25
มมม. 3 มมม. 3 มมมมมมมมมมมมมมมมมมมม 001236 มมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม (Living Management) มมมมมมมมมม มมมมมมมมม มมมมมมมมมมมมมมมมม มมมมมมมม/ มมม/มมมมมมม มมมมมมมมมมมมมมมมม มมมมมมม 1 มมมมมมมมมมมมมมม 1. มมมมมมมมมมมมมมมมมม 001236 มมมมมมมมม มมมมมมมมมมมมมมม (Living Management) 2. มมมมมมมมมมมมมม 3 (2-2-5) 3. มมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม มมมมมมมมมมมมมมมมม มมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม มมม มมมมมมมมมมมมมมม ม.ม. 2555 4. มมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม มม.มม.มมมมมม มมมมมมมมมม (มมมมมมมมมมมมมมมมมมม) มม.มม.มมมมมม มมมมมมมมม มม.มม.มมมมมมมมม มมมมมมมมมมมมม วววววววววววว มม . มม . มมมมมม มมมมมมมมมมมม มมมมมมมมมมม มมมมมมมมมมมมมม วววววววววว มมมมมมมมมมมมม มมมมมมมมม 5. มมมมมมมมมมม / มมมมมมมมมมมมมม มมมมมมมม มมม 2 มมมมมมมมมม 2557 6. มมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม (Pre-requisite) (มมมมม) มมมมม 7. มมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม (Co-requisites) (มมมมม) มมมมม 1

Microsoft Word - มคอ. 3 IT101 course spec_20090909¸¡คอ_3_2_57/001236... · Web viewRichard Paul and Linda Elder: Critical Thinking Charge of you Learning and Your Life,

  • Upload
    others

  • View
    20

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Microsoft Word - มคอ. 3 IT101 course spec_20090909

มคอ. 3

มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา

001236 การจัดการการดำเนินชีวิต (Living Management)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา

มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา

กองการศึกษาทั่วไป

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา 001236 การจัดการการดำเนินชีวิต (Living Management)

2. จำนวนหน่วยกิต 3 (2-2-5)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

หลักสูตรปริญญาตรี หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ตามสาระการปรับปรุง พ.ศ. 2555

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง (ผู้รับผิดชอบรายวิชา)

รศ.ดร.พูลสุข หิงคานนท์

ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์

วิทยากรพิเศษ

รศ.ดร.สุขกิจ ยะโสธรศรีกุล

คุณเจริญจิต งามทิพย์พันธุ์

ผู้ช่วยสอน

อาจารย์ธัญวดี กำจัดภัย

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี

8. สถานที่เรียน ห้อง 62 อาคารปราบไตรจักร มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันอังคาร เวลา 10:00-11:50 น.

วันพฤหัสบดี เวลา 13:00-14:50 น.

9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการและแนวคิดในการดำเนินชีวิต สามารถนำแนวทางดังกล่าวมาประยุกต์และปรับใช้ในการวางแผนชีวิต และการจัดการดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับคุณธรรมจริยธรรม

2. เพื่อปลูกฝังความรับผิดชอบ และจิตสำนึกที่ดี ที่พึงมีต่อตนเอง และต่อสังคม เพื่อการดำเนินการชีวิตและก้าวไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืน ตามคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

ตามสาระปรับปรุง พ.ศ. 2555 และเพื่อปรับเนื้อหาและสาระรายวิชาให้สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 สอดคล้องกับคุณสมบัติอันพึงประสงค์ของบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร และสอดคล้องกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ความรู้และทักษะ เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคคลในครอบครัวและสังคม การปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก การติดต่อสื่อสาร การจัดการความขัดแย้ง วิธีการคิดการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การสร้างแรงบันดาลใจ การดำเนินชีวิตตามหลักคุณธรรมจริยธรรม การดำเนินชีวิตท่ามกลางภาวะโลกร้อน และในประชาคมอาเซียน

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย

สอนเสริม

การฝึกปฏิบัติ/งาน

ภาคสนาม/การฝึกงาน

การศึกษาด้วยตนเอง

30 ชั่วโมง

ความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย

30 ชั่วโมง

5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

· อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้นิสิตซักถาม/เขียนสมุดบันทึกการเรียนรู้ (Journal) ท้ายชั่วโมงบรรยายเป็นเวลา 20 นาที

