2
ขอเสนอแบบจำลองในการขับเคลื่อนการจัดทำ กฎหมายกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ สรางสรรค ภายใต มาตรา ๕๒() แหงพระราช บัญญัติองคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการ ประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม .. ๒๕๕๓ ยกรางโดยอาจารยอิทธิพล ปรีติประสงค สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว .มหิดล เปนผลจากการเขารวมเวทีสาธารณะเพื่อสรางความรู ความเขาใจ และการเตรียมความพรอมในการ ขับเคลื่อนรางกฎหมายกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค ฉบับภาคประชาชน ใน ภูมิภาค

Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement

ขอเสนอแบบจำลองในการขับเคลื่อนการจัดทำ

กฎหมายกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ

สรางสรรค ภายใต มาตรา ๕๒(๕) แหงพระราช

บัญญัตอิงคกรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการ

ประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง วิทยุ

โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ยกรางโดยอาจารยอิทธิพล ปรีติประสงค 

สถาบันแหงชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล 

เปนผลจากการเขารวมเวทีสาธารณะเพื่อสรางความรู ความเขาใจ และการเตรียมความพรอมในการ

ขับเคลื่อนรางกฎหมายกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค ฉบับภาคประชาชน ใน ๕ ภูมิภาค 

Page 2: Model for Safe and Creative Media (draft)Fund Act Movement

ประเด็นของการขับเคลื่อนและการกำหนดผลลัพธ (๑) การเตรียมกระบวนการภาคประชาสังคมเสนอกฎหมายกองทุนฯ ฉบับประชาชนเขาสภา ตามกลไกของ

มาตรา ๑๖๓ รธน ๕๐ 

•  ไตรมาสที่ ๑ มีแกนนำในระดับภูมิภาคที่มีความรูความเขาใจในประเด็นการขับเคลื่อนกองทุน และ สามารถเปนผูถายทอดชุดความรูไปยังเครือขายในระดับพื้นที่ได 

•  ไตรมาสที่ ๒ แกนนำในระดับภูมิภาคทำเวทีทองถิ่นเพื่อสรางความรูความเขาใจเรื่องกองทุนสื่อและกฎหมายกองทุนสื่อฯใหกับเครือขายทองถิ่น และ จัดเตรียมทำขอเสนอกฎหมายและการเขาชื่อของเครือขาย 

•  ไตรมาศที่ ๓ ตรวจสอบความถูกตองของรายชื่อ และ แกไขรายชื่อใหสมบูรณ และ จัดทำเอกสารหลักฉบับภาคประชาชนแจกจายใหกับเครือขายทุกภาคสวน 

•  ไตรมาศที่ ๔ ทดลองการจัดทำสมัชชาสื่อปลอดภัยและสรางสรรค เวทีประชาชน และยื่นรางกฎหมายตามกลไกมาตรา ๑๖๓ รธน 

(๒) การเตรียมฐานขอมูลทางวิชาการเพื่อสนับสนุนดานขอมูลสำคัญในดานตางๆกับ

สังคม 

•  ไตรมาศที่ ๑ ขอมูลดานสถานการณเดนดานสื่อในพื้นที่ และ ในระดับภูมิภาค วิเคราะห SWOT ขอมูลในระดับภูมิภาคภายใตประเด็นเรื่องวัตถุประสงคของกองทุน เพื่อทำใหเครือขายแตละภูมิภาคเขาใจประเด็นรวมและประเด็นเฉพาะที่จะไดรับประโยชนจากกองทุนฯ จัดทำเปนคลังขอมูลดานสื่อปลอดภัยและสรางสรรค โดยเนนการทำงานรวมกับเครือขายภคผูผลิต และ เครือขายภาคนโยาย เครือขายดานสมัชาสุขภาพ สมัชชาครอบครัว 

•  ไตรมาศที่ ๒ ถอดบทเรียนกองทุนตางๆ หรือ ระบบการสนับสนุนการสรางแรงจูงใจในการพัฒนาสื่อสรางสรรคที่มีอยููในระดับพื้นที ่

•  ไตรมาศที่ ๓ จัดทำเวทีสภารางกฎหมายภาคประชาชนในระดับพื้นที ่

•  ไตรมาศที่ ๔ จัดทำเอกสารความรูในดานสถานการณดานสื่อ ถอดบทเรียนการบริหารจัดการระบบการสนับสนุน ขอเสนอดานรางกฎหมาย นำเสนอผลการศึกษาผานเวทีสมัชชาสื่อฯ 

(๓) การเตรียมความเขาใจที่ตรงกันกับภาคนนโยบายที่จะรวมผลักดันรางกฎหมาย

กองทุนฯ 

•  ไตรมาสที่ ๑ ตั้งคณะทำงานชุดเล็กเพื่อจัดทำยุทธศาสตรการเตรียมความพรอม และสรางความเขาใจในประเด็นกองทุนสื่อกับเครือขายภาคนโยบายทีจะมีบทบาทตอารจัดทำรางกฎหมายฯ 

•  ไตรมาสที่ ๒ ผลักดันคณะกรรมการขับเคลื่อนกองทุนสื่อฯในระดับกลไกนโยบาย(สนร) โดยนำขอมูลจากไตรมาสแรกของกลุม ๑ และ ๒ มาใชในการสนับสนุนถึงเหตุผลและความจำเปนของกองทุนฯและ คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ 

•  ไตรมาศที่ ๓ จัดกิจกรรมเยี่ยมเชิงกัลยาณมิตรเครือขายภาคนโยบาย และ กสทช เพือพัฒนาเปนเครือขายรวมผลักดัน 

•  ไตรมาศที่ ๔  

(๔) การเตรียมระบบและกลไกการสื่อสารเพื่อสรางความรู ความเขาใจและความระหนักรวมกันของความจำเปนที่จะตองมี

กฎหมายกองทุนสื่อฯ  

•  ไตรมาสที่ ๑ หารือกับครือขายสื่อกระแสหลักและสื่อชุมชนในการสรางความรวมมือในการสื่อสารขอมูลขาวสารดานความจำเปน สาระสำคัญ ขาวการเคลื่อนไหว 

•  ไตรมาศที่ ๒ ผลักดันใหเกิดกลุมหรือนักสื่อสารที่เกาะติดกับการเคลื่อนไหวดานกองทุนสื่อที่จะกลายเปนนักสื่อสารที่ทำงานประเด็นกองทุนสื่อ ฯอยางตอเนื่อง 

•  ไตรมาศที่ ๓ จัดระบบและยุทธศาสตรของการสื่อสารดานกองทุนสื่อฯ ทั้งในกลุมผูลิตสื่อ กลุมนโยบาย กลุมเปาหมายที่จะไดใชประโยชนจากกองทุนสื่อฯ เพื่อสรางความรู ความเขาใจ และ สรางแนวรวม 

•  ไตรมาศที่ ๔ แปรรูปผลของการทำงานในทั้ง ๓ ประเด็นเพื่อเปนชุดความรูพื้นฐานกับหนวยงานหรือองคกรที่จะเขามามีบทบาทในการใหความเห็นตอรางกฎหมายฯ