62
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ โครงการศึกษาดานสารสนเทศ เรื่อง Internet of Things (IoT) โดย นายสมนึก จิระศิริโสภณ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๙

Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

กรมชลประทาน

กระทรวงเกษตรและสหกรณ

โครงการศึกษาดานสารสนเทศ

เร่ือง

Internet of Things (IoT)

โดย

นายสมนึก จิระศิริโสภณ

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๙

Page 2: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

บทสรุปสําหรับผูบริหาร (Executive Summary) โดย ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ

๑ ช่ือเร่ือง “Internet of Things (IoT)”

๒ ความสําคัญของปญหา เทคโนโลยี Internet of Things (ioT) หรือ “อินเทอรเน็ตในทุกสิ่ง” หมายถึง การท่ีสิ่งตางๆ

ถูกเชื่อมโยงเขาสูโลกเครือขายหรืออินเทอรเน็ต ทําใหมนุษยสามารถสั่งการ ควบคุม การใชงานอุปกรณตางๆ เชน การสั่งเปด-ปดอุปกรณเครื่องใชไฟฟา รถยนต โทรศัพทมือถือ เครื่องมือสื่อสาร เครื่องใชสํานักงาน เครื่องมือทางการเกษตร เครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร บานเรือน เครื่องใชในชีวิตประจําวันตางๆ ผานทางเครือขายอินเทอรเน็ตได เปนตน โดยเทคโนโลยีนี้จะเปนท้ังประโยชนอยางมหาศาล และความเสี่ยงไปพรอมๆ กัน เพราะ ถาหากระบบรักษาความปลอดภัยของอุปกรณและเครือขายอินเทอรเน็ตไมดีพอ จะทําใหผูไมประสงคดีเขามากระทําการท่ีไมพึงประสงคตออุปกรณ ขอมูลสารสนเทศหรือความเปนสวนตัวของบุคคลได ดังนั้น การพัฒนาไปสู Internet of Things จึงมีความจําเปนตองพัฒนามาตรการ และ เทคนิคในการรักษาความปลอดภัยดานไอทีควบคูกันไปดวย

๓ วัตถุประสงคการศึกษา ก) เพ่ือศึกษาหลักการและแนวคิดในเรื่อง Internet of Things (IoT) ข) เพ่ือเสนอแนวทางการนํา Internet of Things (IoT) มาใชกับอุปกรณตางๆ แกผูบริหารกรมชลประทาน

๔ กรอบแนวคิดการศึกษา การศึกษาในเรื่อง Internet of Things (IoT) ดําเนินการเปนข้ันตอน ดังนี้

๑. ศึกษาจากเอกสารทางวิชาการ วิดีโอบรรยาย เว็บไซตแหลงขอมูลตางๆ ๒. นําขอมูลความรูท่ีไดมาวิเคราะห ประยุกตใชกับงานดานการชลประทานของกรม ๓. กําหนดกรอบปญหาของงานและประเด็นท่ีตองดําเนินการปรับเปลี่ยนไปสูระบบ IoT ๔. จัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบาย/ขอเสนอแนะเชิงเทคนิคแกผูบริหารของกรมชลประทาน

๕ วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเอกสาร (Documentary Research) โดยอาศัยขอมูลทุติยภูมิจากบทความตางๆ ในเว็บไซต ตลอดจนเอกสารบทความ งานวิจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของ เพ่ือวิเคราะหและสรุปผลการศึกษา

๖ ผลการศึกษา จะสรุปเปนขอเสนอแนะ ทิศทาง และแนวโนมของเทคโนโลยีท่ีจะเกิดข้ึน เสนอตอผูบริหารกรมชล ประทาน เพ่ือพิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพการทํางานดวยเทคโนโลยีสมัยใหมท่ีกําลังจะเกิดข้ึน โดยมีข้ันตอนในการดําเนินการตางๆ ดังนี้

Page 3: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

- ตรวจสอบการประยุกตใช Internet of Things (IoT) กับระบบท่ีเหมาะสมกับงานของกรม

ชลประทาน ในดานตางๆ

- พิจารณาคัดเลือกเสนอระบบท่ีควรนําเทคโนโลยี IoT มาประยุกตใช

- เสนอผูบริหารกรมฯ เพ่ือพิจารณาหรือบรรจุเปนแผนงานดานสารสนเทศ

- เผยแพรเขาสูองคความรูของศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๗ ปญหาและอุปสรรค - การปรับตัว เนื่องจาก IoE อาจมีการปฏิสัมพันธกับผูใช ในบางกรณีผูใชอาจเกิดความรําคาญ

จําเปนตองใชเวลาในการยอมรับและปรับตัวใหคุนชินกับอุปกรณตางๆ - IoE Sensor ถูกใชเพ่ือเก็บขอมูล อาจสงผลกระทบตอเรื่อง Privacy ได - โครงสรางของเครือขายอินเทอรเน็ตในไทยจําเปนตองไดรับการปรับปรุง เนื่องจากโครงขายในปจจุบัน

จะเปนอุปสรรคในการเติบโตของ Big Data ในอนาคตอยางแนนอน - วิศวกรไทยมีความสามารถ แตยังขาดความเชี่ยวชาญทางดานธุรกิจ บางครั้งนักวิจัยชาวไทยมีแนวคิด

หรือไอเดียท่ีดี แตไมสามารถสรางออกมาเปนสินคาในเชิงพาณิชยได

- นักลงทุนในประเทศไทยยังไมตื่นตัวในเรื่องของ IoE Start-up

๘ ปจจัยแหงความสําเร็จ การดําเนินการตามขอเสนอแนะขางตนใหเปนไปตามเปาหมายท่ีกําหนดไว จําเปนตองมีปจจัยเง่ือนไขแหงความสําเร็จเขามาประกอบรวมดวย ดังนี้

๑ การสนับสนุนงบประมาณจากภาครัฐ สําหรับงานศึกษาวิจัยและการพัฒนาบุคคลากร ๒ ควรมีการตั้ง Community เพ่ือพัฒนาและสนับสนุนวงการ IoE ไทยใหเติบโต สามารถแขงขันกับประเทศอ่ืนได

๓ รัฐบาลควรเนนผลักดันในเรื่องของอุปกรณฮารดแวรท่ีใชทํา Sensor ถาประเทศไทยสามารถผลิต Sensor ใชเอง ก็ชวยลดตนทุนการผลิตและชวยเพ่ิมกําไรและเงินหมุนเวียนใหแกประเทศ

๔ Start-up และนักพัฒนาควรหาแรงบันดาลใจหรือไอเดียในการพัฒนาสิ่งใหมๆ โดยมีเว็บ ไซตท่ีเก่ียวของกับ IoE ใหเขาไปศึกษาคนควาและหาแนวคิดอยูเปนจํานวนมาก

Page 4: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

คํานํา

“Internet of Things” คือ แนวคิดท่ี จะเชื่อมตอกลุมอุปกรณหลายอยางใหติดตอกัน และ ชวยกัน

ทํางานไดเองโดยท่ีมนุษยไมตองเขาไปสั่งการใดๆเลย เปรียบเสมือนกับการเติมสมองใหกับสิ่งของ พรอมท้ังดําเนินการเชื่อมตอเขาสูระบบเครือขายหรืออินเทอรเน็ต เพ่ือ ใหสามารถสงขอมูล คิดคํานวณ และแลกเปลี่ยนขอมูลกันได อันจะนํามาซ่ึงประโยชนมากมายตอการดํานินชีวิตของมนุษยเรา

โครงการศึกษาดานสารสนเทศเรื่อง “Internet of Things (IoT)” ฉบับนี้ เพ่ือเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชเทคโนโลยีดังกลาวกับระบบงานประเภทตางๆ ของกรมชลประทาน เชน การตรวจวัดระดับน้ํา น้ําฝน ปริมาณน้ํา สภาพอากาศในภาคสนามท่ีหางไกล หรืองานดานการเกษตรท่ีหลากหลาย เชน นาขาว การเพาะปลูกพืชไร เปนตน โดยหนวยงานท่ีสนใจอาจนําตัวอยางโครงงานดาน IoT ท่ีไดทําการศึกษาแลวจากมหาวิทยาลัยท่ีมีเผยแพรอยูมากมายมาปรับใชใหเหมาะสม เพ่ือใหเกิดประโยชนและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทํางานได

นายสมนึก จิระศิริโสภณ ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ

ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมชลประทาน มีนาคม ๒๕๕๙

Page 5: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สารบัญ หนาท่ี ก

สารบัญ

หนา

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป ๑ คําจํากัดความ ๑ ความหมายโดยท่ัวไป ๒ กลุมของการประยุกตใชงาน ๒ Security of Everything ๓ ตัวอยางการประยุกตใชงาน ๔ ๑๐ อันดับการประยุกตใช Internet of Things ๕ ๑. Smart home ๕ ๒. Wearables ๖ ๓. Smart City ๖ ๔. Smart grids ๗ ๕. Industrial internet ๗ ๖. Connected car ๘ ๗. Connected Health ๘ ๘. Smart retail ๙ ๙. Smart supply chain ๙ ๑๐. Smart farming ๑๐

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) ๑๑ แนวคิด Internet of Things ๑๑ A wireless sensor network (WSN) ๑๑ Access Technology ๑๒ Gateway Sensor Nodes ๑๒ การแบงกลุม Internet of Things ๑๓ IPv6 คือสวนสําคัญของ Internet of Things ๑๔ โปรโตคอล (Message Queue Telemetry Transport, MQTT) ๑๔ IoT Reference Model ๑๕

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE ๑๗ ทําไมตองใช NETPIE ๑๘ จุดเดนของเทคโนโลยี (Innovation Statement) ๑๙ คุณสมบัติ ๑๙ อัตราคาบริการ ๑๙ ศัพทสําคัญท่ีควรทราบ ๑๙ Key Management Concept ๒๐

Page 6: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สารบัญ หนาท่ี ข

อุปกรณตางๆ ท่ี MicroGear รองรับ ๒๒ คําถามท่ีพบบอย ๒๔

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน ๒๖ ระบบโทรมาตร ๒๖ ระบบโทรมาตรเคลื่อนท่ีขนาดเล็ก ๒๗ ตัวอยางงานศึกษาวิจัยดานการเกษตรโดยใช IoT ๒๙

ภาคผนวก ภาคผนวก ก NetPIE (Platform for Internet of Everything) ๓๓ ภาคผนวก ข ตัวอยางการประยุกตใชงาน Plant Sensor ๓๔ ภาคผนวก ค ๔๙ สุดยอดเครื่องมือสําหรับ Internet of Things ๓๙

แหลงอางอิงขอมูล ๕๖

Page 7: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๑

สวนที่ ๑ ขอมูลทั่วไป

คําจํากัดความ

IERC (European Research Cluster on the Internet of Things) ไดใหคําจํากัดความ Internet of Things ไว ดังนี้

"A dynamic global network infrastructure with self-configuring capabilities based on standard and interoperable communication protocols where physical and virtual “things” have identities, physical attributes, and virtual personalities and use intelligent interfaces, and are seamlessly integrated into the information network."

“โครงสรางพ้ืนฐานดานเครือขายในแบบ Dynamic ท่ีสามารถปรับแตงตัวเองได บนพ้ืนฐานของการติดตอสื่อสารกัน ดวย Protocol สื่อสาร โดยจะประกอบไปดวยสิ่งของท่ีมีอยูจริงและสิ่งของเสมือนท่ีมีการระบุตัวตนและคุณสมบัติตางๆ เชื่อมตอกันรวมกันอยางชาญฉลาดในระบบเครือขายขอมูล”

สวน ITU (International Telecommunication Union, ITU-T Y.2060) ไดใหคําจํากัดความไวดังนี้

“A global infrastructure for the information society, enabling advanced services by interconnecting (physical and virtual) things based on existing and evolving interoperable information and communication technologies.” หมายเหต ุจากคําจํากัดความดังกลาวขางตน มีขอสังเกต ดังนี้

- ระบบเครือขายท่ีใชเชื่อมตอกันไมจําเปนตองเปนเครือขายอินเทอรเน็ตเสมอไป - สิ่งของตางๆ ท่ีจะเชื่อมตอกันจะมีลักษณะเปน plug and play สามารถ config ตัวเองไดโดยอัตโนมัติ

Page 8: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๒

ความหมายโดยทั่วไป

เทคโนโลยี Internet of Things (ioT) บางแหงเรียก M2M ยอมาจาก Machine to Machine คือ เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตท่ีเชื่อมอุปกรณกับเครื่องมือตางๆ เชน โทรศัพทมือถือ รถยนต ตูเย็น โทรทัศน และอ่ืนๆ เขาไวดวยกัน โดยการเชื่อมโยงชวยใหสื่อสารกันไดผานระบบอินเทอรเน็ต จากการคาดการณ ในป ค.ศ. ๒๐๒๐ สิ่งตางๆ กวาแสนลานชิ้นจะสามารถเชื่อมตอกันไดดวยระบบ IoT ซ่ึงจะสงผลใหผูบริโภคท่ัวไปจะเริ่มคุนเคยกับเทคโนโลยีท่ีทําใหพวกเขา สามารถควบคุมสิ่งของตางๆ ท้ังจากในบานและสํานักงานหรือจากท่ีไหนก็ไดท้ังนั้น

ในหลายๆประเทศเริ่มติดตั้งปายทะเบียนรถ หรือปายจายคาทางดวนเปนระบบอิเล็กทรอนิกส ประเทศไทยก็เชนกัน ซ่ึงจะเปนประโยชนตอการตรวจสอบทะเบียนรถท่ีวิ่งผาน รวมถึงยังสามารถติดตามรถสูญหายไดรวดเร็วข้ึน เพราะมีสัญญาณบอกตําแหนงท่ีตั้งของรถได การรักษาความปลอดภัยดาน IT จะเนนไปทาง "การรักษาความปลอดภัยดิจิตอล" เพ่ือรองรับกับความทาทายใหมๆ ดังนั้นกลยุทธการรักษาความปลอดภัยดานไอทีท่ีเคยถูกกําหนดหรือจัดทําไวแตเดิม จะตองมีการปรับเปลี่ยนขยายตัว โดยการขยายตัวนี้นักวิเคราะหของ Gartner แจงวาจะนําไปสูงานท่ีซับซอนมากข้ึน เชน จะมีการเพ่ิมตําแหนงงาน "เจาหนาท่ีประเมินความเสี่ยงดิจิตอล" ท่ีจะตองมีหนาท่ีคิดและกําหนดความเสี่ยงท่ีเก่ียวของกับ "นวัตกรรมดิจิตอล" ทุกชนิดท่ีธุรกิจนํามาใชเพ่ิมข้ึนมา

บทบาทของ เจาหนาท่ีประเมินความเสี่ยงดิจิตอล คือ การประเมินทุกดานของการเชื่อมตอดิจิตอล รวมถึงสถานท่ีท่ีมีการเชื่อมตอทุกอยางท่ีมาจาก IoT ดวย เพ่ือใหแนใจวาการรักษาความปลอดภัยสามารถแบงยอยออกเปนลานๆ สวนไดในกรณีท่ีจําเปน นวัตกรรมดิจิตอลใดๆ จะตองไดรับการตรวจสอบโดยเจาหนาท่ีประเมินความเสี่ยงดิจิตอลซ่ึงเปนผูท่ีไดรับการคาดหวังวาจะสามารถกํากับดูแลงานท่ีปกติ CISO (Chief Information Security Officer) ทําอยู เชน การรักษาความปลอดภัยเครือขายองคกรและการปฏิบัติตามขอกําหนดตางๆ ได

กลุมของการประยุกตใชงาน ปจจุบัน IoT แบงตามการนําไปใชประโยชนไดเปน ๖ ประเภท โดยจะอยูกลุมหลักๆ สองกลุม คือ กลุม

ขอมูลและการวิเคราะห ( Information and Analysis) และกลุมระบบตอบสนองอัตโนมัติและควบคุม (Automation and Control)

1) กลุมขอมูลและการวิเคราะห (Information and Analysis) ไดแก o Tracking behavior ใชประโยชนในการติดตามพฤติกรรม รวมท้ังติดตอสื่อสารกับสินคา

เชน บริษัทขายปลีก ตัวเซ็นเซอรจะชวยรวบรวมขอมูลของสมาชิกและเสนอสวนลดสินคา

เม่ือมีการกลับมาซ้ือสินคาชนิดนั้นซํ้า

o Enhance situational awareness ขอมูลท่ีไดจากตัวเซ็นเซอรสามารถรายงานสภาพ

ของสิ่งแวดลอม เพ่ือจะชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการตัดสินใจ เชน ระบบความปลอดภัย

จะใชตัวเครือขายเซ็นเซอรซ่ึงรวมเอาระบบภาพ เสียง และตัวจับการสั่นสะเทือน เพ่ือชี้ถึง

บุคคลท่ีไมไดรับอนุญาตเขามา

o Sensor –driven decision analytics ใชประโยชนในการวางแผนและการตัดสินใจระยะ

ยาวท่ีสลับซับซอน โดยเทคโนโลยีจําเปนตองใชการรวบรวมขอมูลจํานวนมากและระบบ

คํานวณท่ีใชกับระบบซอฟตแวรท่ีทันสมัยท่ีจะสามารถแสดงขอมูลกราฟกสําหรับการ

Page 9: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๓

วิเคราะห เชน ในอุตสาหกรรมและแก็สธรรมชาติ การใชระบบเครือขายตัวเซ็นเซอรระบุ

ตําแหนงท่ีแมนยํา จะชวยลดคาใชจายจํานวนมาก และยังปรับปรุงการขนสงไดดีข้ึน

2) กลุมระบบตอบสนองอัตโนมัติและควบคุม (Automation and Control) o Process optimization ชวยพัฒนากระบวนการตางๆ ใน บางอุตสาหกรรม เชน การ

