2
ภาคีเครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง เสริมพลังผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)” โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา วีรดา ปานวงษ์, มณีรัตน์ อวยสวัสดิ, อนุชา สร้อยเป้า, สัจจา เกษงอน, พัชรินทรา กรองสันเทียะ, ธิดารัตน์ จันทรา โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ที่มา โรงพยาบาลสูงเนินพบโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังติดอันดับ 1 ใน 5 โรคที่พบบ่อย ปี .. 2550-2552 พบว่า อัตราการเข้ารับ บริการพ่นยาที่ห้องฉุกเฉินเพิ่มขึ้นจาก 40%, 50% และ52.5% ตามลําดับ อัตราการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสูงขึ้นจาก 25%, 36% และ 35% ตามลําดับ อัตราการรับกลับเข้ารักษาซําในโรงพยาบาลด้วยอาการหอบสูงขึ้นจาก 17%, 13% และ 21.8% ตามลําดับ ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการหอบจนต้องรับเข้านอนโรงพยาบาล คือการดูแลตนเองไม่ถูกต้องเมื่อมีอาการ หอบที่บ้าน ขาดคนดูแล ฐานะยากจน ไม่มียานพาหนะมาโรงพยาบาล ทําให้ไม่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง และสภาวะแวดล้อมทีบ้านไม่เหมาะสม การสร้างภาคีเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วย เป็นแนวทางที่สอดคล้องเหมาะสมในการเสริมพลังผู้ป่วยโรค ปอดอุดกั้นเรื้อรัง วัตถุประสงค์ 1) สร้างภาคีเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 2) เสริมพลังการดูแลสุขภาพตนเอง 3) ลด อัตราการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยอาการหอบ การกลับมารักษาซ้ําภายใน 28 วัน และการลดเลิกปัจจัยเสี่ยง ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1) ก่อนปฏิบัติ การ:สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ป่วย 20 ราย ช่วงมีนาคม-เมษายน2552 2)ระยะปฏิบัติการ: ช่วงแรกพฤษภาคม 2552-เมษายน 2553 คัดเลือกผู้ป่วยCOPD ระดับความรุนแรงน้อยและปานกลาง 20 รายเข้าร่วมกิจกรรม 6 ครั้งโดย 1) ประเมินสมรรถนะการควบคุมอาการหอบเหนื่อย 2) ให้ความรู้การดูแลตนเอง 3) ตรวจรักษา 4)ทดสอบความทนทานการออกกําลังโดยทํา 6 Minute WalkTest 5) ฟื้นฟูสมรรถภาพปอดโดยใช้สายรุ้งหรรษา 6) ให้คําปรึกษาลดเลิกปัจจัยเสี่ยง ช่วงที ่สองกรกฎาคม 2553-กันยายน 2554 สร้างการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายใน ชุมชนบ้านเหล่า-โนนค่า .สูงเนิน โดยใช้เครื่องมือแผนที่ผลลัพธ์ พัฒนาศักยภาพทีมงานในการดูแลผู้ป่วยและติดตามเยี่ยม บ้าน ค้นหากลุ่มเสี่ยงและรณรงค์ลดเลิกบุหรี่ในชุมชน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู3) ระยะประเมินผล: หลังดําเนินการ 2 ช่วง วิเคราะห์อัตรากลับมารักษาซ้ําภายใน 28 วัน อัตรา Admit ด้วยหอบกําเริบ อัตราลดเลิกปัจจัยเสี่ยง ผลการศึกษา 1) ก่อนปฏิบัติการ: พบปัจจัยการเข้ารับรักษาคือปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องเมื่อหอบขาดคนดูแลฐานะยากจนสภาวะแวดล้อมไมเหมาะสม 2) ระยะปฏิบัติการ: ช่วงแรกผู้ป่วย 20 รายดูแลตนเองเมื่อหอบเหนื่อยเพิ่มจาก 29.1% เป็น 84.7% ทนต่อการออกกําลังเพิ่ม

