไปตามบทบัญญัติทั่วไป คือ 10 ป (ม.193/30)

สัญญาจางทําของ

☺ หลักเกณฑท่ีสําคัญ (ม.587) มีดังนี้ 1. เปนสัญญาตางตอบแทน

2. เปนสัญญาที่มุงถือผลสําเร็จของงาน 3. ไมมีแบบ

☺ หนาที่และความรับผิดของผูรับจาง 1. ตองทํางานใหสําเร็จตามสัญญา (ม.587) 2. ตองจัดหาเครื่องมือตางๆ สําหรับใชในการทํางาน (ม.588) 3. ถาผูรับจางเปนผูจัดหาสัมภาระ ตองจัดหาชนิดที่ดี (ม.589) ถาผูวาจางเปนผูจัดหา ผูรับจางตองใชสัมภาระดวยความระมัดระวังและประหยัด เมื่อทําเสร็จแลวตองคืนสัมภาระที่เหลือ (ม.590) 4. ตองรับผิดชอบในความชักชาของงานที่ทํา เวนแตความชักชานั้นเกิดจากความผิดของผูวาจาง (ม.593) 5. ตองยอมใหผูวาจางหรือตัวแทนตรวจตราการงาน (ม.592) 6. ตองแกไขความบกพรองที่เกิดขึ้นในระหวางที่ทํางานนั้น (ม.594) 7. ตองรับผิดชอบในความชํารุดบกพรองภายหลังการสงมอบ เพียงที่ปรากฏขึ้นภายใน 1 ป นับแตวันสงมอบ หรือภายใน 5 ป ถาเปนสิ่งปลูกสรางบนพื้นดิน (ม.600) 8. ถาผูวาจางยอมรับการที่ทําบกพรองนั้น โดยไมอิดเอื้อน ผูรับจางไมตองรับผิด เวนแตความชํารุดบกพรองนั้น จะไมพึงพบไดในขณะรับมอบ หรือผูรับจางไดปดบังความนั้นเสีย (ม.598) 9. ตองทําการใหเสร็จและสงมอบใหตรงตามเวลาที่ตกลงกันไว ( ม. 596) หากสงมอบลาชา ผูวาจางชอบที่จะลดสินจางลง เวนแตความลาชาจะเกิดจากความผิดของผูวาจาง

☺ หนาที่และความรับผิดชอบของผูวาจาง

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 20: Civil Overview

20

1. หนาที่ในการจายสินจาง ตามจํานวนและเวลาที่ตกลงกัน เวนแตจะมีเหตุใหไมตองจายสินจาง หรือมีเหตุใหลดสินจาง 2. รับผิดเมื่อผูวาจางมีสวนผิดในกรณีสั่งใหทําหรือในการเลือกผูรับจาง หรือในคําสั่งที่ตนไดใหไว (ม.591) อนึ่ง เมื่อการงานที่ทําพังทลาย สูญหายไปกอนสงมอบโดยมิใชความผิดของฝายใด - ถาผูรับจางเปนผูจัดสัมภาระ ความวินาศนั้น ตกเปนพับแกผูรับจาง สินจางไมตองใช (ม.603) - ถาผูวาจางเปนผูจัดสัมภาระ ความวินาศนั้น ตกเปนพับแกผูวาจาง สินจางไมตองใช (ม.604)

☺ ความระงับแหงสัญญาจางทําของ 1. เมื่อผูรับจางทํางานเสร็จ แลวสงมอบใหแกผูวาจาง และไดรับคาจางครบถวนแลว 2. เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิเลิกสัญญา 3. สัญญาเลิกกันโดยผลของกฎหมาย 3.1 ผูวาจางบอกเลิกสัญญาเสียเมื่อใดก็ได ถาการที่จางยังไมเสร็จ แตตองชดเชยคาเสียหายที่จะพึงมีใหแกผูรับจาง (ม.605) 3.2 เมื่อผูรับจางตายหรือตกเปนผูไมสามารถทําการงานนั้นได ถาสาระสําคัญของสัญญาอยูที่ความรูความสามารถของผูรับจาง (ม.606) สัญญาจางระงับ แตตองใชสินจางตามสวนของการงานที่ทําไปแลว

☺ อายุความการฟองรองเพื่อใหผูรับจางรับผิดในความชํารุดบกพรอง ตองฟองภายใน 1 ปนับแตวันที่ความชํารุดบกพรองไดปรากฏขึ้น (ม.601) สัญญายืมใชคงรูป ☺ หลักเกณฑท่ีสําคัญ (ม.640) ดังนี้ คือ 1. เปนสัญญาไมมีคาตอบแทน 2. เปนสัญญาที่ไมโอนกรรมสิทธิ ์ 3. วัตถุแหงสัญญายืมใชคงรูปคือทรัพยสิน

☺ หนาที่ของผูยืม 1. หนาที่ในการเสียคาใชจายตางๆ และคาบํารุงรักษาทรัพยสิน (ม.647) คาใชจายในการสงมอบทรัพยสินคืน (ม. 642) 2. หนาที่ในการใชสอยทรัพยสินและสงวนรักษาทรัพยสินที่ยืม และตองใชทรัพยสินดวยตนเอง จะนําไมใหผูอื่นใชไมได (ม.643) 3. หนาที่ในการสงคืนทรัพยสินที่ยืมเมื่อใชเสร็จ

☺ ความระงับแหงสัญญายืมใชคงรูป 1. ในกรณีที่สัญญาไดกําหนดระยะเวลายืมไว สัญญาจะระงับเมื่อสิ้นกําหนดระยะเวลาตามสัญญา 2. ในกรณีที่สัญญาไมไดกําหนดระยะเวลายืมไว ผูใหยืมมีสิทธิเรียกคืนเมื่อใดก็ได (ม.646 วรรคสอง) 3. สัญญายืมใชคงรูปจะระงับไปเมื่อผูยืมตาย (ม.648) 4. สัญญายืมใชคงรูปจะระงับไปเมื่อผูใหยืมบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูยืมผิดสัญญา (ม.645) สัญญายืมใชสิ้นเปลือง

☺ หลักเกณฑท่ีสําคัญ (ม.650) ดังนี้

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 21: Civil Overview

21

1. สัญญายืมใชสิ้นเปลืองอาจเปนสัญญามีคาตอบแทนก็ได 2. เปนสัญญาที่มีการโอนกรรมสิทธิ์ 3. วัตถุแหงสัญญายืมใชสิ้นเปลืองคือทรัพยสินชนิดใชไปสิ้นไป

☺ หนาที่ของผูยืม ตองสงมอบทรัพยสินประเภท ชนิด และปริมาณเชนเดียวกันใหแกผูใหยืม เมื่อสัญญายืมระงับสิ้นไป (ม.640) สัญญากูยืมเงิน

☺ มีหลักดังนี้ (ม.653) คือ ในการยืมเงินที่มีจํานวนเกินกวา 50 บาทขึ้นไปนั้น ตองมีหลักฐานเปนหนังสืออยางใดอยางหนึ่งลงลายมือช่ือผูยืมเปนสําคัญ มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได

☺ สัญญากูยืมเงินที่คิดดอกเบี้ย ดอกเบี้ยนั้นจะเปนเงินตราหรือจะเปนทรัพยสินอยางอื่นก็ได ในการคิดดอกเบี้ยนั้นคูสัญญาจะคิดดอกเบี้ยเกิน

กวารอยละ 15 ตอปไมได ถาคูสัญญาฝาฝนก็จะมีผลทําใหดอกเบี้ยทั้งหมดตกเปนโมฆะ แตในสวนของตนเงินนั้นยังคงใชได เพราะสามารถแยกสวนตนเงินซึ่งสมบูรณออกจากสวนดอกเบี้ยได (ม.173)

หากคูสัญญากําหนดใหคิดดอกเบี้ยแตไมไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไว ใหคิดรอยละ 7.5 ตอป (ม.7) การคิดดอกเบี้ยทบตน หากคูสัญญาไดตกลงกันไวเปนหนังสือวา ใหคดิดอกเบี้ยทบตนไดในกรณีที่ดอกเบี้ยได

คางชําระไมนอยกวา 1 ปแลว (ม. 654) กับกรณีมีประเพณีการคาขายใหคิดดอกเบี้ยทบตนได สัญญาฝากทรัพย

☺ มีหลักดังนี้ (ม.657) 1. เปนสัญญาที่สมบูรณเมื่อสงมอบทรัพย (ถาไมมีการสงมอบ ถึงแมวาจะไดทําเปนหนังสือกันแลว สัญญานั้นก็ไมสมบูรณ ฟองรองบังคับคดีกันไมได 2. วัตถุแหงสัญญาเปนทรัพยสิน 3. ผูรับฝากตองเก็บรักษาไวในอารักขาแหงตน

☺ คาบําเหน็จในการฝากทรัพย กฎหมายใหถือวาเปนการฝากทรัพยมีบําเหน็จ (ม.658) ฉะนั้นแมจะไมไดตกลงคาฝากไวตอกัน ก็สามารถเรียกรองกันได

☺ หนาที่ของผูรับฝาก 1. หนาที่ใชความระมัดระวังในการสงวนทรัพยสิน แยกไดเปน 3 กรณี คือ (ม.659) 1.1 การรับฝากโดยไมมีบําเหน็จคาฝาก ผูรับฝากตองใชความระมัดระวังเหมือนเชนเคยประพฤติในกิจการของตนเอง 1.2 การรับฝากโดยมีบําเหน็จคาฝาก ผูรับฝากตองใชความระมัดระวังเหมือนวิญูชนจะพึงกระทํา 1.3 การรับฝากโดยผูมีวิชาชีพเฉพาะ ตองใชความระมัดระวังเชนผูมีอาชีพเชนนั้นจะตองใชดวยหากใชความระมัดระวังธรรมดา ทรัพยที่ฝากเสียหายหรือสูญหายไป ผูรับฝากก็อาจไมพนความรับผิด 2. หนาที่เก็บรักรักษาทรัพยสินซึ่งฝากดวยตนเอง ถาผูฝากมิไดอนุญาต และผูรับฝากเอาทรัพยสินซึ่งฝากนั้นออกใชสอยเอง หรือเอาไปใหบุคคลภายนอกใชสอย หรือใหบุคคลภายนอกเก็บรักษา ผูรับฝากจะตองรับผิดเมื่อทรัพยสินซึ่งฝากนั้นสูญหายหรือบุบสลายอยางหนึ่งอยางใด แมจะเปนเหตุสุดวิสัย เวนแตจะพิสูจนไดวา ถึงอยางไร ทรัพยสินนั้นก็คงจะตองสูญหาย หรือบุบสลายอยูนั้นเอง (ม.660)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 22: Civil Overview

22

3. หนาที่ตองรีบบอกกลาวแกผูรับฝากโดยพลัน ถามีบุคลภายนอกมาอางวา มีสิทธิเหนือทรัพยสินซึ่งฝากและยื่นฟองผูรับฝากก็ดี หรือมายึดทรัพยสินนั้นก็ดี (ม.661) 4. หนาที่คืนทรัพยสินที่รับฝากไว 4.1 การคืนเมื่อถึงกําหนด (ม.662) เวนแตมีเหตุจําเปนอันมิอาจกาวลวงเสียได ถึงจะคืนกอน กําหนดได 4.2 การคืนกอนกําหนด (ม.663) หากผูรับฝากเรียกคืน 4.3 การคืนทรัพยสินไดทุกเมื่อ (ม.664) ถาคูสัญญาไมไดกําหนดเวลาสงคืนไว 4.4 ผูรับฝากมีหนาที่ตองคืนทรัพยสินใหแกบุคคลที่ควรเปนผูรับคืน (ม.665) 5. ตองคืนดอกผลอันเกิดแตทรัพยที่ฝาก (ม.666)

☺ หนาที่ของผูฝาก 1.หนาที่เสียคาใชจายในการคืนทรัพยสินซึ่งฝาก (ม.667) 2. หนาที่เสียคาใชจายอันควรแกการบํารุงรักษาทรัพยสินซึ่งฝาก (ม.668) 3. หนาที่เสียคาบําเหน็จ (ม.669)

☺ สิทธิยึดหนวงของผูรับฝาก ผูรับฝากชอบที่จะยึดหนวงเอาทรัพยสินซึ่งฝากนั้นไวได จนกวาจะไดรับเงินบรรดาที่คางชําระแกตนเกี่ยวดวยการฝากทรัพยนั้น

☺ อายุความ 6 เดือน สาํหรับ 3 กรณี คือ (ม.671) 1. เรียกรองใหใชเงินบําเหน็จคาฝากทรัพย 2. เรียกรองใหใชเงินคาใชจายที่เสียไปเกี่ยวกับทรัพย 3. เรียกรองใหใชคาสินไหมทดแทนเกี่ยวกับการฝากทรัพย ไดแกกรณีทรัพยสินที่ฝากบุบสลายโดยไมถึงกับ

สูญหาย อันเปนความผิดของผูรับฝาก ถาเปนการฟองเรียกรองโดยอาศัยเหตุอื่น ใชอายุความ 10 ปตามหลักทั่วไป

วิธีเฉาะการฝากเงิน

เกี่ยวกับการฝากเงิน กฎหมายบัญญัติรายละเอียดไวเพียง 2 ประการเทานั้น (ม.672 และ 673) แตหลักใหญก็ยังตองใชหลักทั่วไปในเรื่องการฝากทรัพยประกอบดวย 1. ผูรับฝากไมตองคืนเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก 2. ผูรับฝากใชเงินที่ฝากได สัญญาค้ําประกัน

☺ หลักมีดังนี้ (ม.680) 1. เปนเรื่องที่ผูค้ําประกันทําสัญญาผูกพันตนตอเจาหนี้วาจะชําระหนี้ใหเมื่อลูกหนี้ไมชําระหนี้ 2. สัญญาค้ําประกันเปนสัญญาอุปกรณ กลาวคือ จะตองมีหนี้ใหค้ําประกัน ดังนั้น ถาหนี้ดังกลาวไมชอบดวยกฎหมายก็ดี หรือระงับสิ้นไปดวยเหตุใดๆ ก็ดี สัญญาค้ําประกันยอมสิ้นผลไปดวย (ม.681 วรรคหน่ึง)

☺ แบบของสัญญาค้ําประกัน ตองมีหลักฐานเปนหนังสือ ลงลายมือช่ือผูค้ําประกันเปนสําคัญ มิฉะนั้นจะฟองรองบังคับคดีไมได (ม.680

วรรคสอง) แตเจาหนี้ยังคงสามารถฟองใหลูกหนี้ชําระหนี้ใหตามมูลหนี้สัญญาประธานได

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 23: Civil Overview

23

☺ ความรับผิดของผูคํ้าประกัน เมื่อถึงกําหนดชําระหนี้แลว ลูกหนี้ไมชําระหนี้ ก็ถือวาลูกหนี้ผิดนัด (ม.204) เจาหนี้ชอบที่จะเรียกใหผูค้ําประกันชําระหนี้ไดเมื่อนั้น (ม.686) แตผูค้ําประกันก็ยังสามารถเกี่ยงใหเจาหนี้ไปรับชําระหนี้จากทรัพยสินของลูกหนี้กอนได หากผูค้ําประกันสามารถพิสูจนไดวาลูกหนี้นั้นมีทางที่จะชําระหนี้ได และการที่จะบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้นั้นไมเปนการยาก (ม.689) ☺ ความระงับแหงสัญญาค้ําประกัน 1. เมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับสิ้นไป 2. เมื่อผูค้ําประกันบอกเลิกการค้ําประกันสําหรับกิจการที่ตอเนื่องกันหลายคราว ไมจํากัดเวลาเปนคุณแกเจาหนี้ (ม.699) 3. เมื่อเจาหนี้ยอมผอนเวลาใหกับลูกหนี้ โดยไมไดรับความยินยอมจากผูค้ําประกัน (ม.700) 4. เมื่อเจาหนี้ไมยอมรับชําระหนี้จากผูค้ําประกัน โดยไมมีเหตุอันจะอางกฎหมายไดแลว (ม.701) สัญญาจํานอง