· นิสิตสามารถปรึกษาและสอบถามข้อมูลได้ทางจดหมายอิเลคโทรนิกส์กลุ่มเฉพาะรายวิชานี้ ผ่านระบบของมหาวิทยาลัย

· อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้นิสิตเป็นรายบุคคล/รายวิชา เข้ารับการปรึกษา (ในกรณีที่ต้องการ) โดยการนัดหมายล่วงหน้าสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552

1.1 คุณธรรม จริยธรรม

· ส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐาน

· ธรรมชาติของมนุษย์จากการเข้าใจ Quantum Physics การรับรู้ทางชีววิทยา เน้นการทำงานของระบบสมองและการผลิตการใช้ และอิทธิพลของสารเคมีในร่างกาย

· ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

· ให้แนวทาง กรณีศึกษา และโน้มน้าวให้นิสิตรู้จักตนเองและบุคคลในชีวิต เพื่อเกิดศักดิ์ศรี (Integrity) และ ความรับผิดชอบ (Responsibility) โดยกระบวนการปุจฉาวิสัชนา กระบวนการกลุ่ม NLP EQ Critical Thinking และ Habits of Mind รวมทั้ง System Thinking

· กระตุ้นให้เกิดความตระหนักและสำนึกในความเป็นไทยจากการอ่าน และศึกษาต้นแบบจากวิทยากรพิเศษ

· ทักษะการพัฒนานิสัยที่พึงประสงค์ (Habits of Mind)

1.2 ความรู้

· ธรรมชาติของมนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงวัยรุ่น

· Slight-edged Principles

· Neuro Linguistic Programing

· Executive EQ

· แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้และเรียนรู้การดำเนินชีวิต

· แนวปฏิบัติเพื่อลิขิตชีวิตตนเอง

· การพัฒนาตนเองในองค์รวม

· Critical Thinking

· Habits of Mind

· การจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิต

· การจัดการชีวิตด้วยคณิตศาสตร์

· การจัดการการเงินในชีวิต

· กาลเทศะไทยในการดำเนินชีวิต

· วิถีชีวิตใน ASEAN

· การดำเนินชีวิตสู่ความสำเร็จตามวิถีไทยและเศรษฐกิจพอเพียง

· การวางแผนชีวิต

1.3 ทักษะทางปัญญา

Metacognitive Skills:

· การคิดวิจารณญาณ (Critical Thinking)

· การแก้ปัญหาชีวิต (Problem-Solving)

· การคิดบวก (Positive Thinking)

· การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)

· การคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ (Deductive Inductive Thinking)

Executive Emotional Intelligence (EQ)

· Emotional Literacy

· Emotional Fitness

· Emotional Depth

· Emotional Alchemy

1.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

· ทักษะการอ่านตนเองและผู้อื่น (NLP)

· ทักษะการบริหารเวลา

· ทักษะการบริหารการเงิน

· ทักษะการประพฤติตนตามกาลเทศะไทย

· ทักษะการดำเนินชีวิตตามวิถีไทยและเศรษฐกิจพอเพียง

1.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

· ทักษะการดำเนินชีวิตโดยคณิตศาสตร์

· ทักษะการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตโดยเน้น ICT Genomics Nanotechnology

· ทักษะการใช้สื่อสารสนเทศในการเรียน ได้แก่ การค้นคว้าจาก internet การใช้ Group e-mail

· ทักษะการสื่อสารโดยภาษาท่าทาง ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

1.6 ทักษะนิสัย (Psychomotor Skills)

· การพัฒนาบุคลิกภาพ และอากัปกิริยา

· ทักษะการบันทึก Journals

2. วิธีการสอน

ใช้วิธีการสอนตามสารบบวัตถุประสงค์ทางการศึกษาของ Marzano และคณะ ดังนี้

1. บ่งชี้ความเหมือนและความต่าง

· เปรียบเทียบ (Comparing)

· แยกประเภท (Classifying)

· สร้างคำพังเพย (Creating Metaphors)

· สร้างอุปมาอุปมัย (Creating Analogies)

2. สรุปและเอื้อให้จดโน้ต

3. ให้แรงเสริมและยกย่อง

4. ให้การบ้านและให้เวลาปฏิบัติ

5. ใช้สัญลักษณ์ที่ไม่ใช่ภาษา

6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเป็นกลุ่ม

7. ตั้งวัตถุประสงค์และให้ข้อมูลย้อนกลับ

8. ตั้งและทดสอบสมมุติฐาน

· วิเคราะห์ระบบ (System Analysis)