Copd

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Copd

“ภาคเครอขายชมชนเขมแขง เสรมพลงผปวยโรคปอดอดกนเรอรง (COPD)” โรงพยาบาลสงเนน จงหวดนครราชสมา

วรดา ปานวงษ, มณรตน อวยสวสด, อนชา สรอยเปา, สจจา เกษงอน, พชรนทรา กรองสนเทยะ, ธดารตน จนทราโรงพยาบาลสงเนน จงหวดนครราชสมา

ทมา โรงพยาบาลสงเนนพบโรคปอดอดกนเรอรงตดอนดบ 1 ใน 5 โรคทพบบอย ป พ.ศ. 2550-2552 พบวา อตราการเขารบบรการพนยาทหองฉกเฉนเพมขนจาก 40%, 50% และ52.5% ตามลาดบ อตราการเขารบการรกษาในโรงพยาบาลสงขนจาก25%, 36% และ 35% ตามลาดบ อตราการรบกลบเขารกษาซาในโรงพยาบาลดวยอาการหอบสงขนจาก 17%, 13% และ21.8% ตามลาดบ ปจจยทมสวนเกยวของกบการหอบจนตองรบเขานอนโรงพยาบาล คอการดแลตนเองไมถกตองเมอมอาการหอบทบาน ขาดคนดแล ฐานะยากจน ไมมยานพาหนะมาโรงพยาบาล ทาใหไมไดรบการรกษาตอเนอง และสภาวะแวดลอมทบานไมเหมาะสม การสรางภาคเครอขายชมชนในการดแลผปวย เปนแนวทางทสอดคลองเหมาะสมในการเสรมพลงผปวยโรคปอดอดกนเรอรง

วตถประสงค 1) สรางภาคเครอขายชมชนในการดแลผปวยโรคปอดอดกนเรอรง 2) เสรมพลงการดแลสขภาพตนเอง 3) ลดอตราการเขารบการรกษาในโรงพยาบาลดวยอาการหอบ การกลบมารกษาซาภายใน 28 วน และการลดเลกปจจยเสยง

ระเบยบวธวจย เปนการวจยเชงปฏบตการ 1) กอนปฏบต การ:สมภาษณเชงลกผปวย 20 ราย ชวงมนาคม-เมษายน2552 2)ระยะปฏบตการ: ชวงแรกพฤษภาคม 2552-เมษายน 2553 คดเลอกผปวยCOPD ระดบความรนแรงนอยและปานกลาง 20 รายเขารวมกจกรรม 6 ครงโดย 1) ประเมนสมรรถนะการควบคมอาการหอบเหนอย 2) ใหความรการดแลตนเอง 3) ตรวจรกษา 4)ทดสอบความทนทานการออกกาลงโดยทา 6 Minute WalkTest 5) ฟนฟสมรรถภาพปอดโดยใชสายรงหรรษา 6) ใหคาปรกษาลดเลกปจจยเสยง ชวงทสองกรกฎาคม 2553-กนยายน 2554 สรางการมสวนรวมของภาคเครอขายในชมชนบานเหลา-โนนคา ต.สงเนน โดยใชเครองมอแผนทผลลพธ พฒนาศกยภาพทมงานในการดแลผปวยและตดตามเยยมบาน คนหากลมเสยงและรณรงคลดเลกบหรในชมชน จดเวทแลกเปลยนเรยนร 3) ระยะประเมนผล: หลงดาเนนการ 2 ชวง วเคราะหอตรากลบมารกษาซาภายใน 28 วน อตรา Admit ดวยหอบกาเรบ อตราลดเลกปจจยเสยง

ผลการศกษา 1) กอนปฏบตการ: พบปจจยการเขารบรกษาคอปฏบตตวไมถกตองเมอหอบขาดคนดแลฐานะยากจนสภาวะแวดลอมไมเหมาะสม 2) ระยะปฏบตการ: ชวงแรกผปวย 20 รายดแลตนเองเมอหอบเหนอยเพมจาก 29.1% เปน 84.7% ทนตอการออกกาลงเพม

