4
Thailand’s economic develop- ment took off in earnest fol- lowing the implementation of the first National Economic and Social Development Plan (NESDP) in 1961. It was not until the ninth plan that the phi- losophy of sufficiency economy was included to guide the coun- try’s development. The tenth plan envisioned the development of a peaceful and happy society based on the sufficiency economy philosophy. Its goal is to “immunize” families, communities and the nation (from the effect of globalization). This was considered a “paradigm shift” for the national development plan to guide the country’s investment and natural resource use. In this interview, Dr. Pongpisith Wisethkul of the Office of Eco- nomic and Social Development, Northeastern Region, of the National Economic and Social Development Board (NESDB) discussed the core issues of sufficiency economy and sustainable development that are used to solve current economic, social and natural resource problems. n What is the evolution of the NESDPs up to the present time? The first NESDP put an emphasis on import-substitute manufac- นับตั้งแต่รัฐบาลคลอดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เมื่อปี 2504 ประเทศไทยก็มุ ่งเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจเป็นเป้าหมายหลัก มาในแผนฯ 9 จึงได้อัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาน�าทางการพัฒนาและบริหารประเทศ ต่อ มาในแผนฯ 10 ได้ก�าหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาสู ่สังคมอยู ่เย็นเป็นสุขร่วมกัน โดยใช้ แนวปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสร้างภูมิคุ้มกันครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ นับเป็นการพลิกบทบาทแผนฯ ในฐานะเครื่องมือก�าหนดทิศทางการ บริหารพัฒนาประเทศที่ยึดโยงกับการลงทุนและการใช้ทรัพยากร ดร.พงษ์พิสิฏฐ์ วิเศษกุล จากส�านักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ภายใต้ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชาติ (สภาพัฒน์ฯ) (Off ice of Economic and Social Development, Northeastern Region, of the National Economic and Social Development Board) อธิบายแก่นความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงและการ พัฒนาที่ยั่งยืน ที่น�ามาใช้ในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ n วิวัฒนาการของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ผ่านมาเป็นอย่างไร? ถ้าเรามองดูตั้งแต่แผนฯ ฉบับแรกเป็นต้นมา แผนฯ 1 จะเน้นการผลิตเพื่อ ทดแทนการน�าเข้า การลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นฐาน การส่งเสริมการลงทุน ตั้ง BOI (Board of Investment: คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน) ต่อเนื่องมา ในแผนฯ 2 ที่ทิศทางคือการส่งเสริมการส่งออกและลงทุนด้านสาธารณูปโภค ซึ่งผล ก็คือเศรษฐกิจของชาติขยายตัว แต่เราก็เริ่มสูญเสียพื้นที่ป่าไม้เพื่อผลิตสินค้าเกษตร ส่งออกและการกระจายรายได้ที่ย�่าแยในแผนฯ 3 เราเน้นส่งเสริมการลงทุนที่ใช้แรงงาน ขณะเดียวกันก็เริ่มกระจาย การลงทุนออกไปสู่ภูมิภาคและลงทุนด้านการศึกษา เช่น การตั้งมหาวิทยาลัย เปิด จนมาถึงแผนฯ 4 จึงเร่มมีการพูดถึงการลดช่องว่างทางสังคมและการดูแล ทรัพยากรธรรมชาติ มีการลงทุนด้านความมั่นคง เพราะในช่วงนั้นมีสถานการณ์ ภัยคอมมิวนิสต์ ต่อมาในแผนฯ 5 ปัญหาช่องว่างทางเศรษฐกิจท�าให้ทิศทางของแผนหันมา เน้นการพัฒนาชนบทและการกระจายการลงทุนไปสู่ชนบทมากขึ้น แผนฯ 6 ช่วง นี้เศรษฐกิจดี เราก็รักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อรองรับการจ้างงาน และยก มาตรฐานคุณภาพชีวิต ในแผนฯ 7 ก็พูดถึงการกระจายรายได้ และการพัฒนา คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม Interview of Dr. Pongpisith Wisethkul National Development Plans: The Changing Philosophy แผนพัฒนาชาติ ปรัชญาที่เปลี่ยนไป บทสัมภาษณ์ ดร.พงษ์พิสิฏฐ์ วิเศษกุล

