7

Click here to load reader

Ethnography (Syllabus)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Syllabus of Ethnography Class

Citation preview

Page 1: Ethnography (Syllabus)

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรคณะ2 2 2 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป1.รหัสและชื่อวิชา2 1.1 รหัส2 ม. 5102 2 2 AN 5102 1.2 ชื่อรายวิชา2 ชาติพันธุนิพนธ: การวิพากษและการนำเสนอแนวใหม2 2 2 Ethnography: Criticism and New Approaches2. จำนวนหนวยกิต2 33. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา2 3.1 หลักสูตร2 หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)2 3.2 ประเภทของรายวิชา วิชาเลือก4. อาจารยผูสอน 2 ผศ.ดร. ยุกติ มุกดาวิจิตร 2 2 ผูสอน5. ภาคการศึกษา/ปการศึกษา2 2/25556. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน2 ม.201 หรือผูบรรยายอนุมัติ7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอม2 -8. สถานที่เรียน22 2 หอง SC 4031 ตึก SC มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รังสิต9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดวิชาคร้ังลาสุด 30 ตุลาคม 2555

หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค1. จุดมุงหมายของวิชา2 1.1 เขาใจประเด็นของการวิจารณงานชาติพันธุนิพนธในทศวรรษ 1980 เปนตนมา2 1.2 เขาใจแนวทางใหมๆ ของการเขียนและการศึกษาทางมานุษยวิทยา2 1.3 ฝกเขียนชาติพันธุนิพนธแนวใหม และตระหนักถึงจริยธรรมของการศึกษาและวิจัยทางมานุษยวิทยาในปจจุบัน 22. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา2 1.1 เพิ่มทักษะการอานเอกสารภาษาอังกฤษเพื่อการสัมมนาในชั้นเรียน2 1.2 เพิ่มและปรับงานชาติพันธุนิพนธ (ethnography) สำหรับการเขียนบทวิพากษ

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ1. คำอธิบายรายวิชา2 ศึกษาการวิจารณงานชาติพันธุนิพนธ (ethnography) ทั้งในทางมานุษยวิทยา เชน ผลงานของ Malinowski, Evans-Pritchard, Geertz และงานชาติพันธุนิพนธในรูปบันทึกการเดินทาง นวนิยาย สารคดี ภาพยนตร และสื่ออื่นๆ โดยอาศัยแนวทฤษฎีการวิเคราะหวาทกรรม (discourse analysis) การวิเคราะหสัญญะ

1

Page 2: Ethnography (Syllabus)

(semiology) และการศึกษาความสัมพันธเชิงอำนาจในกระบวนการผลิตองคความรูเปนพื้นฐาน นอกจากนั้น วิชานี้ยังพยายามแสวงหาแนวทางการผลิตงานชาติพันธุแนวใหม ซึ่งตระหนักตอขอวิจารณดังกลาว2. จำนวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา2 บรรยาย2 45 ชั่วโมง3. จำนวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแกนักศึกษาเปนรายบุคคล2 2 ชั่วโมง ตามแตจะนัดหมาย

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรูของนักศึกษาโปรดดูรายละเอียดในหลักสูตร (มคอ.2)

หมวดที่ 5 แผนกาสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน22 ตามที่กำหนดดังนี้ หมายเหตุ: งดเรียนสัปดาหแรก วิชานี้ไมมีสอบการภาค จึงมีการเรียนในสัปดาหสอบกลางภาค

คร้ังที่ วัน-เดือน-ป หัวขอ/เอกสารอานกอนเรียนและอานประกอบ หมายเหตุ

1 14 พย. 55ขอบเขตของวิชา มารยาทการเรียน และประเมินพื้นความรู

บรรยาย13.30-16.25

ขอบเขตของวิชา มารยาทการเรียน และประเมินพื้นความรู

2 21 พย. 55 ตำนานมานุษยวิทยา ตำนานชาติพันธุนิพนธ บรรยาย13.30-16.25

ตำนานมานุษยวิทยา ตำนานชาติพันธุนิพนธและสัมมนา13.30-16.25

อาน - ยุกติ มุกดาวิจิตร “มานุษยวิทยา 2000: ตำนาน วงศวาน และคำพยากรณ” เรียบเรียงจาก Knauft, Bruce. “Stories, Histories, and Theories: Agendas in Cultural Anthropology” In Genealogies for the Present in Cultural Anthropology (1996).