☺ มีหลักดังนี้ (ม.702 วรรคหนึ่ง) 1. เปนเรื่องที่ผูจํานองนําทรัพยสินไปตราไวแกผูรับจํานองเพื่อประกันการชําระหนี้ ถาลูกหนี้ไมชําระหนี้เมื่อถึงกําหนด เจาหนี้ก็สามารถบังคับชําระหนี้จากทรัพยสินที่จํานองได (ม.702 วรรคสอง) 2. ผูจํานองไมตองสงมอบทรัพยสินใหแกผูรับจํานอง ผูจํานองยังคงมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินนั้นอยู 3. สัญญาจํานองเปนสัญญาอุปกรณ (ม.707)

☺ ทรัพยสินท่ีจํานองได (ม.703) 1. อสังหาริมทรัพย (ม.139) 2. สังหาริมทรัพยชนิดพิเศษที่ไดจดทะเบียนไวแลวตามกฎหมาย ไดแก (ก) เรือกําปน หรือเรือมีระวางตั้งแต 6 ตันขึ้นไป เรือกลไฟ หรือเรือยนตมีระวางต้ังแต 5 ตันขึ้นไป (ข) แพ (floating house) (ค) สัตวพาหนะ 3. สังหาริมทรัพยอื่นๆ ซึ่งกฎหมายหากบัญญัติไวใหจดทะเบียนเฉพาะการ เชน เครื่องจักรกลโรงงาน

☺ แบบของสัญญาจํานอง ตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ หากไมปฏิบัติตาม สัญญาจํานองเปนโมฆะ (ม.152)

☺ ความรับผิดชอบของผูจํานอง เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระแลวและลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น เจาหนี้ก็มีสิทธิที่จะฟองรองบังคับจํานอง (ม.728) โดยนําทรัพยสินที่จํานองนั้นออกขายทอดตลาดเพื่อนําเงินมาชําระหนี้ได และจํานองนั้นครอบไปถึงทรัพยที่ติดอยูกับที่ดินที่จํานองดวย ☺ สิทธิของผูจํานอง ผูจํานองมีสิทธิที่จะไถถอนทรัพยสินที่จํานองได ถามีการจํานองซอนกันหลายราย ผูที่รับจดทะเบียนจํานองกอนยอมมีสิทธิไดรับชําระหนี้กอนตามลําดับไป (ม.730) ถาหนี้ของผูรับจดทะเบียนจํานองรายหลังถึงกําหนดชําระกอน ผูรับจํานองรายหลังจะบังคับตามสิทธิของตนใหเสียหายแกผูรับจํานองรายแรก ซึ่งหนี้ยังไมถึงกําหนดชําระไมได หากผูจํานองเปนบุคคลภายนอกที่มิใชลูกหนี้แลว ผูจํานองยังมีสิทธิที่จะไดรับเงินใชคืนจากลูกหนี้ตามจํานวนเงินที่ชําระแทนลูกหนี้ไปดวย (ม.724)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 24: Civil Overview

24

☺ ความระงับแหงสัญญาจํานอง (ม.744) 1. เมื่อหน้ีที่ประกันระงับ เชน การแปลงหนี้ใหม อยางไรก็ตาม หากหนี้นั้นไมสามารถพิจารณาบังคับคดีไดเพราะขาดอายุความแลว ผูรับจํานองยังคงบังคับตามสัญญาจํานองไดอยู 2. เมื่อปลดจํานองใหแกผูจํานองดวยหนังสือเปนสําคัญ การปลดจํานอง คือ การที่เจาหนี้ยอมสละสิทธิที่จะบังคับจํานองเอาแกทรัพยสินที่จํานองนั้น แตการปลดจํานองนี้หาทําใหหน้ีเดิมซึ่งเปนสัญญาประธานระงับไปไม หากจะใหการปลดจํานองนั้นมีผลตามกฎหมายถึงบุคคลภายนอกดวย ก็ตองนําเปนหนังสือปลดจํานองนั้นไปจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ดวย (ม.746) 3. เมื่อขายทอดตลาดทรัพยสินซึ่งจํานองตามคําสั่งศาลอันเนื่องจากการบังคับจํานอง และจะตองมีการจดทะเบียนความระงับแหงสัญญาจํานองตอพนักงานเจาหนาที่ดวย จึงมีผลสมบูรณตามกฎหมาย สัญญาจํานํา

☺ มีหลักดังนี้ (ม.747) 1. ทรัพยสินที่จํานําตองเปนสังหาริมทรัพย แตสังหาริมทรัพยชนิดพิเศษก็นํามาจํานําได 2. ผูจํานําตองสงมอบทรัพยสินที่จํานําใหแกผูรับจํานํา ผูจํานําในสัญญาจํานํานั้นจะเปนตัวลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได ถาไมมีการสงมอบทรัพยสินที่จาํนําสัญญาจํานําก็ไมเกิดขึ้น 3. สัญญาจํานําเปนสัญญาอุปกรณ

☺ ความรับผิดของผูจํานํา เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระและลูกหนี้ไมชําระหนี้นั้น เจาหนี้ก็มีสิทธิที่จะบังคับจํานําไดตามกฎหมาย (ม.764) โดยนําเอาทรัพยสินที่จํานําไวนั้นออกขายทอดตลาดไดเอง โดยไมจําเปนตองอาศัยคําสั่งศาลใหขายทอกตลาด เพราะทรัพยสินที่จํานําอยูในความครอบครองของผูรับจํานําอยูแลว

☺ สิทธิของผูจํานํา ผูจํานําที่จะถูกบังคับจํานําทรัพยนั้น อาจเขาชําระหนี้ทั้งหมดเสียก็ได ซึ่งจะมีผลทําใหหนี้ประธานระงับไป และสงผลใหสัญญาจํานําระงับลงดวย และหากเปนกรณีที่ผูจํานําเปนบุคคลภายนอก ผูจํานํายังมีสิทธิที่จะไดรับเงินใชคืนจากลูกหนี้ไดอีกดวย

☺ ความระงับแหงสัญญาจํานํา (ม.769) 1. เมื่อหนี้ซึ่งเปนประกันนั้นระงับสิ้นไป ที่ไมใชดวยเหตุอายุความ ถาเปนกรณีขาดอายุความแลว ทรัพยสินที่จํานํายังอยูกับผูรับจํานํา ก็สามารถบังคับจํานําไดอยู 2. เมื่อผูรับจํานํายอมใหทรัพยสินที่จํานํากลับคืนไปสูความครอบครองของผูจํานํา สัญญาตัวแทน

☺ ความเปนตัวแทนอาจเกิดได 2 ประการ คือ (ม.797) 1. การเปนตัวแทนโดยชัดแจง 2. การเปนตัวแทนโดยปริยาย โดยเกิดจากพฤติการณทําใหเขาใจไดวามีการเปนตัวแทนกันแลว อนึ่ง ผูจะเปนตัวแทนนั้น ตองอาศัยอํานาจของตัวการ ดังนั้น ถาตัวการไมสามารถทํากิจการนั้นไดดวยตนเอง ตัวแทนก็ไมมีอํานาจจัดการ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 25: Civil Overview

25

☺ แบบของการตั้งตัวแทน สัญญาตัวแทนตามปกติไมมีแบบ อยูที่ตัวการกับตัวแทนจะตกลงกันอยางไรก็ตาม กฎหมายไดวางหลักไววา ถากิจการใด กฎหมายบังคับให ตองทําเปนหนังสือ การตั้งแตแทนเพื่อทํากิจการนั้น ตองทําเปนหนังสือดวย สวนถากิจการใดกฎหมายบังคับวา ตองมีหลักฐานเปนหนังสือ การตั้งตัวแทนเพื่อกิจการนั้นก็ตองมีหลักฐานเปนหนังสือดวย (ม.798) ถาตัวแทนกระทําไปโดยไมไดรับมอบหมายเปนหนังสือจากตัวการ การกระทํานั้น ยอมไมผูกพันตัวการ

☺ หนาที่ของตัวแทนตอตัวการ ในระหวางอายุสัญญา ตัวแทนมีหนาที่ดังนี้ 1. ตองทําตามที่ไดรับมอบหมาย จะทิ้งหรือเลิกกลางคันไมได 2. ตองทําตามคําสั่งของตัวการ ถาไมมีคําสั่งก็ตองดําเนินการตามธรรมเนียมที่เคยทํากันในกิจการที่เขาใหทํา (ม. 807) 3. ตองทํากิจการนั้นดวยตนเอง เวนแตจะมีอํานาจใหต้ังตัวแทนชวงได (ม.808) 4. ตองกระทําโดยใชความระมัดระวังและใชฝมือตามควร กลาวคือ ถาเปนตัวแทนที่มีบําเหน็จหรือโดยอาชีพ ตองใชฝมือระดับของผูมีวิชาชีพ (ม. 807 วรรคสอง) 5. ตองแจงถึงความเปนไปในกิจการที่ไดรับมอบหมายใหตัวการทราบ (ม.809) 6. ถาไดรับเงินหรือทรัพยสินอยางใดไวแทนตัวการ ตองสงมอบใหแกตัวการทั้งสิ้น (ม.810) 7. ตัวแทนจะทํานิติกรรมกับตัวแทนในนามของตนเองไมได เวนแตตัวการจะยินยอมดวย (ม.805) เม่ือสัญญาสิ้นสุดลง ตัวแทนมีหนาที่ดังนี้

1.ตองแถลงบัญชี (ม.809) 2. ตองรักษาผลประโยชนของตัวการตามสมควร เมื่อสัญญาตัวแทนสิ้นสุดลง เนื่องมาจากตัวการตาย ตกเปนผู

ไรความสามารถ หรือลมละลาย จนกวาทายาทหรือผูรับผิดชอบจะไดเขามาดูแลแทน (ม.828,829)

☺ ความรับผิดของตัวแทนตอตัวการ 1. ถาตัวแทนไดกระทําการไปโดยประมาทเลินเลอ หรือไมทําการเปนตัวแทน หรือทําไปนอกเหนืออํานาจ

ตัวแทนตองรับผิดในความเสียหายอยางใดๆ ที่เกิดขึ้น (ม.812) 2. ถาตัวแทนเขาทําสัญญากับบุคคลภายนอก โดยเห็นแกอามิสสินจางหรือทรัพยสินอยางใดๆ สัญญาดังกลาว

ไมผูกพันตัวการ เวนแตตัวการจะยินยอมดวย (ม.825)

☺ สิทธิของตัวแทนตอตัวการ 1. สิทธิในเงินที่ตัวแทนทดรองจาย เพื่อใหการทํางานไดลุลวงไป (ม.815) ถาตัวการไมให นอกจากตัวแทนจะ

ฟองเรียกคาเสียหายไดแลว ยังอาจปฏิเสธไมทําหนาที่ตัวแทนตอไปได 2. ถาการทํากิจการที่ตัวการมอบหมายให เชน การใชตัวแทนตองเสียหาย โดยไมใชเปนความผิดของตนเอง

แลว ตัวแทนจะเรียกคาสินไหมทดแทนจากตัวการก็ได (ม.816 วรรคทาย) 3. ถามีขอตกลงไววาจะใหบําเหน็จ ไมวาโดยตรงหรือโดยปริยาย หรือเคยเปนธรรมเนียมวาตองใหบําเหน็จ

ตัวแทนก็มีสิทธิไดรับบําเหน็จ (ม.803) 4. สิทธิยึดหนวงทรัพยของตัวการ (ม.819) ที่อยูในความครอบครองของตนเอาไว จนกวาจะไดรับเงินที่คาง

ชําระ เพราะ การเปนตัวแทน

☺ ความระงับแหงสัญญาตัวแทน 1. ตามความตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญา 2. ตามกฎหมาย (ม.826) ไดแก กรณีฝายใดฝายหนึ่งตาย ลมละลาย หรือตกเปนผูไรความสามารถ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 26: Civil Overview

26

สัญญานายหนา

“นายหนา” คือบุคคลซึ่งทําสัญญากับบุคคลหนึ่งที่เรียกวาตัวการ ตกลงทําหนาที่เปนคนกลางหรือเปนสื่อช้ีชองใหตัวการไดเขาทําสัญญา กับบุคคลภายนอก (ม.845)

☺ บําเหน็จของนายหนา สัญญานายหนานั้น ตามปกติตองถือวามีบําเหน็จ (ม.846) แมจะไมมีขอตกลงกันไว ก็ตองใหบําเหน็จตามธรรมเรียมคือรอยละ 5 สิทธิเรียกคาบําเหน็จเกิดขึ้นเมื่อตัวการกับบุคคลภายนอกไดตกลงกันทําสัญญาเสร็จ แมตอมาจะมีการบอกเลิกสัญญาภายหลัง ก็ตองจายคาบําเหน็จให

☺ อายุความฟองรองเรียกคานายหนา ใชอายุความ 10 ป ตามบทบัญญัติทั่วไป ประกันภัย

☺ หลักเกณฑเฉพาะของสัญญาประกันภัย มี 3 ประการ คือ (ม.861) 1. เปนสัญญาตางตอบแทน คือ ผูเอาประกันภัยเปนลูกหนี้ที่จะตองชําระเบี้ยประกันภัย และเปนเจาหนี้ที่จะไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนหรือเงินจํานวนหนึ่ง เมื่อมีเหตุในอนาคตตามสัญญาไดเกิดขึ้น 2. เปนสัญญาที่มีเง่ือนไขอันไมแนนอน เพราะเปนภัยที่ไมมีใครคาดคิดลวงหนาไดวาจะเกิดแกใคร เมื่อใด 3. เปนสัญญาที่รัฐควบคุม สัญญาประกันวินาศภัย

เปนสัญญาที่มุงหมายชดใชคาสินไหมทดแทน ความเสียหายที่เกิดขึ้นอันสามารถคํานวณเปนราคาเงินได (ม.867 วรรคสอง)

☺ สิทธิของผูเอาประกันภัย 1. สิทธิขอลดเบี้ยประกัน ถาภัยนั้นไดหมดไป โดยมีความเสี่ยงลดลง (ม.864) 2. สิทธิขอลดจํานวนเงินซึ่งเอาประกันภัย ถามูลประกันภัยไดลดนอยถอยลงไปมาก (ม.873) 3. สิทธิที่จะเรียกใหผูรับประกันหาหลักประกัน หรือจะบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูรับประกันภัยตองคํา

พิพากษาใหเปนคนลมละลาย (ม.876 วรรคหนึ่ง) 4. สิทธิที่จะไดรับชดใชคาสินไหมทดแทน (ม.877) 5. สิทธิบอกเลิกสัญญา ตามหลักเรื่องหนี้ (ม.987-389) และยังบอกเลิกสัญญากอนเริ่มเสียงภัย (ม.872) หรือเมื่อ

ผูรับประกันภัยตองคําพิพากษาใหลมละลาย (ม.876) หรือเลิกสัญญาเมื่อบริษัทออกกรมธรรมประกันภัยโดยใชแบบหรือขอความที่นายทะเบียนไมเห็นชอบดวย เปนตน

☺ หนาที่ของผูเอาประกันภัย 1. หนาที่เปดเผยความจริง ผูเอาประกันภัยตองแถลงความจริงขณะทําสัญญา (ม.865) 2. หนาที่ชําระเบี้ยประกัน 3. หนาที่บอกกลาวเมื่อเกิดวินาศภัยแกผูรับประกันภัย โดยไมชักชา (ม.881) 4. หนาที่ปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญา ถาปฏิบัติ ผูรับประกันภัยอาจหลุดพนความรับผิดได