National Development Plans - mtp.rmutt.ac.th¹ผนพัฒนาชาติ.pdfThailand’s economic develop-ment took off in earnest fol-lowing the implementation of the first

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: National Development Plans - mtp.rmutt.ac.th¹ผนพัฒนาชาติ.pdfThailand’s economic develop-ment took off in earnest fol-lowing the implementation of the first

Thailand’s economic develop-ment took off in earnest fol-lowing the implementation of the first National Economic and Social Development Plan (NESDP) in 1961. It was not until the ninth plan that the phi-losophy of sufficiency economy was included to guide the coun-try’s development. The tenth plan envisioned the development of a peaceful and happy society based on the sufficiency economy philosophy. Its goal is to “immunize” families, communities and the nation (from the effect of globalization). This was considered a “paradigm shift” for the national development plan to guide the country’s investment and natural resource use.

In this interview, Dr. Pongpisith Wisethkul of the Office of Eco-nomic and Social Development, Northeastern Region, of the National Economic and Social Development Board (NESDB) discussed the core issues of sufficiency economy and sustainable development that are used to solve current economic, social and natural resource problems.

n What is the evolution of the NESDPs up to the present time?The first NESDP put an emphasis on import-substitute manufac-

นบัตัง้แต่รฐับาลคลอดแผนพฒันาเศรษฐกจิและสงัคมแห่งชาต ิฉบบัที ่1 เมือ่ปี 2504 ประเทศไทยกม็ุง่เร่งรดัพฒันาเศรษฐกจิเป็นเป้าหมายหลกั มาในแผนฯ 9 จงึได้อญัเชญิปรชัญาเศรษฐกจิพอเพยีงมาน�าทางการพฒันาและบรหิารประเทศ ต่อมาในแผนฯ 10 ได้ก�าหนดวสิยัทศัน์การพฒันาสูส่งัคมอยูเ่ยน็เป็นสขุร่วมกนั โดยใช้แนวปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสร้างภูมิคุ้มกันครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ นับเป็นการพลิกบทบาทแผนฯ ในฐานะเครื่องมือก�าหนดทิศทางการบริหารพัฒนาประเทศที่ยึดโยงกับการลงทุนและการใช้ทรัพยากร

ดร.พงษ์พิสิฏฐ์ วิเศษกุล จากส�านกังานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ ภายใต้ส�านกังานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์ฯ) (Offif ice of Economic and Social Development, Northeastern Region, of the National Economic and Social Development Board) อธิบายแก่นความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงและการพฒันาทีย่ัง่ยนื ทีน่�ามาใช้ในการแก้ปัญหาเศรษฐกจิ สงัคม และทรพัยากรธรรมชาติ

n วิวัฒนาการของแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ที่ผ่านมาเป็นอย่างไร?ถ้าเรามองดูตั้งแต่แผนฯ ฉบับแรกเป็นต้นมา แผนฯ 1 จะเน้นการผลิตเพื่อ

ทดแทนการน�าเข้า การลงทุนสร้างโครงสร้างพื้นฐาน การส่งเสริมการลงทุน ตั้ง BOI (Board of Investment: คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน) ต่อเนื่องมาในแผนฯ 2 ทีท่ศิทางคอืการส่งเสรมิการส่งออกและลงทนุด้านสาธารณปูโภค ซึง่ผลก็คือเศรษฐกิจของชาติขยายตัว แต่เราก็เริ่มสูญเสียพื้นที่ป่าไม้เพื่อผลิตสินค้าเกษตรส่งออกและการกระจายรายได้ที่ย�่าแย่