· แก้ปัญหา (Problem Solving)

· ตัดสินใจ (Decision Making)

· สืบค้นอดีต (Past Investigation)

· ทดลอง (Experimental Inquiry)

9. แนะ ถาม และจัดระบบระเบียบล่วงหน้า (Cues, Questions and Advance Organizers)

10. ถ่ายทอดองค์ความรู้เฉพาะประเภท

· ศัพท์เฉพาะ

· รายละเอียด

· วิธีจัดระบบระเบียบความรู้

· ทักษะและกระบวนการ

3. วิธีการประเมินผล

ประเมินผลตามประเภทความรู้ ตามตารางต่อไปนี้ (Marzano และคณะ)

บังคับเลือกคำตอบ

ความเรียง

งานและบันทึกผลงาน

การสังเกตโดยผู้สอน

การประเมินตนเองโดยนิสิต

Specific Declarative Knowledge

(อะไรเฉพาะ)

(

(

(

(

(

General Declarative Knowledge

(อะไรทั่วไป)

(

(

(

(

Specific Procedural Knowledge

(อย่างไรเฉพาะ)

(

(

(

(

(

General Procedural Knowledge

(อย่างไรทั่วไป)

(

(

(

(

กระบวนการใช้เหตุผลที่ซับซ้อน

(

(

(

(

นิสัย (Habits Of Mind)

(

(

(

ผลการทำงานของนิสิตที่นำมาเป็นข้อมูลในการประเมิน

1. ความถี่ของการเข้าเรียนอย่างตรงเวลา

2. การมีส่วนร่วมโดยอาสาในกิจกรรมในชั้นเรียน

3. รายงานการอ่านหนังสือประกอบรายบุคคล และรายงานกลุ่ม

4. Journals

5. การสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อในรายวิชาและแลกเปลี่ยนใน GROUP LINE

6. แผนการดำเนินชีวิตในอนาคต

7. ผลการสอบปลายภาค

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่/วันที่

หัวข้อเนื้อหา

ชม.

กิจกรรมที่ทำ

มาตรฐานการเรียนรู้

อาจารย์ผู้สอน

1

อ 6 ม.ค. 58

แนะนำรายวิชา รูปแบบการเรียนการสอน

เกณฑ์การประเมินผล แจกประมวลรายวิชา เอกสาร Digital และหนังสือใน closed Reference ในหอสมุด

2

บรรยาย

สรุป

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 8 ม.ค. 58

ฉายภาพยนตร์เกี่ยวกับธรรมชาติของชีวิตอันสัมพันธ์กับ Quantum Physics ชีววิทยา การผลิตและอิทธิพลของสารเคมีในร่างกาย การรับรู้ อนัตตา และความเป็นเอกภาพของมนุษย์ สรุปด้วยความจำเป็นในการลิขิตชีวิตตนเองด้วยศักดิ์ศรีและความรับผิดชอบ

2

บรรยาย/กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

2

อ 13 ม.ค. 58

การวิเคราะห์ภาพยนตร์ ปลูกฝังและฝึกฝน Metacognitive Skills และสรุปสาระความรู้ และแนวทางดำเนินชีวิต

2

บรรยาย/กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 15 ม.ค. 58

อ่านหนังสือนอกเวลา

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

3

อ 20 ม.ค. 58

กาลเทศะไทยในการดำเนินชีวิต

2

บรรยาย

6

รศ.ดร.พูลสุข หิงคานนท์

พฤ 22 ม.ค. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

4

อ 27 ม.ค. 58

การจัดการชีวิตด้วยคณิตศาสตร์

2

บรรยาย

5

ผศ.ดร.ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์

พฤ 29 ม.ค. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

5

อ 3 ก.พ. 58

การจัดการการเงินในชีวิต

2

บรรยาย

3,5,6

คุณเจริญจิต งามทิพย์พันธุ์

(วิทยากรพิเศษ)