ผลิตสารเคมี ไดทําการติดตั้งเซ็นเซอรจํานวนมากเพ่ือควบคุมระบบท่ีดีกวา โดยเซ็นเซอร

เหลานี้จะชวยรวบรวมขอมูลไปยังระบบคอมพิวเตอร เพ่ือทําการเปลี่ยนแปลงกระบวน

การอุณหภูมิและสวนผสม

o Optimized resource consumption เครือขายตัวเซ็นเซอรและตัวเซ็นเซอรตอบรับ

อัตโนมัติ สามารถชวยวิเคราะหประมาณการบริโภคทรัพยากรไดอยางเหมาะสม เชน

พลังงาน และ น้ํา ในสหรัฐอเมริกาไดนําตัววัด “smart” ซ่ึงชวยแสดงการใชพลังงานผาน

เครื่องมือท่ีสามารถแสดงใหเห็นถึงการใชพลังงาน และคาใชจายตามท่ีเกิดข้ึนจริงแกลูกคา

รายยอยและรายใหญ ดวยขอมูลการคิดราคาตามท่ีใช

o Complex autonomous systems ระบบอัตโนมัติท่ีสมบูรณ สามารถตอบสนองตอสถานการณปจจุบันทันดวนไดอยางรวดเร็ว โดยระบบนี้ไดเลียนแบบการตอบสนองของมนุษยแตในระดับซ่ึงสูงกวา เชน ในอุตสาหกรรมรถยนตราคาสูง ไดมีการพัฒนาระบบเบรกอัตโนมัติ เพ่ือปองกันการชน

Security of Everything เราคงไดรูจัก Internet of Things (IoT) กันมาแลว ปจจุบันมีคําวา Internet of Everything (IoE)

ถูกบัญญัติข้ึน ความหมายของ IoE ก็คือทุกสิ่งในชีวิตประจําวันของเราสวนใหญลวนแตเชื่อมกับอินเทอรเน็ต ไมเฉพาะคอมพิวเตอร หรือ Tablet และ Smartphone อีกตอไป แตหมายถึงอุปกรณไฟฟารอบตัว เชน Smart TV, Smart Device ตางๆ ท่ีใชเทคโนโลยี RFID หรือ NFC จากงานวิจัยหลายสํานักสรุปไดวา จํานวน IP Devices ของโลกจะเพ่ิมข้ึนเปนสองเทาในอนาคตอันใกลนี้ ปญหาดานความม่ันคงปลอดภัยไซเบอรจะตองตามมาอยางแนนอน เพราะอุปกรณรอบตัวเราในชีวิตประจําวันกลายเปนอุปกรณท่ีตอเชื่อมออนไลนตลอดเวลากับอินเทอรเน็ต นั่นหมายถึง Hacker จากท่ัวโลกรวมท้ังผูผลิตอุปกรณ IP Devices ดังกลาวสามารถเขาถึงอุปกรณในบานเราไดทันทีถาเราปองกันอุปกรณไมดีพอ หรืออุปกรณมีชองโหวก็จะทําใหเกิดปญหาดานความม่ันคงปลอดภัยตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได

ดังนั้นเราควรทําความเขาใจและปรับตัวเขาสูยุค ( Ubiquitous Computing) เปนยุคท่ีอุปกรณของใชรอบตัวเรามีการเชื่อมตอกับอินเทอรเน็ตในลักษณะ Real Time และ Near Real Time การปดชองโหวอุปกรณตางๆ เปนเรื่องสําคัญท่ีเราจําเปนตองทําเพราะ Hacker สามารถเจาะเขาสูอุปกรณของเราไดตลอด เวลา แนะนําใหลองเขาเว็บไซต http://www.shodanhq.com/ แลวเราอาจจะพบเครื่องถายเอกสาร, เครื่องพิมพ, โทรทัศนแมกระท่ัง เครื่องซักผาหรือตูเย็น ปรากฏวาเปนอุปกรณท่ีกําลัง “ ONLINE” กับอินเทอรเน็ต ซ่ึงถาตั้งรหัสผานไมดี Hacker ก็สามารถเขาถึงอุปกรณไดอยางงายดาย

Page 10: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๔

ตัวอยางการประยุกตใชงาน ๑. การควบคุมระบบการจราจร เปนอีกกลไกหนึ่งในสิ่งแวดลอมท่ีไดรับผลประโยชนจากการสื่อสาร

แบบ M2M ในระบบท่ัวไปนั้น เซ็นเซอรสามารถตรวจจับไดหลายปจจัย เชน ปริมาณของการจราจรและความเร็ว เซ็นเซอรจะทําการสงขอมูลเหลานี้ไปสูคอมพิวเตอรโดยใช software ท่ีออกแบบพิเศษท่ีควบคุมอุปกรณควบคุมการจราจรอีกทีหนึ่ง อยางเชน สัญญาณไฟ และสัญญาณสัญลักษณตางๆ โดยการใชขอมูลท่ีไดมา software จะจัดการใหอุปกรณควบคุมการจราจรทํางานโดยใหการจราจรนั้นสะดวกท่ีสุด

๒. การประยุกตใชกับอุปกรณทางการแพทย เชน ผูปวยปญหาหัวใจ จําเปนตองมีการติดตั้งเครื่องตรวจสอบพิเศษเพ่ือรวบรวมขอมูลการทํางานของหัวใจ ขอมูลเหลานี้ถูกสงไปยังเครื่องท่ีใชในการปลูกถายกับผูปวย เพ่ือทําการปลอยกระแสไฟฟาเพ่ือแกไขการเตนท่ีผิดจังหวะ

๓. ระบบ Smart Grid ท่ีใชในระบบการวัดคาการใชงานไฟฟาโดยใชเทคโนโลยี M2M ในการสงคาท่ีวัดไดดังกลาวมายังเครื่องคอมพิวเตอรสวนกลางเพ่ือประมวลผล ในการวัดคาการใชงานไฟฟาระบบเดิม คือ ใชคนไปอานคามิเตอรตามบาน และอาคารตางๆ มีตนทุนในการดําเนินการสูง ทําใหการวัดไมสามารถทําไดบอย เทคโนโลยี M2M ทําใหเราสามารถวัดคาไดอยางตอเนื่องโดยมีตนทุนท่ีต่ํากวาอยางมาก และกอใหเกิดประโยชนในหลายๆ ทาง ประโยชนท่ีเห็นไดงายท่ีสุดคือการลดตนทุนในการวัดคามิเตอรไฟเพ่ือมาใชในการคํานวณคาใชจายท่ีไปเก็บกับลูกคา ซ่ึงในลักษณะดังกลาวเปนสิ่งท่ีการไฟฟาตองทําอยูแลวแตจะสามารถทําไดในตนทุนท่ีต่ําลงอยางมากมาย

ท่ีผานมาแนวโนมเทคโนโลยีอยาง The Internet of Things ถูกกลาวถึงกันมา โดยเฉพาะงานประชุมระดับนานาชาติ เราสามารถมองวาเปนโอกาสทางธุรกิจสําหรับแอพพลิเคชั่นตางๆ เชน บานอัจฉริยะ (Intelligence Home) ท่ีคอยเอาไวใหเราไดควบคุม ตรวจสอบ หรือตั้งการทํางานอยางอัตโนมัติ Mobile payment ท่ีชวยทําใหมีเพียงมือถือเครื่องเดียวก็สามารถควบคุมจัดการจากระยะไกล และแอพพลิเคชั่นเก่ียว กับการบอกตําแหนง อยางไรก็ตาม การพัฒนา Internet of Things ยังไมหยุดยั้งอยูเพียงเทานี้ โดยตองการความทาทายสําหรับงานวิจัยพัฒนาในดานตางๆ ดังนี้

- Internet Security เนื่องจากโลกของอินเทอรเน็ตปจจุบันเกิดปญหาความม่ันคงปลอดภัย การโจร กรรมขอมูล การโจมตี การสง Spam email และอ่ืนๆ อีกมากมาย ท้ังหมดนี้ก็จะไปเกิดใน Internet of Things ดวยเชนกันและจะยิ่งรุนแรงกวาเพราะอุปกรณตางๆ มีผลโดยตรงกับการดํารงชีวิต เชน หากสัญญาณไฟจราจรโดยเจาะระบบเปดเปนไฟเขียวรอบดานจะปองกันไดอยางไร ดังนั้นในอนาคตคงตองมีระบบ Security ในบาน ในรถ ในท่ีทํางาน สําหรับอุปกรณโดยเฉพาะ และจะมีระบบใหมๆ เหนือไปกวา firewall ท่ีมีในปจจุบัน

- ID Technology มีความสําคัญกับ Internet of Things เพราะอุปกรณจํานวนมากจะเชื่อมเชาสูอินเทอรเน็ตจะตองมีการอางอิงและเชื่อมโยงไดเชนเดียวกับการใช Barcode หรือ RFID การกําหนดมาตรฐานของ ID และโปรโตคอลในการอานการรับสง จึงเปนสิ่งท่ีจะเปนเรงดวน เราจะควบคมไฟแสงสวางในบาน ไฟแตละดวงก็ตองมี ID ใหอางถึง ใครจะเปนคนกําหนด โดยจะเปน ID มาจากโรงงาน หรือจะใชรวมกับรหัส GS๑ ซ่ึงเปนรหัสสากลท่ีใชในการบงชี้ของท่ัวโลก ซ่ึงจะตองมีการทําวิจัยและกําหนดมาตรฐานข้ึนมา

- Wireless Sensor Network หรือ WSN คนสวนมากเม่ือกลาวถึง Internet of Things จะนึกถึงเรื่อง WSN เพราะเปนการเชื่อมตออุปกรณท่ีมีโอกาสเกิดข้ึนไดมาก เพราะอุปกรณหลายประเภทไมไดมีสายเชื่อมโยงกัน การใชอุปกรณท่ีเปน wireless จึงสะดวกและทําใหเคลื่อนยายไดสะดวก WSN จะชวยท้ังรับและสงขอมูล เชนคําสั่งตางๆ หรือคําท่ีเซ็นเซอรอานไดเขามาประมวลผล หรือรับสงกับผูใช โดยจะตองงายตอการใชงาน การติดตั้ง การใชพลังงานอยางฉลาด การสื่อสารแบบ Mobile Ad Hoc หรือ muti-hop ไปยังปลายทางใหไดอยางมีประสิทธิภาพ และจะตองพิจารณาถึงความปลอดภัยและระบบชี้ตําแหนงใหรอบคอบดวย

Page 11: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๕

๑๐ อันดับการประยุกตใช Internet of Things

เว็บไซต IoT Analytics ไดทําการสํารวจและจัดอันดับ โดยรวบรวมจากแหลงบนอินเทอรเน็ตยอดนิยมหลักๆ ๓ แหลงดวยกัน คือ ๑) สถิติการคนหาใน Google, ๒) การแชรบน Twitter และ ๓) จากท่ีมีคนพูดถึงบน Linkedin ผลสํารวจและจัดอันดับมี ดังนี้

รูปจาก iot-analytics.com

๑. Smart home

รูปจาก www.witura.com

ในฐานขอมูลของ IoT Analytics มีบริษัทรวมถึง startup ตางๆ อยูมากถึง ๒๕๖ บริษัทท่ีทําเรื่อง Smart Home อยูในตอนนี้ และมีการเปดใหใชงานแอพพลิเคชันทางดาน IoT อยูในปจจุบัน จํานวนเม็ดเงินท่ี

Page 12: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๖

มีการลงทุนไปใน Smart Home ของบริษัท Startup ในปจจุบันมีนั้นเกิน ๒ .๕ พันลานเหรียญไปแลว ซ่ึงยังไมไดนับรวมบริษัท startups ชื่อดังอยางเชน Nest หรือ AlertMe และบริษัทขามชาติดังๆ อยางเชน Philips, Haier หรือ Belkin เปนตน

๒. Wearables

รูปจาก www.thalmic.com

Wearable devices ยังเปนประเด็นรอนแรงท่ีทุกคนพูดถึง และในไทยเองคอนขางเห็นไดชัดเจนจากสินคาหลายๆ คายท่ีมาวางขายกันแลว ไมวาจะเปนจาก Sumsung, Jawbone หรือ Fitbit Apple smart watch ยังมีจากคายอ่ืนๆ อีกมากมายท่ีทําออกมาไดอยางนาสนใจ เชน Sony ท่ีมีท้ังนาฬิกา และสายรัดขอมือ, Myo ท่ีสั่งงานดวยการเคลื่อนไหว ( Gesture control) หรือแมแต LookSee ท่ีเปนกําไลขอมือออกแบบมาอยางสวยงาม จากท้ังหมดของบริษัท Startup ทางดาน IoT สําหรับ Wearable แลว จนถึงตอนนี้ดูเหมือน Jawbone จะเปนบริษัทท่ีทุมเงินลงทุนไปมากท่ีสุด นาจะมากกวา ๕๐๐ ลานเหรียญไปแลว ๓. Smart City

รูปจาก www.districtoffuture.eu

Smart city รวมไปถึงตั้งแตระบบจัดการการจราจรไปจนถึงระบบจัดการน้ํา จัดการขยะ ระบบตรวจ จับและเฝาระวังความปลอดภัยและสิ่งแวดลอมในสังคมเมือง แตสิ่งท่ีถู กพูดถึงมากท่ีสุดคือ พลังงานท่ีหลายๆ เมืองไดสัญญาวาจะมาชวยบรรเทาในการใชชีวิตในเมืองของทุกวันนี้

Page 13: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๗

๔. Smart grids

รูปจาก www.purdue.edu

Smart grid เปนเรื่องคอนขางเฉพาะเจาะจงอีกเรื่องหนึ่ง ในอนาคตนั้น smart grid จะเขามาใชขอมูลเก่ียวกับพฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาท้ังภาคธุรกิจและครัวเรือน ในรูปแบบท่ีจะเปนอัตโนมัติมากข้ึนในการเพ่ิมประสิทธิภาพ ความนาเชื่อถือและเศรษฐศาสตรของพลังงานไฟฟาเอง

๕. Industrial internet

รูปจาก www.theextramilewithcharlie.com

Industrial internet ซ่ึงหมายถึง IoT สําหรับภาคอุตสาหกรรมและโรงงานการผลิต ขณะท่ีบริษัททาง ดานวิจัยทางการตลาดเชน Gartner หรือบริษัททางดานเครือขายเชน Cisco ไดมองวา Industrial internet นี้โอกาสและความเปนไปไดมากท่ีสุด แตก็ไมใชสินคาสําหรับผูบริโภคท่ัวไป

Page 14: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๘

๖. Connected car

รูปจาก www.wired.com

Connected car เปนสวนท่ีมีการปรับตัวชากวาในรูปแบบอ่ืนๆ เนื่องจากวงรอบในการพัฒนาในวงการอุตสาหกรรมรถยนตจะใชเวลาประมาณ ๒ -๔ ป เรายังไมไดเห็นการพูดถึงในเรื่องนี้มากเทาไหรในชวงท่ีผานมา ในสวนของ BMW และ Ford ก็ยังไมไดประกาศออกมาเปนรูปรางมากนัก ถึงแมทาง Google, Microsoft และ Apple ไดประกาศเปดตัวฟอรมสําหรับ connected car ไปกันบางแลว

๗. Connected Health (Digital Health/Telehealth/Telemedicine)

แนวคิดของระบบ Connected Health, Digital Health หรือ Smart Medical ยังไมไดเปนท่ีแพร หลายนักในขณะนี้ แตก็มีหลายๆ บริษัท ไดปลอยตัวระบบและอุปกรณมาใหเห็นกันบางแลวอยางเชน CellScope หรือ Swaive

รูปจาก www.electronics-eetimes.com

Page 15: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๙

๘. Smart retail

รูปจาก www.servicedesignmaster.com

สําหรับ Smart retail นั้นจะเขามาชวยหางรานตางๆ ไดเปนอยางดีในการเพ่ิมประสบการณท่ีดีสําหรับลูกคาในการซ้ือสินคา ระบบนี้ยังเริ่มตนไดไมนานนักและเปนสินคาเฉพาะกลุม เร็วๆ นี้คงไดเห็นกันมากข้ึน

๙. Smart supply chain

รูปจาก www.aimms.com

ระบบนี้จะเปนโซลูชั่นท่ีเขามาชวยติดตามสินคาท่ีกําลังขนสงไปตามทองถนน ซ่ึงระบบนี้จริงๆ แลวไดมีการใชงานมาบางแลว แตเม่ือพูดถึงในมุมมองของ Internet of Things ดูเหมือนวาจะยังมีการพูดถึงอยูในวงจํากัด

Page 16: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป หนาท่ี ๑๐

๑๐. Smart farming

รูปจาก www.ragusanews.com

Smart farming บอยครั้งท่ีถูกมองขามเม่ือพูดถึง Internet of Things เพราะเนื่องจากมันไมคอยเปนท่ีรับรูหรือถูกนึกถึงเม่ือเทียบกับดานสุขภาพ มือถือ หรืออุตสาหกรรม แตอยางไรก็ตามเนื่องจากการทําไรนาสวนตางๆ เปนการปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีท่ีคอนขางหางไกล ฉะนั้นการนํา Internet of Things มาประยุกตใชเพ่ือทําการมอนิเตอรจึงเปนอะไรท่ีสามารถปฏิวัติวงการการทําเกษตรไดเลยทีเดียว

Page 17: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) หนาท่ี ๑๑

สวนที่ ๒ ทําความเขาใจเร่ือง Internet of Things (IoT)

แนวคิด Internet of Things แนวนิด Internet of Things นั้นถูกคิดข้ึนโดย Kevin Ashton ในป ๑๙๙๙ ซ่ึงเขาเริ่มตนโครงการ

Auto-ID Center ท่ีมหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT จากเทคโนโลยี RFID ท่ีจะทําใหเปนมาตรฐานระดับโลกสําหรับ RFID Sensors ตางๆ ท่ีจะเชื่อมตอกันได ตอมาในยุคหลังป ๒๐๐๐ โลกมีอุปกรณอิเล็กทรอนิกสออกมาเปนจํานวนมากและมีการใชคําวา Smart ซ่ึงในท่ีนี้คือ smart device, smart grid, smart home, smart network, smart intelligent transportation ตางๆ เหลานี้ลวนมีโครงสรางพ้ืนฐานท่ีสามารถเชื่อมตอกับโลกอินเทอรเน็ตได ซ่ึงการเชื่อมตอเหลานั้นเองก็เลยมาเปนแนวคิดท่ีวาอุปกรณเหลานั้นก็ยอมสามารถสื่อสารกันไดดวยเชนกันโดยอาศัยตัว Sensor ในการสื่อสารถึงกัน นั่นแปลวานอกจาก Smart devices ตางๆ จะเชื่อมตออินเทอรเน็ตไดแลว มันยังสามารถเชื่อมตอไปยังอุปกรณตัวอ่ืนไดดวย โดย Kevin นิยามมันไวตอนนั้นวาเปน “internet-like” หรือพูดงายๆ ก็คืออุปกณอิเล็กทรอนิกสสามารถสื่อสารพูดคุยกันเองได ซ่ึงศัพทคําวา “Things” ก็แทนอุปกณอิเล็กทรอนิกสท่ีกลาวมากอนหนานี้นั่นเอง