☺ สิทธิของผูรับประกันภัย

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 27: Civil Overview

27

1. สิทธิเรียกเบี้ยประกัน แมวาเหตุที่ไดประกันภัยไว จะไมไดเกิดขึ้นเลยก็ตาม 2. สิทธิขอลดคาสินไหมทดแทน ในกรณีที่คูสัญญาไดกําหนดราคาแหงมูลประกันไวสูงเกินมาก (ม.874) 3. สิทธิเรียกคาสินไหมทดแทน เมื่อมีเหตุวินาศภัยตามสัญญาเกิดขึ้น ผูเอาประกันภัยหรือผูรับประโยชนที่

ทราบความวินาศภัยขึ้นแลว มีหนาที่ตองแจงใหผูรับประกันภัยทราบโดยมิชักชา ถาไมแจง แลวเกิดความเสียหายแกผูรับประกันภัย ผูรับประกันภัยชอบที่จะเรียกรองคาสินไหมทดแทนในสวนนั้นได (ม.881 วรรคสอง) อยางไรก็ตาม การที่ผูเอาประกันภัยแจงชักชาก็ไมทําใหผูรับประกันภัยหลุดพนความรับผิดไป และถาไมปรากฏวาการแจงชักชานั้น ทําใหผูรับประกันภัยเสียหายอยางใด ผูเอาประกันภัยก็ไมตองชดใชคาเสียหาย

4. สิทธิในการรับชวงสิทธิ ถาความวินาศภัยเกิดจากบุคคลภายนอก และผูรับประกันภัยไดใชคาสินไหมทดแทนไปเปนจํานวนเทาใด ยอมรับชวงสิทธิของผูเอาประกันภัยและของผูรับประโยชน ซึ่งมีตอบุคคลภายนอกเพียงนั้น (ม.880 วรรคหนึ่ง)

5. สิทธิในซากทรัพย 6. สิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ผูเอาประกันภัยตองคําพิพากษาใหลมละลาย เวนแตผูเอาประกันภัยไดสงเบี้ย

ประกันเต็มจํานวนแลว (ม.876 วรรคสอง) หรือบอกเลิกสัญญาตามเงื่อนไขและวิธีการที่ระบุไวในกรมธรรม โดยบอกกลาวการเลิกสัญญานั้นเปนหนังสือใหทราบลวงหนาตามควร

☺ หนาที่ของผูรับประกันภัย 1. หนาที่สงมอบกรมธรรมประกันภัย อันมีเนื้อความถูกตองตามสัญญา มีขอความและเปนไปตามแบบที่นาย

ทะเบียนเห็นชอบ รวมทั้งเอกสารประกอบหรือแนบทายกรมธรรมประกันภัยดวย (ม.867 วรรคสอง) 2. หนาที่ชดใชคาสินไหมทดแทน เมื่อมีเหตุวินาศภัยเกิดขึ้นตามจํานวนเงินที่ตกลงกันไว 3. หนาที่คืนเบี้ยประกัน ในกรณีตอไปนี้ คือ 3.1 เมื่อมีการบอกเลิกสัญญากอนเริ่มเสี่ยงภัย (ม.872)

3.2 เมื่อผูเอาประกันภัยขอลดจํานวนเงินซึ่งเอาประกันภัย (ม.873) 3.3 เมื่อผูรับประกันภัยขอลดคาสินไหมทดแทน (ม.874) 3.4 เมื่อผูรับประกันภัยตกเปนบุคคลลมละลาย (ม.876) 3.5 กรณีบอกเบิกสัญญาในกรณีกรมธรรมผิดแบบ 3.6 ในกรณีที่นายทะเบียนสั่งใหลดจํานวนเงินที่เอาประกันภัยลง 4. หนาที่สํารวจคาเสียหาย ตีราคาคาเสียหาย (ม.877 วรรคสอง) และออกคาใชจายในการตีราคานั้นดวย (ม.878)

☺ การปฏิเสธความรับผิดชอบของผูรับประกันภัย 1. เหตุวินาศภัยนั้นเกิดขึ้น เพราะความทุจริตหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรงของผูเอาประกันภัยหรือผูรับประโยชน (ม.879) 2. เหตุวินาศภัยเกิดขึ้นเนื่องจากความไมสมประกอบในเนื้อแหงวัตถุที่เอาประกันภัย (ม.879 วรรคสอง) กลาวคือ วัตถุที่เอาประกันนั้นไดเสื่อมสลายไปเองโดยสภาพ

☺ อายุความ การเรียกคาสินไหมทดแทนตองฟองเรียกรองภายใน 2 ป นับแตเกิดสิทธิตามสัญญา (ม.882) สัญญาประกันชีวิต

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 28: Civil Overview

28

ไดแก สัญญาประกันภัย ซึ่งเงื่อนไขในการใชจํานวนเงินโดยอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของบุคคลหนึ่ง (ม.889)

☺ สิทธิของผูเอาประกันชีวิต 1. สิทธิที่จะไดรับเงินจํานวนหนึ่ง 2. สิทธิเรียกรองจากผูที่กอมรณภัย (ม.896) 3. สิทธิบอกเลิกสัญญา เสียในเวลาใดๆ ก็ได โดยงดสงเบี้ยประกันตอไป โดยไมตองแจงใหผูรับประกันภัยทราบเปนลายลักษณอักษร และถาไดสงเบี้ยประกันมาแลวอยางนอย 3 ป ผูเอาประกันภัยมีสิทธิไดรับเงินคาเวนคืนกรมธรรมประกันภัยหรือรับกรมธรรมใชเงินสําเร็จจากผูรับประกันภัยดวย (ม.894) 4. สิทธิขอลดเบี้ยประกันชีวิต (ม.864)

☺ หนาที่ของผูเอาประกันชีวิต 1. หนาที่ตองเปดเผยความจริง เนื่องจากการคิดเบี้ยประกันชีวิต มีฐานมาจากอายุและสุขภาพอนามัยของเอาประกันชีวิต ถาไมเปดเผยความจริงหรือแถลงขอความเท็จเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว ดังนี้จะทําใหสัญญานั้นเปนโมฆียะ (ม.893) หรือความจริงเกี่ยวกับอนามัย แตถาไมใชโรคที่รายแรง หรือไมทราบวาตนเปนโรคที่รายแรงอยู ดังนี้ สัญญาประกันชีวิตนั้นสมบูรณ 2. หนาที่ชําระเบี้ยประกันชีวิต

☺ สิทธิและหนาที่ของผูรับประกันชีวิต 1. สิทธิไดรับเบี้ยประกันชีวิตตามที่ตกลงกัน 2. หนาที่สงมอบกรมธรรมประกันภัยใหแกผูเอาประกันชีวิต 3. หนาที่ใชเงินตามสัญญาประกันชีวิต 4. สิทธิบอกลางสัญญาประกันชีวิต ในกรณีที่สัญญาประกันชีวิตเปนโมฆียะเน่ืองจากการปกปดขอความจริงหรือแถลงเท็จ (ม.865) หรือแถลงอายุคลาดเคลื่อน (ม.893)

☺ เหตยุกเวนความรับผิดของผูรับประกันชีวิต (ม.895) 1. บุคคลนั้นไดฆาตนเองดวยความสมัครใจภายใน 1 ปนับแตวันทําสัญญา หรือ 2. บุคคลนั้นถูกผูรับประโยชนฆาตายโดยเจตนา อยางไรก็ตาม ผูรับประกันภัยตองใชเงินคาไถถอนกรมธรรมใหแกผูเอาประกันชีวิต หรือถาผูตายเอาประกันชีวิตของตนเอง ก็ใหเงินนั้นตกแกทายาทของผูนั้น

☺ สิทธิของเจาหนี้ผูเอาประกันภัย 1. ถาสัญญาประกันชีวิตไมไดระบุผูรับประโยชนไว ใหถือวาเงินนี้เปนสวนหนึ่งแหงกองมรดก ซึ่งเจาหนี้มีสิทธิที่จะไดรับชําระหนี้จากกองมรดกนั้น (ม.897 วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา 1734) 2. ถาสัญญาเจาะจงตัวผูรับประโยชนไว ผูนั้นยอมไดรับเงินประกันชีวิตตามสัญญา แตตองสงคืนเบี้ยประกันเทาจํานวนที่ผูเอาประกันภัยสงไปแลวเขาเปนกองมรดกของผูตาย ซึ่งเจาหนี้เอาใชหนี้ได (ม. 897 ว.สอง) ☺ อายุความ ใช 10 ป ตามบททั่วไป (ม.193/30) สัญญาตั๋วเงิน

☺ มีลักษณะสําคัญ คือ ตองทําเปนหนังสือตราสารเนื้อความตามที่กฎหมายกําหนด โดยมีวัตถุแหงหนี้เปนเงินตราและเปนตราสารเปลี่ยนมือไดโดยการสงมอบหรือสลักหลังตราสารนั้นๆ (ม.898, 900) การชําระหนี้ดวยต๋ัวเงินจะ

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 29: Civil Overview

29

สมบูรณก็ตอเมื่อไดมีการใชเงินตราตามตั๋วเงินแลว (ม.321) และแมการเรียกใหใชเงินตามตั๋วจะขาดอายุความแลว หากหนี้เดิมยังไมขาดอายุความ ก็ยังเรียกใหชําระหนี้ตามมูลหนี้เดิมได (ม.1005)

☺ ต๋ัวเงินตามกฎหมาย มี 3 ชนิด คือ 1. ต๋ัวแลกเงิน คือ หนังสือตราสาร ซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวา “ผูสั่งจาย” สั่งบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูจาย” ใหใชเงินจํานวนหนึ่งแกบุคคลคนหนึ่งหรือใหใชตามคําสั่งของบุคคลคนหนึ่ง ซึ่งเรียกวา “ผูรับเงิน” (ม.908) ต๋ัวแลกเงินจะตองมีขอความบอกวาเปน “ต๋ัวแลกเงิน” ซึ่งอาจจะใชภาษาใดก็ได มีคําสั่งอันปราศจากเงื่อนไข ระบุช่ือผูสั่งจายเงินแกผูรับเงิน หรือ “ผูถือ” เปนจํานวนเงินอันแนนอนตามวันและสถานที่ใชเงิน พรอมทั้งลงวัน เดือน ปกําหนดใชเงิน (ถาไมมี ถือวาใชเงินเมื่อไดเห็น) / สถานที่ออกตั๋วเงิน มีช่ือหรือยี่หอผูรับเงิน วันและสถานที่ออกตั๋ว และท่ีสําคัญคือตองมีลายมือผูสั่งจายดวย หากขาดรายการหนึ่งรายการใด ยอมไมใชต๋ัวแลกเงินตามกฎหมาย

2. ต๋ัวสัญญาใชเงิน คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกวา “ผูออกตั๋ว” ใหคํามั่นสัญญาวาจะใชเงินจํานวนหนึ่งใหแกบุคคลหนึ่ง หรือใหใชตามคําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูรับเงิน” อยางไรตาม การที่ผูสั่งจายไมลงวันที่ในตั๋วเงิน แสดงวายอมใหผูมีสิทธิในตั๋วน้ันลงวันที่ไดโดยสุจริต ต๋ัวเงินนั้นยอมสมบูรณ ต๋ัวสัญญาใชเงินจะตองมีขอความบอกวาเปน “ต๋ัวสัญญาใชเงิน” มีคํามั่นอันปราศจากเงื่อนไขวาจะใชเงินเปนจํานวนแนนอน มีวัยถึงกําหนดใชเงิน (ถาไมมี ถือวาใชเงินเมื่อเห็น) / มีสถานที่ใชเงิน (ถาไมมี ใหถือเอาภูมิลําเนาของผูออกตั๋ว) / มีช่ือหรือยี่หอผูรับเงิน วันและสถานที่ออกตั๋ว (ถาไมระบุวันออกตั๋ว ผูทรงตั๋วชอบดวยกฎหมายและโดยสุจริต จะจดวันถูกตองแทจริงลงก็ได ถาไมไดระบุสถานที่ออกตั๋วไว ใหถือวาออก ณ ภูมิลําเนาของผูออกตั๋ว) และที่สําคัญคือ ตองลงลายมือช่ือผูออกตั๋ว อนึ่ง ต๋ัวสัญญาใชเงิน ตองระบุช่ือผูรับเงินเสมอ จะเปนต๋ัวผูถือไมได 3. เช็ค คือ หนังสือตราสารซึ่งบุคคลหนึ่ง เรียกวา “ผูสั่งจาย” สั่งธนาคารใหใชเงินจํานวนหนึ่งเมื่อทวงถามใหแกบุคคลอีกคนหนึ่ง หรือใหใชตามคําสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวา “ผูรับเงิน” (ม.987) เช็คมีลักษณะที่สําคัญตางจากตั๋วเงินประเภทอื่น คือ ผูจายเงินตามเช็คคือ ธนาคาร และการจายเงินตองจายเมื่อทวงถามเทานั้น ขอความในเช็คจะตองมีคําบอกวาเปนเช็ค / มีคําสั่งอันปราศจากเงื่อนไขใหใชเงินเปนจํานวนแนนอน / มีช่ือหรือยี่หอของธนาคาร / มีช่ือหรือยี่หอของผูรับเงินหรือใหใชเงินแกผูถือ / มีสถานที่ใชเงิน / วันและสถานที่ออกเช็ค / และลายมือช่ือผูสั่งจาย ถาตราสารใดมีขอความครบถวนตามนี้ก็ถือวาไดมีการออกเช็ค แมจะไมไดใชแบบพิมพของธนาคาร หรือผูที่มิไดมีเงินฝากในธนาคาร แตเอาแบบพิมพของธนาคารของผูอื่นไปใช แลวธนาคารปฏิเสธการใชเงิน ผูสั่งจาย ผูสลักหลังหรือผูอาวัลตองรับผิดตามเนื้อความในเช็คนั้น เพราะ เอกสารดังกลาวมีขอความครบถวนเปนเช็คแลว ถาเช็คมีขอความนอกเหนือไปจากที่กฎหมายระบุ (ม.988) ยอมเปนเช็คที่ชอบดวยกฎหมาย แตขอความที่เพิ่มดังกลาวไมมีผลอยางหนึ่งอยางใดในตั๋วเงินนั้นเลย (ม.899)

☺ หลักสําคัญที่ใชบังคับรวมกันสําหรับตั๋วเงินทั้ง 3 ชนิด มีดังนี้ คือ 1. ผูใดลงลายมือช่ือของตนในตั๋วเงินนั้น ผูนั้นตองรับผิดตามเนื้อความในตั๋วเงินนั้น (ม.900) 2. ต๋ัวเงินยอมสามารถโอนกันได ซึ่งมีวิธีการดังนี้ คือ 2.1 สําหรับตั๋วเงินที่ออกใหแกผูถือ สามารถโอนใหแกกันไดดวยการสงมอบ (ม.918) ยกเวนตั๋วสัญญาใชเงินที่โดยสภาพ ไมสามารถออกใหแกผูถือได (ม.983 (5))

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 30: Civil Overview

30

2.2 สําหรับตั๋วเงินที่ระบุช่ือผูรับเงินไวชัดแจง สามารถโอนใหแกกันไดโดยการสลักหลังตั๋วเงินนั้นซึ่งจะเปนการสลักหลังโดยระบุช่ือผูรับประโยชน หรือเปนการสลักลอยก็ได คือ สลักหลังลงลายมือช่ือของตนโดยไมตองระบุช่ือผูรับประโยชน (ม.919)