ในแผนฯ 3 เราเน้นส่งเสรมิการลงทนุทีใ่ช้แรงงาน ขณะเดยีวกนักเ็ริม่กระจายการลงทุนออกไปสู่ภูมิภาคและลงทุนด้านการศึกษา เช่น การตั้งมหาวิทยาลัยเปิด จนมาถึงแผนฯ 4 จึงเริ่มมีการพูดถึงการลดช่องว่างทางสังคมและการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ มีการลงทุนด้านความมั่นคง เพราะในช่วงนัน้มีสถานการณ์ภัยคอมมิวนิสต์

ต่อมาในแผนฯ 5 ปัญหาช่องว่างทางเศรษฐกิจท�าให้ทิศทางของแผนหันมาเน้นการพัฒนาชนบทและการกระจายการลงทุนไปสู่ชนบทมากขึ้น แผนฯ 6 ช่วงนี้เศรษฐกิจดี เราก็รักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อรองรับการจ้างงาน และยกมาตรฐานคุณภาพชีวิต ในแผนฯ 7 ก็พูดถึงการกระจายรายได้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

Interview of Dr. Pongpisith Wisethkul

National Development Plans:The Changing Philosophy

แผนพัฒนาชาต ิปรัชญาที่เปลี่ยนไปบทสัมภาษณ์ ดร.พงษ์พิสิฏฐ์ วิเศษกุล

supplement27-VA.indd 1 3/2/10 4:19 PM

Page 2: National Development Plans - mtp.rmutt.ac.th¹ผนพัฒนาชาติ.pdfThailand’s economic develop-ment took off in earnest fol-lowing the implementation of the first

กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009

แต่ในแผนฯ 8 เราหนัมาเน้นเรือ่งคนเป็นศนูย์กลาง ส่งเสรมิการมส่ีวนร่วม การพฒันาอย่างยัง่ยนื ในช่วงนีม้สีถานการณ์เศรษฐกจิ หนีเ้สยีภาคอสงัหารมิทรพัย์ ปิดสถาบนัการเงนิ 56 แห่ง และรบัเงนิ IMF (International Monetary Fund: กองทนุการเงนิระหว่างประเทศ) จนท�าให้แผนฯ 9 จงึหนัมาทีเ่รือ่งเศรษฐกจิพอเพยีง ทีเ่รายงัสามารถแข่งขนัได้ ขณะเดยีวกนักส็ร้างภมูคิุม้กนัทางการเงนิ พดูถงึสงัคมพึง่ตนเองและปรบัตวัได้

สุดท้ายแม้เศรษฐกิจจะขยายตัวดี แต่เราก็ยังพบว่า สังคมไม่มีความสุข ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมมาก จนแผนฯ 10 ในปัจจุบันนี้ ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจเราก็ยังเน้นเศรษฐกิจพอเพียง แต่เราพูดถึง Green Growth (การเตบิใหญ่แบบสเีขยีว) และการพฒันาทีย่ัง่ยนืมากขึน้

n แนวคิดเรื่องการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ “เศรษฐกิจสีเขียว” เป็นอย่างไร?การพฒันาทีย่ัง่ยนืหรอืเศรษฐกจิสเีขยีวเป็นเรือ่งเดยีวกนั การพฒันาเศรษฐกจิ

เป็นการเพิม่การผลติสนิค้าและบรกิาร จ�าเป็นต้องใช้ทรพัยากรธรรมชาต ิและหลกีเลีย่งไม่ได้ทีจ่ะต้องเกดิผลกระทบกบัสิง่แวดล้อม