Page 2: Copd

จาก 71.9% เปน 93.1% ควบคมการหายใจลาบากเพมจาก 17.1% เปน 96% เลกบหรได 3 คนจาก 4คน ป พ.ศ. 2553 จดตงEasy COPD clinic มผปวยขนทะเบยนเพมจาก 19.2% เปน 74% ชวงทสองเกดภาคเครอขายดแลผปวย 5 รายในชมชนตอเนอง ทกรายดแลตนเองดขน คมความถความรนแรงการหอบและทากจวตรประจาวนไดเพมขน 4 ราย ลด Admit ดวยหอบกาเรบจาก 5 เหลอ 2 ครง ไมกลบมานอนโรงพยาบาลซาใน28วน คดกรองประเมนกลมเสยงได>80% พบรายใหม 1 ราย 3) ระยะประเมนผล: พบอตรารบรกษาในโรงพยาบาลลดลงจากป พ.ศ. 2553 41.6% เปน 41% และ 34% ในป พ.ศ. 2554 และ 2555 อตรากลบรกษาซาในโรงพยาบาลดวยหอบลดลงจาก 19.1% ป พ.ศ. 2553 เปน 8.6% และ7.2%ในปพ.ศ. 2554 และ 2555

การนาผลงานวจยไปใชประโยชนในงานประจา นารปแบบมาใชใน Easy COPD clinic ทกบายองคาร ประเมนการรบรสมรรถนะควบคมการหอบเหนอย ใหความรการดแลตนเอง ตรวจรกษาโดยเปา PeakFlow นกกายภาพบาบดสอนฟนฟสมรรถภาพปอดนานวตกรรม “ขวดนารกษปอด” มาฝกบรหารการหายใจดวยวธหอปาก (purse lip) ตดตามผลดวยแบบบนทกฝกออกกาลงกายทบาน ใหคาปรกษาลดเลกปจจยเสยง ใชวางแผนดแลแผนกผปวยในและเพมระบบตดตามเยยมบานผปวยRe Admit 28 วนทกราย

บทเรยนทไดรบ 1) สงเสรมการมสวนรวมของภาคเครอขายในชมชนทาใหคนหาปญหาทแทจรงตรงความตองการของผปวยนาไปสการพฒนารปแบบการดแลทสอดคลองกบบรบท 2) การดแลผปวย COPD ตองประสานกบทมสหสาขาวชาชพในการวางแผนรวมกนสงผลใหงานประสบผลสาเรจตามเปาหมาย 3) รปแบบการทางานเชงรกโดยผสมผสาน Primary Health Care และใชชมชนเปนศนยกลาง ทาใหผปวยและกลมเสยงไดรบการดแลทถกตองรวดเรวลดภาวะแทรกซอนทรนแรง

ปจจยแหงความสาเรจ 1) ทมงานมความตงใจ มงมนในการใชความร ความสามารถ และรวมกนสรางสรรคนวตกรรม สงผลใหผปวยไดรบการดแลอยางตอเนองและมประสทธภาพ 2) การใหชมชนไดรบรปญหาของตนเองในพนทและรวมวางแผนการแกไขปญหารวมกน ทาใหเกดสมพนธภาพทด เกดความรวมมอและเหนความสาคญในการเขารวมกจกรรมในชมชน

การสนบสนนทไดรบจากผบรหารหนวยงาน/องคกร ผบรหารเหนความสาคญสงเสรมใหตอยอดผลงาน CQI ส R2R และสนบสนนใหมการจดตงคลนกบรการผปวย COPD เพมเตมทแผนกผปวยนอกพรอมสนบสนนวสดครภณฑในการดาเนนการจดตงทมงานและมอบหมายแพทยรบผดชอบชดเจน และสนบสนนการจดกจกรรมเชงรกในชมชน