และสัมมนาอาน - ยุกติ มุกดาวิจิตร “มานุษยวิทยา 2000: ตำนาน วงศวาน และคำพยากรณ” เรียบเรียงจาก Knauft, Bruce. “Stories, Histories, and Theories: Agendas in Cultural Anthropology” In Genealogies for the Present in Cultural Anthropology (1996).

3 28 พย. 55 วิกฤติมานุษยวิทยา? วิกฤติชาติพันธุวรรณนา? บรรยาย13.30-16.25

วิกฤติมานุษยวิทยา? วิกฤติชาติพันธุวรรณนา?และสัมมนา13.30-16.25

อาน - ยุกติ มุกดาวิจิตร และ ฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร. “สนามอำนาจในงานวิจัยภาคสนาม บันทึกประสบการณกอนภาคสนามของนักมานุษยวิทยา”. ใน บทความวิชาการและความทรงจำเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ รองศาสตราจารย สุมิตร ปติพัฒน. เทียมจิตร พวงสมจิตร (บก). กรุงเทพฯ: โรงพิมพซันตา. 2546, หนา 189-231.

และสัมมนาอาน - ยุกติ มุกดาวิจิตร และ ฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร. “สนามอำนาจในงานวิจัยภาคสนาม บันทึกประสบการณกอนภาคสนามของนักมานุษยวิทยา”. ใน บทความวิชาการและความทรงจำเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ รองศาสตราจารย สุมิตร ปติพัฒน. เทียมจิตร พวงสมจิตร (บก). กรุงเทพฯ: โรงพิมพซันตา. 2546, หนา 189-231.

4 12 ธค. 55 มานุษยวิทยาคือการเขียนและการอาน บรรยาย13.30-16.25

มานุษยวิทยาคือการเขียนและการอานและสัมมนา13.30-16.25

อาน - Geertz, Clifford. “Thick Description” In Interpretation of Culture. NewYork: Basics. 1973. (บางสวน) แนะนำ - อคิน รพีพัฒน. “ชาติพันธุวรรณนา: งานของนักมานุษยวิทยา” ใน วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอรด เกียรซ. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. 2551, หนา 121-144.

และสัมมนา

2

Page 3: Ethnography (Syllabus)

อาน - Geertz, Clifford. “Thick Description” In Interpretation of Culture. NewYork: Basics. 1973. (บางสวน) แนะนำ - อคิน รพีพัฒน. “ชาติพันธุวรรณนา: งานของนักมานุษยวิทยา” ใน วัฒนธรรมคือความหมาย: ทฤษฎีและวิธีการของคลิฟฟอรด เกียรซ. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. 2551, หนา 121-144.

5 19 ธค. 55 วรรณศิลปของชาติพันธุนิพนธ บรรยาย13.30-16.25

วรรณศิลปของชาติพันธุนิพนธและสัมมนา13.30-16.25

อาน- Marcus, George E. and Dick Cushman. “Ethnographies as Texts” Annual Review of Anthropology. 11:25-69, 1982. (อานเฉพาะหนา 25-38) แนะนำ - ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, “มานุษยวิทยาปริทัศน: จารีตและวรรณศิลปในงานชาติพันธุวรรณา”. ไทยคดีศึกษา. 8(2) (ตุลาคม 2534), หนา 18-22.- ยุกติ มุกดาวิจิตร. “เขียนวัฒนธรรมชุมชน”. ใน วาทศิลปและการเมืองของชาติพันธุนิพนธแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ: ฟาเดียวกัน. 2548, หนา 116-164.

และสัมมนาอาน- Marcus, George E. and Dick Cushman. “Ethnographies as Texts” Annual Review of Anthropology. 11:25-69, 1982. (อานเฉพาะหนา 25-38) แนะนำ - ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล, “มานุษยวิทยาปริทัศน: จารีตและวรรณศิลปในงานชาติพันธุวรรณา”. ไทยคดีศึกษา. 8(2) (ตุลาคม 2534), หนา 18-22.- ยุกติ มุกดาวิจิตร. “เขียนวัฒนธรรมชุมชน”. ใน วาทศิลปและการเมืองของชาติพันธุนิพนธแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพฯ: ฟาเดียวกัน. 2548, หนา 116-164.

