90
จัดทําโดย วรวุฒิ รุงประดับวงศ & คณา เกษมทรัพย Dengue Dengue www.cueid.org

dengue - Information Center for Emerging Infectious … 6 ภาพน แสดงการ replication ของ Favivirus โดยเร (1) มจากเช อไวร host

  • Upload
    dobao

  • View
    215

  • Download
    1

Embed Size (px)

Citation preview

จัดทําโดย วรวฒุิ รุงประดับวงศ & คณา เกษมทรัพย

Dengue

Dengue

www.cueid

.org

Slide 2

Introduction

• Most important arbovirus (arthropod-borne virus)• Estimated 100 million cases per year• 2.5 billion people at risk• No antiviral treatment and vaccines• Best known for causing

- fever-arthralgia-rash syndrome (dengue fever)- hemorrhagic syndrome (DHF)

เช้ือไวรัสเด็งกี่เปนเช้ือ arbovirus หรือ arthropod-borne virus ซ่ึงก็คือเช้ือไวรัสที่อาศัยยุงเปนพาหะในการแพร

เช้ือที่มีความสําคัญมาก โดยพบประมาณ 100 ลาน case ตอป และมปีระมาณ 2,500 ลานคนที่เส่ียงตอการ

ติดเชื้อ เช้ือไวรัสชนิดน้ี ยังไมพบยาตานไวรัส และวัคซีนในการรักษา และเปนที่รูกนัวา เช้ือไวรัสเด็งกี่ เปนเชื้อท่ี

กอโรค fever-arthralgia-rash dyndrome หรือ dengue fever และ Hemorrhagic syndrome หรือ Dengue

Hemorrhagic Fever

www.cueid

.org

Slide 3

Dengue Virus

• Flavivirus genus, Flaviviridae family• Morphology

- small (50 nm)- spherical enveloped particles- 11 kb of ss positive sense RNA wrapped in a nucleocapsid core protein

• Dengue serocomplex- dengue-1, dengue-2, dengue-3, and dengue-4

Dengue virus อยูใน genus Flavivirus, Family Flaviviridae โดยมีลักษณะเหมือนเช้ือใน genus Flavivirus

อ่ืนๆคือ มีขนาดเล็กประมาณ 50 นาโนเมตร เปลือกหุมลักษณะเปนทรงกลม ภายในประกอบดวย single-

stranded positive sense RNA ซ่ึงถูกหุมอยูใน nucleocapsid core protein, dengue serocomplex หรือ

serotype ประกอบดวย 4 ชนิด คือ Dengue-1, -2, -3, และ -4

www.cueid

.org

Slide 4

Viral Attachment and Entry

• Envelope (E) protein- the largest structural protein- nearly 500 amino acids- 6 disulfide bridges- 2 potential glycosylation sitesvery similar for all flavivirusesMajor target of the humoral immune responseImportant in viral entry into host cells

การที่เช้ือไวรัสจะสามารถเขาสู host cell ได ตองอาศัย envelope protein ซ่ึงเปนสวนโครงสรางท่ีใหญที่สุด

ประกอบดวย amino acid ประมาณ 500 ตัว, 6 disulfide bridges และ 2 potential glycosylation sites โดย

โครงสรางเหลาน้ี จะคลายคลีงกันในกลุม flaviviruses และเปน major target ของ humoral immune

response ดวย

www.cueid

.org

Slide 5

Viral Attachment and Entry• Studies with monoclonal antibodies

- 3 antigenic domains domains II,III, and I- Domain III - putative receptor binding domain- Domain II - dimerization domain

- contains a putative fusion sequence- Domain I - central beta barrel

- hinge domain• Attachment Endocytosis Fusion of membrane

release of virion nucleocapsid into cytoplasm

จากการศึกษาโดยใช monoclonal antibodies พบวา Envelope มี 3 antigenic domains คือ domain I, II,

and III, ในสวน domain III เปน receptor binding domain ซ่ึงเช้ือไวรัสใชในการจับกับ host cell receptor,

domain II ประกอบดวย fusion sequence ชวยใหเช้ือสามารถ fuse กับ host cell membrane และ domain I

มีหนาที่เปน hinge domain ที่คอยเชื่อม 2 domains ไวดวยกนั สําหรับกระบวนการทีเ่ช้ือจะเขาสู host cell ก็

เร่ิมจาก Attachment Endocytosis � Fusion ของ virion & host membrane � ปลอย virion

nucleocapsid เขาไปยัง cytoplasm

www.cu

eid.or

g

Slide 6

ภาพนี้แสดงการ replication ของ Favivirus โดยเร่ิมจาก (1) เชื้อไวรัสจับกับ host cell receptor โดยใช E

protein ซ่ึงแสดงในภาพ (b), หลังจากนั้นก็จะเกิดการ endocytosis จนเช้ือไวรัสเขาไปใน cell ตอมาก็จะเกิด

การ fusion ของเชื้อไวรัสและ host endosomal membrane โดยเปน Low pH dependent ดังในภาพที่ (3)

ทําให nucleocapsid ถูกปลอยเขาไปอยูใน cytoplasm ดังในภาพที่ (4)

www.cueid

.org

Slide 7

Viral Replication and Release

• Viral replication begins on surface of the endoplasmic reticulum

• Viral RNA is translated into a single 3,000 amino acid polyprotein

• Cleaved by host and viral proteases into the 3 structural (C, PrM, and E) and 7 nonstructural proteins (NS1, NS2A, 2B, NS3, NS4A, 4B, NS5)

• Positive-sense RNA is transcribed into negative-sense intermediate template

หลังจากที่ปลอย nucleocapsid เขาไปใน cytoplasm ไดแลว เชื้อไวรสัเด็งกี่ก็จะเพ่ิมจํานวนหรือ replicate

ตัวเอง ซึ่งเร่ิมที่ surface ของ endoplasmic reticulum โดยอันดับแรก Viral RNA จะถูก Translate ไปเปนสาย

amino acid polyprotein สายเด่ียว ซ่ึงประกอบดวย amino acid ประมาณ 3,000 ตัว แลวถูกตัดแบงโดย host

และ viral proteases เปน 10 สวน ไดแก structural protein 3 สวน คือ core, premembrane และ envelope

และ nonstructural protein อีก 7 สวน คือ NS1, NS2A, 2B, NS3, NS4A, 4B และ NS5 และตัวสาย

Positive-sense RNA ที่สามารถ Translate เปน protein ไดโดยตรงนี ้ก็จะ Transcribe ไปเปนสาย negative-

sense intermediate เพ่ือเปน Template สําหรับการสรางสาย Positive-sense RNA molecule ไปเปน

genome รุนลูกใหมีปริมาณมากๆดวย

www.cueid

.org

Slide 8

Viral Replication and Release

• Newly formed progeny viral RNA interacts with multiple copies of C protein to form nucleocapsid

• Nucleocapsid – bud through ER membrane immature virions exocytosis

หลังจากนั้น viral RNA ทีไ่ด ก็จะ interact กับ C protein เพ่ือ form เปน nucleocapsid แลวยืน่ออกมาจาก

endoplasmic reticulum กอนจะ exocytosis เปนไวรัสตัวใหมตอไป

www.cueid

.org

Slide 9

จากรูป ในภาพท่ี (5) single-stranded positive sense genome ตามรูป (c) ก็จะ translation ไดเปน สาย

amino acid polyprotein ท่ีมี amino acid ประมาณ 3,000 ตัว และถกู process ตอโดย protease ของ host

และ ไวรัสเปน structural protein 3 สวน คือ core, premembrane และ envelope และ nonstructural

protein อีก 7 สวน คือ NS1, NS2A, 2B, NS3, NS4A, 4B และ NS5 ตามในภาพ (d) ตอมา RNA replication

โดย Positive-sense RNA ที่สามารถ Translate เปน protein ไดโดยตรงน้ี ก็จะ Transcribe ไปเปนสาย

negative-sense intermediate เพ่ือเปน Template สําหรับการสรางสาย Positive-sense RNA molecule ไป

เปน genome และสาย Positive-sense RNA ก็จะรวมกยั C protein ดังในภาพ (e) และ form เปน immature

virion โดยการ budding เขาไปใน endoplasmic reticulum ดังในภาพท่ี (7) แลว Vesicle ที่บรรจุ immature

virion ก็จะถูกนําไปยัง surface ของ host cell ในภาพ (8) กอนที่ Premembrane protein จะถูกตัดเพ่ือ

เปล่ียนแปลงไปเปน mature virion ในภาพ (f) แลวก็ถกูปลอยออกไปภายนอก host cell โดย exocytosis ดัง