☺ การอาวัล คือ การค้ําประกันความรับผิดชอบตามตั๋วเงิน ผูรับอาวัลน้ันจะเปนบุคคลภายนอกหรือเปนคูสัญญาคนใดคนหนึ่งในเช็คนั้นก็ได (ม.938) แบบของการรับอาวัล 1. เขียนดวยถอยคําสํานวน “ใชไดเปนอาวัล” หรือสํานวนอื่นใดที่มีความหมายทํานองเดียวกันไวดานหนาหรือดานหลังของเช็คก็ได และลงลายมือช่ือผูรับอาวัล ในกรณีที่คํารับอาวัลไมไดระบุวาประกันผูใดนั้น กฎหมายใหถือวาเปนประกันผูสั่งจาย (ม.939 วรรคทาย) 2. เพียงแตลงลายมือช่ือของผูอาวัลในดานหนาของเช็ค โดยไมตองเขียนขอความใดๆ เลยก็มีผลเปนการอาวัลแลว เวนแตในกรณีที่เปนลายมือช่ือของผูจายหรือผูสั่งจาย (ม.939 วรรคสาม) 3. การสลักหลังเช็ค ซึ่งเปนเช็คที่ออกใหแกผูถือ ยอมเทากับเปนการอาวัลผูสั่งจายแลว (ม.921) ความรับผิดของผูรับอาวัล ผูรับอาวัลยอมตองผูกพันตนเปนอยางเดียวกับบุคคลที่ตนประกัน (ม.940) สิทธิไลเบี้ยของผูรับอาวัล เมื่อผูรับอาวัลใชเงินตามเช็คแลว ผูรับอาวัลมีสิทธิในอันที่จะไลเบี้ยเอาแกบุคคลซึ่งตนประกันไวได (ม.940 วรรคทาย) ในการไลเบี้ยนี้ ผูรับอาวัลมีสิทธิไลเบี้ยเอาแกผูซึ่งตนค้ําประกันไดเต็มจํานวนตามที่ตนไดชําระหนี้แทนไป เช็คขีดครอม คือ เช็คที่มีเสนขนานคู ขีดขวางไวขางหนา ซึ่งในระหวางเสนขนานนั้น อาจจะมีขอความอยูในระหวางเสนคูขนานสั้นหรือไมก็ได ซึ่งแยกไดเปน 2 กรณี คือ

1. เช็คขีดคราอมทั่วไป คือ เช็คที่ในระหวางเสนคูขนานนั้นไมมีขอความใดๆ เขียนไวเลย หรือมีขอความคําวา “และบริษัท” หรือ “And Co.” หรือ “& Co.” หรือคํายออื่นๆ ซึ่งไมมีความหมายเฉพาะเจาะจง (ม.994 วรรคหนึ่ง) 2. เช็คขีดครอมเฉพาะ คือ เช็คที่ในระหวางเสนคูขนาน จะมีช่ือธนาคารใดธนาคารหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงลงไป (ม. 994 วรรคทาย) การจายเงินตามเช็คขีดครอม ธนาคารจะจายเงินตามเช็คนั้นใหแกธนาคารเทานั้น จะจายโดยตรงใหแกบุคคลที่นําเช็คนั้นมาขึ้นเงินไมได เช็คขีดครอมจึงใหประโยชนในดานความปลอดภัยมาก หุนสวนและบริษัท

คือ การทําสัญญาระหวางบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป ตกลงเขากันเพื่อกระทํากิจการรวมกัน โดยประสงจะแบงปนกําหรที่จะพึงไดจากกิจการนั้น (ม.1012)

☺ ประเภทของหางหุนสวนหรือบริษัท 1. หางหุนสวนสามัญ ผูที่เขารวมทําสัญญาจัดตั้งเปนหางหุนสวนสามัญนั้น ผูเปนหุนสวนหมดทุกคนตองรับผิดรวมกันเพื่อหน้ีทั้งปวงของหุนสวนโดยไมมีจํากัด (ม.1025) กลาวคือ 1. ผูเปนหุนสวนสามัญทุกคนตองรับผิดในหนี้สินของหางอยาง “ลูกหนี้รวม” ในหนี้สิ้นจองหางหุนสวน ไมวาจะโดยสัญญาหรือละเมิดที่ทําไปในกิจการของหาง 2. ผูเปนหุนสวนสามัญทุกคนตองรับผิดในหนี้สิ้นของหางโดยไมจํากัดจํานวน

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 31: Civil Overview

31

ดวยเหตุนี้ คุณสมบัติของผูเปนหุนสวนสามัญ จึงเปนสาระสําคัญ เพราะถาคนใดคนหนึ่งไปทําสัญญาหรือไดจัดทําไปในทางที่เปนธรรมดาการคาของหางหุนสวนนั้น ผูเปนหุนสวนทุกคนยอมตองผูกพันในการนั้นๆ ดวย และตองรับผิดในหนี้รวมกันโดยไมจํากัดจํานวน (ม.1050)

☺ การจัดการหางหุนสวนสามัญ 1. การจัดการโดยตรง กลาวคือ หุนสวนทุกคนเขาบริหารงานเอง โดยอาจแบงหนาที่กันทํา หรืออาจจะมอบหมายใหหุนสวนคนใดหรือหลายคนเปนผูจัดการหางหุนสวนสามัญนั้น หรืออาจรวมกันจางบุคคลภายนอกมาเปนผูดําเนินงานหางหุนสวนก็ได 2. การดูแลครอบงํา ไดแก กรณีที่ต้ังใหหุนสวนคนเปนผูจัดการแลว อํานาจในการจัดการดูแลกิจการตางๆ ของหางหุนสวนยอมเปนของผูจัดการนั้น แตหุนสวนที่ไมใชผูจัดการยอมมีสิทธิที่จะไตถามถึงการงานของหางหุนสวนที่จัดการอยูนั้นไดทุกเมื่อ และมีสิทธิตรวจและคัดสําเนาสมุดบัญชีและเอกสารใดๆ ของหางหุนสวนไดดวย (ม.1037)

☺ สิทธิและหนาที่ระหวางผูเปนหุนสวนดวยกัน 1. หามประกอบกิจการอยางหนึ่งอยางใดที่มีสภาพเดียวกัน และเปนการแขงขันกับหางหุนสวน (ม.1038 วรรค หนึ่ง)โดยไมไดรับความยินยอมจากผูเปนหุนสวนคนอื่น ถาฝาฝน ผูเปนหุนสวนคนอื่นๆ มีสิทธิเรียกเอาผลกําไรที่ผูฝาฝนหามาไดทั้งหมด หรือเรียกเอาคาสินไหมทดแทนที่ทําใหหางหุนสวนไดรับความเสียหายเพราะเหตุนั้นก็ได (ม.1038 วรรคสอง) 2. หามนําบุคคลอื่นเขาเปนหุนสวน โดยไมไดรับความยินยอมจากผูเปนหุนสวนทั้งหมดทุกคน (ม.1040) เชน ผูเปนหุนสวนคนหนึ่งตาย หุนสวนสามัญตองเลิกกัน เวนแตผูเปนหุนสวนคนอื่นยอมใหมีคนรับโอนหุนนั้นตอมาได ก็คงเปนหุนสวนกันตอไป 3. ขอใหงดใชช่ือ ถามีการใชช่ือของผูเปนหุนสวนคนใดมาตั้งเปนช่ือหางหุนสวน เมื่อผูนั้นออกจากหางหุนสวนไปแลว อาจขอใหงดใชช่ือของตนเปนช่ือหางหุนสวนตอไปได (ม.1047) มิฉะนั้นตนอาจตองรับผิดตอบุคคลภายนอกเสมือนวาตนยังเปนหุนสวนอยู (ม.1054) 4. ความเกี่ยวพันระหวางหุนสวนผูเปนผูจัดการกับผูเปนหุนสวนอื่น ใหใชกฎหมายเรื่องตัวแทนมาบังคับ (ม.1042) เวนแตกรณีที่กฎหมายเกี่ยวกับหุนสวนไดบัญญัติไวโดยเฉพาะแลว (ม.1042) เชน หุนสวนผูจัดการไปลงนามแทนหาง หางตองรับผิดดวย

☺ ความเก่ียวพันกับบุคคลภายนอก 1. ผูเปนหุนสวนสามัญที่ไมไดจดทะเบียนจะถือเอาสิทธิใดๆ แกบุคคลภายนอกในกิจการการคาขาย ซึ่งไมปรากฏชื่อของตนนั้นไมได (ม.1049) 2. ผูเปนหุนสวนทุกคนตองรับผิดตอบุคคลภายนอกในการใดๆ อันผูเปนหุนสวนคนใดไดจัดทําไปในทางที่เปนธรรมดาการคาขายของหางหุนสวนนั้น (ม.1050) แมผูเปนหุนสวนคนอื่นๆ จะมิไดรูเห็นในกิจการที่ทําไปนั้นเลยก็ตาม ก็ตองรับผิดรวมกัน นอกจากนี้ความรับผิดตอบุคคลภายนอกนี้รวมถึงความรับผิดในทางละเมิดดวย (ม. 1051, 1052) นอกจากนี้สําหรับผูที่เปนหุนสวนสามัญ ตองรับผิดในหนี้ของหางที่กอใหเกิดขึ้นกอนที่ตนจะเขามาเปนหุนสวน และแมผูเปนหุนสวนจะออกไปแลว ก็ยังคงตองรับผิดในหนี้ซึ่งหางไดกอใหเกิดขึ้น กอนที่ตนจะไดออกจากหางหุนสวนไป (ม.1051 ,1052)

☺ การเลิกหางหุนสวนสามัญ 1. การเลิกโดยผลของกฎหมาย (ม.1055) ไดแก 1.1 ถาในสัญญากําหนดกรณีที่จะเลิกกันไว

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 32: Civil Overview

32

1.2 เมื่อถึงกําหนดเวลาที่สัญญาเปนหุนสวนกัน เวนแตผูเปนหุนสวนทั้งหลายยังคงดําเนินกิจการกันตอไปโดยไมมีการชําระบัญชีกัน ก็ถือวาหุนสวนทั้งหลายตกลงเปนหุนสวนกันตอไปโดยไมมีกําหนดเวลา (ม.1059) 1.3 ถาสัญญาทําไวเฉพาะเพื่อกิจการใด เมื่อเสร็จกิจการนั้นแลว 1.4 ในกรณีที่การเปนหุนสวนไมไดกําหนดเวลาไว เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดบอกเลิกสัญญาการเปนหุนสวนลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือนกอนสิ้นรอบปในทางบัญชีของหางหุนสวนนั้น (ม.1056) แตถาหุนสวนอื่นยังไมอยากเลิก โดยรับซื้อหุนของผูที่ประสงคจะออกไว หางหุนสวนก็ไมเลิกกัน (ม.1060) 1.5 เมื่อผูเปนหุนสวนคนหนึ่งคนใดตาย ลมละลาย หรือตกเปนผูไรความสามารถ หางหุนสวนตองเลิกกัน เวนแตหุนสวนคนอื่นจะรับซื้อหุนนั้นไว แลวตกลงดําเนินกิจการตอไป (ม.1060) 2. การเลิกโดยความประสงคของผูเปนหุนสวน เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดบอกเลิกสัญญาการเปนหุนสวนลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือนกอนสิ้นรอบปในทางบัญชีของหางหุนสวนนั้น (ม.1056) เวนแตมีเหตุอื่น เชน เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดบอกเลิกสัญญาการเปนหุนสวนลวงหนาไมนอยกวา 6 เดือนกอนสิ้นรอบปในทางบัญชีของหางหุนสวนนั้น (ม.1056)ผูหนึ่งผิดสัญญา หรือไมมีผูดูแลกิจการทําใหเกิดความเสียหาย ก็ขอใหเลิกได โดยไมจําเปนตองบอกกลาวลวงหนา 6 เดือน 3. การเลิกโดยคําสั่งศาล เมื่อผูเปนหุนสวนรองขอตอศาล ศาลอาจสั่งใหหางหุนสวนเลิกกันได เมื่อมีเหตุตอไปนี้ คือ 3.1 เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งนอกจากผูรองนั้น ลวงละเมิดบทบังคับใดๆ อันเปนขอสาระสําคัญ ซึ่งสัญญาหุนสวนกําหนดไวแกตน โดยจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง 3.2 เมื่อกิจการของหางหุนสวนมีแตจะขาดทุนและไมมีหวังที่จะฟนตัวไดอีก 3.3 เมื่อมีเหตุอื่นใดที่ทําใหหางหุนสวนนั้นเหลือวิสัยที่จําดํารงอยูตอไปได

☺ การชําระบัญชีหางหุนสวนสามัญ เมื่อหางหุนสวนสามัญเลิกกันแลว ตองมีการรวบรวมบรรดาทรัพยสินทั้งหลายของหางหุนสวน เพื่อชําระหนี้ใหแกเจาหนี้ทั้งหลายของหาง ถามีเหลือก็ใหคืนแกผูเปนหุนสวน และถายังเหลืออีกก็นํามาแบงกําไรกัน ซึ่งเรียกวา “การชําระบัญชี” (ม.1062) แตถาไดชําระหนี้กาบุคคลภายนอกและคาใชจายอื่นๆ แลว สินทรัพยที่เหลืออยูยังไมพอจะคืนแกผูเปนหุนสวนไดครบจํานวนที่ลงทุนเรียกวา “ขาดทุน” ตองเฉลี่ยการขาดทุนในระหวางหุนสวนดวยกัน (ม.1063)

2. หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล หางหุนสวนสามัญ กฎหมายไมบังคับวาตองจดทะเบียน แตถาประสงคจะจดทะเบียนเปนนิติบุคคลก็ยอมทําได การขอจดทะเบียนหางหุนสวนสามัญนั้นเปนไปตามแบบที่กฎหมายกําหนด (ม.1064 การขอจดทะเบียนใหนํามาตรา 1014 – 1024 มาใชบังคับ) เมื่อจดทะเบียนแลวตองใชคําวา “หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล” ประกอบดวยเสมอ มิฉะนั้นจะมีความผิด ☺ ผลของการจดทะเบียน 1. หางหุนสวนมีสภาพเปนนิติบุคคล การเปนนิติบุคคลทําใหมีสิทธิและหนาที่แยกตางหากจากผูเปนหุนสวน (ม.1015) มีช่ือสัญชาติ และภูมิลําเนาเปนของตนเอง และมีสิทธิดําเนินคดีในศาลในนามของหางเองดวย 2. การถือเอาประโยชนตอบุคคลภายนอก การจดทะเบียนหางหุนสวนตองมีช่ือ วัตถุประสงค ช่ือผูเปนหุนสวน ผูจัดการ ตลอกจนอํานาจหนาที่และขอจํากัดตางๆ ซึ่งตองประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ม.1021) และถือวาบุคคลทั่วไปไดรูแลว (ม.1022) ดังนั้นผูเปนหุนสวนอาจถือเอาประโยชนตอบุคคลภายนอกอันหางหุนสวนจดทะเบียนนั้นไดมา แมในกิจการที่ไมปรากฏชื่อของตนได (ม.1065) 3. หามหุนสวนทําการคาขายแขงขันกับกิจการของหาง (ม. 1070, 1071)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 33: Civil Overview

33

สําหรับผูเปนหุนสวนที่ออกจากหางหุนสวนนั้นไปแลว ยังคงตองรับผิดในหนี้ที่หางหุนสวนไดกอขึ้นภายในวัตถุประสงคของหาง และเกิดขึ้นกอนที่ตนจะออกจากการเปนหุนสวน แตกฎหมายจํากัดใหรับผิดชอบเพียง 2 ป นับแตเมื่อออกจากหุนสวน (ม.1068)