Kevin Ashton ผูท่ีถูกยกยองใหเปนบิดาของ Internet of Things

A wireless sensor network (WSN)

ตัวแปรสําคัญสําหรับ Internet of Things ท่ีใชในการสื่อสารนั้นไมเพียงแต Internet network เพียงเทานั้นแตยังมีตัวแปรอ่ืนเขามาเก่ียวของอีกนั่นคือ Sensor node ตางๆ จํานวนมากท่ีทําใหเกิด wireless sensor network (WSN) ใหกับอุปกรณตางๆ สามารถเชื่อมตอเขามาได ซ่ึงเจา WSNs นี่เองสามารถตรวจจับปรากฏการณตางๆ (physical phenomena) ในเครือขายไดดวย ยกตัวอยางเชน แสง อุณหภูมิ ความดัน เปนตน เพ่ือสงคาไปยังอุปกรณในระบบใหทํางานหรือสั่งงานอ่ืนๆ ตอไป

Page 18: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) หนาท่ี ๑๒

ภาพอธิบาย Wireless Sensor Network โดย purelink.ca

Access Technology การพัฒนา Internet of Things นั้นนอกจากจะพัฒนาเทคโนโลยีในฝง Hardware ไดแก

processors, radios และ sensors ซ่ึงจะถูกรวมเขาดวยกันเรียกวา a single chip หรือ system on a chip (SoC) แลว ก็ยังพัฒนา WSN ไปพรอมๆ กันดวย และเม่ือพูดถึงการเชื่อมตอปจจุบัน ไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีสําหรับการเชื่อมตอสําหรับ Access Technology ท้ังหมด ๓ เรื่องไดแก

๑. Bluetooth 4.0 ๒. IEEE 802.15.4e ๓. WLAN IEEE 802.11™ (Wi-Fi)

โดยในแตละ Access Technology นั้นมีการสงขอมูลท่ีแตกตางกันดังนี้

IEEE 802.15.4e Bluetooth WLAN IEEE 802.11

Frequency ๘๖๘/๙๑๕ MHz ๒.๔ GHz ๒.๔ GHz ๒.๔, ๕.๘ Ghz

Data rate ๒๕๐ Kbps ๗๒๓ Kbps ๑๑ – ๑๐๕ Mbps

Power Very low Low High

Gateway Sensor Nodes

เม่ือมีโครงขาย Sensor nodes แลวก็จําเปนจะตองมี Gateway Sensor Nodes เพ่ือจะเชื่อมตอไปยังโลกอินเทอรเน็ตดวย โดยตัว Gateway นี้จะทําหนาท่ีเชื่อมตอไปยังเครือขาย Internet ใหอุปกรณท้ังหมดในโครงขาย Sensor nodes ท้ังหมดสงขอมูลเขาสูอินเทอรเน็ตไดนั่นเอง และเจา Gateway ท่ีวานี้ก็จะอยูภายใต Local network ซ่ึงจะมีการกําหนดกันตอไปวา Gateway ภายใต Local network ท่ีวานั้นจะใหเชื่อมตอไปยัง

Page 19: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) หนาท่ี ๑๓

Internet ไดดวยหรือไม ถาไมไดอุปกรณท่ีเชื่อมเขามาใน Gateway ก็อาจจะสื่อสารกันไดเฉพาะภายใน Local network เองไดเทานั้น

ภาพแสดง WSN Nodes

ภาพ Diagram อธิบายการเชื่อมตอ Gateway หลายๆตัวเขากับ local network

การแบงกลุม Internet of Things

ปจจุบันมีการแบงกลุม Internet of Things ออกตามตลาดการใชงานเปน ๒ กลุมไดแก 1. Industrial IoT คือแบงจาก local network ท่ีมีหลายเทคโนโลยีท่ีแตกตางกันในโครงขาย Sensor

nodes โดยตัวอุปกรณ IoT Device ในกลุมนี้จะเชื่อมตอแบบ IP network เพ่ือเขาสูอินเทอรเน็ต 2. Commercial IoT คือแบงจาก local communication ท่ีเปน Bluetooth หรือ Ethernet (wired

or wireless) โดยตัวอุปกรณ IoT Device ในกลุมนี้จะสื่อสารภายในกลุม Sensor nodes เดียวกันเทานั้นหรือเปนแบบ local devices เพียงอยางเดียวอาจไมไดเชื่อมสูอินเทอรเน็ต

Page 20: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) หนาท่ี ๑๔

ภาพอธิบายแตละ Network Layers ของ Internet of Things โดย IBM

IPv6 คือสวนสําคัญของ Internet of Things

ตัวอุปกรณ IoT devices ตางๆ นั้นจะเปนจะตองมีหมายเลขระบุเพ่ือใหใชในการสื่อสาร เปรียบเสมือนท่ีอยูบานของเรานั่นเอง และการท่ีจะทําใหอุปกรณเหลานั้นท่ีมีอยูเปนจํานวนมาก (รวมถึงอนาคตท่ีจะผลิตกันออกมา) จําเปนจะตองใช IP Address Version6 หรือ IPv6 มากํากับเพ่ือใหไดหมายเลขท่ีไมซํ้ากัน และตองใชไดท้ัง

• IoT network ท่ีเปน LAN, PAN, และ BAN: Body Area Network หรือการสื่อสารของตัว Sensor กับรางกายมนุษย

• Internet network (protocols) ท่ีเปน IP, UDP, TCP, SSL, HTTP, HTTPS, และอ่ืนๆ

โปรโตคอล (Message Queue Telemetry Transport, MQTT)

MQTT เปนโปรโตคอลหรือมาตรฐานการสื่อสารขอมูลระหวางเครื่องจักรกับเครื่องจักร ท่ีสงผานขอมูลกัน machine-to-machine (M2M) บน Internet of Things โปรโตคอล MQTT ใชวิธีการพ้ืนฐานเหมือนกับมาตรฐานการสงขอความสั้น ( Message Queue) ปกติ แตไดรับการพัฒนาใหรองรับงานดาน Internet of Things มากยิ่งข้ึน อาทิ ขณะมีการรอรับและอานคาแลวยังสามารถสั่งงานอุปกรณท่ีใช MQTT ไดดวย จุดเดนท่ี

Page 21: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) หนาท่ี ๑๕

แตกตางจากโปรโตคอลอ่ืนๆ คือ โปรโตคอลนี้ตองจะตองมีอุปกรณท่ีทําหนาท่ีฝงแมขาย เรียกวา MQTT Broker เพ่ือทําหนาท่ีรับสงขอมูลไปยังอุปกรณอ่ืนท่ีใช MQTT เหมือนกัน

MQTT Protocol จะประกอบไปดวย Broker, Publisher และ Subscriber ซ่ึงแตละตัวมีหนาท่ีดังนี้ ๑. Broker จะทําหนาท่ีเปนตัวกลางคอยจัดการ message โดยอางอิงดวย topic ซ่ึงโปรแกรมท่ีใชทํา

MQTT Broker มีหลายคายใหใชงาน หนึ่งในนั้นคือโปรแกรม Mosquitto เปน OpenSource MQTT Broker สนับสนุน MQTT Broker v๓.๑/๓.๑.๑

๒. Subscriber จะทําหนาท่ีคอยดูการเปลี่ยนแปลงของ message ท่ีอางอิงดวย topic เชนสมมติวาถาหัวขอท่ีสนใจมีการเปลี่ยนแปลงก็จะดึง data มาใชงาน

๓. Publisher จะทําหนาท่ีสงขอมูลไปยังหัวขอนั้นๆ

โปรโตคอล MQTT นี้สามารถนําไปพัฒนาอุปกรณท่ีเก่ียวของตางๆ กับ Internet of Things และ Cloud service ตางๆ ไดอีกมากมาย อาทิ smart home smart office smart farm เปนตน

ท่ีกลาวมาท้ังหมดคือสวนสําคัญตางๆของ Internet of Things ท่ีกําลังเกิดข้ึนและเปน trend ท่ีกําลังมาแรงอยูในขณะนี้ สิ่งสําคัญคือ IoT ไมไดหมายถึงอุปกรณ Smart device เชน นาฬิกาอัจฉริยะ (Apple Watch) หรือสายรัดขอมือเพ่ือสุขภาพเทานั้น แตมันยังครอบคลุมไปถึงอุปกรณตางๆ อีกหลากหลายลานตัวกวางไกลไปยังหลากหลายอุตสาหกรรมอีกดวย โดยในอนาคตเราจะไดเห็นไมโครเวฟคุยกับตูเย็นใหสั่งอาหารมาเติม เครื่องซักผาคุยกับทีวีบอกคุณวาผาซักเสร็จแลว สายรัดขอมือจะคุยกับรถพยาบาลแจงใหไปรับตัวผูปวยท่ีกําลังหัวใจวาย เหลานี้คืออนาคตของ Internet of Things ท่ีสิ่งตางๆ กําลังจะคุยกันได

IoT Reference Model แบงเปน ๔ Layers ตามรูป

Page 22: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๒ ทําความเขาใจเรื่อง Internet of Things (IoT) หนาท่ี ๑๖

Layer 1 Application layer ประกอบไปดวย IoT applications. Layer 2 Service support and application support layer ประกอบไปดวย

– Generic support capabilities เปนความสามารถท่ัวไปใชกับ IoT applications, เชน data processing หรือ data storage. โดย Generic capabilities อาจถูกเรียกใชโดย specific support capabilities เพ่ือสรางความสามรถเฉพาะอ่ืนๆ ข้ึนใหม

– Specific support capabilities เปนความสามารถเฉพาะตามความตองการของ IoT applications บางชนิด Layer 3 Network layer ประกอบไปดวย

– Networking capabilities: ใชควบคุม functions การเชื่อมตอของ network เชน access and transport resource control functions, mobility management or authentication, authorization and accounting เปนตน

– Transport capabilities: ใชควบคุมการสงผานของ IoT service และขอมูลเฉพาะของ application รวมท้ังการสงผานของขอมูล IoT-related control and management Layer 4 Device layer ประกอบไปดวย

– Device capabilities: – Gateway capabilities:

นอกจากนี้ ตัว Model ยังประกอบไปดวยความสามารถดาน Management capabilities และ Security capabilities เพ่ิมเติมโดย

Management capabilities คลอบคลุม traditional fault, configuration, accounting, performance และ security (FCAPS) classes

Security capabilities ประกอบไปดวย generic security capabilities และ specific security capabilities. หมายเหต ุรายละเอียดเพ่ิมเติมศึกษาไดจากเอกสาร “Overview of the Internet of Things” ITU-T Y.2060 (06/2012) โดยสามารถ Download ไดท่ีเว็บไซต https://www.itu.int/rec/T-REC-Y.2060-201206-I

Page 23: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๑๗

สวนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT

เนื่องจากอุปกรณฮารดแวรในปจจุบันมีแนวโนมพัฒนาไปในดานการเชื่อมตอระหวางกันมากยิ่งข้ึน ทํา

ใหโลกเขาสูยุคของสิ่งตางๆ เชื่อมตอและสงขอมูลระหวางกันอยางอิสระ ดังนั้นความรูความเขาใจและทักษะในการเขียนซอรฟแวรเพ่ือควบคุมและสงขอมูลผานฮารดแวรท่ีเชื่อมตอผานอินเทอรเน็ตจึงเปนสิ่งสําคัญ โดยมี Platform อยูมากมายใหเลือก เชน NETPIE ในประเทศไทย และ Tools ของตางประเทศอยูมากใหเลือกใช (ดังรายชื่อตางๆ ไดในภาคผนวก) เปนตน

NETPIE NETPIE คือ Cloud Platform + MicroGear Libraries ท่ีใหบริการในรูปแบบ Platform-as-a-

Service เพ่ือจะอํานวยความสะดวกใหกับนักพัฒนาสามารถพัฒนาใหอุปกรณของตัวเองเชื่อมตอและแลก เปลี่ยนขอมูลกันไดในแบบ Internet of Things

การใชงาน NETPIE คือการออกแบบสรางสิ่งประดิษฐท่ี เรียกวา “ไมโครเกียร ( Microgear)” เขาใจงายๆวา Microgear อาจเปนคอมพิวเตอรท่ีคุณใชอยูทุกวัน , smartphone อยาง iPhone และ Android, บอรด embedded ท่ีกําลังไดรับความนิยมอยาง Raspberry Pi และ Beagle Bone Black หรือ microcontroller ราคาไมแพงอยาง Arduino และ ESP8266 หรือแมแต browser อยาง Chrome และ Firefox ก็สามารถประดิษฐเปน Microgear ไดเชนกัน

การสราง microgear เราจะตั้งตนจากไมโครเกียรไลบรารี่ (microgear library) คุณสามารถดาวนโหลดซ็อสโคดไดฟรีจาก https://github.com/netpieio เพียงแคติดตั้ง microgear library บน platform ท่ีตองการ หลังจากนั้นจึงออกแบบกลไกการทํางานภายใน ตามลักษณะการทํางานท่ีคุณตองการใหเปน และเชื่อมเขากับกลไกการสื่อสารของ NETPIE ท่ีดูแลโดย microgear library ดังนั้นการเขียนโปรแกรมในสวนของ IOT จึงเปนการเรียกใชฟงกชั่นสําเร็จรูปท่ี microgear library เตรียมไวใหนั่นเอง

Page 24: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๑๘

ดร.พนิตา พงษไพบูลย นักวิจัยจากหองปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีเครือขาย เนคเทค หัวหนาทีมพัฒนา NETPIE ไดอธิบายวา NETPIE (Network Platform for Internet of Everything) คือ cloud platform ท่ีถูกออกแบบและพัฒนาข้ึนเพ่ืออํานวยใหเกิดการสื่อสารระหวางอุปกรณหรือ things ในเครือขาย IoT โดยมีประโยชนตอนักพัฒนาและอุตสาหกรรมไทย อาทิ NETPIE ชวยใหอุปกรณสามารถคุยกันได โดยผูพัฒนาไมตองกังวลวา อุปกรณนั้นจะอยูท่ีใด ท้ังในแง physical และ logical เพียงนํา NETPIE library ไปติดตั้งในอุปกรณ NETPIE จะรับหนาท่ีดูแลการเชื่อมตอใหท้ังหมด ไมวาอุปกรณนั้นจะอยูในเครือขายชนิดใด ลักษณะใด หรือแมกระท่ังเคลื่อนยายไปอยูท่ีใด

ผูพัฒนาสามารถตัดปญหาในการท่ีจะตองมาออกแบบการเขาถึงอุปกรณจากระยะไกล ( remote access) ดวยวิธีแบบเดิมๆ เชน การใช fixed public IP หรือการตั้ง port forwarding ในเราทเตอร หรือการตองไปลงทะเบียนกับผูใหบริการ dynamic DNS ซ่ึงท้ังหมดลวนมีความยุงยากและลดความยืดหยุนของระบบ ไมเพียงเทานั้น NETPIE ยังชวยใหการเริ่มตนใชงานเปนไปโดยงายโดยการออกแบบใหอุปกรณถูกคนพบและเขาสูบริการโดยอัตโนมัติ ( automatic discovery, plug and play) NETPIE ถูกออกแบบใหมี authorization/access control ในระดับ fine grain กลาวคือผูพัฒนาสามารถออกแบบไดเองท้ังหมด เชน สิ่งใดมีสิทธิคุยกับสิ่งใด สิ่งใดมีสิทธิหรือไม-เพียงใดในการอานหรือเขียนขอมูล และสิทธิเหลานี้จะมีอายุเทาใดหรือถูกเพิกถอนภายใตเง่ือนไขใด เปนตน NETPIE มีสถาปตยกรรมเปน cloud อยางแทจริงในทุกๆ ระดับของระบบ ทําใหเกิดความยืดหยุนและคลองตัวสูงในการขยายตัว นอกจากนี้ โมดูลตางๆ ยังถูกออกแบบใหทํางานแยกจากกันเพ่ือใหเกิดสภาวะ loose coupling และสื่อสารกันดวยวิธีการ asynchronous messaging ชวยใหแพลตฟอรมมี reliability สูง สามารถนําไปใชซํ้าและพัฒนาตอเติมไดงาย ดังนั้นผูพัฒนาไมจําเปนตองกังวลกับการขยายตัวเพ่ือรับโหลดท่ีเพ่ิมข้ึนในระบบอีกตอไป นอกจากนี้ทางเนคเทคจะเปด NETPIE library ในรูปแบบ open-source ใหนักพัฒนาสามารถนําไปปรับปรุงตอใหตรงกับความตองการใชงานโดยเปดโอกาสใหนําไปใชในเชิงพาณิชยได โดยเนคเทคหวังท่ีจะใหเกิด community ท่ีจะมารวมกันพัฒนาตอยอดสรางความเขมแข็งใหกับวงการ IoT ของไทย

ทําไมตองใช NETPIE - Leave the logistics of connectivity to us : NETPIE ชวยใหอุปกรณสามารถคุยกันไดโดยผูพัฒนาไมตองกังวลวา อุปกรณนั้นจะอยูท่ีใด ท้ังในแง

physical และ logical เพียงนํา NETPIE agent library ไปติดตั้งในอุปกรณ และ NETPIE จะรับหนาท่ีดูแลการเชื่อมตอใหท้ังหมด ไมวาอุปกรณนั้นจะอยูในเครือขายชนิดใด ลักษณะใด หรือแมกระท่ังเคลื่อนยายไปอยูท่ีใด ผูพัฒนาสามารถตัดปญหากวนใจในการท่ีจะตองมาออกแบบการเขาถึงอุปกรณจากระยะไกล ( remote access) ดวยวิธีแบบเดิมๆ เชน การใช fixed public IP หรือการตั้ง port forwarding ในเราเตอร หรือการตองไปลงทะเบียนกับผูใหบริการ dynamic DNS ซ่ึงท้ังหมดลวนมีความยุงยากและลดความยืดหยุนของระบบ ไมเพียงเทานั้น NETPIE ยังชวยใหการเริ่มตนใชงานเปนไปโดยงายโดยการออกแบบใหอุปกรณถูกคนพบและเขาสูบริการโดยอัตโนมัติ (automatic discovery, plug and play)