ในภาพที่ (9)

www.cueid

.org

www.cueid

.org

Slide 10

Dengue Serotypes

• 4 antigenically distinct dengue viruses (dengue-1, -2, -3, and -4)

• Identified by cross-neutralization tests using polyclonal antibodies

• Primary infection – individual’s first infection with any one of the four dengue viruses

• Secondary infection – second infection with a different dengue virus

อยางทีไ่ดกลาวไปแลววาเช้ือไวรัสเด็งก่ี มีท้ังหมด 4 serotype, identify โดย cross-neutralization tests โดย

การใช polyclonal antibodies, Primary infection หมายถึงการติดเชื้อคร้ังแรกโดย serotype ใดก็ได สวน

secondary infection หมายถึง การติดเช้ือคร้ังท่ี 2 โดย serotype ชนิดอ่ืน

www.cueid

.org

Slide 11

Dengue Serotypes

• Infection with one dengue virus lifelong immunity to that virus but does not protect against secondary infection with a different type

• E protein – main determinant of serological cross-reactivity

• Amino acid sequences of E protein from 4 dengue viruses show 62-78% homology

• Dengue-1 and -3 – most closely related, and dengue-4 is the most distant

โดยปกติแลว การติดเช้ือไวรัสเด็งก่ี serotype ใดก็แลวแต จะมีภูมิตานทานตลอดชวีิตตอไวรัสเด็งกี่ชนิดนั้น แต

จะไมสามารถปองกัน secondary infection จาก serotype อ่ืนได โดย E protein เปนตําแหนงทีจ่ะทําใหเกิด

serological cross reactivity ได เนื่องจากลําดับของ amino acid ของ E protein จากทั้ง 4 subtype

เหมือนกนั 62-78%, serotype dengue-1 และ dengue-3 มีความคลายคลึงกันมากที่สุด สวน dengue-4

แตกตางจากชนิดอ่ืนมากที่สุด

www.cueid

.org

Slide 12

Geographical distribution• The most widely mosquito-borne virus of

humans• Occurring in virtually every country between the

tropics of Capricorn and Cancer• DHF – largely confined in southeast Asia until

1980s• Since then – reemerged in Indian subcontinent

and occurred for the first time in China, Tahiti and Cuba, the Caribbean, the Pacific Islands, Venezuela, and Brazil

เช้ือไวรัสเด็งกี่ ปจจุบัน เปนเช้ือที่มีการแพรระบาดมากทีสุ่ดในมนษุย โดยจะพบมากในประเทศโซนรอนระหวาง

เสน Tropics of Cancer และ Tropics of Capricorn แตสําหรับ Dengue hemorrhagic fever จะพบมากใน

แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตจนกระทั่งถึงชวงทศวรรษที ่80 ก็เริ่มพบในแถบทวีปอินเดีย, จีน, ทาฮิติและคิวบา,

คาริบเบียน, หมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟค, เวเนซูเอลา และ ประเทศบราซิล

www.cueid

.org

Slide 13

ภาพนี้เปนภาพการแพรระบาดของเชื้อไวรสัเด็งกี่ทั่วโลก โดยพบมากในประเทศโซนรอน สีเทาแสดงประเทศที่มี

รายงานพบ Dengue fever สวนสีดําเปนประเทศที่มีรายงานพบ Dengue hemorrhagic fever ในชวง 25 ปที่

ผานมา

www.cueid

.org

Slide 14

Geographical distribution

• Estimated 250,000-500,000 cases of DHF globally each year

• The spread of dengue since World War II- worldwide resurgence of Aedes aegypti- poor vector control- overcrowding of refugee and urban populations- increasing human travel

มีการประมาณผูปวย Dengue hemoorhagic fever ทั่วโลกอยูท่ี 250,000-500,000 คนตอป การแพรระบาด

ของ dengue ต้ังแตสงครามโลกคร้ังที่ 2 มีความเกี่ยวของกับการแพรกระจายของยุงลาย Aedes aegypti ทั่ว

โลก เน่ืองจากการควบคุมที่ไมดี มีผูอพยพและประชากรเมืองจํานวนมาก และการทองเที่ยวที่เพ่ิมขึ้น

www.cueid

.org

Slide 15

Natural Cycle• Dengue is primarily a virus of humans.• Transmitted by Aedes mosquitoes, especially

Aedes aegypti• Also exists in a sylvatic (forest) cycle, where

non-human primates are the host (3 subgenus –Stegomyia, Finlaya, and Diceromyia of the genus Aedes)

• For human transmission – Aedes aegypti (subgenus Stegomyia, genus Aedes) is the most important

Natural cycle ของ Dengue virus จะไมเหมือน arbovirus ชนิดอ่ืนที่เปน zoonotic หรือ animal cycle และ

human infection เปน coincidental โดย dengue virus เปนเช้ือที่แพรกระจายในคน และtransmit ผานทาง

ยุง Aedes โดยเฉพาะ Aedes aegypti แตก็สามารถเปน sylvatic หรือ forest cycle โดยไมมีคนเปน host ก็ได

โดยพบรายงานใน 3 subgenera คือ Stegomyia, Finlaya, และ Diceromyia ใน genus Aedes อยางไรก็ตาม

สําหรับการแพรระบาดในคน Aedes aegypti subgenus Stegomyia, genus Aedes สําคัญที่สุด

www.cueid

.org

Slide 16

Dengue Vectors

• Aedes aegypti – “domestic” mosquito• Anthrophilic (i.e, feeds on humans)• Breeds in peridomestic collections of clean water

(storage jars, containers etc.)• Only female seek blood meals• Infected mosquito remains infectious for its

entire life• Transovarial transmission (mosquito its eggs)

has been documented

Aedes aegypti เปนยุงบานทีก่ินเลือดคนโดยเกิดเฉพาะในตัวเมีย และผสมพันธุในน้าํขังที่เปนน้าํสะอาด ยุงที่

ไดรับเช้ือเขาไป ก็จะเปนพาหะไดตลอดอายขุัยของมัน มีรายงานการแพรเช้ือผานทาง transovarial

transmission คือจากยุงไปยังไขไดเชนกนั

www.cueid

.org

Slide 17

Dengue Vectors

• Aedes aegypti eggs – survive for long periods in dry conditions spontaneous dengue outbreaks

• Aedes albopictus – better survival at cooler temperatures major European outbreak

• Other species- Aedes scutellaris hebrideus in New Guinea - Aedes polynesiensis in Tahiti- Aedes cooki in Niue

ไขของยุง Aedes aegypti สามารถมีชีวิตอยูไดนานในสถานที่ทีแ่หง จึงเปนเหตุผลของการเกิด spontaneous

dengue outbreaks สําหรับยุงชนิดอ่ืนที่สามารถเปนพาหะแพรเช้ือไดเชน Aedes albopictus ซึ่งทนตอสภาพ

ภูมิอากาศเย็นไดดีกวา จึงมักทําใหเกิด การแพรระบาดในยุโรป เช้ืออ่ืนๆ เชน Aedes scutellaris hebrideus,

Aedes polynesiensis, และ Aedes cooki

www.cueid

.org

Slide 18

History

• The name dengue – derive from a Swahili term to describe a dengue-like illness on the east coast of Africa in the mid-19th century

Ki-Dinga pepo, “a disease characterized by a sudden cramp-like seizure, caused by an evil spirit”

• Shortened to “denga” or “dyenga” and is thought to have become “dengue” as a Spanish derivative of the African term when the slave trade brought the disease to the West Indies

ประวัติความเปนมา ช่ือ dengue มาจาก Swahili term เพ่ือที่จะบรรยาย dengue-like illness บนชายฝง

ตะวันออกของทวีป Africa ในชวงกลางศตวรรษท่ี 19 โดยใชช่ือวา Ki-Dinga pepo มีความหมายวา โรคที่มี

อาการ sudden cramp-like seizure มีสาเหตุจากภูตผีวญิญาณ ตอมาคําก็ส้ันลงเปน denga หรือ dyenga

จนแผลงเปน dengue

www.cueid

.org

Slide 19

The Emergence of Dengue Hemorrhagic Fever

• In the1950s – outbreaks of an apparently new hemorrhagic fever occurred in Philippines and Thailand caused by dengue viruses

• Following further massive epidemics of DHF in Thailand

• WHO adopted clinical and laboratory criteria for diagnosing and treating dengue fever and DHF