☺ การเลิกหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลและการชําระหนี้ หางหุนสวนสามัญนิติบุคคลนี้อาจเลิกไดดวยเหตุเดียวกันกับการเลิกหางหุนสวนสามัญที่ไดจดทะเบียน คือ อาจเลิกโดยผลของกฎหมาย (ม. 1055) เชน หางหุนสวนลมละลาย (ม.1069) เปนตน หรือโดยการตกลงของผูเปนหุนสวน หรือโดยคําสั่งศาล เมื่อหางหุนสวนสามัญนิติบุคคลเลิกกันแลว ตองมีการชําระบัญชีเสมอไป จะใชวิธีตกลงกันเองไมได และผูชําระบัญชีตองนําไปจดทะเบียนภายใน 14 วันนับแตวันที่เลิกกัน (ม. 1254 และ 1270)

3. หางหุนสวนจํากัด ☺ หางหุนสวนจํากัด จะตองประกอบดวยผูเปนหุนสวน 2 ประเภท คือ (ม.1077) 1. ผูเปนหุนสวนคนเดียวหรือหลายคน ซึ่งจํากัดความรับผิดเพียงไมเกินจํานวนเงินที่ตนรับจะลงหุน ในหางหุนสวนนั้น จําพวกหนึ่ง และ 2. ผูเปนหุนสวนคนเดียวหรือหลายคน ซึ่งตองรับผิดรวมกันในบรรดาหนี้ของหางหุนสวนโดยไมจํากัดอีกพวกหนึ่ง

☺ หางหุนสวนจํากัดนั้น กฎหมายบังคับใหตองจดทะเบียนเสมอ (ม.1078)

☺ หุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด ผูเปนหุนสวนประเภทนี้ มีความรับผิดเพียงไมเกินจํานวนเงินที่ตนตกลงจะลงหุน คุณสมบัติของผูเปนหุนสวนประเภทนี้จึงไมใชสาระสําคัญเหมือนกิจการเปนหุนสวนสามัญ จึงอาจโอนหุนของตนใหแกบุคคลอื่นได โดยไมตองไดรับความยินยอมจากหุนสวนอื่นๆ (ม. 1091) และแมหุนสวนประเภทนี้ ทายาทยอมเขาแทนที่ได (ม.1093) หรือลมละลาย ก็ไมเปนเหตุใหหางหุนสวนจํากัดตองเลิกกัน (ม.1092)

☺ สิทธิของหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด มีดังนี้ 1. มีสิทธิออกความเห็นแนะนํา ออกเสียงลงคะแนนในการแตงตั้งถอดถอนผูจัดการ (ม.1088 วรรคสอง) ตลอดจนตรวจสอบบัญชีและเอกสารของหางไดตามสามควร 2. เปนผูชําระบัญชีของหางได (ม.1089) 3. มีสิทธิคาขายแขงกับหางได (ม.1090)

☺ ขอจํากัดของหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด มีดังนี้ 1. หามเอาชื่อของผูเปนหุนสวนจําพวกจํากัดความรับผิดมาเรียกขานระคนกับช่ือหาง (ม.1081) มิฉะนั้นผูเปนหุนสวนนั้น ตองรับผิดตอบุคคลภายนอกเสมือนเปนประเภทไมจํากัดความรับผิด 2. หุนสวนประเภทนี้จะลงหุนดวยแรงไมได ตองลงเปนเงินหรือทรัพยสินอยางอื่น (ม.1083) 3. ไมมีสิทธิจัดการงานของหาง (ม.1087) ถาสอดเขาจัดการงานของหาง ตองรวมรับผิดกับหางหุนสวนจํากัดเชนเดียวกับผูเปนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด (ม.1088) ไมมีอํานาจรองทุกข หรือฟองคดีของหาง 4. ไมมีสวนไดรับเงินปนผลหรือดอกเบี้ย ถาหางไมมีผลกําไร (ม.1084)

☺ ความรับผิด ของหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด มีดังนี้ (ม.1095)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 34: Civil Overview

34

ผูเปนหุนสวนประเภทจํากัดความรับผิด จะรับผิดในหนี้ที่หางมีตอบุคคลภายนอกก็ตอเมื่อหางหุนสวนจํากัดไดเลิกกัน ตราบใดที่หางยังไมเลิก เจาหนี้จะฟองใหรับผิดไมได และเมื่อหางเลิกกันแลว ผูเปนหุนสวนจํากัดความรับผิดคงมีความรับผิดเพียง 1. จํานวนลงหุนของผูเปนหุนสวนเทาที่ยังคางสงแกหางหุนสวน 2. จํานวนลงหุนเทาที่ผูเปนหุนสวนไดถอนไปจากสินทรัพยของหางหุนสวน 3. จํานวนเงินปนผลและดอกเบี้ยซึ่งผูเปนหุนสวนไดรับไปแลวโดยทุจริตและผิดกฎหมาย

☺ หุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิด สามารถเปนผูจัดการหางหุนสวนได (ม. 1087) ใชช่ือตนเองเปนช่ือหางหุนสวนจํากัดได (ม.1081) ลงทุนดวยแรงงานก็ได (ม.1083) ความเกี่ยวพันอื่นๆ ก็ใหใชบทบัญญัติสําหรับหางหุนสวนสามัญมาใชบังคับ สําหรับความรับผิดตอบุคคลภายนอก ผูเปนหุนสวนประเภทไมจํากัดความรับผิดตองรวมรับผิดในหนี้สินของหางหุนสวนโดยมาจํากัดจํานวน

☺ การเลิกหางหุนสวนจํากัด ใชหลักการเชนเดียวกับการเลิกหางหุนสวนสามัญ (ม.1080 วรรคหนึ่ง) บริษัทจํากัด

☺ การจัดต้ังบริษัทจํากัด 1. ผูเริ่มกอการอยางนอย 7 คน รวมตกลง โดยเขาช่ือกันทํา “หนังสือบริคณหสนธ”ิ (ม.1097) ซึ่งไดแกเอกสารที่มีขอความตามที่กฎหมายกําหนด (ม.1098) และเปนตราสารจัดตั้งนิติบุคคลตามกฎหมาย 2. นําหนังสือบริคณหสนธิที่ลงลายมือช่ือผูกอการทั้งหมด หรือลายมือช่ือพยานรับรอง 2 คน ไปจดทะเบียนที่หอทะเบียนการคา ในเขตที่บริษัทตั้งอยู 3. นําหุนออกใหจองหรือใหเขาช่ือซื้อหุนจนครบ โดยออกหุนในราคาไมตํ่ากวามูลคาหุนที่ต้ังไว และหามชี้ชวนประชาชนใหซื้อหุน (ม. 1102 และ 1105) 4. เมื่อหุนที่จะตองลงเงินนั้นไดมีผูเขาช่ือซื้อหมดแลว ผูเริ่มกอการตองนัดบรรดาผูเขาช่ือซื้อหุนมาประชุมกัน ซึ่งเรียกวา “ประชุมตั้งบริษัท” (ม.1107) เพื่อใหมีการตกลงในเรื่องตางๆ เชน ขอบังคับบริษัท (ม.1110) 5. กรรมการบริษัทที่ไดรับการแตงตั้ง จะรับมอบหมายงานจากผูเริ่มกอการไปดําเนินการตอ โดยใหจัดการเรียกใหผูเริ่มกอการและผูเขาช่ือซื้อหุนทั้งหลาย ใชเงินในหุนไมนอยกวารอยละ 25 ของมูลคาหุน (ม.1105) 6. เมื่อมีการชําระคาหุนตามกําหนดแลว กรรมการบริษัทตองไปขอจดทะเบียนจัดต้ังบริษัทโดยระบุรายการตามที่กฎหมายกําหนด (ม.1111) การฟองเกี่ยวกับหนี้ของบริษัทตองฟองบริษัทโดยตรง ไมใชฟองผูกอต้ังในฐานะสวนตัว 7. ถากรรมการบริษัทไมดําเนินการจดทะเบียนภายใน 3 เดือนนับแตมีการประชุมจัดต้ังบริษัท ถือวาบริษัทนั้นไมมีการตั้งขึ้น (ม.1112) ตองคืนเงินคาหุนที่ไดรับไวเต็มจํานวน

☺ การเลิกบริษัทจํากัด 1. การเลิกโดยผลของกฎหมาย (ม.1236) 1.1 ถาในขอบังคับของบริษัทกําหนดกรณีที่จะเลิกกันไว เมื่อมีกรณีนั้นเกิดขึ้น 1.2 เมื่อถึงกําหนดที่ต้ังขึ้นไว 1.3 ถาบริษัทตั้งขึ้นเฉพาะเพื่อทํากิจการใด เมื่อกิจการนั้นเสร็จแลว 1.4 มีมติพิเศษใหเลิก คือ มีการลงมติในการประชุมเปนลําดับ 2 ครั้ง ครั้งแรก มีมติไมตํ่ากวา 3 ใน 4 ของจํานวนเสียงทั้งหมด และครั้งที่ 2 มีมติยืนยันตามมติเดิมดวยเสียงไมตํ่ากวา 2 ใน 3 (ม. 1194)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 35: Civil Overview

35

1.5 เมื่อบริษัทลมละลาย 2. การเลิกโดยคําสั่งศาล (ม.1237) 2.1 ถาทําผิดในการยื่นรายงานการประชุมตั้งบริษัท หรือทําผิดในการประชุมตั้งบริษัท 2.2 ถาบริษัทไมเริ่มทําการภายใน 1 ป นับแตวันจดทะเบียนหรือหยุดทําการ 1 ปเต็ม 2.3 เมื่อการคาของบริษัททําไปก็มีแตขาดทุนอยางเดียว และไมมีหวังฟนตัวได 2.4 เมื่อจํานวนผูถือหุนลดลงจนเหลือไมถึง 7 คน

☺ เม่ือบริษัทเลิกแลว ตองมีการชําระบัญชีใหเสร็จ นําความไปจดทะเบียนภายใน 14 วัน นับแตวันที่เลิกบริษัท (ม.1254) เมื่อชําระบัญชีเสร็จแลว ผูชําระบัญชีตองทํารายงานแลวเรียกประชุมใหญเพื่อใหที่ประชุมอนุมัติ (ม. 1270 วรรคหนึ่ง) เมื่อที่ประชุมอนุมัติแลว ผูชําระบัญชีตองนําความนั้นไปจดทะเบียนภายใน 14 วันนับแตวันประชุม (ม.1271) เปนอันเสร็จการ ครอบครัว ☺ การหมั้น

1.ชายและหญิงคูหม้ันตองมีอายุ 17 ปบริบูรณ (ม.1435) ถาการหมั้นกระทําโดยฝาฝนมาตรา 1435 ผลคือ การหมั้นตกเปนโมฆะ (ม.1435 ว.2)

2. ผูเยาวทําการหมั้นจะตองไดรับความยินยอมของบิดามารดาหรือผูปกครองดวย (มาตรา 1436) ถาการหมั้นที่ผูเยาวทําโดยปราศจากความยินยอมดังกลาว การหมั้นนั้นตกเปนโมฆียะ

☺ แบบของการหมั้น การหมั้นจะสมบูรณเมื่อฝายชายไดสงหมอบหรือโอนทรัพยสินอันเปนของหมั้นใหแกหญิง เพื่อเปนหลักฐาน

วาจะสมรสกับหญิงนั้น (มาตรา 1437) สัญญาหมั้นเปนสัญญาพิเศษผิดกับสัญญาธรรมดา ฉะนั้น หากมีการหมั้นแตฝายชายไมมีของหมั้นมามอบใหหญิงแลว แมจะมีการผิดสัญญาหมั้นก็จะฟองเรียกคาทดแทนฐานผิดสัญญาหมั้นไมได

☺ ของหมั้น ลักษณะสําคัญของของหมั้นจะตองเขาหลักเกณฑ 4 ประการ คือ

1.ตองเปนทรัพยสิน (สิทธิเรียกรอง ถือไดวาเปนทรัพยสินที่นํามาเปนของหมั้นได) 2.ตองเปนของที่ฝายชายใหไวแกหญิง 3.ตองใหไวในเวลาทําสัญญาและหญิงตองไดรับไวแลว 4.ตองเปนการใหไวเพื่อเปนหลักฐานวาจะสมรสกับหญิงนั้นและตองใหไวกอนสมรส ถาใหเมื่อหลัง

สมรสแลวทรัพยนั้นไมใชของหมั้น ☺ การรับผิดตามสัญญาหมั้น

เมื่อมีการหมั้นแลว ถาฝายใดผิดสัญญาหมั้น อีกฝายหนึ่งมีสิทธิเรียกใหรับผิดใชคาทดแทน ในกรณีที่ฝายหญิงเปนฝายผิดสัญญาหมั้นใหคืนของหมั้นใหแกฝายชายดวย (มาตรา 1439)

☺ สินสอด เปนทรัพยสินที่ฝายชายใหแกบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรม หรือผูปกครองฝายหญิง แลวแตกรณี เพื่อตอบแทนการที่หญิงยอมสมรส (มาตรา 1437 ว.3)

☺ ผลของการหมั้น 1. สิทธิเรียกคาทดแทนจากคูหมั้นอีกฝายหนึ่ง (ม.1440) 1.1 คาทดแทนความเสียหายตอกายหรือช่ือเสียงแหงชายหรือหญิงนั้น

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 36: Civil Overview

36

1.2 คาทดแทนความเสียหายเนื่องจากการที่คูหมั้น บิดา มารดา หรือบุคคลผูกระทําการในฐานะบิดา มารดา ไดใชหรือตองตกเปนลูกหนี้ เนื่องในการเตรียมการสมรสโดยสุจริตและตามสมควร 1.3 คาทดแทนความเสียหายที่คูหมั้นไดจัดการทรัพยสิน หรือการอื่นอันเกี่ยวแกอาชีพ หรือทางทํามาหาไดของตนไปโดยสมควร ดวยคาดหมายวาจะมีการสมรส 2. สิทธิเรียกคาทดแทนจากชายอื่น ถาหากชายอื่นมาลวงเกินหญิงคูหมั้น 2.1 การที่ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น โดยหญิงคูหมั้นยินยอมมีหลัก คือ (ม.1445) (1) ชายอื่นรวมประเวณีกับหญิงคูหมั้น (2) ชายอื่นนั้นรูหรือควรรูวาหญิงไดหมั้นกับชายคูหมั้นแลวและรูดวยวาชายคูหมั้นเปนใคร (3) ชายคูหมั้นไดบอกเลิกสัญญาหมั้นแลว

2.2 การที่ชายอื่นขมขืนหรือพยายามขมขืนกระทําชําเราหญิงคูหมั้น มีหลัก คือ (ม.1446) (1) ชายอื่นจะตองรูวาหญิงมีคูหมั้นแลว แตไมจําเปนตองรูวาชายคูหมั้นเปนใคร

(2) ชายคูหมั้นไมจําเปนตองบอกเลิกสัญญาหมั้นกอน

ขอสังเกต หญิงคูหมั้นไมมีสิทธิเรียกคาทดแทนจากหญิงอื่นที่มาลวงเกินชายคูหมั้นทางประเวณี จะนํามาตรา 1445 และมาตรา 1446 มาอนุโลมใชบังคับไมได 3. สิทธิเกี่ยวกับของหมั้น ทรัพยสินของหมั้นนั้นยอมตกเปนสิทธิของหญิงในทันที แตมีบางกรณีฝายหญิงอาจตองคืนของหมั้นใหแกฝายชายก็ได กรณีท่ีของหมั้นตกเปนสิทธิแกหญิงโดยไมตองคืนใหแกฝายชาย มีดังนี้ 1. เมื่อฝายชายผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) เชน ไมยอมไปจดทะเบียนสมรสกับหญิง 2. เมื่อชายหรือหญิงตายกอนสมรส (ม.1441) 3. เมื่อหญิงบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสําคัญเกิดแกชาย (ม.1443)