6 26 ธค. 55 ใครคือนักมานุษยวิทยา ตัวตนคนเขียนในงานมานุษยวิทยา บรรยาย13.30-16.25

ใครคือนักมานุษยวิทยา ตัวตนคนเขียนในงานมานุษยวิทยาและสัมมนา13.30-16.25

อาน- ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. “มาลินอฟสก้ี กับตัวตนของมานุษยวิทยาไทย. สังคมศาสตร. 12, 1 (กรกฎาคม 2542-มีนาคม 2543), หนา 121-144.- ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. “อัตลักษณซอนของนักมานุษยวิทยาบานเกิด” ใน คนใน: ประสบการณภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย. ปริตตา เฉลิมเผา กอนันตกูล (บก). กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. 2545, หนา 199-229.แนะนำ- Roraldo, Renato. “Subjectivity in Social Analysis”. In Culture and Truth: The Remaking of Social Analysis. Boston: Beacon Press. 1989, pp. 168-195.2

และสัมมนาอาน- ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. “มาลินอฟสก้ี กับตัวตนของมานุษยวิทยาไทย. สังคมศาสตร. 12, 1 (กรกฎาคม 2542-มีนาคม 2543), หนา 121-144.- ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. “อัตลักษณซอนของนักมานุษยวิทยาบานเกิด” ใน คนใน: ประสบการณภาคสนามของนักมานุษยวิทยาไทย. ปริตตา เฉลิมเผา กอนันตกูล (บก). กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. 2545, หนา 199-229.แนะนำ- Roraldo, Renato. “Subjectivity in Social Analysis”. In Culture and Truth: The Remaking of Social Analysis. Boston: Beacon Press. 1989, pp. 168-195.2

7 2 มค. 55 ถิ่นที่ของงานมานุษยวิทยา บรรยาย13.30-16.25

ถิ่นที่ของงานมานุษยวิทยาและสัมมนา13.30-16.25

อาน- Marcus, George E. “Ethnography in/of The World System: The Emergence of Multi-Sited Ethnography”. Annual Review of Anthropology. (24). 1995, pp. 95-117. (บางสวน)

และสัมมนา

3

Page 4: Ethnography (Syllabus)

อาน- Marcus, George E. “Ethnography in/of The World System: The Emergence of Multi-Sited Ethnography”. Annual Review of Anthropology. (24). 1995, pp. 95-117. (บางสวน)

แนะนำ- Gupta, Akhil and Ferguson, James. “Beyond "Culture": Space, Identity, and the Politics of Difference”. Cultural Anthropology 7(1). 1992, pp. 6-23. - ยุกติ มุกดาวิจิตร. “ความรูของทองถิ่น,ทองถิ่นของความรู:การตอรองของทองถิ่นในกระบวนการร้ือฟนอักษรไท (สือไต) ในเวียดนาม.” ใน ภูมิปญญาไทย-ภูมิปญญาเทศ. ดาริน อินทรเหมือน, บก. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน), หนา 211-273.

8 9 มค. 55 นักมานุษยวิทยาศึกษา “ใคร” บรรยาย13.30-16.25

นักมานุษยวิทยาศึกษา “ใคร”และสัมมนา13.30-16.25

อาน - Appadurai, Arjun. “Global Ethnoscape: Notes and Queries for a Transnational Anthropology” In Modernity at Large: Cultural Dimensions of Globalization. Minneapolis: University of Minnesota Press, 1996. Pp. 48-65. แนะนำ- ยุกติ มุกดาวิจิตร. “ใครคือชาวบาน/Who are the Chao Ban?”. เมืองโบราณ. 34,1 (มกราคม-มีนาคม) หนา 40-43. - อัมพร จิรัฐติกร. “ละครไทยเปล่ียนเสียงไต การเมืองเร่ืองของการบริโภค: กรณีศึกษาการบริโภคสื่อขามพรมแดนของชุมชนไทยใหญในรัฐฉาน ประเทศพมา”. ใน ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. การเดินทางของสินคาสมัยใหม. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2550.

และสัมมนาอาน - Appadurai, Arjun. “Global Ethnoscape: Notes and Queries for a Transnational Anthropology” In Modernity at Large: Cultural Dimensions of Globalization. Minneapolis: University of Minnesota Press, 1996. Pp. 48-65. แนะนำ- ยุกติ มุกดาวิจิตร. “ใครคือชาวบาน/Who are the Chao Ban?”. เมืองโบราณ. 34,1 (มกราคม-มีนาคม) หนา 40-43. - อัมพร จิรัฐติกร. “ละครไทยเปล่ียนเสียงไต การเมืองเร่ืองของการบริโภค: กรณีศึกษาการบริโภคสื่อขามพรมแดนของชุมชนไทยใหญในรัฐฉาน ประเทศพมา”. ใน ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. การเดินทางของสินคาสมัยใหม. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2550.