ในระบบเศรษฐกิจ มีคนอยู่ 2 ประเภทคือผู้ผลิตและผู้บรโิภค ผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อมเริ่มจากผู้บรโิภคต้องการและสั่งสินค้าจากผู้ผลิต ผู้ผลิตจึงเอาทรพัยากรธรรมชาตมิาผลติ และกเ็กดิของเสยีจากกระบวนการผลติ ซึง่มทีัง้ของแขง็ ของเหลว แก๊ส และความร้อน ส่วนใหญ่กจ็ะถกูทิง้ออกไปสูส่ิง่แวดล้อม เมือ่ได้สนิค้ามาแล้วผูบ้รโิภคกจ็ะบรโิภคและเกดิของเสยีหรอืขยะ กจ็ะถกูทิง้ไปสูส่ิง่แวดล้อมอกี ในระบบเศรษฐกจิสเีขยีว ผูผ้ลติต้องหาทางเอาของเสยีกลบัมาใช้ในการผลติใหม่ให้มากที่สุด ส่วนของเสียจากผู้บรโิภคก็ต้องน�ากลับมาใช้ผลิต หรือใช้บรโิภคซ�า้ ให้มากครั้งที่สุด เพื่อลดทั้งการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและปัญหามลพิษ

ดังนั้น เศรษฐกิจสีเขียวหรือการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามค�าจ�ากัดความของสภาพฒัน์ฯ คอื การพฒันาทีท่�าให้เกดิดลุยภาพระหว่าง เศรษฐกจิ สงัคม ทรพัยากรและสิง่แวดล้อม เพือ่ความอยูด่มีสีขุของประชาชนตลอดไป ซึง่ผมไม่เหน็ว่าจะมอีะไรส�าคัญไปกว่าการท�าให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนอีกแล้ว การพัฒนาในอดีตที่มุ่งให้เกิดการขยายตวัทางเศรษฐกจิเป็นส�าคญั ท�าให้ทรพัยากรธรรมชาต ิซึง่เป็นต้นทนุส�าหรบัการพฒันาเศรษฐกจิและสงัคม ถกูท�าลายลงและยากทีจ่ะฟ้ืนฟใูห้กลบัสูส่ภาพเดมิได้ ประชาชนอ่อนแอลงทั้งจากมลพิษและจากปัญหาสังคมอื่นๆ ที่มีต้นเหตุมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างไม่ระมัดระวัง

n เป็นไปได้หรือไม่ที่จะมีเศรษฐกิจจะมีการเติบโตโดยไม่ต้องชะลอตัวในเศรษฐกิจสีเขียว

เป็นไปได้อย่างยิ่งที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจไม่จ�าเป็นต้องท�าให้เกิดการสญูเสยีทรพัยากรธรรมชาตหิรอืท�าให้เกดิมลพษิจนกระทบต่อสขุภาพของประชาชน การขยายตัวทางเศรษฐกิจหมายถึงการท�าให้มีเงินในกระเป๋าของประชาชนทั้งประเทศมากขึ้น การเลือกที่จะพัฒนาเศรษฐกิจสาขาใด เพื่อให้ได้รายได้เข้าประเทศมากขึน้ ย่อมมผีลต่อสถานะทางเศรษฐกจิ คณุภาพชวีติของคนในชาต ิและคุณภาพ สิ่งแวดล้อมของประเทศนัน้

สหรัฐ ยุโรป และญี่ปุ่น เลือกที่จะพัฒนาสาขาบริการ เช่น การธนาคาร ท่องเที่ยว บันเทิง และการสื่อสาร ให้เป็นสาขาทางเศรษฐกิจที่ท�าเงินเข้าประเทศ ซึ่งสาขาบริการเหล่านี้ใช้พลังงานและให้มลพิษน้อยกว่าสาขาการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม ทั้งยังได้ก�าไรจากการลงทุนมากกว่าด้วย นอกจากนัน้ยุโรปยังสนใจที่จะหาเงินเข้าประเทศโดยการขายบริการ ให้ค�าปรึกษา และรับก�าจัดของเสียที่เกิดจากการผลติ และบรกิารให้ค�าปรกึษาเพือ่ลดการใช้พลงังาน ท�าให้รายได้เข้าประเทศมมีาพร้อมๆ กบัการลดการใช้ทรพัยากรธรรมชาต ิพลงังาน และลดมลพษิอกีด้วย ซึง่ประเทศไทยกน่็าจะมเีป้าหมายการขยายตวัทางเศรษฐกจิทีต้่องไม่ท�าให้เกดิผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ ไม่ใช่แต่เห็นว่าการลงทุนเพื่อให้ได้เงินเข้าประเทศ จะลงทุนอะไรกไ็ด้ จะใช้พลงังานมากแค่ไหน จะมผีลกระทบสิง่แวดล้อมมากมายเพยีงใดกไ็ด้ ไม่ถกู