กรณีท่ีหญิงตองคืนของหมั้นใหแกชาย มีดังนี้ คือ 1. เมื่อหญิงผิดสัญญาหมั้น (ม. 1439) 2. เมื่อชายบอกเลิกสัญญาหมั้น เพราะมีเหตุสําคัญเกิดแกหญิง (ม.1442) อนึ่ง การหมั้นไมเปนเหตุที่จะรองขอใหศาลบังคับใหสมรสได ถามีขอตกลงเรื่องคาปรับในกรณีผิดสัญญาหมั้น ขอตกลงนั้นเปนโมฆะ (ม.1438)

การสิ้นสุดของการหมั้น 1. กรณีที่คูหมั้นฝายใดฝายหนึ่งตายกอนสมรส 2. กรณีมีการบอกลางสัญญาหมั้น 3. กรณีที่มีการสมรส 4. การสิ้นสุดโดยการบอกเลิกสัญญา 5. การสิ้นสุดโดยความยินยอมของทั้งชายและหญิง ☺ การสมรส เง่ือนไขการสมรส 1.การสมรสจะทําไดในระหวางชายกับหญิงเทานั้น และจะกระทําไดก็ตอเมื่อชายและหญิงมีอายุ 17 ปบริบูรณ

แตในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศาลอนุญาตใหทําการสมรสกอนนั้นได (ม.1448) 2. หากผูเยาวจะทําการสมรส ตองไดรับความยินยอมจากบุคคลตาม มาตรา 1454,1455 เสียกอน

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 37: Civil Overview

37

3. ชายหรือหญิงตองไมเปนคนวิกลจริต หรือเปนบุคคลซึ่งศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ ตามมาตรา 1449 ถาฝาฝนการสมรสตกเปนโมฆะ ตามมาตรา 1495

4. ชายและหญิงมิไดเปนญาติสืบสายโลหิตตอกันหรือเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดา หรือมารดา ตามมาตรา 1450 ถาฝาฝนการสมรสตกเปนโมฆะ ตามมาตรา1495

5.ผูรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไมได ตามมาตรา1451แตกฎหมายมิไดบัญญัติใหการสมรสที่ฝาฝนเงื่อนไขขอนี้เปนโมฆะหรือโมฆียะ เนื่องจากผูรับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมไมมีความสัมพันธในทางสายโลหิตกันเลย และมีมาตรา 1598/32 บัญญัติวา การรับบุตรบุญธรรมยอมเปนอันยกเลิกเมื่อมีการสมรสฝาฝนมาตรา 1451 จึงทําใหการสมรสที่ฝาฝนบทบัญญัติดังกลาวมีผลสมบูรณทุกประการ

6. ชายหรือหญิงมิไดเปนคูสมรสของบุคคลอื่นอยู ตามมาตรา 1452 การสมรสทีฝ่าฝนบทบัญญัติดังกลาวเปนโมฆะ ตามมาตรา 1495

7.หญิงหมายจะสมรสใหมไดตอเมื่อขาดจากการสมรสเดิมแลวไมนอยกวา 310 วัน แตมีขอยกเวนตามมาตรา 1453

8. ชายและหญิงยินยอมสมรสกัน (ม. 1458) โดยเปดเผยตอหนานายทะเบียน และใหนายทะเบียนบันทึกความยินยอมนั้นไวดวย

แบบแหงการสมรส การสมรสจะมีไดเฉพาะเมื่อไดจดทะเบียนสมรสแลวเทานั้น ตามมาตรา 1457

☺ ความสัมพันธระหวางสามีภริยา 1. การอยูกินดวยกันฉันสามีภริยา 2. การชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกัน หากสามีภริยาไมชวยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามสาควร อีกฝายหนึ่ง

ยอมฟองเรียกคาอุปการะเลี้ยงดูไดตามมาตรา 1598/38 หรือหากประสงคจะหยาขาดจากกันก็อาจฟองหยาไดตามมาตรา 1516 (6) สิทธทิี่จะไดคาอุปการะเลี้ยงดูนี้จะสละหรือโอนมิได และไมอยูในขายแหงการบังคับคดี ตามมาตรา 1598/41

3. การแยกกันอยูตางหากชั่วคราว 3.1 สามีภริยาอาจทําขอตกลงระหวางกันเพื่อแยกกันอยูตางหากเปนการชั่วคราวได ขอตกลง

เชนวานี้ใชบังคับได เมื่อสามีภริยาทําขอตกลงแยกกันอยูตางหากจากกันแลวสามีภริยาตางฝายตางหมดหนาที่ที่จะตองอยูกินดวยกันฉันสามีภริยาตอไป แตสถานะความเปนสามีภริยายังคงมีอยูยังไมถือวาการสมรสสิ้นสุดลง สามีหรือภริยาแตละฝายจึงจะทําการสมรสใหมไมได ผลของขอตกลงนี้มีเพียงทําใหการแยกกันอยูนี้แมจะเปนเวลาเกิน 1 ป ก็ไมถือวาเปนการจงใจละทิ้งราง คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งจึงจะมาอางเปนเหตุฟองหยาตามมาตรา 1516 (4) ไมได แตถาหากการตกลงแยกกันอยูนี้ เปนเพราะเหตุที่ไมอาจอยูรวมกันฉันสามีภริยาไดโดยปกติสุขและสามีภริยาไดแยกกันอยูแลวเปนเวลาเกิน 3 ป สามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งมีสิทธิฟองหยาไดตามมาตรา 1516 (4/2)

3.2 ศาลมีคําสั่งอนุญาตใหแยกกันอยูตางหากเปนการชั่วคราว ตามมาตรา 1462 (1) การอยูรวมกันจะเปนอันตรายแกกายอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามี

เปนโรคติดตออยางรายแรง เปนตน

(2) การอยูรวมกันจะเปนอันตรายแกจิตใจอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามีชอบพาพารทเนอรมานอนบานเปนประจํา เปนการทําลายจิตใจของภริยาอยางมาก เปนตน

(3) การอยูรวมกันจะเปนการทําลายความผาสุขอยางมากของสามีหรือภริยา เชน สามีเปนคนวิกลจริตมีอาการดุรายเปนที่หวาดกลัวแกภริยา แตเนื่องจาก

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 38: Civil Overview

38

ยังไมครบกําหนด 3 ป จึงฟองหยาไมได ภริยาก็อาจมารองขอตอศาลใหสั่งอนุญาตใหตนอยูตางหากจากสามีเปนการชั่วคราวได

3.3 การสิ้นสุดของการแยกกันอยู (1) สามีภริยาตกลงกันยกเลิกการแยกกันอยู (2) สามีภริยาหยาขาดจากกัน (3) สามีภริยาฝายใดฝายหนึ่งถึงแกความตาย

☺ ทรัพยสินระหวางสามีภริยา 1. สินสวนตัว ตามมาตรา 1471 ไดแกทรัพยสิน

1.1 ทรัพยสินที่คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งมีอยูกอนสมรส ทรัพยสินเชนวานี้จะตองตกเปนกรรมสิทธิ์โดยกรรมสิทธิ์ของคูสมรสฝายนั้นแลว แตถาทรัพยสินนั้นยังไมตกเปนกรรมสิทธิ์เด็ดขาดของคูสมรสฝายใด แมจะอยูในเง่ือนไขที่จะตองไดกรรมสิทธิ์มาในภายหลัง ก็ไมถือวาเปนทรัพยสินที่มีอยูกอนสมรส

1.2 ทรัพยสินที่เปนเครื่องใชสอยสวนตัว เครื่องแตงกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแกฐานะ หรือเครื่องมือเครื่องใชที่จําเปนในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคูสมรสฝายใดฝายหนึ่ง

1.3 ทรัพยสินที่ฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยการรับมรดกหรือการใหโดยเสนหา ทรัพยสินเหลานี้ถือวาเปนสินสวนตัวของสามีหรือภริยาผูที่ไดรับมาทั้งสิ้น ไมถือวาเปนสินสมรส ทั้งๆ ที่ไดมาระหวางสมรส

1.4 ในกรณีที่สามีหรือภริยาไดรับรางวลัจากการกระทําสิ่งใดหรือจากการประกวดชิงรางวัล รางวัลที่ไดรับมานั้นเปนสินสวนตัว

1.5 ทรัพยที่เปนของหมั้น เปนสินสวนตัวของภริยา

1.6 ของแทนสินสวนตัว ทรัพยสินที่เปนสินสวนตัวนั้นถาไดมีการแลกเปลี่ยนเปนทรัพยสินอื่นก็ดี ซื้อทรัพยสินอื่นมาดวยเงินสินสวนตัวก็ดี หรือขายสินสวนตัวไดเงินมาก็ดี ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมานั้นยงคงเปนสินสวนตัวอยูตามเดิม เพราะเปนไปตามหลักในเรื่องชวงทรัพย ตามมาตรา 226 วรรคสอง หรือสินสวนตัวที่ถูกทําลายไปทั้งหมดหรือแตบางสวน แตไดทรัพยสินหรือเงินมาทดแทน ทรัพยสินอื่นหรือเงินที่ไดมานั้นเปนสินสวนตัวเชนเดียวกัน

1.7 การจัดการสินสวนตัวของคูสมรสฝายใดใหฝายนั้นเปนผูจัดการ ตามมาตรา 1473

2. สินสมรส ตามมาตรา 1474 มีอยู 3 ชนิดคือ

2.1 ทรัพยสินที่คูสมรสไดมาระหวางสมรส โดยไมตองคํานึงวาฝายใดมีสวนรวมในการทํามาหาไดนั้นหรือไม นอกจากนี้การที่สามีภริยาแยกกันอยูหรือทิ้งรางกันโดยไมไดหยาขาดจากกันโดยเด็ดขาด ทรัพยสินที่ทํามาหาไดในระหวางนั้นก็ถือวาเปนสินสมรสดวย

2.2 ทรัพยสินที่คูสมรสฝายใดฝายหนึ่งไดมาระหวางสมรสโดยพินัยกรรมหรือการใหเปนหนังสือ ทรัพยสินเชนวานี้เปนสินสวนตัวของฝายนั้นตามมาตรา 1471 (3) แตหากเจามรดกหรือผูใหระบุไวในพินัยกรรมหรือหนังสือยกให ระบุวาใหเปนสินสมรสจึงจะเปนสินสมรส

2.3 ทรัพยสินที่เปนดอกผลของสินสวนตัว

☺ การจัดการสินสมรส

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 39: Civil Overview

39

(1) หลัก สามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งมีอํานาจจัดการสินสมรสไดโดยลําพัง เวนแตการจัดการที่สําคัญจึงจะตองจัดการรวมกัน ตามมาตรา 1476 (2) สามีภริยาเพียงคนเดียวมีอํานาจฟองหรือตอสูคดีเกี่ยวกับสินสมรส ตามมาตรา 1477 (3) ถาสามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่งไมไหความยินยอมในการจัดการสินสมรสที่สําคัญ อีกฝายหนึ่งอาจขอใหศาลสั่งอนุญาตแทนความยินยอมได ตามมาตรา 1478 (4) ถาสามีหรือภริยาจัดการสินสมรสที่สําคัญไปโดยลําพัง คูสมรสอีกฝายหนึ่งที่มิไดยินยอมอาจขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นได ตามมาตรา 1480 แตการเพิกถอนนิติกรรมดังกลาวอาจจะเปนที่เสียหายแกบุคคลภายนอกได ดังนั้นมาตรา 1480 จึงไดบัญญัติคุมครองบุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริตและเสียคาตอบแทน ซึ่งการเพิกถอนนิติกรรมนั้นจะไปกระทบกระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกดังกลาวนั้นไมได มาตรา 1480 วรรคทาย กําหนดใหคูสมรสฝายที่ไมไดใหความยินยอมในการทํานิติกรรมนั้นจะตองฟองขอใหศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นเสียภายในกําหนด 1 ปนับแตวันที่รูวาไดมีการทํานิติกรรมหรืออยางชาภายใน 10 ป นับแตวันที่ไดทํานิติกรรม

(5) สามีหรือภริยาไมมีอํานาจทําพินัยกรรมยกสินสมรสที่เกินกวาสวนของตนใหแกบุคคลใดได ตามมาตรา 1481 (6) สามีหรือภริยาโดยลําพังมีอํานาจจัดการบานเรือนหรือจัดหาสิ่งจําเปนสําหรับครอบครัวไดเสมอ ตามมาตรา 1482 (7) สามีหรือภริยาอาจขอใหศาลสั่งหามคูสมรสอีกฝายหนึ่งมิใหจัดการสินสมรสอันจะกอใหเกิดความเสียหายถึงขนาดได ตามมาตรา 1483 (8) ถามีเหตุจําเปน สามีหรือภริยาอาจขอใหศาลสั่งอนุญาตใหตนเปนผูจัดการสินสมรสแตผูเดียวหรือขอใหแยกสินสมรสได ตามมาตรา 1484

☺ ทรัพยสินระหวางสามีภริยาที่ไดจดทะเบียนสมรสกัน ตองถือวาตางมีสิทธิเปนเจาของคนละครึ่ง

☺ ความรับผิดในหนี้สินของสามีภริยา

1.หนี้ที่มีมากอนสมรส คงเปนหนี้ที่ฝายนั้นจะตองรับผิดเปนสวนตัวแตเพียงผูเดียว แมจะเปนหนี้ที่สามีภริยาเปนหนี้ระหวางกันเองมากอนสมรสก็ตาม ก็ยังคงเปนลูกหนี้กันอยูดังที่กลาวมาแลว

2. หนี้ที่กอขึ้นในระหวางสมรส หนี้ที่กอขึ้นในระหวางสมรสอาจจะเปนหนี้สวนตัวของสามีหรือภริยาฝายใดฝายหนึ่ง หรือเปนหนี้รวมที่สามีภริยาเปนลูกหนี้รวมกันก็ไดแลวแตกรณี ซึ่งโดยหลักแลวคูสมรสฝายใดเปนผูกอใหเกิดหนี้ หน้ีที่เกิดขึ้นก็เปนหนี้ของฝายนั้น เวนแตจะเขาขอยกเวนวาเปนหนี้รวมตามมาตรา 1490 เชน สามีกูเงินเพื่อไปเที่ยวตางประเทศ ก็เปนหนี้สวนตัวของสามีแตถากูเงินมาเพื่อใหการศึกษาแกบุตร จึงเปนหนี้รวมที่สามีและภริยาเปนลูกหนี้รวมกัน เปนตน

☺ หนี้รวมระหวางสามีภริยา ตามมาตรา 1490 หนี้รวมระหวางสามีภริยาจะตองรับผิดชอบรวมกัน มีอยู 4 ชนิด

1. หนี้เกี่ยวแกการจัดการบานเรือนและจัดหาสิ่งที่จําเปนสําหรับครอบครัว การอุปการะเลี้ยงดู ตลอกถึงการรักษาพยาบาลบุคคลในครอบครัวและการศึกษาของบุตรตามสมควรแกอัตภาพ

2. หนี้ที่เกี่ยวของกับสินสมรส เชน หนี้เกี่ยวกับการซอมแซมบานเรือนที่เปนสินสมรส เปนตน

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 40: Civil Overview

40

3. หนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการงานซึ่งสามีภริยาทําดวยกัน

4. หนี้ที่สามีหรือภริยากอขึ้นเพื่อประโยชนตนฝายเดียว แตอีกฝายหนึ่งไดใหสัตยาบัน คูสมรสจะใหสัตยาบันดวยวาจาก็ได

☺ การเอาทรัพยสินระหวางสามีภริยาไปชําระหนี้

1. หนี้สวนตัวของสามีหรือภริยา ใหชําระหนี้นั้นดวยสินสวนตัวของฝายนั้นกอน เมื่อไมพอจึงใหชําระดวยสินสมรสที่เปนสวนของฝายนั้น ตามมาตรา 1488

2. หนี้รวมระหวางสามีภริยา ใหชําระหนี้นั้นจากสินสมรสและสินสวนตัวของทั้งสองฝาย ตามมาตรา 1489