9 16 มค. 55 วัฒนธรรมศึกษากับอวสานของมานุษยวิทยา? บรรยาย13.30-16.25

วัฒนธรรมศึกษากับอวสานของมานุษยวิทยา?และสัมมนา13.30-16.25

อาน- Mark Hobart, Nigel Rapport, Paul Willis, John Gledhill, edited by Peter Wade “Cultural Studies Will Be the Death of Anthropology” The GDAT Debate: No. 8. 1997. (บางสวน)

และสัมมนาอาน- Mark Hobart, Nigel Rapport, Paul Willis, John Gledhill, edited by Peter Wade “Cultural Studies Will Be the Death of Anthropology” The GDAT Debate: No. 8. 1997. (บางสวน)

4

Page 5: Ethnography (Syllabus)

แนะนำ - วสันต ปญญาแกว. “วัฒนธรรมศึกษา ที่มหาวิทยาลัยเบอรม่ิงแฮม: จาก "ซายใหม" ถึง สจวต ฮอลล”. ใน ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร. มานุษยวิทยาปะทะวัฒนธรรมศึกษา รวมบทความจากการประชุมประจำปทางมานุษยวิทยาคร้ังที่ 7 “ยกเคร่ืองเร่ืองวัฒนธรรมศึกษา”. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2552, หนา 308-419.

10 23 มค. 55 การเขียนวัฒธรรม (นักศึกษาเสนอหัวขอวิจัยภาคสนาม และบทปริทัศนหนังสือ)

บรรยาย10 23 มค. 55

แนะนำ- Emerson, Robert M. et al. Writing Ethnographic Fieldnotes (1995), chapter 2-3.

บรรยาย

13.30-16.25 แนะนำ- Emerson, Robert M. et al. Writing Ethnographic Fieldnotes (1995), chapter 2-3.

และสัมมนา

11 30 มค. 55 บันทึกในสนาม บันทึกจากสนาม และมานุษยวิทยาทัศนา บรรยาย13.30-16.25

บันทึกในสนาม บันทึกจากสนาม และมานุษยวิทยาทัศนาและสัมมนา13.30-16.25

อาน- วิภาช ภูริชานนท. “บันทึกภาพถายชุมชน: จากคนละกรอบสายตาที่ถักทอเปนสายใย”. ใน. มาจาก(คนละ)ฟากฟาของเพิงผา: สูการทลายเสนแบงของวิธีวิทยาทางโบราณคดี วลีในมานุษยวิทยาและมายาในศิลปกรรม. รัศมี ชูทรงเดช. กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2551, หนา 159-163.แนะนำ- Guindi, Fadwa El. “From Pictorialization to Visual Anthropology” In Handbook of Methods in Cultural Anthropology. Berhard, H. Russell (eds.) Lanham: Altamira, (2000 [1998])

และสัมมนาอาน- วิภาช ภูริชานนท. “บันทึกภาพถายชุมชน: จากคนละกรอบสายตาที่ถักทอเปนสายใย”. ใน. มาจาก(คนละ)ฟากฟาของเพิงผา: สูการทลายเสนแบงของวิธีวิทยาทางโบราณคดี วลีในมานุษยวิทยาและมายาในศิลปกรรม. รัศมี ชูทรงเดช. กรุงเทพฯ: ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2551, หนา 159-163.แนะนำ- Guindi, Fadwa El. “From Pictorialization to Visual Anthropology” In Handbook of Methods in Cultural Anthropology. Berhard, H. Russell (eds.) Lanham: Altamira, (2000 [1998])

12 6 กพ. 55 ทัศนาและวิพากษการถายภาพ และความหมายในสนาม บรรยาย12 6 กพ. 55

แนะนำ- Emerson, Robert M. et al. Writing Ethnographic Fieldnotes (1995), chapter 4.

และสัมมนา13.30-16.25

แนะนำ- Emerson, Robert M. et al. Writing Ethnographic Fieldnotes (1995), chapter 4.

และสัมมนา

13 13 กพ. 55 วิเคราะหความหมายจากการสังเกตและการมีสวนรวม และเขียนบททบทวนตนเองในสนาม

บรรยาย13.30-16.25

วิเคราะหความหมายจากการสังเกตและการมีสวนรวม และเขียนบททบทวนตนเองในสนาม และสัมมนา13.30-16.25แนะนำ- Emerson, Robert M. et al. Writing Ethnographic Fieldnotes (1995), chapter 5.