- Leave the security concern to us : NETPIE ถูกออกแบบใหมี authorization/access control ในระดับ fine grain กลาวคือผูพัฒนาสามารถ

ออกแบบไดเองท้ังหมด เชน สิ่งใดมีสิทธิคุยกับสิ่งใด สิ่งใดมีสิทธิหรือไม-เพียงใดในการอานหรือเขียนขอมูล และสิทธิเหลานี้จะมีอายุเทาใดหรือถูกเพิกถอนภายใตเง่ือนไขใด เปนตน

Page 25: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๑๙

- Leave the scalability to us : NETPIE มีสถาปตยกรรมเปน cloud อยางแทจริงในทุกๆ ระดับของระบบ ทําใหเกิดความยืดหยุน และ

คลองตัวสูงในการขยายตัว นอกจากนี้ โมดูลตางๆ ยังถูกออกแบบใหทํางานแยกจากกันเพ่ือใหเกิดสภาวะ loose coupling และสื่อสารกันดวยวิธีการ asynchronous messaging ชวยใหแพลตฟอรมมี reliability สูง สามารถนําไปใชซํ้า และพัฒนาตอเติมไดงาย ดังนั้นผูพัฒนาไมจําเปนตองกังวลกับการขยายตัวเพ่ือรับโหลดท่ีเพ่ิมข้ึนในระบบอีกตอไป

จุดเดนของเทคโนโลยี (Innovation Statement) - ออกแบบเพ่ือรองรับการขยายตัวของระบบไดอยางไรขีดจํากัด - ทุกองคประกอบของแพลตฟอรมมีสวนซํ้าสํารองทําใหระบบมีความพรอมใชสูง - มีระบบบริหารจัดการ Identity ของอุปกรณท่ียืดหยุน

คุณสมบัติ - รองรับการเชื่อมตออุปกรณแบบ Plug-and-Play - รองรับการเชื่อมตอสื่อสารไดทุกท่ี ทุกเวลา - รองรับการการสื่อสารของอุปกรณจํานวนมาก - รองรับการจัดการสิทธิ์และการยืนยันตัวตนของอุปกรณท่ียืดหยุน - มี Open-source Library ท่ีรองรับระบบปฏิบัติการและฮารดแวรท่ีหลากหลาย

อัตราคาบริการ

Free Enterprise

Devices 100 > 100

AppID unlimited unlimited

Messages unlimited unlimited

rate 1 msg/s 20 msg/s

price $0 forever

Register

contact us

คําศัพทสําคัญที่ควรทราบ

- App ID กอนท่ีจะมีแอพพลิเคชั่นบน NETPIE คุณจะตองสราง app ID ข้ึนมากอนเสมอ app ID เปนสิ่งกําหนดขอบเขตการทํางานของ microgear ท่ีจะสรางตามมา จะมีแต microgear ภายใต app ID เดียวกันเทานั้น ท่ีสามารถสื่อสารกันได

- Gear Key ใชในการอางอิงตัวตน และเปนการกําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงบริการของ NETPIE สิ่งท่ีสามารถนํามาใชเปน gear key ได มีอยูดวยกันสองประเภท นั่นคือ app key และ device key

Page 26: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๒๐

o App Key เปนรหัสท่ีเปนเสมือนกุญแจหลัก (master key) หาก microgear ใช app key เปน gear key มันจะสามารถขอใชบริการทุกอยาง เทาสิทธิ์ท่ีเจาของ app id นั้นจะทําได app key อันเดียวสามารถนําไปใชกับ microgear ไดมากกวาหนึ่งตัวพรอมๆกัน จึงเหมาะกับการใชในข้ันตอนการพัฒนา หรือใชกับแอพพลิเคชั่นท่ีคุณไวใจวา microgear ของคุณจะปลอดภัย

o Device Key การนํา microgear ไป deploy ใชงานจริง คุณอาจตองการ key ท่ีจําเพาะเจาะจงกับ อุปกรณชิ้นนั้นๆ และมีการควบคุมสิทธิ์ในการเขาถึงบริการอยางรัดกุม ในกรณีนี้ขอแนะนําใหใช device key แทน app key

- Gear Secret key ทุกชนิดใน NETPIE จะมาคูกับ secret เสมอ เราใช key เปนตัวอางอิงตัวตน key จึงเปนสิ่งท่ีเปดเผยได ในขณะท่ี secret เปนสิ่งท่ีตองปกปด เพราะ microgear ใช secret สรางลายเซ็น (signature) ยืนยันตัวตัว เพ่ือปองกัน microgear ท่ีไมหวังดีมาสวมรอยใช key นั้น

Key Management Concept รูปแบบการจัดการสิทธิของแอปพลิเคชันและอุปกรณ NETPIE มีความยืดหยุนในการกําหนดสิทธิการ

เขาถึงและการยืนยันตัวตนของแอปพลิเคชันและอุปกรณ โดยผูใช NETPIE สามารถเลือกสรางระบบได 3 แบบ แบบท่ี 1 Trusted System

วิธีนี้เหมาะสําหรับ ระบบท่ีพัฒนาข้ึนเพ่ือการทดสอบ หรือระบบท่ีอุปกรณทุกตัวอยูภายใตการดูแลของเจาของระบบเดียวกัน ในแบบนี้อุปกรณทุกตัวในระบบจะถูกติดตั้ง App Key และ App Secret ชุดเดียวกัน และมีสิทธิการเขาถึงทุกอยางเหมือนกันหมด ทําใหมีความสะดวกคลองตัวสูงในการจัดการตัวตนและใชงาน ตัวอยางระบบท่ีเหมาะกับการใชงานแบบนี้ ไดแก ระบบเซ็นเซอรสภาพแวดลอมท่ีพัฒนาข้ึนเพ่ือการใชงานเฉพาะท่ี

Page 27: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๒๑

แบบท่ี 2 Third-party System

วิธีนี้เหมาะสําหรับระบบท่ีใหบริการตอบุคคลอ่ืน และ/หรือเม่ืออุปกรณอยูในสภาพแวดลอมท่ีนอก เหนือจากการควบคุมของเจาของระบบ อุปกรณทุกตัวจะใช Device Key และ Device Secret ท่ีแตกตางกัน และมีสิทธิการเขาถึง แตกตางกันไป เนื่องจากอุปกรณแตละตัวมีการระบุตัวตนท่ีแตกตางกัน วิธีการนี้มีความปลอดภัยสูง แตก็ทําใหการบริหารจัดการสิทธิและตัวตนยากข้ึนกวาแบบท่ี 1ตัวอยางระบบท่ีเหมาะกับการใชงานแบบนี้ ไดแก ระบบอุปกรณอํานวยความสะดวกในบานเชนหลอดไฟท่ีควบคุมไดผานแอปพลิเคชัน เนื่องจากผูพัฒนาไมไดพัฒนาหลอดไฟเพ่ือใชเองแตเพ่ือขายตอ เม่ือผูใชซ้ือหลอดไฟไปติดตั้งท่ีบานควรมีสิทธิในการควบคุมเฉพาะหลอดไฟในบานของตนเทานั้น ดังนั้น Key ในหลอดไฟแตละดวงตองแตกตางกัน

แบบท่ี 3 Hybrid System

Page 28: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๒๒

วิธีนี้เหมาะสําหรับระบบท่ีประกอบดวยอุปกรณของเจาของระบบเอง ซ่ึงติดตั้งดวย App Key, App Secret และอุปกรณท่ีใชงานโดยบุคคลอ่ืนซ่ึงติดตั้งดวย Device Key, Device Secret เปนการใชงานท่ีผสมผสานแบบ Trusted System และแบบ Third-party System

อุปกรณตางๆ ที ่Microgear รองรับ และ NetPIE สามารถประมวลผลไดมี ดังนี้

Arduino คือ แผงวงจรไมโครคอนโทรเลอรพ้ืนฐานท่ีนิยมใชกัน

- 8 bit microcontroller

- Extremely popular

- Simple to program

- Extend functionality by integrating shields - Price varies between 2xx-1xxx baht

Raspberry Pi (แผงคอมพิวเตอร Linux) ประกอบไปดวย

- Embedded Linux board

- ARM Cortex-A7 900 MHz

- 1 GB Ram

- HDMI

- USB ports

- Ethernet port - Price 20-35 USD

Things ท่ีเปน Mobile รองรับระบบปฏิบัติการ IOS Device / Android

Things ท่ีเปนระบบปฏิบัติการ Linux, Mac OS, Windows

Page 29: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๒๓

ESP8266 แผงวงจร Wifi และไมโครคอนโทรเลอรท่ีสามารถโปรแกรมได

- Wifi module + MCU

- 12C, SPI, PWM

- Official firmware interfaces via serial AT command

- Retail Price < 3 USD

NodeMCU Dev Kit แผงวงจรท่ีตอยอดจาก ESP8266

- Based on ESP8266 + USB to serial module

- Official firmware executes LUA script

- Price < 9 USD

Spark Core สามารถเขียนโปรแกรมผานเว็บได

- Microcontroller + Wifi

- ARM based Arduino environment

- TI CC3000 Wifi module supports smart config

- Program via web IDE

- Compile and flash over the air via a free cloud service

- Price 39 USD

Things ท่ีเปน Browser HTML5

- Pure HTML5 files running on a web browser without cooperation of web servers

ARM mbed

- STM32 Nucleo open development platform

ตัวอยาง การประยุกตใชงาน Plant sensor ดูไดท่ีภาคผนวก ข หรือท่ีเว็บไซต https://netpie.io/examples/

Page 30: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๒๔

คําถามท่ีพบบอย Q: ทําไมจึงไมสามารถใชเบอรโทรศัพทมือถือเบอรเดียวกันลงทะเบียนหลาย account A: ความจริงแลวเง่ือนไขการลงทะเบียนตาม Terms of Use คือ 1 account ตอคน ดังนั้นจึงขอจํากัดใหใชเพียง 1 account ตอ 1 เบอรโทรศัพท Q: นักพัฒนาสามารถเชื่อมตออุปกรณ (thing) กับแพลตฟอรมไดสูงสุดก่ีตัว A: แพลตฟอรม NETPIE อนุญาตใหทานเชื่อมตออุปกรณไดไมเกิน 100 ตัวตอ 1 account โดยทานสามารถตรวจสอบจํานวนและสถานะของอุปกรณท่ีเชื่อมตอไดในหนา Key Management Q: NETPIE ใชโพรโทคอลอะไรและพอรตอะไรบางในการสื่อสาร A: NETPIE ใชโพรโทคอล MQTT ในการสื่อสารกับอุปกรณ และ MQTT เรียกใชงาน TCP port 1883 ดังนั้นกรุณาตรวจสอบวาเครือขายของทานไมไดบล็อกพอรต 1883 Q: Microgear คืออะไร A: Microgear คือซอฟตแวรไลบรารี่ท่ีติดตั้งในอุปกรณหรือ thing ทําหนาท่ีอํานวยความสะดวกในการเชื่อมตอกับแพลตฟอรม NETPIE ผานฟงกชั่นตางๆ เชน connect() chat() Q: นักพัฒนามีสิทธิแกไข Microgear ไลบรารี่ไดหรือไม A: ทานสามารถแกไข ดัดแปลง Microgear ไลบรารี่ไดตามตองการ เราใหสิทธิการใชงาน Microgear ตาม Opensource ISC License คุณสามารถนํา Microgear ไปใชในผลิตภัณฑเชิงพาณิชยไดโดยไมมีขอจํากัดใดๆ Q: AppID คืออะไร A: AppID หรือ Application ID คือชื่อท่ีผูใชตั้งข้ึนเพ่ือระบุตัวตนของ thing ภายใตแพลตฟอรม NETPIE นอกจากนี้ยังสามารถระบุขอบเขตของการใชงานของแอปพลิเคชั่นไดอีกดวย โดยผูใชสามารถสราง AppID ไดเองท่ี Key Management ภายใตเมนูของ Developers Q: ทําไมตอนกําหนด AppID ระบบแจงวา AppID ท่ีตั้งข้ึนใชไมได A: AppID ใชระบุขอบเขตของแอปพลิเคชั่นภายในแพลตฟอรม ดังนั้น AppID ท้ังหมดในระบบตองมีชื่อท่ีแตกตางกัน หากระบบไมอนุญาตใหทานใช AppID นั้น แสดงวาชื่อ AppID นั้นมีผูใชอ่ืนเลือกใชไปแลว กรุณากําหนดชื่อ AppID ใหม Q: NETPIE อนุญาตใหสราง AppID ไดก่ีเบอร A: ทานสามารถสราง AppID ไดไมจํากัดจํานวนตอ 1 account Q: NETPIE เหมือนหรือตางจากแพลตฟอรมท่ีใหบริการ MQTT broker (เชน CloudMQTT) อยางไร A: NETPIE ใหบริการ MQTT broker ในรูปแบบ distributed broker โดยมีสถาปตยกรรมแบบคลาวด นั่นคือ มี MQTT broker หลายตัวทํางานรวมกันและแชรทรัพยากรกัน นอกจากนี้ NETPIE ยังมีสวนท่ีชวยบริหาร

Page 31: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๓ การพัฒนาระบบ IoT หนาท่ี ๒๕

จัดการสิทธิของอุปกรณ (device management) ท่ีชวยใหทานกําหนดสิทธิการเขาถึงขอมูล สิทธิในการสื่อสาร ของอุปกรณแตละตัว ภายในแอปพลิเคชั่นไดอยางยืดหยุน Q: NETPIE เหมือนหรือตางจากบริการของ Thingspeak หรือ Xively อยางไร A: ThingSpeak หรือ Xively เปน PaaS อยางงายสําหรับอุปกรณ IoT โดยผูใชงานสามารถสราง channel เพ่ือเปนชองทางในการสงขอมูลจากอุปกรณ เชน smartphone หรือ sensor ตางๆ สงขอมูลเขาไปเก็บไวในระบบคลาวด ตัวอยางเชน ThingSpeak จะระบุไววา ใน1 Channel สามารถสงขอมูลไดมากสุด 8 fields เปนตน หลังจากนั้น ผูใชสามารถนําขอมูลท่ีเก็บไวมาใชในการวิเคราะหหรือดูผลของขอมูลท่ีวิเคราะหผานทาง ThinkSpeak API สรุปคืออุปกรณท่ีเชื่อมตอกับแพลตฟอรมของ ThingSpeak จะสื่อสารผานดวยขอมูลบน feed สําหรับ Xively ก็เปน PaaS สําหรับ IoT ท่ีทํางานคลายกับ ThingSpeak แตของ NETPIE ตัว feed เองจะไมมีตัวตน ซ่ึงแพตลฟอรมก็จะมองไมเห็น จึงเปนจุดประสงคและแนวคิดท่ีตางกัน สวน NETPIE จะมีความยืดหยุนกวา คือมิไดระบุ data format สําหรับขอมูลท่ีตองการสงผาน API และยังเพ่ิมความสามารถของ access control ของอุปกรณอันหลากหลายของผูใชผานทางระบบบริหารจัดการ Key Manangement อีกดวย Q: การสื่อสารระหวางอุปกรณ (thing) กับ NETPIE มีความปลอดภัยแคไหน A: ความปลอดภัยภายใตการเชื่อมตอกับ NETPIE มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสําหรับการใชงาน public cloud โดยชองทางการสื่อสารอุปกรณ (thing) กับแพลตฟอรมจะไดรับการเขารหัสหรือไมข้ึนอยูกับความสามารถของตัวอุปกรณ สําหรับอุปกรณท่ีมีความสามารถสูง เชน Raspberry Pi Windows Linux หรือ Android ชองทางการสื่อสารจะเขารหัสดวย TLS/SSL สําหรับอุปกรณท่ีไมมีความสามารถในการเขา/ถอดรหัส การสื่อสารจะเปน cleartext ซ่ึงผูใชงานควรพิจารณาใหดีกอนสงขอมูลท่ีมีความสําคัญผานชองทางนี้ นอกจากนี้แพลตฟอรม NETPIE ยังใสใจกับความปลอดภัย โดยมีกลไกปองกันการจูโจมแบบ Replay Attack และมีการตรวจสอบยืนยันตัวตนวาอุปกรณ (thing) นั้นไดรับสิทธิใหรับสงขอมูล อยางไรก็ตามความปลอดภัยของระบบหรือแอปพลิเคชั่นโดยรวมยังข้ึนอยูกับการรักษาความปลอดภัยท่ีฝงอุปกรณดวย ซ่ึงผูพัฒนาควรใหความสําคัญกับการปฏิบัติตาม security best practices ท่ีอุปกรณปลายทางของตนดวย Q: ขอมูลท่ีรับสงระหวางอุปกรณ (thing) ของผูใชจะถูกเก็บไวท่ีแพลตฟอรมดวยหรือไม และเก็บนานแคไหน A: แพลตฟอรม NETPIE เปนเพียงทางผานของขอความท่ีสื่อสารกันระหวางอุปกรณ (thing) เราไมมีบริการเก็บขอมูลให ผูใชท่ีตองการเก็บขอมูลตองจัดหาพ้ืนท่ีสําหรับเก็บขอมูลเอง ซ่ึงสามารถนับเปน thing ชนิดหนึ่งท่ีเชื่อมตอกับแพลตฟอรมและ subscribe เพ่ือรับขอมูลท่ีตองการจัดเก็บ Q: NETPIE จะดูแลความเปนสวนตัวของขอมูลของผูใชอยางไร A: นโยบายความเปนสวนตัวของผูใช NETPIE เปนไปตาม Privacy Policy

Page 32: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน หนาท่ี ๒๖

สวนที่ ๔ การประยุกตใชในงานชลประทานและการเกษตร

ระบบโทรมาตร ระบบโทรมาตร ประกอบดวยสถานีสนาม และหองควบคุมหลัก โดยสถานีตรวจวัดจะทําการตรวจวัด