ดานประวัติของการเกิด Dengue hemorrhagic fever เร่ิมจากในทศวรรษที่ 50 เกิดการระบาดของโรค

hemorrhagic fever ชนิดใหมขึน้ที่ประเทศฟลิปปนสและประเทศไทย ซ่ึงพบสาเหตุการเกิดโรคเปน dengue

virus หลังจากนัน้ก็เกิดการระบาดคร้ังใหญช้ึนท่ีประเทศไทย แลว องคการอนามัยโลกก็ไดต้ัง clinical และ lab

criteria สําหรับวินิจฉัยและรักษา dengue fever และ dengue hemorrhagic fever

www.cueid

.org

Slide 20

The Dengue Encephalopathy Controversy

• SEAMEO-TROPMED in Bangkok in 1976- 3 separate presentations from Thailand, Burma, and Indonesia attention to neurological manifestations of dengue

• It gradually became accepted that patients with severe DHF could develop encephalopathy secondary to the many complications of severe disease

Dengue encephalopathy เร่ิมมีการพูดถึง severe manifestation ของ dengue viral infection วานาจะ

เกี่ยวของกับโรคทางระบบประสาท โดยในการประชุม SEAMEO-TROPMED ที่กรุงเทพ ป 1976 ไดมีตัวแทน

จากประเทศไทย พมา และ อินโดนีเซีย กลาวถึง neurological manifestation ของ dengue หลังจากนั้นก็เร่ิม

มีการยอมรับวา ผูปวย severe dengue hemorrhagic fever สามารถเกิด encephalopathy ไดโดยเปนผล

จากหลายๆ complication ของตัวโรค

www.cueid

.org

Slide 21

The Dengue Encephalopathy Controversy

• These included- Hepatic dysfunction (sometimes as part of a Reye’s-like syndrome)

- Hyponatremia- Hypoxia- Cerebral edema or hemorrhage

• But whether dengue viruses could cross the BBB to cause a true viral encephalitis was not certain

Complication เหลานี้เชน Hepatic dysfunction, hyponatremia, hypoxia, cerebral edema หรือ cerebral

hemorrhage แต dengue virus นี้ จะสามารถผาน blood brain barrier ไปทาํใหเกดิ viral encephalitis ได

หรือไมนั้น กย็งัไมเปนทีแ่นชัด

www.cueid

.org

Slide 22

The Dengue Encephalopathy Controversy

• Controversy ?- Definition of encephalopathy and encephalitis were vague.

- capabilities for precisely diagnosing dengue infection and excluding other potential causes of CNS disease were variable.

สาเหตุสวนหนึ่งท่ียังเปนที่ถกเถียงกันอยูถงึแมจะมหีลายการศึกษา รวมทั้ง case reports หรือ retrospective

case series ออกมามากมาย อาจเปนเพราะ definition ของ encephalopathy และ encephalitis นั้นไม

ชัดเจน รวมทั้งความสามารถที่จะวินิจฉัย dengue infection ใหแมนยาํ และ exclude สาเหตุอ่ืนของ Central

nervous system นั้นยังไมเหมือนกันในแตละสถาบนั

www.cueid

.org

Slide 23

Epidemiology of Neurological Dengue

• Neurological manifestations of dengue infection have been described in almost all areas where dengue occurs.

• Many of the more recent epidemiological and clinical studies have come from Asia.

Epidemiology of neurological dengue – ไดมีรายงานเกี่ยวกับ neurological manifestation ของ dengue

infection เกือบทุก area ท่ีมกีารระบาดของเชื้อ dengue แตรายงานและ clinical studies สวนใหญมาจาก

ทวีปเอเชีย

www.cueid

.org

Slide 24

ตารางนี้สรุปรวมผลการวิจัยเกี่ยวกับระบาดวิทยาของ neurological dengue โดยมทีั้งการศึกษาโดยการหา

neurological manifestation ในผูปวยที่เปน dengue fever หรือ dengue hemorrhagic fever และ การศึกษา

หาผูปวย dengue infection ในผูปวยทีม่า present ดวย CNS disease ในแบบแรกมีหลายการวิจยัที่เกี่ยวของ

รวมทั้งของอ.จุล และอ.อุษา ทิสยากรทีทํ่าที่กรุงเทพ ในป 1987 และ ทําที่ กรุงเทพ และ สงขลา ในป 1987-

1994 โดยพบผูปวย neurological dengue 2.4% และ 1% ตามลําดับ

www.cueid

.org

Slide 25

ในประเทศไทยยังพบอีกการศึกษาในป 1987-1998 ซ่ึงพบผูปวย neurological dengue 5.4% ในสวน

การศึกษาหาผูปวย dengue infection ในผูปวยที่มา present ดวย CNS disease มี 2 การศึกษาโดยพบผูปวย

neurological dengue 10% และ 20% ตามลําดับ โดยทาํในผูปวยเด็กที่มา presentดวย encephalitis แลว

นํามาตรวจ serology เพ่ือหาวาเปน dengue infection หรือไม

www.cueid

.org

Slide 26

Dengue Virus Types

• All 4 dengue viruses – associated with neurological dengue (dengue-2 and -3 most frequently)

• In Indian study – dengue-2 was most frequently isolated.

• In Thailand – dengue-1, -2, and -3 viruses were detected in equal numbers

• In Vietnam - dengue-3 in 5 patients- dengue-2 in 4 patients- dengue-1 in 1 patient

หากจะมาดู Type of dengue virus ที่ associate กับ Neurological dengue พบวา ท้ัง 4 type สามารถทาํให

เกิดไดท้ังหมด แตพบมากใน dengue-2 และ dengue-3 โดยในประเทศอินเดีย มีรายงานพบบอยใน dengue-

2 ในประเทศไทย พบใน dengue-1, dengue-2 และ dengue-3 เทาๆกนั สวนในประเทศเวียดนาม มีรายงาน

พบ dengue-3 5 คน dengue-2 4 คน และ dengue-1 1 คน

www.cueid

.org

Slide 27

Dengue Virus Types

• In Indonesia - high incidence of neurological dengue- dengue-3 was most frequently isolated

• No data that compare the frequency of dengue-3 virus isolation in neurological cases with the frequency in non-neurological cases

ในประเทศอินโดนีเซีย พบ high incidence ของ neurological dengue โดยพนเปน dengue-3 มากที่สุด แต

หากตองการจะดูความสัมพันธกับ neurological disease จําเปนตองเปรียบเทียบความถี่ของ dengue-3 ใน

ผูปวย neurological case เทียบกับความถ่ีในผูปวย non-neurological case ซ่ึงพบวา ไมมีการศึกษาลักษณะ

นี้ออกมา โดยมีเพียงการศึกษาบางการศึกษาท่ีแสดงใหเห็นวา dengue-3 อาจจะมคีวามสัมพันธกับปจจัยเส่ียง

ในการเกิด neurological disease

www.cueid

.org

Slide 28

Other Risk Factors for Neurological Dengue

• Young children and adults appear to be at greater risk of neurological disease than older children

• Severe DHF (gr III, IV – dengue shock syndrome)• Primary infection - associated with

- convulsions (especially in younger children)- peripheral neuropathies (especially in adults)

• Secondary infection – associated with- encephalopathic DHF

สวนปจจัยเส่ียงอ่ืนๆสําหรับ neurological dengue ไดแก 1.ผูปวยเด็กเล็ก และ ผูใหญ โดยพบวามีปจจัยเส่ียง

มากกวาเด็กโต 2. severe dengue hemorrhagic fever grade III, IV หรือ dengue shock syndrome 3.

primary infection โดยจะ associate กับ convulsion โดยเฉพาะในเด็กเล็ก และ associate กับ peripheral

neuropathies โดยเฉพาะในผูใหญ 4. secondary infection associate กับ encephalopathic dengue

hemorrhagic fever

www.cueid

.org

Slide 29

Pathophysiology of DHF

Pathophysiology of dengue hemorrhagic fever

www.cueid

.org

Slide 30

Antibody-Dependent Enhancement

• DHF is characterized by - increased permeability of blood vessels- hemorrhagic manifestations- thrombocytopenia

• Although DHF can occur in a primary infection, epidemiological evidence more likely in secondary infection with a different virus

Antibody-dependent enhancement

Dengue hemorrhagic fever มีลักษณะคือ increased permeability of blood vessels, hemorrhagic

manifestations และ thrombocytopenia แมวา dengue hemorrhagic fever สามารถเกิดไดใน primary

infection แตจากขอมูลทางระบาดวทิยาพบวามกัเกิดใน secondary infection จากเช้ือที่ตางชนิดกับคร้ังแรก