และสัมมนาแนะนำ- Emerson, Robert M. et al. Writing Ethnographic Fieldnotes (1995), chapter 5.

14 20 กพ. 55 วิเคราะหบันทึกสนาม และสรางขอถกเถียงในชาติพันธุนิพนธุ บรรยาย13.30-16.25

วิเคราะหบันทึกสนาม และสรางขอถกเถียงในชาติพันธุนิพนธุและสัมมนา13.30-16.25

แนะนำ- Gay y Blasco, P. and Wardle, H. “Ethnography as Argument” In How to Read Ethnography. London : Routledge, 2007.

และสัมมนา

5

Page 6: Ethnography (Syllabus)

แนะนำ- Gay y Blasco, P. and Wardle, H. “Ethnography as Argument” In How to Read Ethnography. London : Routledge, 2007.

หมายเหตุ: แผนการสอนนี้อาจมีการเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม ซึ่งจะแจงใหนักศึกษาไดรับทราบลวงหนา

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู

2 2.1 สรุปการอานและมีสวนรวมในช้ัน (กลุมละ 2-3 คน, 2 หนา A4)2 30%2 ในแตละสัปดาห มีเอกสาร (ภาษาไทยและอังกฤษ) ที่นักศึกษาตองอานกอนเขาเรียน ใหจัดกลุม กลุมละ 2-3 คน อานและเตรียมสรุปประเด็นสำคัญๆ และคำถามที่ไดจากการอาน เขียนเปนบันทึก 1-2 หนาเพื่อเขามาแลกเปล่ียน อภิปรายกันในชั้นเรียน สงบันทึกนี้ทุกครั้งหลังเลิกช้ันเรียน สัปดาหที่ 2-9

2 2.2 บันทึกภาคสนาม (งานเด่ียว, 1-2 หนา A4)2 2 2 2 20% 2 นักศึกษาแตละคนตองทำวิจัยภาคสนาม 1 โครงการ เขียนขอเสนอหัวขอโครงการ พรอมประเด็นที่จะศึกษา แหลงขอมูล กลุมคน หรือพื้นที่ที่จะศึกษาประมาณ 1 หนา สงวันที่ 23 มกราคม 2555 โครงการนี้จะเปนการเก็บขอมูลภาคสนาม เพื่อพัฒนาไปเปนความเรียงเชิงชาติพันธุนิพนธ (ดูหัวขอถัดไป) ในการเก็บขอมูล นักศึกษาตองใชเวลาระหวางสัปดาหที่ 10-14 เก็บขอมูลสัปดาหละประมาณ 2 ชั่วโมง แลวเขียนบันทึกภาคสนามและ/หรือบันทึกภาพ มาแลกเปล่ียนใหเพื่อนและอาจารยอานและวิจารณในชั้นเรียน แตละสัปดาหจะมีประเด็นและกิจกรรมที่แตกตางกันไป (ดูในเคาโครงการศึกษาสัปดาหที่ 10-14) สงบันทึกนี้ทุกครั้งต้ังแตสัปดาหที่ 11-14

2 2.3 บทปริทัศนหนังสือ (งานเด่ียว, 5-7 หนา A4) 2 2 2 20%2 เลือกหนังสือจากรายชื่อที่มี (ดูหนาสุดทายของเคาโครงการเรียนการสอนนี้) เพื่อเขียนวิจารณหนังสือ บทวิจารณหนังสือ คือบทความขนาดสั้น หลักๆแลวเปนการวิเคราะหอยางลึกซึ้งและแหลมคมวา เนื้อหาของหนังสือเปนอยางไร นอกจากนั้นยังตองวิจารณเนื้อหาของหนังสือ เชน ผูเขียนใชแนวความคิดอะไรในการศึกษา เชื่อมโยงไดกับทฤษฎีอะไร เชื่อมโยงกับการศึกษาในวิชานี้อยางไร งานเขียนมีขอเสนอที่สมเหตุสมผลหรือไม ใชวิธีการศึกษาอยางไร มีการใชหลักฐานขอมูลถูกตองเปนระบบดีหรือไม หากสามารถปรับปรุงได ควรปรับปรุงอยางไร สงในช้ันเรียนวันที่ 23 มกราคม 54