ขอมูล ปริมาณน้ําฝน ระดับน้ํา และการตรวจสอบสถานการณทํางานตางๆของ RTU โดยทําการติดตั้งอุปกรณในการตรวจสอบตางๆ เชน การตรวจสอบสถานะของการเปด-ปดประตู สถานะของระบบไฟฟา เปนตน ท่ีติดตั้งอยูท่ีสถานีสนามตางๆ ดังกลาว เพ่ือทําการรายงานผลขอมูลการตรวจวัดและสถานนะการทํางานของ RTU ตางๆ เขามาท่ีสถานีหลัก โดยผานระบบสื่อสาร ซ่ึงระบบสื่อสารท่ีใชในโครงการระบบโทรมาตรปจจุบันเปนระบบ GPRS (General Package Radio System) ซ่ึงการรายงานผลดังกลาวแบงเปน การรายงานผลตามรอบระยะเวลา ซ่ึงสถานีหลักจะทําการเรียกถามขอมูลตามเวลาท่ีกําหนดท่ีสถานีหลัก และการรายงานผลตามเหตุการณท่ีเกิดข้ึน โดยสถานีสนามจะรายงานสถานการณตางๆ เขาไปท่ีหองควบคุมหลักทันทีท่ีเกิดเหตุการณข้ึนโดยท่ีไมตองรอใหสถานีหลักเรียกถาม (Event Mode) อยางไรก็ตามการรายงานผลตามเหตุการณท่ีเกิดข้ึน จําเปนจะตองตั้งคาพารามิเตอรตางๆ เพ่ือใชเปนเกณฑในการรายงานขอมูล

นอกจากการรายงานขอมูลดังกลาวแลว ท่ีสถานีสนามไดทําการติดตั้งกลองเพ่ือใชในการบันทึกภาพสงกลับมายังสถานีหลัก เพ่ือการแสดงผลขอมูลทางภาพประกอบกับขอมูลสถานีตางๆ จากสถานีสนามดวย

รูปท่ี ๑. การสงขอมูลของระบบโทรมาตร

การติดตอสื่อสารระหวางสถานี การติดตอสื่อสารระหวางสถานีเปนการติดตอสื่อสารโดยใชระบบ GPRS โดยระบบ GPRS ท่ีสถานีสนามจะถูกสงขอมูลเขาเครือขายของผูใหบริการ ( AIS และ DTAC) และจากเครือขายผูใหบริการ ( AIS และ DTAC) จะถูกเชื่อมเขามาท่ีสถานีหลักกรมชลประทาน สามเสน โดยผานระบบวงจรเชา Leased Line ของแตละผูใหบริการ

การออกแบบระบบโดยใชเทคโนโลยี IoT จะเห็นไดวาระบบโทรมาตรเดิมมีขอเสีย ดังนี้

๑. ทุกครั้งท่ีมีการเพ่ิมสถานีวัดจําเปนตองมีการตั้งคาระบบ (config) ท่ีตัว RTU และแมขายปลายทางเสมอ ซ่ึงตองใชผูชํานาญอุปกรณ RTU แตละยี่หอ และทําใหเสียเวลามาก

Page 33: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน หนาท่ี ๒๗

๒. การสงขอมูลจากจุดวัดของทุกสถานี ขอมูลจะมารวมกันท่ีผูใหบริการ จากนั้นจึงมีการเชาใชสาย Leased Line จากผูใหบริการมายังกรมชลประทานสามเสน การใชวิธีดังกลาวทําใหเสียคาใชจายสูง และไมสามารถรับประกันความปลอดภัยของขอมูลท่ีอยูกับผูใหบริการได

หากนําเทคโนโลยี IoT มาใชโดยปรับเปลี่ยนอุปกรณสื่อสารท่ี RTU เปนแบบ Microcontroller + Wifi ท่ีสามารถโปรแกรมไดและใชบริการเก็บขอมูลแบบ Cloud ของ NetPIE Cloud Platform จะสามารถตัดปญหาดังกลาวไดโดยสิ้นเชิง โดยอุปกรณแตละจุดจะมีลักษณะเปน Plug and Play ไมจําเปนตองมีการ config ระบบใดๆ ท้ังสิ้น และขอมูลท่ีสงมาจะถูกเก็บและรวมอยูท่ี Cloud ซ่ึงมีความปลอดภัยมากกวาของเอกชน เพราะเปนบริการของหนวยงานภาครัฐโดยตรง ดังนั้นหากมีการออกแบบระบบใหมจึงเห็นควรนําเอาเทคโนโลยี IoT มาประยุกตใชแทน เพ่ือเกิดประโยชนสูงสุด

ระบบโทรมาตรเคลื่อนที่ขนาดเล็ก เปนโครงการท่ีนําเอาเทคโนโลยีของอุปกรณ Field Server มาประยุกต ปรับใชใหเหมาะสมกับประเทศไทย โดยเริ่มศึกษา พัฒนา ทดสอบ โดยเนคเทค และตอมาโอนยายงานไปอยูกับสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร ทําใหไดตนแบบอุปกรณท่ีเหมาะสมกับการใชงานในประเทศไทย ท้ัง เรื่องหัววัด การเชื่อมตอ และการสื่อสาร และเม่ือทําไปทดสอบใชงานเพ่ือเสริมการทํางานในระบบโทรมาตรท่ีหนวยงานมีใชอยู เชน กรมชลประทาน ไดเริ่มนําระบบโทรมาตรเคลื่อนท่ีขนาดเล็ก ไปติดตั้งและทดสอบการทํางาน ณ โครงการตางๆ ของกรมชลประทาน ท่ีตองการขอมูลระดับน้ํา และ ปริมาณน้ําฝน ชนิดอัตโนมัติและสงขอมูลทันทีทันใด (Automatic & Real-Time) เชน ท่ีลุมน้ําเพชรบุรี ลุมน้ําปราณบุรี ลุมน้ําเจาพระยา ลุมน้ําจันทบุรี ลุมน้ําปง เปนตน

การทํางานของระบบ

Page 34: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน หนาท่ี ๒๘

อุปกรณควบคุมการทํางานและสงขอมูล มีไมโครคอนโทลเลอรเปนอุปกรณควบคุมการทํางานท้ังหมด พัฒนาและเขียนโปรแกรมข้ึนใชเอง ทําใหสามารถปรับแตง แกไขระบบไดตามตองการ โดยมีระบบนาฬิกาของเครื่อง บันทึกและสั่งงานตามท่ีกําหนดไดอีกท้ังยังสงขอมูลในรูปแบบมาตรฐาน RS232 ไปยังอุปกรณสงขอมูลผาน GPRS และยังสามารถบันทึกขอมูลไวใน Flash Memory ของเครื่อง เพ่ือผูใชสามารถถอด Memory ไปอานขอมูลภายหลังได ลักษณะการทํางานของชุดควบคุม คือ เปนการตั้งคาชวงเวลาท่ีตองการวัดขอมูล และสงขอมูลทันทีเม่ือถึงเวลาท่ีกําหนด ตั้งแต ทุก นาที ทุก 10 นาที ทุกชั่วโมง หรือ ทุกวัน โดยขอมูลท่ีไดอยูในรูปของขอความ สงขอมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอรแมขายผานเครือขายโทรศัพทเคลื่อนท่ี GPRS เพ่ือประมวลผลและแสดงผลไดทันที โดยมีคาเวลาท่ีตรวจวัดกํากับไวเสมอ ผูใชสามารถนําเครื่องคอมพิวเตอรมาเชื่อมตอกับอุปกรณเพ่ือดูคาขอมูลไดโดยตรง โดยไมตองใชโปรแกรมพิเศษ และยังสามารถนําขอมูลไปใชงานไดทันทีในรูปของตารางหรือกราฟ จากโปรแกรม Excel อีกดวย ระบบแสดงผลของคอมพิวเตอรแมขายสามารถแสดงผลในรูปแบบตางๆ ผานทาง Web site หรือ หนาจอโทรศัพทเคลื่อนท่ี ดวย WAP page โดยสามารถเลือกดูขอมูล ตําแหนงท่ีตั้ง ชวงเวลาไดตามตองการ ในรูปแบบของขอมูลตัวเลขเชิงสถิติ กราฟ ตาราง สถานะ การทํางานของเครื่องและแสดงผลในรูปแบบของภูมิสารสนเทศ (GIS) ผานอินเทอรเน็ตได โดยภาพรวมแลว หากทาง NECTEC ไมไดออกแบบระบบโทรมาตรเคลื่อนท่ีขนาดเล็กนี้โดยใชเทคโนโลยี IoT ก็สามารถปรับเปลี่ยนและนําเทคโนโลยี IoT มาประยุกตใชได

การประยุกตใชงานอ่ืนๆ

๑. ดานท่ีอยูอาศัย (Habitat) / ส่ิงแวดลอม (Environment) ไดแก - การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (microclimate changes) - แหลงท่ีอยูของสัตว (animal habitat) - ไฟปา (forest fires) - แผนดินเลื่อน (landslides), น้ําปา (flash floods) ๒. การประยุกตใชงานดานเกษตรกรรม (Agriculture)/ปศุสัตว (Livestock)/การเพาะเล้ียงสัตวน้ํา

(Aquaculture) ไดแก - นาขาว (paddy field), มันสําปะหลัง (cassava) - การปลูกพืชโดยไมใชดิน (hydroponics), ไรองุน (vineyards) - บอปลา (fish pond), คุณภาพน้ํา (water quality) - อนามัยปศุสัตว (livestock health) - โรงงานปุย (bioorganic fertilizer plant)

Page 35: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน หนาท่ี ๒๙

ตัวอยางงานศึกษาวิจัยดานการเกษตรโดยใช IoT

ระบบเฝาสังเกต ระดับน้ํา ความช้ืนในดิน และคา PH ในแปลงนาขาว (Paddy Field Monitoring)

โมเดลระบบชลประทานสําหรับไรมันสําปะหลัง (Irrigating System Modeling in Cassava Field)

Page 36: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน หนาท่ี ๓๐

การพัฒนาระบบโปรแกรมสําหรับการใหน้ําในไรมันสําปะหลังโดยอิงกับระบบชลประทาน

(Software Development of Watering Process System for Cassava Rai based on Irrigation System Modeling)

โรงงานผลิตปุย (Bioorganic Fertilizer Plant)

Page 37: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

สวนท่ี ๔ การประยุกตใชในงานชลประทาน หนาท่ี ๓๑

ระบบเฝาสังเกตบอปลา (Fish Pond Monitoring)

การปลูกพืชโดยไมใชดินในโรงเพาะปลูก (Hydroponics Green House)

งานศึกษาวิจัยดานการเกษตรโดยใช IoT ขางตน ลวนเปนโครงงานศึกษาในมหาวิทยาลัยตางๆ เชน มหาวิทยา ลัยเทคโนโลยสีุรนารี จังหวัดนครราชสีมา เปนตน ซ่ึงหนวยงานราชการสามารถนํามาประยุกตใชกับงานของตนเองไดเปนอยางดี

Page 38: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก

Page 39: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๓

ภาคผนวก ก

Page 40: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๔

ภาคผนวก ข

ตัวอยาง การประยุกตใชงาน Plant Sensor (24 Sep, 2015 in examples by Anun Panya)

เปนอุปกรณท่ีใชในการวัดความชื้นของดิน (Soil Moisture Sensor Module) บน NodeMCU ESP8266 ซ่ึงจะสงขอมูลมาแสดงผลบน HTML5 การรับสงขอมูลกระทําผาน Microgear Library ท่ีติดตั้งอยูบนท้ังสองฝง สวนการจัดการ การทํางานท้ังสงคาและรับคามาแสดงผลข้ึนอยูกับนักพัฒนาโปรแกรม ซ่ึงสามารถออกแบบไดเองตามตองการ ตัวอยางโปรแกรมท่ีเห็นนี้ทําข้ึนโดยใช justgate อุปกรณ (Components) 1. NodeMCU ESP8266

2. Soil Moisture Sensor Module

ผังการตออุปกรณ (Schematic Diagram)

Page 41: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๕

ผัง NodeMCU (NodeMCU pin diagram)

ภาพหมายเลขและตําแหนง pin ของ NodeMCU

การเขียนโปรแกรม (Programming)

ESP8266 NodeMCU Development Kit (Download https://github.com/netpieio/microgear-esp8266-arduino) code :

#include "MicroGear.h" #include <Arduino.h> #include <ESP8266WiFi.h> #include <ESP8266WebServer.h> #include <ESP8266mDNS.h> #include <EEPROM.h> const char* ssid = "WIFI_SSID"; const char* password = "WIFI_KEY"; #define APPID "APPID" #define GEARKEY "APPKEY" #define GEARSECRET "APPSECRET" #define SCOPE "" const int moistureAO = A0; WiFiClient client; AuthClient *authclient; int moisture = 0; int timer = 0; MicroGear microgear(client); void onConnected(char *attribute, uint8_t* msg, unsigned int msglen) { Serial.println("Connected to NETPIE..."); microgear.setName("soil_moisture_sensor"); } void setup() { Serial.begin(115200); microgear.on(CONNECTED,onConnected); Serial.println("Starting..."); if (WiFi.begin(ssid, password)) {

Page 42: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๖

while (WiFi.status() != WL_CONNECTED) { delay(500); Serial.print("."); } Serial.println("WiFi connected"); Serial.println("IP address: "); Serial.println(WiFi.localIP()); //uncomment the line below if you want to reset token --> microgear.resetToken(); microgear.init(GEARKEY, GEARSECRET, SCOPE); microgear.connect(APPID); } } void loop() { if (microgear.connected()) { microgear.loop(); timer = 0; Serial.println("connected"); microgear.loop(); moisture = analogRead( moistureAO ); //Serial.println(moisture); int tmp_moi = (int)((moisture - 424) / 6); if (tmp_moi > 100) { tmp_moi = 100; } if (tmp_moi < 0) { tmp_moi = 0; } tmp_moi = 100 - tmp_moi; char msg[128]; sprintf(msg, "%d,,,soil_moisture_sensor,soil moisture sensor", (int)tmp_moi); microgear.chat("webapp", msg); } else { Serial.println("connection lost, reconnect..."); microgear.connect(APPID); delay(timer); timer += 500; } delay(1000); }

HTML5 (Download Microgear library for html5 https://github.com/netpieio/microgear-html5)

code :

<script src="microgear.js"></script> <script src="js/raphael.2.1.0.min.js"></script> <script src="js/justgage.1.0.1.min.js"></script> <style> body { text-align: center; } #moi { width:200px; height:160px; display: inline-block; } #name { font-size: 20px; color: blue;

Page 43: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๗

} #moisture { display: none; border: 1px solid black; border-radius: 10px; padding: 5px; margin: 10px; background: aliceblue; } #nectec { padding: 10px; width:127px; height:30px; } </style> <script> var moi; window.onload = function(){ moi = new JustGage({ id: "moi", value: 0, min: 0, max: 100, title: "SOIL MOISTURE", label: "%", levelColors: ["#00fff6","#ff00fc","#1200ff"] }); }; </script> <script> const APPKEY = "APPKEY"; const APPSECRET = "APPSECRET"; const APPID = "APPID"; var microgear = Microgear.create({ gearkey: APPKEY, gearsecret: APPSECRET }); var timestamp=0; microgear.on('message',function(topic,msg) { var split_msg = msg.split(","); var timestamp_current = new Date().getTime(); //console.log(msg); if(typeof(split_msg[3])!='undefined' && split_msg[3]=='soil_moisture_sensor'){ document.getElementById("moisture").style.display = "block"; document.getElementById("name").innerHTML = split_msg[4].toUpperCase();; moi.refresh(split_msg[0]); timestamp = timestamp_current; } }); microgear.on('connected', function() { microgear.setname('webapp'); document.getElementById("data").innerHTML = '<p><img src="img/nectec_logo.png" id="nectec" onclick="location.reload()"></p>'; }); setInterval(function(){ var timestamp_current = new Date().getTime(); if((timestamp_current-timestamp)>10000){ document.getElementById("moisture").style.display = "none"; }

Page 44: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๘

},1000); microgear.resettoken(function(err){ microgear.connect(APPID); }); </script> <div id="data"></div> <div id="moisture"> <div id="name"></div> <div id="moi"></div> </div>

ผลลัพธท่ีได (Result)

หมายเหตุ อยาลืมเปลี่ยน ssid, password, APPID, APPKEY และ APPSECRET มิฉะนั้นจะไมสามารถเชื่อมตอ NETPIE ได

Page 45: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๓๙

ภาคผนวก ค

๔๙ สุดยอดเคร่ืองมือสําหรับ Internet of Things โดย Maker Mar ๑๖, ๒๐๑๕ รูจักเครื่องมือ IoT ท่ีจะเขามาชวยพัฒนาธุรกิจ และเครื่องมือสําหรับนักพัฒนา IoT

ทําความรูจัก ๔๙ เครื่องมือจากบริษัททางดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีนําเสนอบริการและเขามาตอบโจทยการใชงาน IoT ณ ขณะนี้ บริษัทเหลานี้ไดเตรียมโซลูชั่นสําหรับนักพัฒนาท่ีจะชวยในการสรางสรรคและติดตั้งระบบ IoT, หรือเปนเครื่องมือสําหรับเชื่อมตออุปกรณโรงงานท่ีจะทําใหมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งข้ึน หรือแมแตใชสําหรับเครื่องจักรแบบดั้งเดิม และแบบสําหรับเครื่องจักรท่ีติดตอกับเครื่องจักร (M2M) หรือกระท่ังเทคโนโลยีสําหรับผูบริโภคท่ีจะชวยทําใหการสื่อสารหรือดําเนินกิจกรรมระหวางอุปกรณและเครือขายทางสังคมและอ่ืนๆ ได

รูปจาก mnubo.com

๑. mnubo mnubo เปนโซลูช่ัน SaaS ท่ีไดเตรียมแพลตฟอรมสําหรับขอมูลขนาดใหญ (Big Data platform) สําหรับ Internet of Things โดยมีท้ังหมดสามโซลูช่ันคือ ๑) mnubo smartobjects cloud, ๒) mnulabs และ ๓) mnubo smartobjects analytics. Mnubo จะเขามาชวยในเชิงตรรกะทางโมเดลธุรกิจ (business logic model) และการวิเคราะหขอมูลขนาดใหญ (Big Data analytics) ทําใหมีความรวดเร็วในการปลอยสินคาหรือบริการสูตลาดมากขึ้น (time to market) ซ่ึงจะใหเราไดโฟกัสในส่ิงท่ีเราทําไดดีมีความถนัด ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ใชงานไดบนคลาวดท้ังแบบสาธารณะ (public), สวนตัว (private หรือแบบผสม (hybrid)