เรื่องเศรษฐกิจเขียวผมคิดว่าสามารถน�ามาขับเคลื่อนได้กับทุกระบบในสังคมไทย เป็นเศรษฐกิจที่ไม่ท�าลายชีวิต ไม่ท�าลายตัวเราเอง

n ทศิทางและความสมัพนัธ์ของโลกในเชงิเศรษฐกจิ และการพฒันาทีม่คีวามสมดลุระหว่างความต้องการของมนษุย์กบัธรรมชาต ิควรด�าเนนิไปอย่างไรเพือ่ให้แนวคิดนัน้บรรลุเป้าหมาย

เราต้องยอมรับว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจของเราเป็นต้นเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม คนที่มาบตาพุดก�าลังจะป่วยตาย คนที่อยู่ในเมืองทั่วไปก็ใช่ว่าจะดี แม้ไม่หนกัเท่าที่มาบตาพุดแต่เราก็รับสารพิษทุกวัน เพราะฉะนัน้ตอนนี้เราก�าลังอยู่ในแดนอันตราย

แดนอันตรายของเรานี้เกิดจากความต้องการเกินพอดี คนทุกวันนี้บรโิภคจนมากเกินความพอดี ครอบครองวัตถุมาก ท�าให้ผู้ผลิตผลิตมากขึ้นและปล่อยของเสียออกมามากขึ้น ขณะเดียวกันเราก็ปล่อยให้ผู้ผลิตท�าลายสิ่งแวดล้อม ผู้บรโิภคก็มีส่วนในการไปขอให้ผู้ลิตผลิตสินค้าออกมามากขึ้น และเราก็ซื้อมันมากขึ้น เพราะฉะนัน้ปัญหาทีเ่กดิขึน้ เรากต้็องคดิย้อนกลบั เราต้องลดความต้องการของเราลง คดิก่อนใช้ ไม่จ�าเป็นก็ไม่ต้องซื้อ ซื้อมาแล้วต้องใช้ให้คุ้ม ไม่ทิ้งก่อนเวลาอันควร และพยายามให้ขยะทีเ่ราทิง้กลบัเข้าสูก่ระบวนการผลติให้มากทีส่ดุ วธิง่ีายๆ คอืการแยกขยะ แล้วขายให้ซาเล้ง

n การผสมผสานนโยบาย Creative Economy ของรัฐบาล กับแนวคิด Green Economy แบบมีปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐานคุณธรรม จะน�าไปสู่การปฏิบัติที่เป็นกระแสหลักของประเทศได้หรือไม่

ระบบเศรษฐกิจสีเขียวคือระบบที่ท�าให้ไม่เกิดการท�าร้ายใคร Creative Economy สนับสนนุให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ แต่ไม่ใช่คิดสร้างสรรค์แล้วผลิตได้มากและสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระบบเศรษฐกิจสีเขียวก็ต้องเข้ามาก�ากับการใช้ทรัพยากร ไม่ให้เกิดมลพิษจนเป็นอันตรายต่อสุขภาพ … ซึ่ง creative economy จะแปลว่าอะไรก็แล้วแต่ แต่ต้องไม่ท�าร้ายสังคมและสิ่งแวดล้อม