มากกวา

www.cueid

.org

Slide 31

จากสมมติฐานเกี่ยวกับ antibody-dependent enhancement ใน pathogenesis ของ dengue hemorrhagic

fever กราฟมุมซายบนแสดงใหเห็นถึง antibody level หลังจาก first dengue viral infection ถาเกิด early

infection โดยเช้ือท่ีมี serotype ตางจากชนิดแรก ระดับ IgG level ก็จะยังคงสูงเพียงพอที่จะเกิด cross-

reactive IgG antibody เพ่ือที่จะ neutralize second infection แตถา second infection เกิดขึ้นหางจากคร้ัง

แรกมาก neutralizing IgG antibodies ที่จะจับกับ critical epitopes ลดลง แต IgG antibodies ตอ

noncritical sites ทําใหเช้ือไวรัสไมตาย เกิดเปน viable virus-antibody complexes หลังจากนัน้ IgG ก็จะใช

สวน Fcγ portion เพ่ือจับกับ Fcγ receptors ทําใหเชื้อสามารถเขาสู monocyte ไดมากขึ้น ซ่ึงก็เปนการทําให

เกิด viral replication เพ่ิมขึ้น เรียก IgG ทีจั่บกับเช้ือไวรัสแลวทําใหเช้ือสามารถเขาสู cell ไดมากขึ้นนี้วา

enhancing antibody หลังจากเกิด viral replication เขาสูกระแสเลือดแลว ก็จะกระตุน T-cell immune

response เปนผลใหเกิด Cytokines, complement and platelet activation สงผลใหเพ่ิม vascular

permeability และ vascular leakage ในทีสุ่ด

www.cueid

.org

www.cueid

.org

Slide 32

Antibody-Dependent Enhancement

• Risk factor for DHF- circulating antibodies from previous dengue infection with a different virus type

- passively acquired maternal IgG

ดังนั้น ปจจัยเส่ียงสําหรับ dengue hemorrhagic fever ไดแก การมี circulating antibodies จากการติดเชื้อ

คร้ังกอนท่ีตางชนิดกัน และ การไดรับ IgG จากมารดา

www.cueid

.org

Slide 33

Strain Determinants

• Specific dengue virus types and the order of infection may also be important

• Data from Thailand and Cuba – most primary infections with dengue-2 and -4 asymptomatic

• In Rayong, Thailand, sequential infection with dengue-1 and then dengue-2 more likely to lead to dengue shock syndrome than other combinations

มีหลักฐานยืนยันถึงความสําคัญของ dengue virus type วาเปน strain ไหน รวมถึงลําดับของการติดเช้ือ วามี

ผลตอความรุนแรงของโรค โดยมีรายงานในประเทศไทยและคิวบาวา ถาติดเช้ือ primary infection ดวย

dengue-2 และ dengue-4 มักจะไมมีอาการ สวนรายงานจากจังหวัดระยอง พบวา หากติดเช้ือ dengue-1

ตามดวย dengue-2 มักจะทําใหเกิด dengue shock syndrome มากกวาการจับคูแบบอื่น

www.cueid

.org

Slide 34

Genetic Susceptibility

• DHF – more common in southeast Asia than in Africa and America

• This may because of - greater intensity with which the 4 serotypes of dengue viruses circulate in southeast Asia

- differences in genetic susceptibility• Recently HLA halotypes associated with

susceptibility to DHF were identified in Vietnamese and Thai children

Genetic susceptibility

การที่พบ dengue hemorrhagic fever มากในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มากกวาใน Africa และ

America อาจเปนเพราะ มีเชื้อทั้ง 4 serotype อยูในเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรืออาจเกิดจากพันธุกรรมที่มี

สวนเกี่ยงของ โดยมีรายงานพบ HLA halotypes ที่ associate กับการเกิด dengue hemorrhagic fever ใน

ชาวเวียดนาม และเด็กไทย จึงเช่ือวา genetic นาจะมีสวนสําคัญในการเกิดโรค

www.cueid

.org

Slide 35

Pathophysiology of Neurological Complications

• Controversy• Range of complications of severe DHF reduced

consciousness in some patients- hepatic dysfunction (may be part of a Reye’s- like syndrome)

- hyponatremia - renal failure- metabolic acidosis - DIC- intracranial hemorrhage (frank or microvascular)- raised intracranial pressure - hypoxia

Pathophysiology of Neurological Complications

ยังคงเปนท่ีถกเถียงกันอยูเร่ือง neurological complication โดย range ของ complication ใน severe

dengue hemorrhagic fever อาจเปนผลมาจาก hepatic dysfunction, hyponatremia, renal failure,

metabolic acidosis, DIC, intracranial hemorrhage, increased intracranial pressure, และ hypoxia

www.cueid

.org

Slide 36

Pathophysiology of Neurological Complications

• However, if not appear to have any of these complications evidence on occasion dengue virus crosses BBB to enter the CNS and cause encephalitis

อยางไรก็ตาม ถาไมพบวามี complication เหลานี้ ก็มีรายงานวาอาจเกิดจาก dengue virus สามารถผาน

blood brain barrier เขา CNS ทําใหเกิด encephalitis ได

www.cueid

.org

Slide 37

Viral Invasion Across the Blood-Brain Barrier and Encephalitis

• Encephalitis – pathological Dx autopsy or brain Bx

• Recent histopathological evidence occasionally associated with inflammation and other changes at autopsy

• It was suggest that CD68+ macrophages might carry dengue viruses across BBB in a “Trojan horse” machanism and that neurons might be injured by contact with these dengue-infected macrophages

Encephalitis เปน pathological diagnosis โดย autopsy หรือ brain biopsy โดยมี evidence ของ

histopathological evidence วา dengue infection อาจ associate กับ inflammation และ การเปลี่ยนแปลง

อ่ืนๆที่พบใน autopsy มีรายงานวา CD68+ macrophage เปนตัวพา dengue viruses ผาน blood brain

barrier เขา CNS ได โดยลักษณะเดียวกับ Trojan horse หรือมาแหงกรุงทรอย คือ การเกิด second infection

มี enhance antibody ทําใหเช้ือไวรัสสามารถเขาสู macrophage มากขึ้น แลวเปนตัวพาเขาสู CNS

www.cueid

.org

Slide 38

Viral Invasion Across the Blood-Brain Barrier and Encephalitis

• Proof of a viral CNS infection- immunohistochemical proof- virus isolation from CSF- Ab detection in the CSF

in the context of an appropriate clinical picture, is a more appropriate gold standard than a histopathological description of an inflammatory response that can be seen only at autopsy or on brain Bx

การที่จะพิสูจน Viral CNS infection อาจทําไดโดย immunohistochemical proof, virus isolation จาก CSF,

และ Antibody detection ใน CSF โดยอาจถือเปน gold standard มากกวาที่จะใช histopathology จาก

autopsy หรือ brain biopsy

www.cueid

.org

Slide 39

Dengue Neuropathies and Myelopathy

• Nerve conduction studies – decreased motor conduction velocity demyelinating process

• Cause is uncertain, though deposition of immune complexes has also been suggested

Dengue virus สามารถทําใหเกิด Dengue Neuropathies และ Myelopathy ได จาก Nerve conduction

studies จะพบ decreased motor conduction velocity ซ่ึงเปน demyelinating process โดยสาเหตุยังไม

เปนที่แนชัด แมวามกีารอางวาอาจเกิดจาก deposition ของ immune complexes

www.cueid

.org

Slide 40

Raised ICP & Herniation• Fluid management: difficult• Conflict: shock resuscitation & cerebral edema• Restore BP and perfusion : 1st priority• Prefer isotonic crystalloid or hypertonic colloid• If no shock: fluid maintainance = 2/3 of normal• ↑ ICP ↓ level of consciousness, s/s of herniat

20% mannitol (0.5-1.0g/kg) is givenRole of steroids : not been assessed

www.cueid

.org

Slide 41

Other measures• Suspected bacterial meningitis broad

spectrum ABO should be given• Hypoglycemia common in many tropical

pediatric conditions• Adequate nutrition• Avoid complications of severe encephalopathy:

pneumonia, UTI, bedsores and contractures

www.cueid

.org

Slide 42

Prevention of Dengue• No commercial available vaccine • Surveillance for dengue, mosquito activity &

control vectors• Personal protection with insect repellents

containing N,N-diethyl-m-toluamide (DEET)efficacy is variable

www.cueid

.org

Slide 43

Dengue Vaccines• Development of vaccine against dengue has

been hampered• Tetravalent dengue vaccine• Life-attenuated vaccine: phase I & II in Thailand

and US.• Recombinant dengue vaccine: being developed• Fully incorporated into expanded program• Vector control remain our only defense against

dengue commitment, education & community participation

www.cueid

.org

Slide 44

Clinical features

www.cueid

.org

Slide 45

Outlines• Dengue Fever• Dengue Hemorrhagic Fever• Classification of Neurological Dengue• Cerebral Dengue• Neurological manifestation of Dengue Infection• Diagnosis and Management