- สามารถสรางและปรับแตงการวิเคราะห ตัวแอพพลิเคชัน และตรรกะทางธุรกิจได

- สามารถจัดการกับขอมูล static ท่ีมีความหลักหลายและขนาดใหญไดดี

- การแสดงขอมูลท่ีเปนรูปภาพ กราฟ อ่ืนๆ (Visualizations) งายตอความเขาใจ

- มีเทมเพลตเซนเซอรและ API มีไลบราล่ีและชุดพัฒนาใหใช

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

Page 46: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๐

รูปจาก oracle.com

๒. Oracle Oracle’s Java มีช่ือเสียงทางดานซอฟตแวรฐานขอมูล และชุดพัฒนาภาษาโปรแกรมอยูแลวนั้น ตอนนี้ไดมีความพรอมท่ีจะยึดครองขอมูลในทุกๆ ตลาด ดวยโซลูช่ันฝงตัว (embedded) โดยโซลูช่ันท่ี Oracle นําเสนอนี้รวมไปถึง Java SE Embedded, Java ME Embedded, Java Embedded Suite และ Oracle Event Processing สําหรับ Java Embedded เพื่อใหเหมาะสมในแตละความตองการของแตละเทคโนโลยี. Java SE Embedded นั้นเหมาะสําหรับอุปกรณท่ีมีหนวยเก็บขอมูลไวสําหรับ Java ขนาด ๑๑ MB หรือมากกวา ขณะท่ี Java ME Embedded นั้นเปนแพลตฟอรมท่ีเหมาะสําหรับอุปกรณท่ีมีความหนวยเก็บขอมูลนอยท่ีไมสามารถรัน Java SE Embedded ได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- เก็บขอมูลแบบทันที (real-time) - รองรับอุปกรณไดหลายลานตัว - มีแพลตฟอรมสําหรับ M2M (Machine-to-Machine) - ความสามารถของซอฟตแวรเช่ือมตอท่ีไดรับการ

พิสูจนแลว คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก buglabs.net

๓. Swarm Swarm เปนชุดแพลตฟอรมในการพัฒนา IoT ท่ีจะชวยใหการเพิ่มบริการเขาไปในผลิตภัณฑทําไดโดยงาย ดวยแดชบอรดท่ีเปนศูนยกลางในการแสดงขอมูลอุปกรณซ่ึงทําไดแบบทันที (real-time) พรอมความสามารถอ่ืนๆ เชน การแจงเตือน ประวัติขอมูล การวิเคราะหและรายงาน บริษัทแมของ Swarm คือ Bug Labs ยังไดจัดเตรียมอีกเครื่องมืออ่ืนๆ คือFreeboard สําหรับใชสรางและติดต้ังแอพพลิเคชัน IoT สําหรับระดับองคกร และ Dweet.io ท่ีจําใหการแชรขอมูล Internet of Things เปนเรื่องท่ีสะดวกขึ้น ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- การแจงเตือนเหตุการณ - การแสดงผลแบบทันที (real-time) - ทํางานรวมกับ CRM/ERP ได - เก็บขอมูลประวัติยอนหลัง - การเขียนแอพสําหรับอุปกรณโดยใชภาษามาตรฐาน

ของเว็บ คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก axeda.com

๔. Axeda Axeda ไดเตรียมแพลตฟอรมไวใหใชในรูปแบบคลาวดสําหรับจัดการกับอุปกรณเช่ือมตอ IoT และ M2M โดยสงขอมูลอุปกรณเขาไปในระบบและแปลงออกมาในรูปแบบท่ีมีความหมายและนําไปใชประโยชนได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- บริการแอพพลิเคชัน เฟรมเวิรคและการจัดการขอมูล - API เปด: REST และ SOAP - ทํางานแบบ ๒-way, cloud-to-cloud ได - การแจงเตือน

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

Page 47: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๑

รูปจาก openremote.com

๕. OpenRemote OpenRemote เปนซอฟตแวรเปด (open-source) สําหรับ Internet of Things ท่ีสามารถทําใหการเช่ือมตออุปกรณ IoT ทํางานรวมกันไดไมวาจะเปนย่ีหอหรือโปรโตคอลใดก็ตาม สามารถใชไดท้ังสําหรับ iOS, Android หรือเว็บบราวเซอร ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ติดต้ังและทํางานรวมกันไดกับหลากหลายโปรโตคอล

- เปนโซลูชันท่ีสามารถปรับแตงไดตามผูพัฒนาหรือผูใชได

- เปนเครื่องมือท่ีใชงานอยูบนคลาวด คาใชจาย:

- Designer: ฟรี - Professional Designer: ๑๕๐ ยูโร (ประมาณ

๕,๓๐๐ บาท) - Professional Designer with eBox: ๓๕๐ ยู

โร (ประมาณ ๑๒,๔๐๐ บาท) - Professional Designer with eBox with Book:

๓๗๕ ยูโร (ประมาณ ๑๓,๓๐๐ บาท)

รูปจาก etherios.com

๖. Etherios Etherios เปนผูใหบริการท่ีรองรับการเช่ือมตอของอุปกรณระดับองคกร เชน การเช่ือมตอกับระบบบริหารจัดการลูกคา (CRM) อยาง Salesforce.com หรือประยุกตใชกับขอมูลผูปวยในวงการการแพทย ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- มีท้ังโซลูช่ันสําเร็จรูปและแบบปรับแตงตามลูกคา - สามารถมอนิเตอรอุปกรณไดแบบทันทัน (real-time) - โครงสรางพื้นฐานท่ีมีความปลอดภัยและยืดหยุน - ทํางานรวมกันกับ Salesforce ได

คาใชจาย: - Device Cloud: ฟรีสําหรับนักพัฒนา (ลงทะเบียน

อุปกรณสูงสุดไดถึง ๕ ชิ้น) - ทดลองฟรี ๓๐ วันสําหรับแพคเกจ The Social

Machine - ติดตอเพื่อสอบถามรายละเอียดราคา

รูปจาก iobridge.com

๗. ioBridge ioBridge สามารถเช่ือมตออุปกรณตางๆ ผานเว็บดวยบริการของ ioBridge เองท่ีมีช่ือวา RealTime.io โดยปจจุบันมีผูใชงานแลวมากกวา ๕๐,๐๐๐ คน ใน ๔๐ ประเทศท่ัวโลก ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ติดต้ังงาย - มี API สําหรับการปรับแตงแอพพลิเคชันดวยตัวเอง - บริหารจัดการผานหนาเว็บ - สามารถสรางแดชบอรดไดดวยตัวเอง

คาใชจาย: - Iota Wi-Fi Evaluation Kit: ๑๙๙

เหรียญ (ประมาณ ๖,๕๐๐ บาท) - IO-๒๐๔ Web Gateway Evaluation Kit: ๑๙๙

เหรียญ (ประมาณ ๖,๕๐๐ บาท) - ฟรีแดชบอรดสวนตัว, ฟรี Android และ iOS แอพ - ติดตอเพื่อสอบถามรายละเอียดราคา

Page 48: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๒

๘. SAP Internet of Things Solutions SAP ผูผลิตซอฟตแวร ERP รายใหญท่ีเปนท่ีรูจักกันดี ก็ไดเขามาจับตลาด IoT ดวยเหมือนกัน โดยนําเสนอไปท่ีโซลูช่ัน IoT สําหรับโลจิสติก และซัพพลายเชน ใหสามารถรับรูมองเห็น คาดการณ และลดปญหาทางดานการขนสงได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- การทํางานกับขอมูลแบบทันที (real-time) ดวยการกระจายการวิเคราะหขอมูล

- สามารถติดตามและมอนิเตอรทรัพยสินตางๆ ได - แสดงผลขอมูลแบบทันที (real-time) ดวยโซลูชัน

ครบวงจร (end-to-end) สําหรับขอมูลการขนสง ตูคอนเทนเนอร หรือสินคาท่ีกําลังขนสง

- ใชอัลกอริท่ึมท่ีทําใหสามารถคาดการณไดสําหรับการจัดการสินคาและสถานท่ีใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก zatar.com

๙. Zatar เปนโซลูช่ันบนคลาวดท่ีสามารถมองเห็นหรือตรวจจับอุปกรณของเราท่ีเช่ือมตอกับอินเทอรเน็ตได Zatar เปนแพลตฟอรมเปด (open platform) สําหรับการจัดการกับอุปกรณเครือขาย เชน M2M โดยท่ีทุกๆ อุปกรณท่ีเช่ือมตอสามารถแชรขอมูลและทํางานรวมกันไดเปนอยางดี ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- หนาตาการใชงานท่ีเปนมิตรกับผูใช - รองรับการทํางานกับทุกประเภทอุปกรณ - รองรับ REST และ JSON API - มีท้ังแอพสําเร็จรูปหรือแบบปรับแตงได

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก thingworx.com

๑๐. ThingWorx ThingWork ชวยสรางสรรคการประยุกตใช IoT ไดกับการเกษตร เมือง ระบบไฟฟา ระบบน้ํา การกอสราง ระบบขนสงเปนอยางดี และยังชวยลดตนทุนความเส่ียงในการประยุกตใช M2M และ IoT ผูใชสามารถสรางไดอยางรวดเร็ว โดยไมจําเปนตองเขียนโคด ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- มีชุดสําหรับการออกแบบ - มีระบบสําหรับคนหาและวิเคราะหขอมูล - แสดงขอมูลแบบทันที (real-time) ผานแดชบอรด - รองรับอุปกรณบนคลาวด หรือการเช่ือมตอโดยตรง

จากคายอ่ืนๆ คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก arrayent.com

๑๑. Arrayent Arrayent เปนแพลตฟอรม IoT สําหรับเช่ือมตออุปกรตางๆ โดยคายหลักๆ ท่ีทํางานรวมกันอยูไดแก Whirlpool, Maytag และ First Alert เพื่อนําเสนอโซลูชันอุปกรณอัจฉริยะสําหรับลูกคา ดวยแอพพลิเคชันท่ีเตรียมไวสําหรับท้ังระดับองคกรและผูบริโภคท่ัวไป ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- แจงเตือนผานอีเมลและ sms ได - ทํางานรวมกับ iOS และ Android ดวย push

notification ได - รองรับแพลตฟอรมการประมวลผลไดหลากหลาย

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

Page 49: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๓

รูปจาก sine-wave.com

๑๒. Sine-Wave Technologies Sine-Wave Technologies ใหบริการสําหรับแพลตฟอรม Internet of Things ประสิทธิภาพสูงสําหรับองคกร ดวยโซลูช่ันในการบริหารจัดการทรัพยสินจากระยะไกลท่ีรองรับอุปกรณจากหลายๆ คายไดเปนอยางดี และยังสามารถติดต้ังและทํางานรวมกับระบบสํานักงานหลังบานไดดวยการใช Sine-Wave’s Business Adapter Framework ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- API หนาบานท่ีรองรับ JavaScript/HTTP Servlet interface

- Device Adapter Framework เขียนดวย Java หรือ .Net

- การขยายการเติบโตแบบอัตโนมัติ โดยไมตองทําการ re-engineering

- ไลเซนซจายแบบตามการเติบโต (Pay-as-you-grow)

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก aylanetworks.com

๑๓. Ayla Networks เปนแพลตฟอรมบนคลาวด ท่ีงายสะดวกและคุมคากับคาใชจายสําหรับผลิตภัณฑ OEMs ท่ีจะเช่ือตออุปกรณเขากับอินเทอรเน็ต Anyla Network ยังมาพรอมกับชุดซอฟตแวร แบบเอเจนฝงตัวท้ังในอุปกรณท่ีเช่ือมตอและอุปกรณแบบเคล่ือนท่ี ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- การวิเคราะหพฤติกรรมของผูใช - การกําหนดสิทธิผูใชไดหลากหลาย - การกําหนดระบบอัตโนมัติดวยเงื่อนไข - ผูใชสามารถต้ังเวลากําหนดเหตุการณกิจกรรมได

คาใชจาย: - Ayla Design Kit with Murata Module: ๓๙๙

เหรียญ (ประมาณ ๑๓,๐๐๐ บาท) - Ayla Design Kit with USI Module: ๓๙๙

เหรียญ (ประมาณ ๑๓,๐๐๐ บาท) - ติดตอเพื่อสอบถามรายละเอียดราคา -

รูปจาก echelon.com

๑๔. Echelon Echlon เปนแพลตฟอร internet of thing สําหรับภาคอุตสาหกรรม (IIoT) ซ่ึงแตกตางจากแพลตฟอรมสําหรับผูบริโภคโดยท่ัวไป ดวยชุดอิตเตอรเฟสและซอฟตแวรท่ีจะเขามาชวยพัฒนาการส่ือสารและจัดการระหวางอุปกรณ ชิป สแต็กและโมดูลตางๆ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- รองรับท้ังอุปกรณท่ีมีสายสัญญาณและแบบไรสาย (wireless)

- การเก็บขอมูลจากอุปกรณหนึ่งและสงไปยังอุปกรณอ่ืนๆ

- ลงทะเบียนรูปแบบขอมูลผานไอพี - รองรับ Rasberry Pi

คาใชจาย: - ดาวนโหลดเวอรช่ันเบตาไดฟรี - ติดตอเพื่อสอบถามราคา -

Page 50: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๔

รูปจาก evrythng.com

๑๕. EVRYTHNG ผลิตภัณฑจะสามารถระบุตัวตนไดสะดวกขึ้น โดยเฉพาะประยุกตใชกับหางรานหรือผูผลิตในการทํากิจกรรมรวมกับลูกคาในการซ้ือขายสินคาหรือจัดโปรโมช่ันไดเปนอยางดี ดวย API ท่ีสามารถเขาถึงและวิเคราะหขอมูลไดแบบทันที (real-time) รวมถึงชวยใหสามารถนําขอมูลท่ีไดไปใชพัฒนาสินคาใหเหมาะกับความตองการของลูกคาได EVRYTHNG ไดจัดเตรียมชุดแพลตฟอรมตางๆไวครบท้ังหมดแลวท่ีจะชวยสรางสินคาใหมีความฉลาด มีคุณสมบัติในการปฏิสัมพันธและติดตามได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- รองรับการทํางานรวมกับระบบ CRM และ ERP - ควบคุมและจัดการผลิตภัณฑไดผานหนาเว็บ - มี URL ส้ันๆ (short URL) ท่ีเฉพาะเจาะจงสําหรับแต

ละอุปกรณ - ใชระบบความปลอดภัยดวย HTTPS และ API ท่ี

เขารหัส คาใชจาย:

- Developer Portal: ลงทะเบียนใชเวอรชันเบตาฟรี - ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก exosite.com

๑๖. Exosite Exosite จะชวยใหสามารถพัฒนาและประยุกตใช Internet of Things ไดอยางเต็มความสามารถดวยขอมูลและการแสดงผลวิเคราะหแบบทันที (real-time) และดวยเทคโนโลยีคลาวดท่ีมีความยืดหยุน และดวยแพลตฟอรมท่ีครบวงจรต้ังแตการพัฒนาจนติดต้ัง Exosite ยังชวยใหเราสามารถเขาใจขอมูลจากอุปกรณไดอยางลึกซ้ืงดวยเพียงแคปลายนิ้ว ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ใช Web Service API - การออกแบบและติดต้ังแอพ IoT ท่ีรวดเร็ว - เฟรมเวิรคสําเร็จรูปท่ีถูกสรางมาเพื่อลดความซับซอน - ชุดพัฒนาท่ีมีความหลากหลาย

คาใชจาย: - Developer Account: ฟรี (อุปกรณ ๒ ช้ิน, ๑ ผูใช) - Device Key: ๒ เหรียญ/เดือน (ประมาณ ๖๖ บาท) - User Access: ๗ เหรียญ/เดือน (ประมาณ ๒๓๐

บาท) - SMS Text: ๐.๐๓ เหรียญ/ขอความ (ประมาณ ๐.๙๙

บาท)

รูปจาก xively.com

๑๗. Xively Xively ซ่ึงเปนผลิตภัณฑของ LogMeIn (เจาของซอฟตแวรสําหรับการเขาถึงระบบจากระยะไกล – Remote Access) ไดยกระดับความสามารถของ Internet of Things ในการใหขอมูลเชิงลึกทางธุรกิจ ดวยพารทเนอรทางธุรกิจระดับโลกท่ี Xively มีท่ีเช่ือมตอกับอุปกรณของเราและการทํางานรวมกับ CRM, ERP หรือระบบธุรกิจอ่ืนๆ ได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- แพลตฟอรม IoT ท่ีมีความยืดหยุนท่ีสรางอยูบนคลาวด

- รองรับการทํางานไดหลายลานอุปกรณ - ไลบราล่ีสําหรับเครื่องลูกขาย (Client) สําหรับ iOS,

Android, JavaScript และอ่ืนๆ - ไลบราล่ีสําหรับเครื่องแมขาย (Server) สําหรับ

Ruby, Python, Java และอ่ืนๆ

Page 51: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๕

คาใชจาย: - Developer Account: ฟร ี

ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก marvell.com

๑๘. Marvell Marvell มาพรอมกับโซลูช่ันท้ังฮารดแวรและซอฟตแวรสําหรับอุปกรณ OEMs และ ODMs เชน แพลตฟอรม Marvell Wi-Fi Microcontroller Internet of Things คือแพลตฟอรมฮารดแวร/ซอฟตแวร ท่ีจะทําการเช่ือมตอกับเครื่องลูกขายท่ีเปนมือถือ, บริการบนคลาวดและอ่ืนๆ และดวยชุดซอฟตแวร Easy-Connect ท่ีมีความสามารถใหการพัฒนาเปนไปอยางรวดเร็วดวยตนทุนตํ่า ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ระบบปฏิบัติการ FreeRTOS - เฟรมเวิรคการจัดการพลังงานสําหรับแอพพลิเคชัน

พลังงานตํ่า - การส่ือสารท่ียืดหยุนสําหรับ P๒P, device-to-device - รองรับการพัฒนาบน Linux, Windows และ MacOS

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก carriots.com

๑๙. Carriots Carriots คือแพลตฟอรม IoT ท่ีทําใหการเช่ือมตออุปกรณไปสูอินเทอรเน็ตและพัฒนาแอพพลิเคชันเปนเรื่องงายเพียงแคหาขั้นตอน ดวยโปรโตคอลการส่ือสารไปกลับสองทาง , ความสามารถในการกําหนดเงื่อนไง และรองรับอุปกรณหลายประเภท หลากหลายฮารดแวรไมวาจะเปน Arduino, Raspberry Pi, Nanode และอ่ืนๆ Carriots เปนโซลูชันท่ีสมบูรณแบบสําหรับใครท่ีตองการจะมีสวนรวมในวิวัฒนาการของ IoT ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ใชระบบความปลอดภัยดวย API key, Checksums และ HTTPS