พฤ 5 ก.พ. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

6

อ 10 ก.พ. 58

**เปลี่ยนเป็นวันที่ 19 มี.ค.58

การจัดการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิต

2

บรรยาย

5

รศ.ดร.สุขกิจ ยะโสธรศรีกุล

พฤ 12 ก.พ. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

5

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

7

อ 17 ก.พ. 58

Success for Teens: Little Things Matter

2

บรรยาย

6

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 19 ก.พ. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พูลสุข หิงคานนท์

8

อ 24 ก.พ. 58

สอบกลางภาค ไม่มีการนั่งสอบ (คะแนน Journal และการอ่านหนังสือ)

-

-

ทั้งหมด

ไม่มีการเรียนการสอนและไม่มีการสอบ

พฤ 26 ก.พ. 58

สอบกลางภาค ไม่มีการนั่งสอบ (คะแนน Journal และการอ่านหนังสือ)

-

-

ทั้งหมด

ไม่มีการเรียนการสอนและไม่มีการสอบ

9

อ 3 มี.ค. 58

Success for Teens: Attitudes Is Everything

2

บรรยาย

1,4

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 5 มี.ค. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

10

อ 10 มี.ค. 58

Success for Teens: Use the Moment

2

บรรยาย

3

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 12 มี.ค. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

11

อ 17 มี.ค. 58

Success for Teens: Everything starts with Small Steps

2

บรรยาย

5

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 19 มี.ค. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

12

อ 24 มี.ค. 58

Success for Teens: There’s No Such Thing as Failure/NLP

2

บรรยาย

2

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 26 มี.ค. 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

13

อ 31 มี.ค. 58

Success for Teens: Habits Are Powerful/EQ

2

บรรยาย

1,4,6

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 2 เม.ย 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

14

อ 7 เม.ย. 58

Success for Teens: You’re Always Learning/Critical Thinking

2

บรรยาย

3

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 9 เม.ย 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

อ. ธัญวดี กำจัดภัย

15

อ 14 เม.ย. 58

วันหยุดสงกรานต์

-

-

-

-

พฤ 16 เม.ย 58

กิจกรรมรายบุคคล/กลุ่ม

2

กิจกรรม

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง อ. ธัญวดี กำจัดภัย

16

อ 21 เม.ย. 58

Success for Teens: Make Your Dreams Come True

2

บรรยาย

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง อ. ธัญวดี กำจัดภัย

พฤ 23 เม.ย 58

สรุป

2

บรรยาย

ทุกเกณฑ์

รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง อ. ธัญวดี กำจัดภัย

17

อ 28 เม.ย. 58

สอบปลายภาค (ปรนัย 100 ข้อ)

-

-

ทุกเกณฑ์

คณาจารย์

หมายเหตุ: - ทีมคณาจารย์ผู้สอนขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงตารางเรียน ตลอดจนวิทยากรที่เชิญมาบรรยายพิเศษ ทั้งนี้จะแจ้งให้นิสิตทราบล่วงหน้า

ข้อตกลงในรายวิชา

1. นิสิตต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด จึงจะมีสิทธิ์ได้รับการวัดและประเมินผล

2. กรณีที่นิสิตมาเรียนหลังจากมีการเรียนการสอนไปแล้ว 15 นาที จะถือว่ามาสาย และถ้ามาสายจำนวน 3 ครั้ง จะถือว่าขาดเรียน 1 ครั้ง

3. การขาดเรียนไม่ต้องส่งใบลาใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่ว่ามีกิจหรือป่วยถือว่าขาดเรียน

4. นิสิตทุกคนติดต่อกับอาจารย์ผู้สอนหลัก ได้แก่ รศ.ดร.พรชุลี อาชวอำรุง ([email protected]) และ อ.ธัญวดี กำจัดภัย ([email protected]) ได้ตลอดเวลา ผ่าน e-mail เท่านั้น

5. ไม่มีการสอบกลางภาค จะใช้คะแนน Journals และรายงานหนังสือ 1 เล่ม ที่เลือกอ่านแทน

6. เมื่อเห็นหรือได้ยินเพื่อนร่วมชั้นเรียนทำเสียงดังหรือพูดคุยไม่สนใจ ให้ยกมือขึ้นโบกสูงๆ หรือถ้าเห็นอาจารย์โบกมือให้ช่วยกันโบกโดยทั่วกัน เพื่อให้เพื่อนที่ก่อกวนรู้ตัวและหยุดพฤติกรรม