ตอนนี้เราคิดแต่จะหาเอาของใหม่ๆ ที่สามารถขายได้มากขึ้น ซึ่งมันก็ยังเป็นแนวคดิแบบเดมิๆ คอื สร้างสนิค้าทีด่กีว่า แปลกใหม่กว่า ถกูกว่า ต้องการเพิม่ลกูค้า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเงิน ที่ผ่านมาเราก็ท�าแบบนี้มาโดยตลอด เพียงแต่ตอนนัน้เราอาจมี Creative น้อยไปหน่อย ผลิตสินค้าที่ต่างจากคนอื่นน้อยไปหน่อย ผลก็คอืคนกซ็ือ้จากเราน้อย ไปซือ้กบัคนอืน่ทีม่ ีCreative มากกว่า ผมคดิว่า Creative Economy จะมกีไ็ด้ เป็นสิง่ทีด่ ีแต่ต้องไม่ก่อให้เกดิการท�าลายสิง่แวดล้อมและสงัคม คือต้องอยู่ภายใต้กฎของ Green Economy

2

supplement27-VA.indd 2 3/2/10 4:19 PM

Page 3: National Development Plans - mtp.rmutt.ac.th¹ผนพัฒนาชาติ.pdfThailand’s economic develop-ment took off in earnest fol-lowing the implementation of the first

n Is it possible to have economic growth in a green economy without risking a slow-down?

Certainly. Economic growth does not need to result in natural resource deterioration or cause health-threatening pollution. Economic growth means putting more money in the people’s pockets. The choice of economic development to bring in revenues inevitably affects the quality of life and the state of the environment of the whole nation. The US, Europe and Japan have chosen to promote service industries such as banking, tourism, entertainment and communication as the areas of economic growth to generate revenues because they use less energy and create less pollution than the manufacturing sector. Besides, they provide a much larger profit margin. Europe has also provided consultancy services on waste management and energy opti-mization. These ventures generate more incomes while reducing natu-ral resource exploitation, energy usage and pollution. Thailand should carefully examine areas of economic growth that do not cause adverse effects to the environment. We should not just jump into any invest-ments without considering the level of energy usage or the impacts to the environment.

The green economy principle can be applied to all the systems in Thai society. It is an economic system that causes no harm to life.

n How can we strike a balance between the unending desire of human beings and the natural equilibrium through economic development?

We must first admit that our economic activities cause environ-mental problems. Currently, the people in the town of Map Ta Phut are suffering terribly (from industrial pollution). Urban people are no bet-ter. Although not as serious as the Map Ta Phut residents, we are still exposed to toxic substances everyday. So, we are all living in danger.

The danger we face stems from excessive desire. We consume way too much and have too many things in possession. That’s why the manufacturers produce more and create more wastes while at the same time we allow the manufacturers to continue destroying the envi-ronment. The consumers must take part of the blame for leading the manufacturers to produce more as we buy more of their goods. There-fore, we have to pause and think. We have to reduce our own desire and think before we buy. And having bought stuff, we must make the most use of it, must not dispose of it before its time, and ensure that the used stuff enter the recycling process as much as possible. A simple thing to do is to sort our garbage and sell it to the recyclers.

n Can the government’s policy promoting a creative economy be integrated with the green economy based on the sufficiency econ-omy philosophy and become the mainstream economic model for the country?

Green economy is an economic system that does no harm (to people and the environment). Creative economy promotes creativity but it must not be the type of creativity that stresses mass production and cause impacts to the environment. Green economy must dictate the use of natural resources so that it does not cause excessive pollution and becomes harmful to health.… However creative economy may be interpreted, it must not be harmful to society and the environment.

Unfortunately, we have been pre-occupied with marketing new products that could sell. That is a typical paradigm. We strive for newer, flashier and cheaper products to attract customers with an aim to make more profits. This is the way we have always done, except that we might have been a little less creative and produced goods not much different from others’. As a result, foreign importers have bought less stuff from us and more from others who have been more creative. I think creative economy might be a good thing if it does not infringe on the environment or cause harm to society. We must make sure that it operates within the framework of the green economy.

turing by promoting infrastructure construction and investment by establishing the Board of Investment (BOI). The second plan promoted exports and investments in public utilities. The result was the rapid expansion of the national economy. However, the price we paid for that expansion was the loss of vast forest areas to the export-based farming and a very poor income distribution.