- ขอมูลถูกจัดเก็บในรูปแบบ NoSQL - จัดการปรับแตงคาการทํางานของอุปกรณไดจาก

ระยะไกล - สามารถทํางานรวมกับขอมูลและระบบอ่ืนๆ จาก

ภายนอกได คาใชจาย:

- Up to ๑๐ devices: ฟรี (๒ API keys) - Corporate: ๒ ยูโร/เดือน/อุปกรณ (ประมาณ ๗๐

บาท) (ไมจํากัดจํานวนอุปกรณและ API keys) - Private Cloud: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก arkessa.com

๒๐. Arkessa Arkessa ไดเตรียมโซลูชันในการเช่ือมตอและจัดการสําหรับ IoT ท้ังการมอนิเตอร ควบคุมส่ังงานอุปกรณท่ีเช่ือมตอ และดวยโซลูชันสําหรับองคกรขนาดใหญท่ีจะชวยใหองคกรสามารถใชประโยชนจาก IoT ในการพัฒนาเพิ่มรายได ยกระดับความพึงพอใจของลูกคา และเพิ่มมูลคาจากการควบคุมอุปกรณจากระยะไกล อีกท้ังแพลตฟอรมของ Arkessa นี้ไดรับการพิสูจนการใชงานแลวดวยเครือขายมากกวา ๕๐๐ จุดท่ีกระจายอยูท่ัวโลก ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ใหบริการในรูปแบบ PaaS ดวยโซลูช่ันแบบไลเซนทหรือเชาได

- ใหบริการท้ังแบบบนคลาวดและติดต้ังท่ีองคกรสวนตัว

- รองรับการทํางานท้ัง IoT รุนใหมและ M2M แบบด้ังเดิม

Page 52: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๖

- ไดรับการรับรองจาก Oracle - ทํางานรวมกับ CRM, ERP, และระบบ big data and

analytics - การเขารหัสตามขอกําหนดขอบังคับสากล - รองรับ GSM, GPRS, ๓G, ๔G และสัญญาน

ดาวเทียม คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก grovestreams.com

๒๑. GroveStreams GroveStreams ไดนําเสนอโซลูชัน IoT สําหรับหลากหลายประเภทอุตสาหกรรมรวมถึงเทคโนโลยีเซนเซอร สําหรับการมอนิเตอรสถาวะแวดลอม ดวยสิทธิบัตรเฉพาะของ GroveStreams ในการวิเคราะหขอมูลนั้นจะทําใหเราสามารถเก็บและวิเคราะหขอมูลไดแบบทันที (real-time) เพื่อใหการตัดสินใจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- รองรับขอมูลหลากหลายรูปแบบ - มีแดชบอรดท่ีปรับแตงไดงายๆ ดวยการลากวาง - จัดการสิทธิเพื่อความปลอดภัยตามหนาท่ีการ

ปฏิบัติงาน (role base) - ใช RESTful API

คาใชจาย: - คาธรรมเนียมรายเดือนตอสตรีม (stream)

o ๐-๒๐: ฟรี o ๒๐+: ๐.๐๕ เหรียญ (ประมาณ ๑.๖๕

บาท) - คาธรรมเนียมตอธุรกรรม (transaction)

o ๐-๑๐,๐๐๐: ฟรี o ๑๐,๐๐๐+: $๐.๐๐๐๐๐๕ เหรียญ (ประมาณ

๐.๐๐๐๑๖๕ บาท) - คาธรรมเนียมตอการแจง SMS

o ๐-๕: ฟรี o ๕+: ๐.๐๓ เหรียญ ตอ SMS (ประมาณ

๐.๙๙ บาท) - อีเมลแจงเตือน: ๐-๕๐๐/ช่ัวโมง –ฟรี - การแจงเตือนดวย GroveStreams: ๐-๕๐๐/ช่ัวโมง

– ฟร ี- การแจงเตือนแบบ HTML: ๐-๕๐๐/ช่ัวโมง – ฟร ี

รูปจาก hp.com

๒๒. CeNSE by HP HP ไดปฏิวัติวิธีการเก็บและวิเคราะหขอมูลดวย CeNSE (Central Nervous System for the Earth) มันเปนเครือขายอัจฉริยะระดับสูงท่ีประกอบไปดวยเซนเซอรระดับนาโนท่ีสามารถรับรูรส กล่ิน มองเห็น สัมผัส และไดยิน ดวยขอมูลแบบทันที (real-time) จากสภาพแวดลอมจริง ชวยใหธุรกิจและองคกรตรวจจับและตอบสนองกับส่ิงแวดลอม ชีวะ ฟสิกส หรือการเปล่ียนแปลงทางโครงสรางไดดีกวา แอพพลิเคเชิงพาณิชยตัวแรกของเทคโนโลยี CeNSE นั้นไดประยุกตใชกับบริษัทน้ํามันยักษใหญคือ Shell ซ่ึงทําใหสามารถรับรูการเคล่ือนไหวแรงส่ันสะเทือนของขอมูลตางๆ ทําใหเขาใจภาพและแหลงเก็บน้ํามันและกาซไดชัดเจนย่ิงขึ้น ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- เซนเซอรสามารถตรวจจับการรั่วไหลของกาซและปญหาอ่ืนๆ ได

- เหมาะกับการประยุกตใชกับถนน ส่ิงปลูกสราง และโครงสรางพื้นฐานอ่ืนๆ ไดเปนอยางดี

- สามารถประยุกตใชกับการตรวจจับภาชนะท่ีใช

Page 53: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๗

สําหรับใสอาหารหรือน้ําได - สามารถประยุกตใชกับการมินิเตอรดูแลผูปวยได

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามรายละเอียด

รูปจาก arm.com

๒๓. ARM ARM คือผูผลิตเซนเซอร แผงควบคุม ไมโครโปรเซสเซอร และอุปกรณฝงตัวอ่ืนๆ สําหรับ IoT ทําใหอุปกรณตางๆ สามารถติดตอส่ือสารและมีปฏิสัมพันธกันได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ประสิทธิภาพสูง ตนทุนตํ่า - หนวยประมวลผลรองรับการจัดการหลายชองทาง

I/O และโปรโตคอลมาตรฐานตางๆ - มีกลไกประมวลผลรูปภาพและวิดีโอ - มีผลิตภัณฑสมารทการด สมารทมิเตอรและอุปกรณ

ฝงตัวตางๆ คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก nimbits.com

๒๔. Nimbits Nimbits เปน PaaS ท่ีสามารถดาวนโหลดไดสําหรับ Raspberry Pi, Web Server, Amazon EC๒ หรือ Google App Engine. แพลตฟอรมนี้ถูกใชเพื่อพัฒนาโซลูชันของฮารดแวรและซอฟตแวรท่ีจะทําใหสามารถเช่ือมตอไปยังระบบอ่ืนๆ ได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ดาวนโหลด Nimbits server บนชิป, เซิรฟเวอร หรือบนคลาวดได

- เปนแพลตฟอรมเปด (Open-source platform) - บันทึกขอมูลสถานท่ีภูมิศาสตรและเวลาได - รองรับกลไกของ Google App และระบบ Linux - รองรับการทํางานรวมกับ J๒EE server (Apache

Tomcat, Jetty Server) คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก open.sen.se

๒๕. Open Sen.se Open Sen.se ไมไดพูดวาตัวเองเปน Internet of Things แตคือ Internet of Everything ซ่ึงจะเก่ียวของกับผูคน ธรรมชาติ เครื่องจักร ขอมูล วัตถุและส่ิงแวดลอมท้ังหมดท่ีจะปฏิสัมพันธและส่ือสารกันไปในทางท่ีแตกตางออกไป Open Sen.se ไดเตรียมแพลตฟอรมสําหรับทดสอบอุปกรณ ติดต้ัง แอพพลิเคชันสําหรับอุปกรณเช่ือมตอตางๆ ซ่ึงมันฟรีและงายตอการใชงาน ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ชวยทําใหขอมูลสามารถเปล่ียนไปเปนส่ิงท่ีสามารถดําเนินการได

- การปฏิสัมพันธและส่ือสารระยะไกลแบบทันที ( real-time)

คาใชจาย: - ฟรี

เปดจํากัดจํานวนสําหรับผูใชงาน

Page 54: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๘

รูปจาก paraimpu.com

๒๖. Paraimpu Paraimpu เปนเครื่องมือทางเครือขายสังคมท่ีเช่ือมตอระหวางอุปกรณบนโลกจริงและโลกเสมือน ซ่ึงประกอบ เชื่อมตอ แชรขอมูลและเผยแพรทางเว็บเครือขายสังคัม เราสามารถสรางและปรับแตงแอพพลิเคชันสําหรับ Internet of Things เพื่อใหอุปกรณมีปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม กิจกรรมหรือเหตุการณตางๆ ท่ีเปล่ียนแปลงได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- เช่ือมตออุปกรณเขากับเครือขายทางสังคม - ต้ังคาเงื่อนไขและกระตุนการทํางานได - สรางและจัดการอัปกรณผานแอพพลิเคชัน

คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก sociotal.eu

๒๗. Sociot.al Sociot.al เปนโครงการท่ีมีวิสัยทัศนและแผนงานชัดเจนในการสรางความตระหนัก IoT สําหรับสังคมและผูคนเปนศูนยกลาง แทนท่ีจะมองเพียงเพื่อประโยชนทางธุรกิจเพียงอยางเดียว ซ่ึงรวมท้ังโครงสรางพื้นฐาน ระบบนิเวศในการแชรขอมูลอยางเสรีภาพและปลอดภัย ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- เครื่องมือและแผนการทํางานท่ีนําเสนอเพื่อใหเกิดการกีดกันนอยท่ีสุดสําหรับการมีสวนรวม IoT เพื่อสังคมและประชาชน

o API ท่ีใชงานงายเหมาะกับผูใช o ส่ิงแวดลอมในการสรางสรรคบริการสําหรับ

นักพัฒนา - บริการนํารองท่ีใชกับ Santander และ Novi Sad

o ระบบความปลอดภัยสาธารณะ o การจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ

คาใชจาย: ยังไมมีขอมูลราคา

รูปจาก newaer.com

๒๘. NewAer NewAer เปนแพลตฟอรมชุดพัฒนาระบบส่ือสารระยะไกล ท่ีอุปกรณลูกคายใชพลังงานตํ่า มันสามารถทํางานรวมกับทุกๆ ประเภทอุปกรณและแพลตฟอรม ทํางานไดดีท้ังภายในและภายนอกอาคาร และยังสามารถทํางานดวยการต้ังคาการกระตุนการทํางานบนอุปกรณเองหรือบนคลาวดก็ได ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- การสรางแอพรองรับทุกประเภทอุปกรณ - ไมตองมีฮารดแวรเพิ่มเติม - ไมจําเปนตองจับคูอุปกรณ เนื่องจากใชเทคโนโลยี

คล่ืนวิทยุ - ใชพลังงานตํ่า

คาใชจาย: - Proximity Platform: ฟรี - ToothTag: ฟร ี- Share: ฟรี - Kiosk: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก sensorcloud.com

๒๙. SensorCloud SensorCloud คือโซลูชันจาก LORD MicroStrain บริษัทผูผลิตเซนเซอร และอุปกรณฝงตัวตางๆ SensorCloud ไดเตรียมการทํางานรวมกันกับระบบวิเคราะหขอมูลขนาดใหญ (Big Data Analytics) การแจงเตือนอัตโนมัติ และรายงานการคาดการณการบํารุงรักษาอุปกรณเชื่อมตอตางๆ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ไมจํากัดพื้นท่ีจัดเก็บขอมูล

Page 55: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๔๙

- เครื่องมือแสดงผลกราฟตามชวงเวลา - สามารถลงรายละเอียดแตละจุดท่ีสนใจได - ติดต้ังสวนประมวลผลและแอพไดอยางรวดเร็ว

คาใชจาย: - ฟรี: ๓ ลานจุดขอมูล/เดือน - Enterprise: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

OEM: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก thingspeak.com

๓๐. ThingSpeak เปนแพลตฟอรมขอมูลเปด (open data platform) สําหรับ Internet of Things, ThingSpeak ชวยในการเก็บขอมูลแบบทันที (real-time) สําหรับประมวลผลและวิเคราะห ดวยปล๊ักอินการแสดงผลท่ีสามารถทํางานรวมกับคายดังอ่ืนๆ ไดอยางดีเชน ioBridge และ Arduino. ThingSpeak เปนสวนเสริมท่ีสมบูรณแบบสําหรับระบบองคกรท่ีมีอยูแลวท่ีจะขยับเขามาสู Internet of Things ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- API เปด (Open API) - ทํางานรวมกันกับ Raspberry Pi,

Adruino, ioBridge/RealTime.io และอ่ืนๆ ได - มีขอมูลทางดานภูมิศาสตร - ทํางานรวมกับเครือขายทางสังคมได - ทํางานรวมกันกับบริการการวิเคราะหขอมูลจากคาย

อ่ืนๆ ได คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก yaler.net

๓๑. Yaler Yaler สามารถทํางานกับระบบโครงสรางพื้นฐานไดอยางดีดวยการเขาถึงผานเว็บและ SSH ไปท่ีระบบอุปกรณฝงตัวถึงแมจะวางอยูหลังไฟรวอลล, NAT หรืออุปกรณ Router ตางๆ ก็ตาม การทํางานจะสามารถรองรับทุกประเภทอุปกรณดวย การส่ือสารผาน TCP socket. Yaler ใหบริการแบบ pay-per-use ซ่ึงเปนโซลูชันท่ีคุมคาเพื่อรองรับการใชงานระดับองคกร ตัวอยางสวนตางๆ ท่ี Yaler รองรับไดแกภาษา C, C%, Java และ Python สําหรับ Raspberry Pi, Arduino, Netduino,BeagleBone และอุปกรณลักษณะเดียวกันนี้ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ความสามารถ Plug-and-play สําหรับผูใชท่ัวไป - เขาถึงไดผานเบราวเซอรหรือโทรศัพท

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก jasper.com

๓๒. Jasper หลายๆ บริษัทยักษใหญท่ัวโลกไดวางใจใชบริการจาก Jasper เพื่อชวยในการจัดการ และทําเงินจากอุปกรณเชื่อมตอ และแอพพลิเคชัน IoT. Jasper Control Board สามารถปรับแตงใหเขากับแตละรูปแบบการปฏิบัติงาน โมเดลทางธุรกิจ และความตองการในทุกอุตสหกรรมท่ัวโลก Jasper ยังมีบริการทางดาน connected car และโมบิลิต้ีระดับองคกร ท่ีจะชวยในการเขาถึงมอนิเตอรอุปกรณในเครือขาย และทําใหเกิดความเขาใจอุปกรณอยางลึกซ้ึง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ควบคุมอุปกรณแบบอัตโนมัติ - วิเคราะหรูปแบบพฤติกรรมและประสิทธิภาพ - มอนิเตอรแบบทันที (real-time) - ต้ังคาเงื่อนไขสําหรับแคมเปนจตางๆ ได

Page 56: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๕๐

- ทํางานรวมกับระบบโครงสรางพื้นฐานไอทีได คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก xobxob.com

๓๓. XobXob สามารถเพิ่มโปรเจคตางๆ ไปสู IoT งายๆ ไดดวยบริการคลาวดจาก XobXob อุปกรณเช่ือมตอตางๆ จะสามารถสงและรับขอความผานเมลบ็อกของ Xobs ได อุปกรณสามารถส่ือสารและมีปฏิสัมพันธกับอุปกรณอ่ืนๆ ได เชนการส่ังการควบคุมประตูผานสมารทโฟน ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- เชื่อมตออุปกรณจริงและอุปกรณในโลกเสมือนได - ทํางานไดกับทุกแพลตฟอรมท่ีเช่ือมตอเขาสู

อินเทอรเน็ต - มีไลบราล่ีสําหรับ Arduino

คาใชจาย: ฟรี (ปจจุบันเปนเวอรช่ันอัลฟา)

รูปจาก linkafy.com

๓๔. Linkafy Linkafy จะเขามาเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของ smart home ดวยบริการ PaaS สําหรับเครื่องใชภายในบานจากโรงงานผูผลิต Linkafy นําเสนอแอพพลิเคชันหนึ่งเดียวท่ีจะสามารถควบคุมเครื่องใชภายในบานไดท้ังหมดจากอินเตอรเฟสสวนกลาง แทนท่ีจะใชหลากหลายระบบจากผูผลิตแตละคาย ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- สามารถมองเห็นและไดรับการแจงเตือนจากอินเตอรเฟสสวนกลาง

- จัดการต้ังคาการทํางานและการทํางานจากระยะไกล - สามารถมอนิเตอรการบริโภคและการใชงานอุปกรณ

ไดตลอดเวลา - ทํางานรวมกับทุกแพลตฟอรมมือถือได

คาใชจาย: - ฟรี: ๑ แบบเครื่องใชในบาน, ๑๐ ช้ิน - Micro Manufacturer: ๗๙ เหรียญ/เดือน – ๑ แบบ

เครื่องใชในบาน, ๑,๐๐๐ ช้ิน - Small Manufacturer: ๓๔๙ เหรียญ/เดือน – ๓

แบบเครื่องใชในบาน, ๕,๐๐๐ ชิ้น - Big Manufacturer: ๗๘๙ เหรียญ/เดือน – ๕ แบบ

เครื่องใชในบาน, ๑๐,๐๐๐ ช้ิน

รูปจาก revolv.com

๓๕. Revolv Revolv ซ่ึงปจจุบันถูกซ้ือโดย Nest จาก Google ไปแลว Revolv สามารถชวยทําใหการจัดการ smart home เครื่องใชภายในบานรวมเปนศูนยกลางควบคุมจากจุดเดียว ดวยรูปแบบโซลูชันท่ีเรียบงายเหมาะสําหรับผูใชงานท่ัวไปท่ีจะใชควบคุมการทํางานในระบบ IoT ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- การควบคุมไฟสองสวางและเครื่องใชภายในบานจากระยะไกล

- เช่ือมตอไปกับฮับดวย Wi-Fi ไมจําเปนตองใชสายสัญญาณ

- แดชบอรดรวมศูนยซ่ึงทําใหเห็นภาพรวมอุปกรณท้ังหมด

- มีขอมูลตําแหนง เวลา การเช่ือมตออุปกรณ คาใชจาย:

- ๒๙๙ เหรียญสําหรับ iOS (จะรองรับ Android เร็วๆ นี้)