☺ เหตุท่ีทําใหการสมรสเปนโมฆะ

1. การสมรสที่ชายหรือหญิงเปนบุคคลวิกลจริตหรือเปนบุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามรถ (ม.1449+ม.1495)

2.การสมรสที่ชายหรือหญิงเปนญาติสืบสายโลหิตโดยตรงตอกันหรือเปนพี่นองรวมบิดามารดาหรือรวมแตบิดาหรือมารดา (ม.1450+ม.1495)

3. การสมรสซอน (ม.1452+ม.1495)

4. การสมรสที่ชายหญิงไมยอมเปนสามีภริยากัน (ม.1458+ม.1495)

คําพิพากษาของศาลเทานั้นที่จะแสดงวาการสมรสที่ฝาฝนมาตรา 1449 มาตรา 1450 และมาตรา1458 เปนโมฆะ (ตามมาตรา 1496)

☺ ผลของการสมรสที่เปนโมฆะ

1. การสมรสที่เปนโมฆะไมกอใหเกิดความสัมพันธทางทรัพยสินระหวางสามีภริยา ตามมาตรา 1498 2. การสมรสทีเ่ปนโมฆะ ไมทําใหคูสมรสที่สุจริตเสื่อมสิทธทิี่ไดมาเพราะการสมรสและยังมีสิทธิเรียกคาเลี้ยงชีพและคาทดแทนอีกดวย ตามมาตรา 1499 3.การสมรสที่เปนโมฆะไมกระทบถึงสิทธิของบุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริต ตามมาตรา 1500 4. การสมรสทีเ่ปนโมฆะไมมีผลกระทบกระเทือนถึงการเปนบุตรที่ชอบดวยกฎหมาย ตามมาตรา 1536 มาตรา 1538 และมาตรา 1499/1

☺ การสิ้นสุดแหงการสมรส 1. การสมรสสิ้นสุดลงดวยความตาย ความตายในที่นี้ หมายความถึง ความตายตามธรรมชาติ ไมได

หมายความถึงความตายโดยผลของกฎหมาย หรือการสาบสูญซึ่งเปนเพียงเหตุหยาตามมาตรา 1516 (5) 2.การสมรสที่เปนโมฆียะสิ้นสุดลงเมื่อศาลพิพากษาใหเพิกถอน

☺ เหตุท่ีทําใหหารสมรสเปนโมฆียะ

1.การสมรสที่ชายและหญิงอายุยังไมครบ 17 ปบริบูรณ (ม.1448+ม.1504) 2.การสมรสโดยสําคัญผิดตัวคูสมรส (ม.1505) 3.การสมรสโดยถูกกลฉอฉล (ม.1506) 4.การสมรสโดยถูกขมขู (ม.1507)

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 41: Civil Overview

41

5.การสมรสของผูเยาวที่มิไดรับความยินยอมของบิดามารดา ผูรับบุตรบุญธรรมหรือผูปกครอง (ม.1509+1510)

☺ ผลของการเพิกถอนการสมรสที่เปนโมฆียะ

1.การสมรสที่เปนโมฆียะยอมสิ้นสุดลงในวันที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหเพิกถอน (ม. 1511)

2.ตองมีการแบงทรัพยสินระหวางสามีภริยา และกําหนดการปกครองบุตรเชนเดียวกับการหยาโดยคําพิพากษา (ม.1512)

3.มีการชดใชคาเสียและคาเลี้ยงชีพ (ม.1513)

☺ การหยา

1.การหยาโดยความยินยอมของทั้งสองฝาย มีหลักดังนี้ 1.1 ตองทําเปนหนังสือและมีพยานลงลายมือช่ืออยางนอย 2 คน และ (ม.1514) 1.2 การหยาโดยความยินยอมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนการหยา(ม.1515)

2.การหยาโดยคําพิพากษาของศาล โดยอาศัยเหตุฟองหยาตามมาตรา 1516 ☺ การแบงทรัพยสิน เมื่อหยากันแลวใหแบงทรัพยสินโดยใหใชและหญิงมีสวนเทาๆ กัน (1533) และในกรณี

ที่มีหน้ีที่จะตองรับผิดรวมกันก็ใหแบงแยกความรับผิดนั้นออกเปนสวนๆ เทากัน (ม.1535)

☺ การรับบุตรบุญธรรม

หลักเกณฑในการรับบุตรบุญธรรม (ม.1598/19) 1. ผูที่จะรับบุตรบุญธรรมนั้นตองมีอายุไมตํ่ากวา 25 ป 2. ผูรับบุตรบุญธรรมตองมีอายุแกกวาผูที่จะเปนบุตลบุญธรรมอยางนอย 15 ป 3. ในการรับบุคคลที่ยังไมบรรลุนิติภาวะเปนบุตรบุญธรรม จะทําไดตอเมื่อไดรับความยินยอมจากบิดาและ

มารดาของผูเยาวกอน ในกรณีที่ผูเยาวนั้นถูกทอดทิ้งและอยูในความดูแลของสถานสงเคราะหเด็ก ใหขอความยินยอมจากผูมีอํานาจในสถานสงเคราะหเด็กนั้นแทน

4. ในกรณีที่ผูรับบุตรบุญธรรมหรือผูที่จะเปนบุตรบุญธรรมมคีูสมรสแลว ในการรับหรือเปนบุตรบุญธรรม ตองไดรับความยินยอมจากคูสมรสกอน

5. ผูเยาวเปนบุตรบุญธรรมของบคุคลหนึ่งอยู จะเปนบุตรบุญธรรมของบุคคลอื่นอีกในขณะเดียวกันไมได เวนแตจะเปนบุตรบุญธรรมของคูสมรสของผูรับบุตรบุญธรรม

6. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนตามกฎหมาย

☺ สิทธิและหนาที่ของผูท่ีเปนบุตรบุญธรรม 1. มีฐานะอยางเดียวกับบุตรชอบดวยกฎหมายของผูรับบุตรบุญธรรมนั้น (ม.1598/28) 2. มีหนาที่ตองอุปการะเลี้ยงดูผูรับบุตรบุญธรรม ทํานองเดียวกับบุตรโดยชอบดวยกฎหมาย (ม.1563)

☺ สิทธิและหนาที่ของผูรับบุตรบุญธรรม 1.มีสิทธิใชอํานาจปกครองบุตรบุญธรรม

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 42: Civil Overview

42

2. ผูรับบุตรบุญธรรมไมมีสิทธิรบัมรดกของบุตรบุญธรรม ในฐานะทายาทโดยธรรม อยางไรก็ตาม ถาบุตรบุญธรรมตายกอนโดยไมมีคูสมรสหรือผูสืบสันดาน ผูรับบุตรบุญธรรมมีสิทธิเรียกรองทรัพยสินที่ตนไดใหแกบุตรบุญธรรมคืนจากกองมรดก เพียงเทาที่ยังคงเหลืออยูหรือภายหลังจากชําระหนี้กองมรดกแลว (ม.1598/29 และ ม.1598/30)

3. ผูรับบุตรบุญธรรมมีหนาที่ตองอุการะเลี้ยงดูบุตรบุญธรรม

☺ การเลิกรับบุตรบุญธรรม 1. โดยความตกลง(ม.1598/3)แตจะมีผลสมบูรณตอเมื่อไดจดทะเบียนตามกฎหมาย 2. การเลิกเมื่อมีการสมรสฝาฝน มาตรา 1598/32 3. การเลิกรับโดยคําสั่งศาล (ม.1598/33) และมีผลต้ังแตเวลาที่ศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุด แตจะยกขึ้นอาง

บุคคลภายนอกไดตอเมื่อจดทะเบียนแลว

มรดก

☺ การตกทอดแหงมรดก เมื่อบุคคลใดตายมรดกตกทอดแกทายาท (มาตรา 1599) และมรดกของผูตายไดแก ทรัพยสินทุกชนิดของผูตายตาม มาตรา 1600 และมรดกของผูตายนี้ยอมตกทอดแกทายาททันทีที่เจามรดกถึงแกความโดยทายาทไมตองแสดงเจตนาสนองรับ

☺ กองมรดกของผูตาย ไดแก 1. ทรัพยสินและสิทธิ คําวา “ทรัพยสิน” มีความหมายตามมาตรา 137 และมาตรา 138 คือวัตถุที่มีรูปราง รวมทั้งวัตถุไมมีรูปราง ซึ่งอาจมีราคาและถือเอาไดทรัพยสินและสิทธิตองเปนของผูตายระหวางมีชีวิต เมื่อผูตายถึงแกความตายจึงตกทอดเปนมรดก ถาทรัพยสินนั้นไมเปนของผูตายแลวกอนตายยอมไมเปนมรดก

2.หนาที่และความรับผิดตางๆ ทายาทตองรับเอาไปทั้งหนาที่และความรับผิดตางๆ ดวย เวนแตทรัพยสิน สิทธิหนาที่และความรับผิดนั้นโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของผูตาย

☺ ทายาทที่มีสิทธิไดรับมรดกตามกฎหมาย 1. ทายาทโดยธรรม ไดแกบุคคลตามมาตรา 1629

2. ทายาทโดยพินัยกรรม

☺ การเปนทายาท ตามมาตรา 1604 1.ทายาทที่เปนบุคคลธรรมดา ซึง่มีสิทธิรับมรดกของผูตายนั้น ตองมีสภาพบุคคล คือ เริ่มแตเมื่อคลอดแลวอยูรอดเปนทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตายตามมาตรา 15 วรรคแรก เหตุนี้ แมกอนตายบุคคลใดเปนทายาทแตบุคคลนั้นตายกอนเจามรดกก็ยอมไมสามารถเปนทายาท 2.ทารกในครรภมารดาขณะที่บิดาตาย แมจะยังไมคลอดยังไมมีสภาพบุคคลก็มีสิทธิรับมรดกบิดาได ถาคลอกมาแลวอยูรอด

☺ การถูกกําจัดมิใหไดรับมรดก เพราะยักยายหรือปดบังทรัพยมรดก ตามมาตรา 1605

ถูกกําจัดหลังเจามรดกตาย

ไมอาจถอนขอกําจัด (ใหอภัย) ได ตาม

ผูสืบสันดานของผูถูกกําจัดสบืมรดกตอได ตามมาตรา1607 และ ฎ.478/2539

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 43: Civil Overview

43

1. การกําจัดมิใหไดรับมรดกตามมาตรา 1605 เปนบทบัญญัติใหทายาทเสียสิทธิในมรดกโดยผลของกฎหมาย

และเปนการเสียสิทธิเพราะปดปงหรือยักยายทรัพยมรดก ซึ่งการปดบังและยักยายไดกระทําขึ้นภายหลังเจามรดกตายแลว ตางกับการถูกกําจัดมิใหรับมรดกฐานเปนผูไมสมควรตามมาตรา1606 ซึ่งอาจเกิดกอนหรือหลังเจามรดกตายแลวก็ได

⇑ การถูกกําจัดตามมาตรานี้ ถาผูถูกกําจัดมีผูสืบสันดานๆ ของผูถูกกําจัดนั้นมีสิทธิรับมรดกแทนที่ผูถูกกําจัดไดตามมาตรา 1607

2. คําวา ทายาท ตามมาตรานี้หมายถึง ทายาทโดยธรรมและผูรับพินัยกรรม ตามมาตรา1603 และมาตรา 1651 (1) เพราะมาตรา 1605วรรคทายยกเวนไมใหใชบังคับเฉพาะผูรับพินัยกรรมเฉพาะสิ่งอยางตามมาตรา 1651(2) เทานั้น

☺ ผลของการถูกกําจัดตามมาตรา 1605 ดังนี้

1. ยักยายหรือปดบังเทาสวนที่ตนจะไดหรือมากกวามีผลทําใหทายาทผูนั้นถูกกําจัดมิใหไดรับมรดกทั้งหมด

2. ยักยายหรือปดบังนอยกวาสวนที่ตนจะได มีผลทําใหทายาทผูนั้นถูกกําจัดมิใหไดรับมรดกเฉพาะสวนที่ไดยักยายหรือปดบัง

3. กรณีที่ผูตายมีทายาทโดยธรรม หรือผูรับพินัยกรรมเพียงคนเดียวเทานั้นที่มีสิทธิรับมรดกของผูตาย เชนนี้แมทายาทคนเดียวนั้นจะยักยายหรือปดปงทรัพยมรดกจะเปนเพราะเหตุใดก็ตาม ก็ไมมีทางถูกกําจัดมิใหรับมรดก ทั้งนี้เพราะมรดกนั้นเปนของทายาทผูนั้นแตผูเดียว การกระทําดังกลาวจึงไมมีทายาทอื่นที่จะตองเสื่อมเสียประโยชน

4. ถาผูตายทําพินัยกรรมยกทรัพยมรดกสิ่งหนึ่งสิ่งใดใหแกผูรับพินัยกรรมโดยเฉพาะเจาะจงแลว เพื่อเคารพเจตนาของผูตาย แมผูรับพินัยกรรมคนนั้นจะไปยักยายหรือปดบังทรัพยมรดกสิ่งอื่นโดยฉอฉล ก็ไดรับการยกเวนไมตองถูกกําจัดไมใหรับมรดกทรัพยเฉพาะสิ่งตามพินัยกรรมนั้น

5. การยักยายหรือปดบังทรัพยมรดก ตองเกิดขึ้นภายหลังเจามรดกตายแลวอันเปนการฉอฉลทายาทอื่น และไมอาจถอนขอกําจัดโดยใหอภัยไวเปนลายลักษณอักษรตามมาตรา1606 วรรคทายได เพราะเจามรดกไดตายไปกอนแลว อีกทั้งจะทําหนังสือใหอภัยไวลวงหนาก็ไมได เพราะการใหอภัยตามมาตรา 1606 วรรคทาย ใหทําไดเฉพาะการกําจัดมิใหไดมรดกฐานเปนผูไมสมควรเทานั้น

☺ การถูกกําจัดมิใหไดรับมรดกฐานเปนผูไมสมควร ตามมาตรา 1606

อนุมาตรา(1) ฆาหรือพยายามฆาเจา

ผูสืบสันดานรับมรดกแทนทีไ่ด (ม.1639)

ถูกกําจัดกอนเจามรดกตาย

อนุมาตรา(2) ฟองเจามรดกฯ

อนุมาตรา(4) ฉอฉลหรือขมขู

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 44: Civil Overview

44

ผูสืบสันดานรับมรดกแทนทีไ่มได

(ม.1639)

อนุมาตรา(3) มิไดรองเรียนเอาตัวผูฆาเจา

ถูกกําจัดหลังเจามรดกตาย

อนุมาตรา(4) ผูที่ปลอม ทําลายปดบัง พินัยกรรม

ถูกกําจัดกอนหรือหลังเจามรดกตายกไ็ด

☺ การตัดมิใหรับมรดก ตามมาตรา 1608 1. การตัดทายาทโดยธรรมดวยแสดงเจตนาชัดแจง และระบุตัวทายาทผูถูกตัดโดยชัดแจง มีผลทําให

ทายาทโดยธรรมผูนั้นไมมีสิทธิ์รับมรดก และผูสืบสันดานของผูถูกตัดก็ไมมีสิทธิรับมรดกแทนที่เลย เพราะในกรณีดังกลาว ไมมีกฎหมายบัญญัติใหรับมรดกแทนที่หรือสืบมรดกตอไปได

แบบการตัดมิใหรับมรดกตองทําตามแบบหนึ่งแบบใดดังตอไปนี้

1. โดยพินัยกรรม ซึ่งเปนการแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายของเจามรดก ผูทําพินัยกรรมตามมาตรา 1646 และตองทําตามแบบมาตรา 1648, 1655 มิฉะนั้นจะตกเปนโมฆะตามมาตรา 1705

2. โดยทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ ซึ่งไดแกนายอําเภอ

2. ใหกรณีใหถือวาเปนผูถูกตัดมิใหรับมรดก การที่เจามรดกทําพินัยกรรมจําหนายทรัพยมรดกเสียทั้งหมด โดยทายาทโดยธรรมบางคนหรือทั้งหมด ไมมีช่ือไดรับสวนแบงมรดกนั้นเลย และในพินัยกรรมก็ไมมีขอความตัดทายาทโดยธรรมนั้นโดยชัดแจงและระบุช่ือผูถูกตัดนั้นโดยชัดเจน มาตรา 1608วรรคทาย ใหถือวาทายาทโดยธรรมนั้นเปนผูถูกตัดมิใหรับมรดก เพราะเมื่อพินัยกรรมมีผลบังคับ ทายาทโดยธรรมนั้นไมมีสิทธิไดรับมรดกเลยตามมาตรา 1620,1673

แตการที่เจามรดกทําพินัยกรรมจําหนายทรัพยมรดกบางสวน หรือเฉพาะสิ่งเฉพาะอยางใหแกผูรับพินัยกรรมและมีทรัพยมรดกนอกพินัยกรรมที่จะตกทอดแกทายาทโดยธรรม ดังนี้ไมถือวาเปนการตัดทายาทโดยธรรม เพราะมิไดทําพินัยกรรมจําหนายทรัพยมรดกเสียทั้งหมด จึงไมตองดวยมาตรา 1608 วรรคทาย และกรณีตองบังคับตามมาตรา 1620 คือ ใหปนสวนทรัพยมรดกที่มิไดจําหนายโดยพินัยใหแกทายาทโดยธรรมตามกฎหมายตอไป

☺ แบบการถอนการแสดงเจตนาตัดมิใหรับมรดก ตามมาตรา 1609 วรรคสอง

1. ถาการตัดมิใหรับมรดกไดทําโดยพินัยกรรม ก็ตองถอนโดยพินัยกรรม ซึ่งอาจกระทําโดยการเพิกถอนพินัยกรรมหรือขอกําหนดพินัยกรรม ตามมาตรา1693 ถึงมาตรา 1697 จะถอนโดยวิธีอื่น เชน โดยไปทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ไมได

2. ถาการตัดมิใหรับมรดกไดทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ ก็ตองถอนโดยทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่หรือโดยพินัยกรรมก็ได

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 45: Civil Overview

45

☺ การสละมรดก ตามมาตรา 1612 1. การสละมรดกนั้นเปนเหตุใหทายาทเสียสิทธิในมรดกโดยเกิดจากการแสดงเจตนาชัดแจงของทายาท

- ทายาทที่จะสละมรดกไดทายาทผูนั้น ตองมีสิทธิไดรับทรัพยมรดกแลว และคําวาทายาท หมายถึงทายาทโดยธรรมและผูรับพินัยกรรมดวย ถาทายาทคนใดสละมรดกทั้งๆ ที่ตนยังไมมีสิทธิ เพราะเจามรดกยังไมตาย ถือวาเปนการสละสิทธิอันหากจะมีในภายหนา เชนทําสัญญาประนีประนอมยอมความสละมรดกตั้งแตเจามรดกยังมีชีวิตอยู หาอาจจะทําไดไมตามมาตรา 1619

-การสละมรดกตองเปนการสละมรดกสวนของตนทั้งหมดมิฉะนั้นตองหามตามมาตรา 1613 และการสละมรดกก็ตองไมมีเจตนาเจาะจงใหมรดกสวนของตนที่สละนั้นตกไดแกทายาทอื่นคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ

- การสละมรดกนั้นจะทําโดยมีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไมได ตามมาตรา 1613

-หากสละทรัพยมรดกรายการหนึ่งเพื่อขอเลือกเอาทรัพยรายการอื่นหรือยอมรับแบงทรัพยที่มีราคานอยกวาสวนที่ตนจะได ก็ไมถือวาทายาทผูนั้นสละมรดกสําหรับจํานวนสวนแบงที่ขาดไป

-เมื่อทายาทโดยธรรมคนใดสละมรดก ผูสืบสันดานของทายาทคนนั้นสืบมรดกไดตามสิทธิของตน ตามมาตรา 1615 วรรคสอง ถาทายาทโดยธรรมผูที่สละมรดกไมมีผูสืบสันดาน ใหปนสวนแบงของผูที่ไดสละมรดกนั้นแกทายาทอื่นของเจามรดกตอไป ตามมาตรา 1618

-เมื่อผูรับพินัยกรรมสละมรดกตามพินัยกรรม ทรัพยมรดกสวนนั้นตกไดแกทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1698 (3) ประกอบมาตรา 1620, 1699 ดังนั้น ผูสืบสันดานของผูรับพินัยกรรมจึงไมมีสิทธิจะรับมรดกที่ไดสละแลวนั้น ตามมาตรา 1617

2. การสละมรดก อาจทําได 2 วิธี คือ

2.1ทําเปนหนังสือมอบไวแกพนักงานเจาหนาที่ คือ นายอําเภอ ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2495 หนังสือนั้นตองมีขอความแสดงใหเห็นชัดแจงวาสละมรดกโดยไมเคลือบคลุม

2.2 ทําเปนหนังสือทํานองประนีประนอมยอมความ ตามมาตรา 850, 851

☺ การเพิกถอนการสละมรดก

การสละมรดกที่ไดกระทําโดยชอบดวยมาตรา 1612 และไมตองหามตามมาตรา 1613 วรรคแรกแลวนั้น แมตอมาทายาทผูสละมรดกจะแสดงเจตนาเพิกถอนยอมเพิกถอนไมไดตามมาตรา 1613 วรรคสอง

☺ มาตรา 1622 พระภิกษุนั้น จะเรียกรองทรัพยมรดกในฐานะทายาทโดยธรรมไมได

ขอสังเกต

1. ถาผูจัดการมรดกแบงปนทรัพยมรดกมาถวายใหแกพระภิกษุในฐานะทายาทโดยธรรมโดยมิไดเรียกรองก็ดี หรือพระภิกษุเรียกรองเอาทรัพยตามพินัยกรรมที่มีผูอุทิศถวายใหก็ดี พระภิกษุยอมรับเอาหรือเรียกรองตามพินัยกรรมไดโดยไมตองสึกจากสมณเพศ

2. คําวา พระภิกษุ หมายความถึงบุคคลที่อุปสมบทในศาสนาของพระพุทธเจา แตไมกินความรวมถึงแมชีและสามเณร

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 46: Civil Overview

46

3. ถาพระภิกษุเปนทายาทโดยธรรมเพียงคนเดียวที่มีสิทธิไดรับมรดก มรดกยอมตกทอดมายังพระภิกษุทันทีที่เจามรดกตาย หากบุคคลอื่นเบียดบังเอาทรัพยมรดกนั้นไป พระภิกษุในฐานะเจาของกรรมสิทธิ์ มีสิทธิติดตามเรียกรองเอาทรัพยนั้นคืนจากบุคคลผูไมมีสิทธิในทรัพยมรดกได

☺ ทรัพยสินของพระภิกษุ ตามมาตรา 1623-1624

-ทรัพยสินทุกอยางที่พระภิกษุไดมาระหวางอยูในสมณเพศ ไมวาโดยทางใดและจะเพราะไดมาเนื่องจากสมณเพศหรือไมก็ตามตองอยูในบังคับของมาตรา 1623

-แมพระภิกษุมีคูสมรสและการบวชไมเปนเหตุใหการสมรสขาดกัน และจะถือวาเปนการทิ้งรางกันยังมิไดก็ตาม ทรัพยสินที่ไดมาเพราะเขาทําบุญใหพระภิกษุยอม ไมถือวาเปนสินมสมรส ตามมาตรา 1474 (1) คูสมรสจะแบงทรัพยสินนี้กึ่งหนึ่งตามมาตรา 1533ไมได

- ถาพระภิกษุธุดงคไปในที่ตางๆ แลวมรณภาพลง ทรัพยสินของพระภิกษุตกเปนสมบัติของวัดที่พระภิกษุรูปนั้นสังกัด

ถาบุคคลนั้นอุปสมบทแลวสึกจากสมณเพศ แลวอุปสมบทใหมหลายโบสถ ดังนี้ ทรัพยสินกอนอุปสมบถครั้งสุดทาย ซึ่งแมจะไดมาระหวางอุปสมบถครั้งกอนๆ คงตกไดแกทายาทของพระภิกษุ

☺ บุตรนอกกฎหมาย ตามมาตรา 1627 บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองไดแก

1. เด็กที่เกิดจากหญิงที่มิไดสมรสกับชาย ซึ่งตามมาตรา 1546 ใหถือวาเปนบุตรชอบดวยกฎหมายของหญิงเทานั้น และ

2. ชายผูเปนบิดาไดรับรองเด็กวาเปนบุตรของตนโดยพฤตินัย

- บิดาเปนคนแจงในสูติบัตรวาตนเปนบิดา - เมื่อเด็กโตก็ใหการศึกษาใหความอุปการะเลี้ยงดู - ยอมใหใชนามสกุลของบิดา - ลงทะเบียนในสํามะโนครัววาเปนบุตร

การรับรองวาเด็กเปนบุตรยังอยูในครรภมารดา เชน แจงใหญาติผูใหญทราบวา เด็กในครรภเปนบุตรของตน, นํามารดาเด็กไปฝากครรภ หรือแนะนํามารดาเด็กใหเพื่อนรูจักและนําเขาสังคม เปนตน

ขอสังเกต การที่บิดานอกกฎหมายรับรองการเปนบุตร หาทําใหบิดานั้นมีสิทธิรับมรดกของบุตร นอกกฎหมาย

☺ บุตรบุญธรรม ตามมาตรา 1598/28 ประกอบกับมาตรา 1627

บุตรบุญธรรมนั้นกฎหมายใหถือวาเปนผูสืบสันดานเหมือนกับบุตรชอบดวยกฎหมาย บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิรับมรดกของผูรับบุตรบุญธรรมตามมาตรา 1627, 1629 (1) และเนื่องจากบุตรบุญธรรมไมสูญสิทธิและหนาที่ในครอบครัวที่ไดกําเนิดมา บุตรบุญธรรมจึงมีสิทธิรับมรดกของบิดามารดาผูใหกําเนิดและญาติทางครอบครัวที่ไดกําเนิดดวย ในทางกลับกันบิดามารดาผูใหกําเนิดหรือญาติก็มีสิทธิรับมรดกของบุตรที่ไปเปนบุตรบุญธรรมเชนเดียวกัน

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 47: Civil Overview

47

ระวัง บุตรบุญธรรมมสีิทธิรับมรดกของผูรับบุตรบุญธรรมเทานั้น แตหามีสิทธิรับมรดกของคูสมรสของผูรับบตุรบุญธรรมซึ่งไมไดจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมดวยไม และเพียงแตคูสมรสของผูรับบุตรบุญธรรมใหความยินยอมก็ไมถือวาคูสมรสนั้นไดรับบุตรบุญธรรมดวยตามมาตรา 1598/25,1598/26

☺ การแบงทรัพยมรดกระหวางทายาทโดยธรรมในลําดับและชั้นตางๆ มาตรา 1629 ใชหลัก ญาติสนิทตัดญาติหางๆ ดังบัญญัติไวในมาตรา 1630วรรคแรก สวนคูสมรสเปนทายาทโดยธรรมที่ไมอยูในบังคับมาตรา 1629 (1) ถึง (6) และมาตรา 1630 จึงมีสิทธิไดรับสวนแบงมรดกเสมอตามที่บัญญัติไวในมาตรา 1635

1.ทายาทลําดับที่ 1 ผูสืบสันดาน ตามมาตรา 1629 (1) หมายถึง ผูสืบสายโลหิตโดยตรงลงมาของเจามรดก ไดแก บุตร หลาน เหลน ลื้อ และตอจากลื้อลงไป คือ หลีด หลี้ จนขาดสายโดยไมจํากัดวาสืบตอกันกี่ช้ัน บุคคลเหลานี้ตางเปนผูสืบสันดานของเจามรดก แตถาเจามรดกมีผูสืบสันดานชั้นบุตร ทําใหผูสืบสันดานชั้นหลานหรือช้ันตอๆ ไป ไมมีสิทธิรับมรดก เวนแตจะรับมรดกแทนที่ตามมาตรา 1631, 1639

2. ทายาทลําดับที่ 2บิดามารดา ตามมาตรา 1629 (2) กรณีของบิดาที่จะมีสิทธิรับมรดกของบุตรในฐานะทายาทโดยธรรม จะตองเปนบิดาที่ชอบดวยกฎหมายเทานั้น

3. ทายาทลําดับที่ 3 พี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน ตามมาตรา 1629 (3) บุตรบุญธรรมไมใชพ่ีนองรวมบิดามารดาเดียวกันกับบุตรเจามรดก (รับมรดกแทนที่ไดตามมาตรา 1639)

4. ทายาทลําดับที่ 4 พี่นองรวมบิดาหรือรวมมารดาเดียวกัน ตามมาตรา 1629 (4) สามารถรับมรดกแทนที่ไดตามมาตรา 1639

5.ทายาทลําดับที่ 5ปู ยา ตา ยาย ตามมาตรา 1629 (5) ถาบุคคลเหลานี้ตายกอนเจามรดก ผูสืบสันดานของบุคคลเหลานี้ ไมมีสิทธิรับมรดกแทนที่ เพราะไมมีกฎหมายบัญญัติไวใหทําไดตามมาตรา 1639และตามมาตรา 1629 (5) นี้บัญญัติให ปู ยา ตา ยาย เทานั้นเปนทายาทโดยธรรม ดังนั้น ทวด จึงไมใชทายาทโดยธรรม

6. ทายาทลําดับที่ 6 ลุง ปา นา อา ตามมาตรา 1629 (6) ญาติในลําดับ 6 นั้นยอมรับมรดกแทนที่กันไดตามมาตรา 1639

☺ พินัยกรรม

พินัยกรรม เปนนิติกรรมที่บุคคลหนึ่งไดแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพยสินของตนเองหรือในการตางๆ อันจะเกิดเปนผลบังคับไดตามกฎหมายเมื่อตนตาย (ม.1646) ความสามรถของผูทําพินัยกรรม กฎหมายกําหนดวา ผูเยาวจะทําพินัยกรรมไดตอเมื่อมีอายุครบ 15 ปบริบูรณ (ม.25) มิฉะนั้นตกเปนโมฆะ (ม.1703) นอกจากนี้ บุคคลที่ถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ ก็ไมสามารถทําพินัยกรรมได หากฝาฝนทําลง พินัยกรรมนั้นจะตกเปนโมฆะ (ม.17) แบบของพินัยกรรม (ม.1648) มีดวยกัน 5 ประเภท คือ 1. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ (ม.1657) 2. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม.1656) 3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝายเมือง (ม.1658) 4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ (ม.1660) 5. พินัยกรรมแบบทําดวยวาจา (ม.1663) อนึ่ง การทําพินัยกรรมนั้น แมไมสมบูรณตามแบบหนึ่ง อาจสมบูรณตามแบบอื่นได

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER

Page 48: Civil Overview

48

ผูท่ีไมอาจเปนผูรับพินัยกรรม (ม.1653) 1. ผูเขียนพินัยกรรม 2. ผูที่เปนพยานในพินัยกรรม 3. คูสมรสของผูเขียนหรือคูสมรสของผูเปนพยานในพินัยกรรม นิติบุคคลอาจเปนผูรับพินัยกรรมได แตทั้งนี้จะตองไมขัดตอวัตถุประสงคในขอบังคับหรือตราสารจัดต้ังนิติบุคคลนั้น ๆ

--------------------------------------------------จบ-----------------------------------------------------

www.SITTIGORN.netTo the INTELLIGENT LAWYER