7. ให้นั่งข้างหน้าให้ครบก่อน จึงนั่งข้างหลัง

8. งานที่ส่งไม่ตรงตามเวลา จะถือว่าไม่ได้ส่ง และไม่รับไม่ว่าในกรณีใดๆ ทั้งสิ้น

2. แผนประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรมประเมิน

วิธีการประเมิน

(เกณฑ์ในการให้คะแนน)

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนการประเมินผล (เปอร์เซ็นต์)

1. การเข้าชั้นเรียน

จำนวนครั้งที่เข้าเรียนคิดเป็นเปอร์เซ็นต์

เกณฑ์ ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ

ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

จำนวนวันที่มีการเรียนการสอน 26 วัน ขาด 5 ครั้ง (20%) ไม่มีสิทธิ์สอบ

2. การทำและส่ง Journal ทุกครั้งที่มีการเรียนการสอนตรงตามเวลากำหนดเป็นคะแนนสอบกลางภาค

จำนวนและสาระที่บันทึกสะท้อนความรู้ความเข้าใจ ความตระหนัก และคุณลักษณะการดำเนินชีวิตที่ได้พัฒนาตามลำดับ

Journals ทั้งหมด 8 ฉบับ

รวมเป็น 10 % ของคะแนนรวม

3. รายงานหนังสืออ่านประกอบ 1 เล่ม (นิสิตเลือกเอง) อ่านได้ในหอสมุด เป็น closed reserve ขอยืมได้ที่เคาน์เตอร์ ชั้น 2 (Mid-term)

สาระที่สรุปตรงตามหนังสือ และมีข้อคิดที่ตนเองจะนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตในบทอภิปรายด้วย

สาระตรงและครบประเด็น 10%

ข้อคิดในการดำเนินชีวิต 10%

รวมเป็น 20%

4. Dream Board

ถูกต้องครบถ้วนตามตำรา

ถูกต้องครบถ้วนตามตำรา

รวมเป็น 10%

5. กิจกรรมในชั้นเรียน

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียนรวมเป็น 20%

5. การสอบปลายภาค

จำนวนคะแนนที่ได้จากข้อสอบปรนัย 100 ข้อ

คะแนนข้อละ 0.4 % x 100

รวมเป็น 40%

คะแนนรวม

กิจกรรมการประเมินทั้งวิชา

100%

การวัดและประเมินผล ใช้แบบอิงเกณฑ์ โดยกำหนดช่วงคะแนนดังนี้

80 ขึ้นไป

A

75 – 79.9B+

70 – 74.9B

65 – 69.9C+

60 – 64.9C

55 – 59.9D+

50 – 54.9D

น้อยกว่า 49.9F

หมายเหตุดูมาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาศึกษาทั่วไปในภาคผนวก แนบท้าย

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตำราหลัก

Success Foundation (2014) Success for Teens: Real Teens Talk about Using the Slight Edge. www.Success Foundation.org.

2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ

การบริหารเวลา เพิ่มผลงานดี ชีวีมีสุข 16 สิงหาคม 2551

ชยสาโร ภิกขุ สุขเป็นก็เป็นสุข ชั้น 2 สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร

แนวคิดเกี่ยวกับการรับรู้และการเรียนรู้

รอนดา เบิร์น (เขียน) จิระนันท์ พิตรปรีชา (แปล) (พิมพ์ครั้งที่ 91) (2557) เดอร์ซีเคร็ต กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อมรินทร์

สุมิตร คุณานุกร ภาษาท่าทาง ชั้น 2 สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร

Bodo Schafer (เขียน) เจนจิรา เสรีโยธิน (แปล) (ฉบับปรับปรุง พิมพ์ครั้งที่ 4) (2554) หมาน้อยสอนรวย กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บี มีเดีย

NEURO LINGUISTIC PROGRAMMING March 29,2010

3. เอกสารและข้อมูลแนะนํา

เดล คาร์เนกี (เขียน) อาษา ขอจิตต์เมตต์ (แปล) (2552) การพูดในที่ชุมนุม กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว

เดลล์ คาร์เนกี้ (เขียน) ธรรมนุญ ศิริโสภน (แปล) (2536) ทำอย่างไรชีวิตจะมีความสุขและสนุกกับการทำงาน กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว

เดล คาร์เนกี (เขียน) อาษา ขอจิตต์เมตต์ (แปล) (2552) วิธีชนะทุกข์และสร้างความสุข กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว

เดล คาร์เนกี้ (เขียน) รมณียฉัตร แก้วกิริยา (แปลและเรียบเรียง) (2547) หยุดวิตกกังวลและอยู่อย่างมีความสุข : How to stop worpying and start living กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แสงดาว

พีล, นอร์แมน วินเซนต์ (เขียน) เอกชัย อัศวนฤนาท (แปล) (2548) มหัศจรรย์แห่งการคิดบวก : The amazing results of positive thinking

พระพรหมคุณาภาร์ (ป.อ. ปยุตโต) การเสริมสร้างคุณลักษณะเด็กไทย

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) (2547) งานก็ได้ผล คนก็เป็นสุข

รอนดา เบิร์น (เขียน) จิระนันท์ พิตรปรีชา (แปล) (2551) เดอะซีเคร็ต : The Secret

Allan Pease & Barbara Pease (เขียน) พลอยแสง เอกญาติ (แปล) (2552) รู้ทันทุกความคิด ด้วยเทคนิคภาษากาย: The definitive book of body language

Brian Tracy (เขียน) พรเลิศ อิฐฐ์ (แปล) (2555) จูบกบตัวนั้นซะ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ วิเลิร์น

John C. Maxwell (เขียน) เริงศักดิ์ ปานเจริญ (แปล) (2553) คิดให้ใหญ่ คิดให้สำเร็จ กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น

Juan Enriquez เมื่ออนาคตไล่ล่าคุณ ชั้น 2 สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร

Napoleon Hill (เขียน) อานันท์ ชินบุตร (แปล) (2556) คิดแบบผู้นำทำแบบเศรษฐี กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น

Malcolm Gladwell (เขียน) พรเลิศ อิฐฐ์, วิโรจน์ ภัทรทีปกร (แปล) (2556) กลยุทธ์จุดกระแส กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิเลิร์น

Richard Paul and Linda Elder: Critical Thinking Charge of you Learning and Your Life, 2006

Supervision and Curriculum Development, 1703 N. Beauregard Street ,Alexandria, VA 22311 USA This and other resources available at www.habitsofmine.org

PowerPoint: Pornchulee Achava-Amrung

Executive EQ August, 2005

Make Yourself Presentable Towards Success In Life November 20, 2013

SUCCESSFUL INTELLIGENCE August, 2005

The Three Laws of Performance

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

· ผลการวางแผนพัฒนาชีวิตของผู้เรียน: Journal 8

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

· ผลสะท้อนจากการเรียนของนิสิตในแต่ละสัปดาห์

· การประยุกต์ใช้สิ่งที่นิสิตได้เรียนมาในรูปแบบของการนำเสนอแลกเปลี่ยนในชั้นเรียน

· การปรึกษา และสังเกตการณ์ของทีมผู้สอน

· แบบประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน (ผู้สอนสร้างขึ้นเอง)

3. การปรับปรุงการสอน

· การประชุมกลุ่มระหว่างผู้สอน และการรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้เรียน

· การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจะดำเนินการทุกครั้งที่มีการวัดผลการเรียนรู้จากงานที่มอบหมาย

1. กิจกรรม หรืองานที่ได้รับมอบหมายในชั้นเรียน วัดผลการเรียนรู้ผ่าน 2 กระบวนการหลัก ขั้นตอนแรก คือ การทวนสอบความเข้าใจของนักศึกษาในภาคบรรยายโดยผ่านการถามตอบในชั้นเรียน ขั้นตอนที่สอง โดยการตรวจสอบความเข้าใจของนิสิตผ่านการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและ Journals

2. กิจกรรมนอกชั้นเรียน การประเมินผลจากรายงานการอ่านหนังสือประกอบที่นิสิตเลือกด้วยตนเอง

3. การสอบ จะมีการทวนผลสัมฤทธิ์ของนิสิตจากการสอบปลายภาค

5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

ศึกษาค้นคว้าความก้าวหน้าทางวิชาการในสาระสำคัญของการดำเนินชีวิตให้เป็นปัจจุบันจากหนังสือ ผลงานวิจัยที่เป็นสากล คือ จากเอกสารภาษาอังกฤษเป็นหลัก และนำมาปรับปรุงในการจัดการเรียนการสอนให้ทันสมัยอยู่เสมอ

12