- มีบริการฟรีตลอดอายุการใชงาน - ฟรีอัพเดตรายเดือนสําหรับอุปกรณเพิ่มเติม

Page 57: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๕๑

- ฟรีอัพเดตเฟรมแวร

รูปจาก windriver.com

๓๖. Wind River Wind River ไดเตรียมความสามารถในการใหบริการ IoT มาเปนสิบปแลว ดวยโครงสรางท่ีมีความนาเช่ือถือและการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพของเครือขาย IoT และการเชื่อมตออุปกรณสําหรับอุตสาหกรรมและระบบแอพพลิเคชันท่ีมีความสําคัญ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- สามารถเช่ือมตออุปกรณแบบด้ังเดิมสู IoT - การมอนิเตอรและวิเคราะหแบบทันที (real-time) - แอพพลิเคชันท่ีมีความเช่ียวชาญในอุตสาหกรรมยาน

ยนต อากาศยาน และอ่ืนๆ คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก wovyn.com

๓๗. Wovyn Wovyn เปนแพลตฟอรมตัวกลาง (middleware platform) ท่ีมีความสามารถในการเช่ือมตอไดทุกเซนเซอรทุกๆแอพและทุกๆ โปรโตคอลสําหรับ IoT และยังสามารถประยุกตใชไดท้ังสวนบุคคล เชิงพาณิชย อุตสาหกรรม และการทหาร ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- เซนเซอรไรสายสําหรับการมอนิเตอรแบบทันที (real-time)

- ต้ังคาการแจงเตือนไดท้ัง SMS, ขอความ หรืออีเมล - รองรับ Wi-Fi, ๒G และ ๓G - มีผลิตภัณฑเซนเซอรแบบ USB และ Wi-Fi

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก lab-of-things.com

๓๘. Microsoft Research Lab of Things Microsoft Reserch’s Lab of Things เปนแพลตฟอรมสําหรับการทดลองและวิจัยนวัตกรรมในการเช่ือมตออุปกรณและติดต้ังแอพพลิเคชัน องคกรตางๆ สามารถติดต้ังและมอนิเตอรและวิเคราะหขอมูลท่ีกําลังศึกษาและทดลอง และยังแชรขอมูลในเครือขายสังคมไดอีกดวย โปรเจคยังขยายครอบคลุมไปยังเรื่องสุขภาพ การจัดการพลังงาน home automation และภาคสวนอ่ืนๆ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ใช HomeOS ติดต้ังบนแพลตฟอรม Windows (HomeHub)

- มีแอพและโคดตัวอยาง - มีแอพในการแจงเตือน ดูกลอง เซนเซอร และไฟ

สองสวาง - มีชุดติดต้ังอุปกรณสําเร็จรูปหรือปรับแตงเองได

คาใชจาย: - Non-commercial academic research use: ฟรี - Standard of commercial use: ติดตอเพื่อสอบถาม

ราคา

รูปจาก infobright.com

๓๙. InfoBright InforBright ชวยใหองคกรสามารถแขงขันในโลกธุรกิจดวยความสามารถและองคความรูในการวิเคราะห Internet of Things ซ่ึงมีท้ังเวอรชันฟรี และเวอรชันสําหรับองคกรท่ีตองการความเสถียรในเรื่องประสิทธิภาพและความสามารถในการใชงาน และยังรองรับแพลตฟอรม Business Intelligence อยางเชน Cognos และ Microstrategy และอ่ืนๆ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- รองรับการทํางานรวมกับ Business Intelligence จากหลายคาย เชน Pentaho, Talend, Jaspersoft

Page 58: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๕๒

และอ่ืนๆ - บีบอัดขอมูลได ๑๐:๑ จนถึง ๔๐:๑ - การตอบสนองการเรียกขอมูลท่ีรวดเร็ว

คาใชจาย: - Community Edition: ฟรี - Enterprise Edition: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

(ทดลองใชงานฟรี ๓๐ วัน)

รูปจาก contiki-os.org

๔๐. Contiki Contiki เปนระบบปฏิบัติการเปด (open-source operating system) สําหรับ Internet of Things ดวยตนทุนตํ่า การใชพลังงานตํ่า มาพรอมกับ Cooja ชุดจําลองซ่ึงสามารถทดสอบกอนท่ีจะนําไปใชบนฮารดแวรจริงได ปจจุบันมีฮารดแวรหลายๆ แพลตฟอรมท่ีรองรับ Contiki แลว ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- หนวยความจําประสิทธิภาพสูง - ใชพลังงานตํ่า - รองรับโปรโตคอลมาตรฐาน IETF - มีคอมมานดไลน - มี Cooja simulation สําหรับจําลองอุปกรณฮารดแวร

คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก ๒lemetry.com

๔๑. ๒lemetry ๒lemetry (ซ่ึงปจจุบันบริษัทยักษใหญทางดานการใหบริการคลาวดคือ Amazon ไดเขาซ้ือกิจการเปนท่ีเรียบรอยแลว) ชวยสนับสนุนองคกรขนาดใหญดวยการทําใหขอมูลอยูในรูปแบบการนําไปใชงานไดทันที (real-time) ดวยการเช่ือมผูคน อุปกรณและขอมูลเขาดวยการ ซ่ึงถาจะกลาวไปแลวโซลูชันนี้เหมือนกับโซลูบัน Enterprise Application Integration (EAI) โดยไดนําเสนอแพลตฟอรมท่ีมีช่ือวา ThingsFabric ท่ีเปนตัวกลางส่ือสารขอมูลระหวางระบบตางๆ ๒lemetry ไมไดหยุดเพียงแคการเก็บขอมูลเทานั้น ยังเตรียมความสามารถในการประมวลผลคาดการณลวงหนา และความสามารถในการกําหนดเงื่อนไขการทํางานแบบอัตโนมัติเพื่อใหเกิดการใชงานท่ีมีประสิทธภาพและชาญฉลาดมากย่ิงขึ้น ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ไมจํากัดจํานวนอุปกรณขั้นตํ่าหรือสูงสุด - สามารถเก็บขอมูลในหลายพันลานเรคคอรดตอลูกคา - ความสามารถในการอานและเขียนท่ีรองรับโหลดของ

Big Data - ไดัรับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย ISO

๒๗๐๐๑ และ SAS๗๐ Type II คาใชจาย:

- ฟรีบัญชีผูใชงาน

รูปจาก allseenalliance.org

๔๒. AllJoyn AllJoyn ชวยทําใหอุปกรณสามารถส่ือสารและแชรขอมูลตางคาย ตางระบบเครือขาย ตางระบบปฏิบัติการกันได โครงการนี้ริเริ่มโดย Qualcomm Innovation Center, Inc. และตอนนี้ AllJoyn เปนโครงการเปด (open-source project) ภายใต AllSeen Alliance ซ่ึงเปนผ จัดเตรียมภาษากลางท่ีจะคอยสนับสนุน Internet of Things และสนับสนุนนักพัฒนา โรงงานผูผลิตดวยเครื่องมือและเทคโนโลยีท่ีจําเปนตองใชเพื่อขับเคล่ือนนวัตกรรม IoT ไปขางหนา ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- กลไกลการทํางานแบบ P๒P - ลดเวลา, แรงงานและตนทุนในการเพิ่มความสามารถ

ทางดาน P๒P ในแอพ

Page 59: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๕๓

- รองรับหลากหลายระบบปฏิบัติการ - ประสิทธิภาพสูง การเขาถึงขอมูลรวดเร็ว

คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก interdigital.com

๔๓. InterDigital InterDigital ไดนําเสนอมาตรฐานกระบวนการ IoT มาต้ังแตป ๒๐๐๙ และยังเปนผูบุกเบิกการตนแบบและใชงานเพื่อสนับสนันมาตรฐานโลกอยาง M2M อีกดวย โดยการพัฒนาพื้นฐานเทคโนโลยีสําหรับการส่ือสารสําหรับ M2M และวางโครงรางแนะแนวทางสําหรับผูใหบริการเครือขายไรสาย และอุปกรณในโรงงานการผลิต ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- สามารถประยุกตใชกับมาตรฐานระดับโลกอยาง oneM2M

- สามารถพัฒนาแอพพลิเคชันใหสามารถใชงานรวมกันไดสําหรับ M2M และ IoT

- มีชุดพัฒนา (SDK) ท่ีงายตอการใชงานและปรับแตง - ลดตนทุนท้ัง CAPEX และ OPEX ไปไดมาก ดวย

ความสามารถในการนําแพคเกจมาใชใหมได คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก superflux.in

๔๔. Superflux Internet of Things Academy (IoTA) Superflux เปนโครงการแลปในการออกแบบและวิจัยภายใตการทดลองของ Sony ท่ีจะสราง IoTA เพื่อสนับสนุนนวัตกรรมและการสรางพัฒนาเทคโนโลยี ณ ตอนนี้โครงการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการ Futurescapes กับฟอรัมท่ีมีช่ือวา Forum for the Future และ Technology Will Save Us ซ่ึงเปนแนวคิดในการระดมความคิดเพื่อชวยองคกรในการคิดและสรางสรรคพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อโลกอยางย่ังยืน ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ปจจุบันอยูในเฟสการศึกษาคนควา - มีโปรเจคนํารองท่ี Oasis Academy ในเมือง

แมนเชสเตอร - เปาหมาย

o ทําใหการเขาถึงและความซับซอนมีความสมดุล เพื่อผลักดันใหมีการใชงานในวงกวาง

o สามารถนําขอมูลท่ีผูใชงานเปนผูสรางเนื้อหาซ่ึงมีปริมาณและเติบโตขึ้นเปนจํานวนมากมาประยุกตใชงานได

o เพื่อการเช่ือมตอและทํางานรวมกันท่ีดีภายนอกสถาบันการศึกษาระหวางเครือขายและบริษัทองคกร

- เฟสถัดไปคือการออกแบบและสรางตนแบบ คาใชจาย: ยังไมมีขอมูลราคา

รูปจาก harvestgeek.com

๔๕. HarvestGeek HervestGeek เปนตัวอยางท่ียอดเย่ียมในการประยุกตใชนวัตกรรม IoT ในโลกความเปนจริง HarvestGeek ชวยใหการเกษตรมีความย่ังยืนดวยการใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการติดต้ังเซนเซอรในไรสวน ทําใหสามารถรับรูขอมูลอุณหภูมิ แสงสวาง ความช้ืนและส่ิงอ่ืนๆท่ีมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืชสวน ขอมูลถูกใชเพื่อสงขอมูลหรือส่ังทํางานอัตโนมัติ ทําใหสามารถเพิ่มผลผลิตและการเก็บเก่ียวไดสูงสุดตามสภาพแวดลอม ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- มอนิเตอรจากระยะไกลในแบบทันที (real-time) - ตรวจจับและแกปญหาไดถูกจุด

Page 60: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๕๔

- การเก็บบันทึกขอมูลเพื่อการตรวจสอบและวิเคราะหรายละเอียด

- เปนแพลตฟอรมเปด (Open-source platform) คาใชจาย: ฟรี

รูปจาก mediatek.com

๔๖. MediaTek Labs MediaTek Lab มองและสนับสนุนระบบสําหรับนักพัฒนาเปนหลักในการสรางสรรคและพัฒนาแอพพลิเคชันและบริการท่ีมีอยูรอบผลิตภัณฑและบริการของ MediaTek ดวยการนําเสนอโซลูชันระบบบนชิป (system-on-chip) รวมถึงชุดพัฒนาซอฟตแวรและฮารดแวร (SDKs, HDKs) ปจจุบัน MediaTek ยังไดนําเสนอแพลตฟอรม MediaTek LinkIt สําหรับใชในการพัฒนาอุปกรณสวมใส (wearable devices) และ IoT ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- มี SoC ขนาดเล็กท่ีมีช่ือวา MediaTek Aster สําหรับอุปกรณสวมใส (wearable devices)

- ตรวจจับและแกปญหาไดถูกจุด - การเก็บบันทึกขอมูลเพื่อการตรวจสอบและวิเคราะห

รายละเอียด - เปนแพลตฟอรมเปด (Open-source platform)

คาใชจาย: - ติดตอเพื่อสอบถามราคา - ปจจุบันเปดรับลงทะเบียนลวงหนาสําหรับพารทเนอร

ท่ีสนใจ

รูปจาก sequans.com

๔๗. Streamlite LTE Sequan เปนกลุมผลิตภัณฑจาก Streamlite LTE ท่ีนําเสนอท้ังความสามารถการใชงานและความคุมคาพรอมๆ กันสําหรับอุปกรณ IoT ดวยโซลูชันแพลตฟอรมในช่ือ Colibri LTE ท่ีนําเสนอความสามารถท่ีมีประสิทธิภาพสูง เหมาะสําหรับการเพิ่มการเช่ือมตออุปกรณ M2M และ IoT เขาไปในระบบ ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- รองรับทราฟฟคสูงถึงระดับ Category ๔ - เทคโนโลยี Sequans AIR ในการตัดสัญญาณ

รบกวน - รองรับระบบปฏิบัติการ Android, ChromeOS,

Linux, Windows, MAC - โปรโตคอลส่ือสาร LTE ท่ีไดรับการพิสูจนแลว - เหมาะสําหรับแทบเล็ต อุปกรณตางๆ ท่ีติดต้ังท่ีไซต

ลูกคา เราเตอร คอมพิวเตอรสวนบุคคล เกตเวยในท่ีพัก และอ่ืนๆ

คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก bosch-si.com

๔๘. Bosch Software Innovations Suite Bosch Software Innovations Suite เปนโมดูลเพื่อการจัดการอุปกรณ กระบวนการธุรกิจ เงื่อนไขทางธุรกิจสําหรับ IoT ท่ีมีความยืดหยุนสูง สามารถทํางานรวมกับระบบโครงสรางพื้นฐานไอทีท่ีมีอยูเดิมไดเปนอยางดีสําหรับการเชื่อมตอและพัฒนาการวิเคราะหขอมูล ดวยการเช่ือมโยงส่ีสวนหลักๆ ท่ีสําคัญสําหรับการทํางานของ IoT อันไดแก ผูคน (ผูใชงาน), วัตถุส่ิงของ, หนวยงานองคกรและพารทเนอร ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- ระบบโมดูลยอย งายและรวดเร็วในการติดต้ังเขากับระบบไอที

- การจัดการกระบวนการ เงื่อนไขและอุปกรณ

Page 61: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

ภาคผนวก หนาท่ี ๕๕

- เทคโนโลยีท่ีไดรับการพิสูจนแลว - กอใหเกิดรูปแบบโมเดลธุรกิจใหมๆ - ติดต้ังและใชงานแลวมากกวา ๖๐๐+ โครงการท่ัว

โลก คาใชจาย: ติดตอเพื่อสอบถามราคา

รูปจาก riotboard.org

๔๙. RIoTboard RIoTboard ไดปฏิวัติวงการ Internet of Things ดวยแพลตฟอรมเปด (open-source platform) เพื่อตอบสนองความตองการในการประยุกตใชพลังการประมวลผลระดับสูง ซ่ึงสามารถดาวนโหลดเพื่อนํามาใชสําหรับเพื่อการออกแบบได ขณะนี้รองรับ Android บนแทบเล็ตหรือมือถือ และสําหรับ Linux ความสามารถและจุดเดนหลักๆ:

- อุปกรณตอพวง และพลังการประมวลผล - สถาปตยกรรม ARM Cortex-A๙ - ความสามารถในการประมวลผลภาพและวิดีโอ - ตัวเลือกหลากหลายสําหรับอินเตอรเฟสเชื่อมตอ

คาใชจาย: ๗๙ เหรียญ (ประมาณ ๒๖๐๐ บาท)

หมายเหตุ:

- สําหรับ ๔๙ เครื่องมือดานลางนี้การจัดเรียงไมไดมีนัยยะสําคัญใดๆ แตถูกเรียงเพ่ือใหงายตอการอางอิงเทานั้น

- บทความนี้มีประโยชนมากสําหรับนักธุรกิจภาค กลุม Startup ท่ีกําลังตองการมองหากรณีตัวอยางหรือตนแบบมาประยุกตใช และนักพัฒนาท่ีกําลังหาเครื่องมือในการตอยอด หรือแมแตผูใชผูบริโภคท้ังภาคธุรกิจ รัฐบาลและภาคครัวเรือนท่ีสามารถใชเปนแนวทาง หรืออาจซ้ือหาผลิตภัณฑหรือบริการมาใชเพ่ือพัฒนาองคกรใหมีการพัฒนา หรือประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

ท่ีมา: profitbricks.com

http://www.inofthings.com/๔๙-สุดยอดเครื่องมือสําหรั/

Page 62: Internet of Things (IoT)kmcenter.rid.go.th/kcitc/2011/files/59/IoT.pdf · IoT Reference Model ๑๕ ส วนที่ ๓ การพัฒนาระบบ IoT ๑๗ NETPIE

แหลงอางอิงขอมูล หนาท่ี ๕๖

แหลงอางอิงขอมูล

๑. Overview of the Internet of Things, ITU-T Y.2060 (06/2012), https://www.itu.int/rec/T-REC-Y.2060-201206-I

๒. IREC Internet of Things, http://www.internet-of-things-research.eu/about_iot.htm ๓. Internet of Things (IoT), ดร.มหศักดิ์ เกตุฉํ่า, ภาควิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะ

เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ๔. ๑๐ อันดับการประยุกตใช Internet of things, http://www.inofthings.com/๑๐-อันดับการ

ประยุกตใช-internet-thin/ ๕. http://www.catdatacom.com/th/site/news/news_detail/๑๘๒ ๖. บทความจาก ฝายเครือขายคอมพิวเตอร, ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

http://its.sut.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=๗๒&Itemid=๔๖๘

๗. CAT DATACOM http://www.catdatacom.com/th/site/news/news_detail/๑๘๒ ๘. บทความเรื่อง “โลกแหง IoT มาถึงแลว” เว็บไซต http://www.aplointl.com/worldofiot.php ๙. NETPIE https://netpie.io/ ๑๐. VDO บรรยาย Network Platform for Internet of Everything (NET PIE) #1 NECTEC,

https://www.youtube.com/watch?v=SHFWyGQ-U4g ๑๑. VDO บรรยาย Network Platform for Internet of Everything (NET PIE) #2 NECTEC,

https://www.youtube.com/watch?v=FvaOD_wcpEg