โดยหวัขอที่จะบรรยายจะแบงเปนเร่ืองหลักไดทั้งหมด 6 เร่ือง ดังนี้ คือ ไขเดงกี ไขเลือดออกเดงกี การจําแนก

ประเภทโรคทางระบบประสาทที่เกี่ยวของกับการติดเชื้อเดงกี ภาวะเซเรบรอล เดงกี

อาการและอาการแสดงทางระบบประสาทท่ีเกิดจากการติดเช้ือเดงกี รวมทั้งการวินจิฉัยและการรักษา

www.cueid

.org

Slide 46

Dengue fever• Incubation period 4-7 days• Undifferentiated febrile illness in young children• 30% of diagnosed URI in BKK virus isolation

or serology have acute dengue infection• Older child fever-arthralgia-rash syndrome• Tourniquet test : traditionally recommended• Lymphadenop, leukopenia & thrombocytop =

common

สําหรับ DF จะมีอาการภายหลังจากระยะฟกตัวประมาณ 4-7 วัน โดยในเด็กเล็กมักจะมาพบแพทยดวย

อาการไขไมทราบสาเหตุ จากการสํารวจพบวาเด็กในกรุงเทพมหานครที่มาพบแพทยที่คลินกิผูปวยนอกดวย

อาการติดเชื้อทางเดินหายใจสวนบนมีจํานวนกวารอยละ 30 ที่พบวามีการติดเช้ือไวรัสเดงกีชนิดเฉียบพลัน

สวนในเด็กโตมักจะมีอาการไข ปวดขอและมีผ่ืน ซ่ึงจะกลาวตอไปในรายละเอียด นอกจากนี้มักจะตรวจพบวา

มีเม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดตํ่า รวมทั้งพบวามีตอมน้าํเหลืองโตได การทํา Tourniquet test ควรทําเพ่ือชวย

confirm clinical diagnosis ในกรณีที่ผลตรวจเปนบวก

www.cu

eid.or

g

Slide 47

Dengue fever• Clinical findings not very helpful in distingushing

DF from other febrile illnessDDx: Measles

MalariaChikungunyaTyphoidLeptospirosis

laboratory confirmation is needed

เน่ืองจากลักษณะทางคลินกิเพียงอยางเดียวไมเพียงพอที่จะแยก dengue fever ออกจากไขเฉียบพลันที่มี

สาเหตุมาจากโรคอ่ืน จึงจําเปนตองใชการตรวจปฏิบัติการเพ่ือชวยยินยันและวางแผนการรักษา

www.cueid

.org

Slide 48

Fever-arthralgia-rash syndrome

• Fever: high grade with anorexia, nausea vomiting and abdominal pain

Arthralgia: muscle and joint ache retro-orbital pain

Skin eruption: occur in 50% of pt.mottling flushing and MP rashbleeding diathesis

อาการไขมักเปนไขสูง ตัวรอน รวมกับอาการที่เดน คือ คล่ืนไสอาเจียนและปวดทอง มีอาการปวดขอ ปวด

ตามกลามเนื้อ ปวดเบาตาและปวดกระดูก และพบรวมกับอาการแสดงทางผิวหนงัไดประมาณรอยละ 50

www.cueid

.org

Slide 49

Tourniquet test• Measure of capillary fragility• Inflated BP cuff half between SBP & DBP

duration 5 min• Positive test: ≥ 20 in a 2.5 cm square• Recent study in Vietnam & Thailand =

Highly specific but low sensitivity

การทาํ Tourniquet test เปนการทดสอบความเปราะบางของเสนเลือดแดงฝอย โดยมีวิธกีารดังนี ้คือ วัดความ

ดันโลหิตดวย manual sphygmomanometer ตามปกติ เมื่อไดคา systolic blood pressure

และ diastolic blood pressure แลว นํามาบวกกันแลวหารดวยสอง ผลลัพธท่ีไดจะใชเปน pressure ท่ีจะรัด

แขนของผูปวย โดยระยะเวลาที่ใชวัดประมาณ 5 นาที การอานคาจะดูที่ทองแขนในระดับที่ตํ่ากวาขอบลาง

ของ cuff ที่ใชวัด โดยนับจุดเลือดออกพีทีเคียใน 1 ตารางนิ้ว ถานับไดมากกวาหรือเทากับ 20 จุดใน 1

ตารางนิ้ว ถือวาการทดสอบใหผลบวก แตการแปลผลตองทําดวยความระมัดระวัง เพราะจากการศึกษา

ผูปวยไขเลือดออกท้ังในประเทศไทยและเวยีดนามเมื่อไมนานมานี้พบวาการทํา tourniquet test มี

ความจําเพาะตอไขเดงกีสูงแตความไวตํ่าถาจะใชตรวจหาการติดเช้ือไขเดงกี

www.cueid

.org

Slide 50

DHF• Major pathophysiological process in DHF

↑ vascular permeabilityPlasma leakage from blood vessels

Clinical manifestationsThrombocytopeniaHemorrhagic manifestationLeukopenia, atypical lymphocyteMild DIC with prolong PTT, TTFibrinogen & complement depletion

ในสวนของไขเลือดออกเดงกี พบวาพยาธสิรีรวิทยาของการเกิดโรคคือ มีการเพ่ิมขึ้นของความสามารถในการ

ซึมผานของหลอดเลือด ทําใหมีการร่ัวของ plasma ออกมานอกหลอดเลือด เปนผลทําใหเกิดอาการและ

อาการแสดงเหลานี้ตามมา เกล็ดเลือดตํ่า มีเลือดออกผิดปกติ เม็ดเลือดขาวลมิโฟซัยตํ่า พบเม็ดเลือดขาว

ชนิด atypical lymphocyte เพ่ิมสูงมากขึ้น และมีแนวโนมที่จะเกิด อาจตรวจพบคา PT, PTT จะนานมากขึน้

และมีการลดลงของ fibrinogen และ complement

www.cueid

.org

Slide 51

Classification of neurological Dengue

• Gubler et al: described 3 forms of disorder

• Acute Phase of Illness:HeadacheDizzinessDeliriumSleeplessness RestlessnessMental irritability

กั๊บเลอรและคณะไดจําแนกอาการและอาการแสดงทางระบประสาทในผูปวยไขเดงกีไว สามประเภทดังนี้ คือ

ระยะแรก

www.cueid

.org

Slide 52

Classification of neurological Dengue

Severe neurological manifestations:Depressed sensoriumLethargyConfusion SeizureMeningismParesis Coma

www.cueid

.org

Slide 53

Classification of neurological Dengue

• Post infectious or parainfectious disorderDelayed symptoms includingsParalysis of upper/lower extremities + larynxEpilepsy DementiaTremor Guillain-Barre’ syndrome AmnesiaLoss of sensationManic psychosisDepression

www.cueid

.org

Slide 54

Controversy• Headache, dizziness and lethargy can not be

considered evidence of neurological disease• Many of the terms such as delirium, confusion

and depressed sensorium are ill-defined• Classification without any supporting evidence

ซ่ึงการจําแนกดังกลาวอาจทาํใหเกิดความสับสนไดในหลายประเด็น เชน

www.cueid

.org

Slide 55

Prospective clinical studies in Vietnam

• Clear definitionEncephalopathy = ↓Glasglow or Blantyre

pediatric coma scoreEncephalitis = Encephalopathy which on

metabolic or other cause could be found plus at least 1 feature suggestive of focal brain inflammation

CSF pleocytosis Focal neurological signsConvulsions

จากการทาํการศึกษาแบบ prospective ในประเทศเวียดนาม ไดใหคําจํากัดความของ term ตางตาง ดังนี้

เอนเซฟาโลพาที นยิาม คือ การลดลงของกลาสโกลว หรือ บลองไทร พีดีเอทริก โคมา สกอร

เอนเซฟาไลทิส นิยาม คือ ภาวะเอนเซฟาโลพาที ลักษณะที่บงบอกวามีการอักเสบเฉพาะท่ีของเนื้อสมองอยาง