2 2.4 บทประพันธเชิงชาติพันธุนิพนธ ์ (งานเด่ียว, 12-15 หนา A4)2 30%2 บทความวิจัยไมใชการรวบรวมผลงานระหวางสัปดาหที่ 10-14 แตนักศึกษาตองสังเคราะหบทบันทึกภาคสนามและการวิจัยเอกสาร (เทาที่จำเปน) เพื่อเขียนบทประพันธเชิงชาติพันธุนิพนธ บทประพันธนี้ตองแสดงใหเห็นประเด็นที่ผูเขียนตองการนำเสนออยางชัดเจน ดวยหลักฐานขอมูลภาคสนามและเอกสาร และแสดงใหเห็นถึงนัยของการเปรียบเทียบขามวัฒนธรรมของประเด็นดังกลาว ดวยการใชแนวทฤษฎีทางมานุษยวิทยา และการเปรียบเทียบกับบทงานชาติพันธุนิพนธตางๆที่เก่ียวของกับประเด็นที่ศึกษา นักศึกษาสามารถเลือกรูปแบบการเขียนเพื่อนำเสนอผลงานไดอยางอิสระ เชน รูปแบบจดหมาย รูปแบบเร่ืองสั้น รูปแบบบทสนทนา รูปแบบบทละคร หรือรูปแบบงานวิชาการทั่วๆ ไป และตองอางอิงอยางถูกตองตามระบบของคณะสังควิทยาและ

6

Page 7: Ethnography (Syllabus)

มานุษยวิทยา (ดูตัวอยางการอางอิงไดใน http://socanth.tu.ac.th/wp-content/uploads/2012/02/JSA-submission-guidelines.pdf) สง 2 สัปดาหหลังวันสอบปลายภาคหรือแลวแตจะกำหนด

โปรดระลึกเสมอวา: การนำผลงานผูอ่ืนมาเปนผลงานตนเอง (plagiarism) ดวยการคัดลอกผลงานผูอ่ืนโดยไมอางอิง ไมวาจะเปนผลงานที่เผยแพรแลว หรือนำผลงานหรือบางสวนของผลงานของเพื่อนในช้ันหรือเพื่อนตางช้ันมาเปนของตนเอง ถือวามีความผิดทางวินัยเสมือนการทุจริตในการสอบ มีโทษสูงสุดถึงใหออกหรือพักการศึกษา นักศึกษาตองใหเกียรติผลงานที่เผยแพรแลว ตองม่ันใจวาทุกคนสามารถผลิตผลงานที่ดีไดเชนกัน และจึงตองหลีกเลี่ยงการนำผลงานผูอ่ืนมาเปนของตนเอง

เกรด A B+ B C+ C D+ D F

ชวงคะแนน

- - - - - - - -

หมายเหตุ: จะกำหนดชวงคะแนนหลังจากรวมคะแนนหมดแลว

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอนตำราและเอกสารหลัก- ตามรายการที่ระบุใหอานในแตละสัปดาหเอกสารที่ใหเลือกเขียนบทปริทัศน์- โกมาตร จึงเสถียรทรัพย. ชาติพันธุกับการแพทย. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2547.- ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. โลกของนางรำ : ตัวตน ความงาม และความศักด์ิสิทธิ์ในชีวิตของนางละครแกบน. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. 2545. - วสันต ปญญาแกว. ชีวิตขางถนน: การศึกษาเชิงชาติพันธวรรณนาวาดวยผูชมโทรทัศนยามค่ำคืน บนถนนสายหนึ่งในเมืองเชียงใหม. เชียงใหม: คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2543. [HE8700.66.ท9 ว4613]- สมรักษ ชัยสิงกานานนท (บก.) ตลาดในชีวิต ชีวิตในตลาด. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2549. [HF5475.ท9 ต46]- เสมอชัย พูลสุวรรณ. รัฐฉาน (เมืองไต): พลวัตของชาติพันธุในบริบทประวัติศาสตรและสังคมการเมืองรวมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน). 2552. [DS530.8.ฉ6 ส74]

- Basso, Keith H. Portraits of “The Whiteman”: Linguistic Play and Cultural Symbols among the Western Apache. Cambridge: Cambridge University Press. 1979.

- Dettwyler, Katherine A. Dancing Skeletons: Life and Death in West Africa. Prospect Heights, NJ: Waveland Press. 1994.

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชาโปรดดูในหลักสูตร

7