The third plan emphasized investment in labor-intensive indus-tries, particularly in the rural areas. At the same time, the government invested in education by establishing open universities, for example. By the fourth plan, we started talking about bridging the social gap between rural and urban populations and the protection of natural resources as well as investment in national security as there was a threat from communism at the time.

Due to the escalating income gap, the fifth plan stressed rural development and further investments in the rural areas. During the sixth plan, the economy was going well, so we kept the economic growth on track to increase job opportunities and improve standard of living. The seventh plan again stressed the improvement of income distribution, quality of life and the environment.

In the eighth plan, the government shifted emphasis to human resource development, public participation and sustainable develop-ment. It should be noted that we faced an economic crisis at the time due to bad debts in the real estate sector which resulted in the closure of 56 financial institutions, and Thailand was forced to accept loans from the IMF (International Monetary Fund). That was the reason why the ninth plan adopted sufficiency economy to keep us competitive yet also immunize us (against global fluctuations). The plan aimed at making the country self-reliant and adaptable to changes.

Despite the expanding economy, we found that people in our society were far from being happy and our natural resources and envi-ronment were going downhill. The current tenth plan still sticks to the sufficiency economy concept but we are now talking about “green growth” and sustainable development.

n What is the key concept behind sustainable development or green economy?

Sustainable development and green economy are one and the same. Economic development aims to increase production of goods or services which requires the use of natural resources and which inevitably causes environmental impacts.

In an economic system, there are two sets of players – the pro-ducers and the consumers. The impact on the environment starts from the consumers requesting services or ordering goods from the pro-ducers. The producers then mobilized natural resources to produce the goods and in the process creating industrial wastes in the forms of solid, liquid, gas or heat. These wastes are normally disposed of into the environment. After the goods are consumed, waste is also created and disposed of into the environment as well. In a green economy, the producers must find a way to recycle the wastes from manufacturing and from the consumers into the production process as much as pos-sible. Then the rate of natural resources and waste pollution will be kept to minimum.

The NESDB defines green economy or sustainable development as “development that achieves a balance of the economy, society, natural resources and the environment, leading to the people’s well-being”. I am personally convinced that nothing is more important than sustainable development. In the past, development aimed to achieve economic growth first of all which causes rapid deterioration of nat-ural resources which are important capital in social and economic development. It is extremely difficult to restore them to their original state, and consequently the people become weaker from exposure to pollution and other social problems due to the rapid and haphazard economic expansion.

3กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009

แผนพัฒนาชาติ: ปรัชญาที่เปลี่ยนไป National Development Plans: The Changing Philosophy

supplement27-VA.indd 3 3/2/10 4:19 PM

Page 4: National Development Plans - mtp.rmutt.ac.th¹ผนพัฒนาชาติ.pdfThailand’s economic develop-ment took off in earnest fol-lowing the implementation of the first

4

n เศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism) เป็นเศรษฐกิจที่ใช้ “ทุน” มาเป็นเครื่องมือในการสร้างความมั่งคั่งให้เกิดขึ้นกับผู้ที่เป็นเจ้าของทุน และการแข่งขันเพื่อแสวงหาผลก�าไร มีลักษณะส�าคัญ คือ การให้เอกชนเป็นเจ้าของทรัพยากร การแข่งขันอย่างเสรี มีเป้าหมายในการแสวงหาผลก�าไร

n เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) หมายถึง เศรษฐกิจที่อยู่บนพื้นฐานของความสมดุลระหว่างความต้องการของมนุษย์กับทรัพยากรที่มีอยู่บนโลก

n เศรษฐกิจคาร์บอนต�่า (Low Carbon Economy) เป็นการลดการสร้างแก๊สคาร์คอนไดออกไซด์ ด้วยการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตให้ดีขึ้น ใช้สินค้าปลอดสารพิษ หาแหล่งพลังงานทางเลือกมาใช้แทน เป็นต้น

n เศรษฐศาสตร์สีเขียว (Green Economics) ซึ่งยึดหลักไม่เบียดเบียนโลก ไม่บรโิภคเกินความจ�าเป็น กับการไม่สร้างความเสี่ยงเกินก�าลังซึ่งเป็นหลักการคล้ายคลึงกับเศรษฐกิจพอเพียง

n เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) คือ แนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา (Education) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual property) ที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรู้ของสังคม (Wisdom) และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ (Technology and Innovation)

n Buddhist Economics: The promotion of economic transactions that lead to personal and social peace and happiness in a materialistic world based on an awareness of limited natural resources.