ใดอยางหนึ่งตอไปน้ี คือ

การที่มีเซลในนํ้าไขสันหลังเพ่ิมสูงขึ้น

มีอาการหรืออาการแสดงของอาการทางระบบประสาทเฉพสะท่ี

มีอาการชัก

www.cueid

.org

Slide 56

Cerebral Dengue• New Classification of neurological dengue• Not presume encephalitis until pathology prove• First classified by neurological features• Including DF DHF and systemic complication of Dengue

infection• Cerebral Dengue

acute dengue infection + comano other obvious explanation for the coma

Dengue encephalitisPathologically proven encephalitis

www.cueid

.org

Slide 57

Classification of Neurological Dengue

ASSESSA. Laboratory evidence of acute dengue infection in the serum

or CSF, by Detection of virus by isolation or PCR, orDetection of Ab by IgM ELISA or 4 fold rising in HI or other serological test

1.If virus or Ab is detected in the CSF (in the absence of traumatic LP ) this is defined as a CNS dengue infection, as is immuno histochemical or nucleic acid hybridization evidence of Dengue virus in brain tissue obtained from biopsy or autopsy

2.Other microbiological, toxic, or metabolic causes of neurological disease must be excluded

www.cueid

.org

Slide 58

• B. Level of consciousness1.Encephalopathy ( a reduced level of consciousness )

a. Encephalopathy is defined as coma score that is at least1 less than normal

Glasglow coma scale or Adelaide pediatric coma of < 15 orb. As a quick assessment, any patient who is disoriented in time,

space and person (or for children under 5, fail to recognize a parent) is encephalopathic

c. Patients with a reduced level of consciousness following a convulsion, except for those with a single simple febrile convulsion, defines as followsSimple febrile convulsion: Children between 6mo-5yr of age

with a single convulsion lasting less than 15 min who recover consciousness within 60 min2.Coma a. Glasgow coma score < 11

b. Blantyre coma score < 4c. As a quick assessment, any patient who fails to

localized a painful stimmulus

www.cueid

.org

Slide 59

• C. Systemic consequences of dengue infection

DHFHemorrhagic diseaseVascular leakAcute hepatic dysfunctionHyponatremia < 120 ml/LHypoglycemia Blood sugar level <2.2mmol/L

www.cueid

.org

Slide 60

Other Neurological manifestations

• Dengue meningism/meningitis• Neuropathy

อาการแสดงทางระบบประสาทอ่ืนอ่ืนของไขเดงกี ซ่ึงเปนรายงาน case

www.cueid

.org

Slide 61

Neurological manifestation of Dengue infection

• Reduced Level of consciousness• Peripheral neuropathies & Myelopathies• Psychiatric illness• Outcome of Neurological complications• Radiological & Neurophysiological findings• Cerebrospinal fluid

อาการและอาการแสดงทางระบบประสาทในผูปวยที่ติดเช้ือเดงกี สามารถแบงประเภทไดเปน

การลดลงของระดับความรูสึกตัว

พยาธิสภาพของระบบประสาทสวนปลายและกลามเนื้อ

การเจ็บปวยทางระบบจิตประสาท

ผลกระทบจากภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท

ลักษณะทางรังสีและประสาทสรีรวทิยา

การตรวจวิเคราะหน้ําในโพรงไขสันหลัง

www.cueid

.org

Slide 62

Reduced level of consciousness

• Most common neurological manifestation• 55-100% of patient series• Range from lethargy, drowsiness and irritability

to deep coma• Convulsion common in young children

Simple febrile convulsion orAssociated with prolonged coma

Pyramidal or long tract signs also occur

การลดลงของระดับความรูสึกตัว

เปนภาวะที่พบไดบอยที่สุด โดยพบตั้งแตทําอะไรเชื่องชา เพลีบเพลียไปจนถึง โคมา

อาจพบอาการชักซ่ึงอาจเกิดจากไขสูงในเด็กหรือการที่มีโคมาอยูนาน รวมทั้งอาจพบ pyramidal หรือ long

tract signs อ่ืนอ่ืน

www.cueid

.org

Slide 63

Reduced level of consciousness

• Extrapyramidal tremors & tone abnormalitycharacterize other arboviral encephalitides but less common in dengue

• Acute disseminated encephalomyelitis• Meningism is up to 30% of patients• Simple viral meningitis due to dengue = rare

การพบ Extrapyramidal tremors & tone abnormality เปนส่ิงท่ีพบไดไมบอยนัก

www.cueid

.org

Slide 64

Reduced level of consciousness

Classified in 2 group• 1.Occur after DHF• 2.Present with neurological disease and no

obvious signs of dengueIndistinguishable from other viral enceph.Most importance DDx = JE2-3 days of non-specific febrile illnessFollow by confusion and coma

JE : rural area DHF: urban area

การลดลงของระดับความรูสึกตัว แบงเปน สองกลุม คือ

www.cueid

.org

Slide 65

Peripheral neuropathty and myopathies

• Mono and polyneuropathies ( involve cranial nerve and & peripheral nerves )

• Describe in adult rather children• Asso.with DF, rather than DHF

1919 – 2 pts.in Honolulu1940 – 13 service personnel in Central Pacific2 pts.develop acute polyneuropathy 1 week after onset of dengue

อาการพยาธิสภาพที่ปลายประสาทและอาการกลามเนื้อ

อาการพยาธิสภาพที่ปลายประสาทเกิดไดทั้งแบบเดี่ยวและหลายหลายปลายประสาท มักพบในผูใหญ

สัมพันธกับไขเดงกีมากกวาไขเลือดออกเดงกี มีรายงานผูปวยในฮาวายและประเทศในแถบ central pacific

www.cueid

.org

Slide 66

Peripheral neuropathty and myopathies

• Nerve conduction studies : ↓ motor velocities• Acute infectious polyneuritisSpinal cord dysfunction

Primary vs SecondarySpecific damage of anterior horn cellsOccurs in many other arboviral CNS infection

พยาธิสภาพของปลายประสาทและกลามเนื้ออักเสบ

การทดสอบการนํากระแสไฟฟาของเสนประสาท พบวามกีารลดลงของมอเตอรเวโลซิต้ี

อาจใหอาการและอาการแสดงในลักษณะของการอักเสบของปลายประสาทหลายหลายเสนที่เกิดจากการติด

เช้ือเฉียบพลัน

อาจพบการทํางานของไขสันหลังที่ผิดปรกติไป โดยอาจเกิดจากตัวเช้ือโรคเองหรือภาวะแทรกซอนที่ตามมา

โดยมักจะเลือกทําลายที่ anterior horn cell ซึ่งพบไดในการติดเช้ืออาโบไวรัสในระบบประสาทสวนกลาง

www.cu

eid.or

g

Slide 67

Psychiatric ill ness

• Depression & Lethargy common feature in recovered from DF

• Manic psychosis & amnesia, dementia Occasional case reports

อาการทางจิตประสาท

อาการเซ่ืองซึมเปนอาการที่พบไดบอยในระยะหลังจากทีห่ายปวย

อาการจิตเภท หลงลืมหรือความจาํเส่ือมพบเปนรายงานผูปวย

www.cueid

.org

Slide 68

Outcome of Neurological Complications

• Range of fatality rate 0-56%, median 10%• Most on severe DHF ( severe shock &

hemorrhage )• Reports of MR directly related to neurological

disease relatively rare• Direct comparison between studies is difficult

ผลตามมาจากภาวะแทรกซอนทางระบบประสาท

อัตราตายในผูปวยที่มีภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทมีรายงานไวคอนขางท่ีจะหลากหลาย ต้ังแต ศูนยถึง

หาสิบหกเปอรเซนต โดยมีคากลางอยูที่ สิบเปอรเซนต

โดยผูปวยท่ีเสียชีวิตสวนใหญมักจะมีภาวะชอคหรือเสียเลือดที่รุนแรง รายงานอัตราตายที่สัมพันธกับ

ภาวะแทรกซอนทางระบบประสาทโดยตรงมีนอยมาก และ

การที่จะนาํเอาผลของแตละการศึกษามาเปรียบเทียบกนัเปนเร่ืองที่ทําไดยาก

www.cu

eid.or

g

Slide 69

Report cases

• Sequellae of patients with dengue encephalopathy

HemiparesisSpastic hemiparesisTetraparesisAlteration in personalityEpilepsy

รายงานผูปวย แสดงถึงผลกระทบท่ีเกิดตามหลังจาก dengue encephalopathy มีดังน้ี คือ

มีอาการออนแรงของรางกายครึ่งซีก

มีอาการเกร็งแขนขาคร่ึงซีก

มีอาการออนแรงของแขนและขาท้ังสองขาง

มีพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไป

มีอาการกลายเปนโรคลมชัก

www.cu

eid.or

g

Slide 70

Investigations• Radiological Findings

CT scan of encephalopathic dengueTypical: Diffuse brain swellingReport:

Frank ICHAbnormality of thalamus, basal ganglia, brain stem and cerebellum

เคร่ืองมือที่ใชในการตรวจวินจิฉัย

การตรวจทางรังสีวิทยา

จากภาพถาย CT scan ส่ิงที่พบไดบอยคือ การที่มีเนื้อสมองบวมทั่วทั่ว

สวนในรายงานผูปวย อาจพบวามี ภาวะเลือดออกในเนื้อสมอง ความผิดปกติของ

thalamus, basal

ganglia, brain stem และ cerebellum ไดใน CT scan

www.cu

eid.or

g

Slide 71

Investigations• Radiological findings• MRI

Cam et al. perform MRI scan 18 in 27 patients with dengue & neurological symptoms

4 pts – Normal2 pts – Encephalitic-like changes

12 pts – Cerebral edema1 pts – Intracranial hemorrhage

การตรวจทางรังสีวิทยา

การถายภาพสมองดวยคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซ่ึง Cam และคณะศึกษาในผูปวยที่ติดเช้ือไขเดงกีที่มีอาการ

และอาการแสดงทางระบบประสาท โดยพบวา

มีผูปวย 4 คน ผล MRI brain ปกติ

ผูปวย 2 คน พบวามีการเปล่ียนแปลงของเนื้อสมองท่ีมีลักษณะคลายกับการอักเสบของเนื้อสมอง

ผูปวยจํานวนถึง 12 คน ที่พบลักษณะของเน้ือสมองที่บวมทั่วทั่วไป และมีผูปวย 1 รายทีพ่บเลือดออก

ในโพรงกระโหลกศีรษะ

www.cueid

.org

Slide 72

Investigations

Neurophysiological findings• Electroencephalograms ( EEGs )

Typically show generalized slow wavesGomes et al: reported change 44% of DHF

การตรวจทางประสาทวิทยา

การตรวจคล่ืนไฟฟาสมองจะพบลักษณะที่เรียกวา เจเนอรอลไลซ สโลว เวฟ โดยโกมสและคณะรายงานวา

พบลักษณะคล่ืนไฟฟาสมองแบบนีไ้ดถึง 44 เปอรเซนต ในผูปวยไขเลือดออกเดงกี

www.cueid

.org

Slide 73

Investigations• Cerebrospinal fluid

15-30% of encephalithic dengue have a moderater pleocytosis usually lymphocytic

Most patients have normal CSFCSF opening pressures were moderately

elevated ( 21-30 cm )

การตรวจวิเคราะหน้าํไขสันหลัง

พบวาประมาณ 15-30 เปอรเซนต ในผูปวยที่มีภาวะสมองอักเสบจากการติดเชื้อเดงกี ถานําน้าํไขสันหลัง

มาตรวจจะพบวามีเซลลออกมาปานกลาง และมักจะเปนเซลลเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟซัยท แต

ผูปวยสวนใหญมักจะมีผลการวิเคราะหน้าํไขสันหลังที่ผิดปกติ และพบวาความในในชองไขสันหลังกอนระบาย

น้ําไขสันหลังจะสูงขึ้นเล็กนอย คือ 21-30 มิลลิเมตร ปรอท

www.cueid

.org

Slide 74

Diagnosis

• Traditional• Virus isolation• Antibody tests

การวนิิจฉัยการติดเช้ือไวรัสเดงกี แบงแนวทางการวินิจฉัย ออกเปน 3 ประเภท ใหญใหญ คือ

วิธีการโดยทัว่ไป

วิธีการจําแนกไวรัส

วิธีการทดสอบดวยแอนติบอด้ี

www.cueid

.org

Slide 75

Virus isolation• Isolated from serum : 1st few day of illness• Using continuous mosquito cell lines after 7-14

days• Formation of large syncytia in Aedes albopictus

C6/36 cells• Confirmed by indirect immunofluorescence with

serotype-specific monoclonal Ab

การวนิิจฉัยโดยการจาํแนกชนิดของไวรัส

โดยแยกจากซีร่ัม ในชวงวันแรกแรกที่ผูปวยมีอาการเจ็บปวย โดยทําในเซลลไลนของยุงอยางตอเนื่อง 7-14

วัน โดยถามีเช้ือไวรัสอยูจริงจะมีการจับกลุมกันเปนรางแห โดยเฉพาะใน aedes albopictus

แมจะสามารถทําการจําแนกไวรัสไดแลว ก็ตองมีการยืนยันผล ดวยวิธีการ indirect immunofluorescence

และ serotype-specific monoclonal Ab

www.cu

eid.or

g

Slide 76

Antibody testings• After defavescence: viral culture & PCR become

negative• IgM & IgG capture ELISA• Serological cross-reactivity: especially JE• Area with >1 Flavivirus cocirculate need to test

against both viruses in parallel• Endemic area: IgM Ab persisted > 3 mo

การทดสอบดวยแอนติบอดี

หลังจากระยะที่รางกายมกีารกําจัดเช้ือไวรัสแลว การตรวจหาไวรัสดวยการเพาะเช้ือหรือวิธีพีซอีารมักจะ

ใหผลลบ จึงมีการใชการตรวจหารองรอยของการติดเช้ือไวรัส โดยตรวจหาแอนติบอดีที่รางกายสรางขึ้นเพ่ือ

ตอตานเชื้อไวรัส โดยใชวิธีที่เรียกวา อิมมูโนกลอบูลินเอ็มและจี แคพเจอรอีไลซา แตอยาลืมวาการตรวจทางซี

โรโลจี มีโอกาสท่ีจะเกิดการทําปฏิกิริยาขามกลุมหรือที่เรียกวา ครอส รีแอคติวิตี

โดยเฉพาะกับเช้ือเจแปนิส เอนเซฟาไลทิส ไวรัส เพราะฉะน้ันในพ้ืนทีท่ี่มีการติดเช้ือในกลุมฟลาวิไวรัสมากกวา

1 ชนิด การทดสอบเพ่ือตรวจหาแอนติบอดีตอไวรัส ควรทําตอไวรัสทัง้สองชนิดเสมอ

สวนการแปลผลซีโรโลจีในพ้ืนที่ท่ีมีความชุกของโรคสูงก็ตองทําดวยความระมัดระวัง ยกตัวอยางเชน เดงกี ไอจี

เอ็ม แอนติบอดี จะคงอยูไดนานมากกวา 3 เดือน

www.cueid

.org

www.cueid

.org

Slide 77

Strong evidence

• Demonstrated during the neurological illness• IgM Ab in CSF• Dengue virus is detected in CSF

หลักฐานที่หนกัแนนพอทีจ่ะบอกวามีการติดเช้ือไวรัสเดงกีในระบบประสาท คือ

สามารถแสดงใหเห็นวามกีารติดเช้ิอจริงระหวางท่ีผูปวยยังมีอาการและอาการแสดงทางระบบประสาท

ตรวจพบเดงกีไอจีเอ็ม แอนติบอดีในน้าํไขสันหลัง

ตรวจพบเดงกีไวรัสในน้าํไขสันหลัง

www.cueid

.org

Slide 78

ELISAs

• Now commercially available• Test for more than one Flavivirus in parallel• Simple kit for rapid testing withut sophisticated

equipment• False negative may occur

อีไลซา หรือทีย่อมาจาก เอนไซม ลิงค อิมมูโนซอรเบนท แอสเซ

ซ่ึงปจจุบันพัฒนามาเปนชดุคิทที่วางขายตามทองตลาดแลว โดยพบวาสามารถทดสอบฟลาวิไวรัสได

มากกวา 1 ชนดิไดในการตรวจเพียงคร้ังเดียว โดยวิธีการใชคิทในการตรวจก็งายไมซับซอน และสามารถทําได

อยางรวดเร็ว แตการแปลผลก็ตองระมัดระวังเชนเดียวกัน ตัวอยาง เชน ใชคิทไปตรวจในชวงเออรลี ไวรีเมีย

ซ่ึงรางกายยังไมทันสรางแอนติบอดีตอเชื้อไวรัส ทําใหการทดสอบทีต่รวจหาแอนติบอดีตอเช้ือใหผลเปนลบ

แตที่จริงแลวมกีารติดเช้ืออยู

www.cu

eid.or

g

Slide 79

Viral causes of Encephalopathy

• Encephalitis due to arboviruses by geographical region

• Asia: JE,West Nile, dengue, Murray valleyChikungunya, Metri

มีไวรัสหลายตอหลายชนิดทีส่ามารถทําใหเกิดภาวะเอนเซฟาโลพาทไีด ยกตัวอยางเชน การเกิดสมองอักเสบ