n Capitalism: An economic system that relies on “capital” as a means to accumulate wealth. The system encourages competitions to maximize profit for the investors. It is based on the belief of private ownership of natural resources, free market competition and profit optimization.

n Creative Economy: An economic system that is driven by knowl-edge, education, creativity and intellectual property that are closely intertwined with the local culture, indigenous wisdom, innovations and technology.

n Gandhian Economics: The promotion of self-reliance and content-ment without the dependence on others. It can be achieved through consuming only what one is capable of producing. It was first con-ceived as a way to counter colonialism.

n Green Economics: The promotion of economic transactions that are based on the principle of not doing harm to earth, not consuming

กันยายน - ธันวาคม 2552 September - December 2009

นิยามและบรรยายศัพท์

Glossary

n เศรษฐกิจสมานฉนัท์ (Solidarity Economy) เป็นการเปลี่ยนระบบการผลิตแบบใหม่ผ่านการริเริ่มร่วมกันของประชาชนตามหลักการ 3 ประการ โดยในประการแรก คือ การผลิตที่เป็นการผลิตร่วมกันและเป็นเจ้าของร่วมกัน ประการที่สอง คือ การกระจายสินค้าด้วยกลไกการค้าที่เป็นธรรม และประการที่สาม คือ การออกแบบนโยบายสินเชื่อภาคประชาชนผ่านธนาคารของรัฐ

n เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) หมายถึงการพึ่งตนเองอยู่ได้อย่างไม่เดือดร้อน รู้จักประมาณตนตามฐานะ ส�าคัญคือต้องมีความเพียร สติและปัญญา พร้อมทั้งสามารถใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างฉลาด ยึดอยู่บนหลักการของความยั่งยืน

n พุทธเศรษฐศาสตร์ (Buddhist Economics) เป็นการด�าเนนิกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะท�าให้ปัจเจกบุคคลและสังคมบรรลุซึ่งศานติสุขจากการมีชีวิตอยู่ในโลกของวัตถุ ภายใต้เงื่อนไขของการมีทรัพยากรที่จ�ากัด

n เศรษฐกิจพึ่งตัวเอง (Self - sufficiency Economy) หมายถึง เศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง คืออยู่ด้วยตัวเองได้อย่างไม่เดือดร้อน โดยไม่ต้องพึ่งพาคนอื่น

n เศรษฐศาสตร์แบบคานธี (Gandhian Economics) หมายถึง เศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง สมถะ ไม่พึ่งคนอื่น ผลิตเอง กินเอง ใช้เอง เป็นวิธีต่อสู้กับอาณานคิม

more than necessary and not incurring unnecessary risks. It is similar to the Sufficiency Economy.

n Green Economy: An economic system that attempts to achieve a balance between humans’ needs and natural resources on earth.

n Low-Carbon Economy: An economic system that focuses on reducing carbon dioxide emissions through improving production efficiency, promoting non-toxic manufacturing process and utilizing alternative energy.

n Self-sufficiency Economy: An economic system that encourages sufficiency for oneself without having to rely on others.

n Solidarity Economy: An economic system that aims to reform the current production system through people’s participation. It is based on the principles of joint ownership of production process; fair goods distribution system and people-based loan policy through government banks.

n Sufficiency Economy: An economic system that emphasizes self-reliance based on mindfulness, wisdom, self-discipline and the wise-use of natural resources for sustainability.

supplement27-VA.indd 4 3/2/10 4:19 PM