มักจะเกิดจาก อารโบไวรัส ซ่ึงก็ขึ้นอยูกับพ้ืนทีแ่ละภูมิประเทศ ซ่ึงถาเปนแถบเอเชียไวรัสที่เปนสาเหตุของสมอง

อักเสบท่ีพบบอย คือ เจแปนิส เอนเซฟาไลทิส. เวส ไนล . เดงกี. มัวเร วัลเล. ชิกุงกุนยาและเมท ี

www.cueid

.org

Slide 80

Management• Neurological Dengue

Encephalopathic dengueSimilar to other encephalopathies

Level of consciousnessSeizureRaised intracranial pressureBrainstem herniation syndromes

การดูแลรักษาผูปวย ในผูปวยทีม่ีอาการและอาการแสดงทางระบบประสาทที่เกิดจากการติดเช้ือเดงกี

เดงกี เอนเซฟาโลพาที การดูแลก็เชนเดียวกับภาวะเอนเซฟาโลพาทีจากสาเหตุอ่ืน โดยจะพิจารณาดูที ่

ระดับความรูสึกตัว

ชัก

การเพ่ิมขึ้นของความดันในโพรงกระโหลกศีรษะ

และกลุมอาการท่ีเกิดจากสมองเล่ือนมากดทับกานสมอง

www.cueid

.org

Slide 81

Level of Consciousness• Scoring system : GCS for adult & modified

version for children• AVPU scale

A: AwakeV: Responds to VoiceP: Responds to PainU: Unresponsive

โดยที่ระดับความรูสึกตัว อาจประเมินโดยใชระบบการใหคะแนแ โดยอาจใชกลาสโกลว โคมา สเกลในผูปวยที่

เปนผูใหญ และอาจใชแบบประยุกตเพ่ือใหเหมาะสมกบัผูปวยที่เปนเด็ก

หรืออาจใชวธิกีารงายงายที่เรียกวา AVPU สเกล ก็ได

www.cueid

.org

Slide 82

Level of Consciousness• Coma

Sedated & ventilated in ICUAirway protectionMaximum medication to control seizuresHyperventilation to reduced ICPOxygen administrationCareful fluid management & drug doses

โดยผูปวยท่ีอยูในชวงโคมา หลักการดูแลรักษา คือ

ใหผูปวยไดหลับพักผอนอยางเต็มที่และชวยหายใจในหออภิบาลผูปวยหนัก

ดูแลปองกันเร่ืองทางเดินหายใจใหเปดโลงอยูเสมอ

ใชยาจนสามารถควบคุมอาการชักได

ชวยหายใจแบบเร็วเพ่ือลดการเกิดสมองบวมและลดความดันในโพรงกระโหลกศรีษะ

การใหออกซิเจนเสริม

และที่สําคัญ คือ การควบคุมดูแลปริมาณสารนํ้าและยาที่จะใหเขาไปในตัวผูปวยอยางใกลชิด

www.cueid

.org

Slide 83

Seizures

• Subtle motor seizure: malaria, JE, other cause of non-traumatic coma

• Twitching of a digit, or lip, nystagmoid eye movement, or tonic eye deviation EEG revealed = status epilepticus

• Need careful examination: lifting the eyelids is recommended

อาการชัก สามารถพบได เชนเดียวกับ มาลาเรีย ไขเจแปนิส เอนเซฟาไลทิส และสาเหตุอ่ืนทีท่ําใหเกิดโคมา

โดยไมไดมาจากอุบัติเหตุ

โดยอาการชักอาจมแีคการบิดของนิ้ว ริมฝปาก ตากลอกแบบกระตุกไปมาหรือคาง ซ่ึงในผูปวยกลุมนีถ้าทํา

การตรวจดวยการตรวจคล่ืนไฟฟาสมองจะพบวามีอาการชักคาง

ดังนั้นเวลาตรวจรางกายเพ่ือติดตามเปนระยะในผูปวยประเภทนี้ จึงแนะนาํใหเปดเปลือกตาดูทุกคร้ัง

www.cueid

.org

Slide 84

Raised ICP & Herniation• Fluid management: difficult• Conflict: shock resuscitation & cerebral edema• Restore BP and perfusion : 1st priority• Prefer isotonic crystalloid or hypertonic colloid• If no shock: fluid maintainance = 2/3 of normal• ↑ ICP ↓ level of consciousness, s/s of herniat

20% mannitol (0.5-1.0g/kg) is givenRole of steroids : not been assessed

การเพ่ิมขึ้นของความดันในโพรงศีรษะและการเล่ือนตัวของสมอง

การบริหารการใหสารน้าํเปนส่ิงท่ีสําคัญและมักจะทําไดคอนขางยาก

เน่ืองจากตองคํานึงถึงภาวะ shock แตในขณะเดียวกนัก็ตองคํานึงถึงภาวะสมองบวม

แตอยางไรก็ตามส่ิงแรกท่ีควรคํานึงถึงคือ ความดันโลหติและการไหลเวียนเลือด

นิยมใช สารน้าํชนิดที่เปน isotonic crystalloid โดยถาผูปวยไมอยูในภาวะ shock จะพิจารณาใหสารน้ําเพียง

สองในสามของความตองการตอวันของผูปวย

www.cu

eid.or

g

Slide 85

Other measures

• Suspected bacterial meningitis broad spectrum ABO should be given

• Hypoglycemia common in many tropical pediatric conditions

• Adequate nutrition• Avoid complications of severe encephalopathy:

pneumonia, UTI, bedsores and contractures

ภาวะที่อาจเกดิรวมที่ตองเฝาระวัง ไดแก

ถาสงสัยวาจะเกิดเยื่อหุมสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย ก็สามารถพิจารณาใหยาปฏิชีวนะที่คลอบคลุมเช้ือ

ไดทนัท ี

ในผูปวยเด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็กตองระวังวาอาจเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดตํ่าได

อยาละเลยเร่ืองการดูแลดานโภชนาการใหผูปวยเสมอ

พยายามดูแลผูปวยเพ่ือหลีกเล่ียงภาวะแทรกซอนที่เกิดจากพยาธิสภาพของสมองที่รุนแรง ยกตัวอยาง เชน

ภาวะปอดติดเช้ือ ติดเชื้อในทางเดินปสสาวะ แผลกดทบั รวมถึงการยึดติดของขอที่ไมไดใชงาน

www.cueid

.org

Slide 86

Prevention of Dengue• No commercial available vaccine • Surveillance for dengue, mosquito activity &

control vectors

ในปจจุบันยังไมมีวัคซนีที่ใชในการปองกนั

การเฝาระวังและควบคุมพาหะของโรค ซ่ึงก็คือยุงจึงเปนส่ิงสําคัญ

www.cueid

.org

Slide 87

Dengue Vaccines• Development of vaccine against dengue has

been hampered• Tetravalent dengue vaccine• Life-attenuated vaccine: phase I & II in Thailand

and US.• Recombinant dengue vaccine: being developed• Fully incorporated into expanded program• Vector control remain our only defense against

dengue commitment, education & community participation

เกี่ยวกับเดงกีวัคซีน

ปจจุบันเดงกีวัคซีน อยูระหวางการพัฒนาเพ่ือใหสามารถปองกันการติดเช้ือไวรัสเดงกีไดอยางมี

ประสิทธิภาพ โดยมีรูปแบบเปนเตตราวาเลนท วัคซีน โดยวัคซีนในรูปแบบที่ยังเปนเช้ือมีชีวิตท่ีถกูทําใหออน

กําลังนัน้ กําลังทําการศึกษาอยูที่ระยะที่ 1 และ 2 ในประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา สวนวัคซีนที่อยูในรูปแบบ

รีคอมบิแนนทกําลังถูกคิดคนและพัฒนา ดังนั้นในปจจุบันจึงยังไมมวีคัซีนปองกันไขเลือดออกใชในโปรแกรม

การฉีดวัคซีน การควบคุมพาหะของโรคซ่ึงก็คือ ยุงลาย จึงเปนส่ิงที่ยังจําเปน ซึ่งทุกหนวยงานรวมท้ัง

ประชาชนเองตองตระหนักถึงความสําคัญของเร่ืองนี้และรวมมือกนัเพ่ือแกไข

จัดทําโดย

วรวฒุิ รุงประดับวงศ & คณา เกษมทรัพย

www.cueid

.org