25
Report2G3 กลุ3 สรุปรายงานในหัวขอของตน ภายในวันที24 .. 2553 - ขยายเวลาเปน 20 สิงหาคม 2553 ตัวแทนนิสิตแตละกลุจัดสงรายงาน (โดยการโพสตในกรอบ และจัดใหสวยงามนาอาน) 1. รายงาน ตองประกอบดวย - สวนหัวขอรายงาน สวนเนื้อหาตามหัวขอ และ เว็บไซตอางอิง 2. ระบุวาเปนงานกลุมครั้งที2 - เรื่องที่ทํา - รายชื่อสมาชิกกลุมพรอมภาพ และขอความวา รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา01162661 - 2553 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน เสนอตอ รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ และ ดร.นพวรรณ ฉิมรอยลาภ Maturos - Nopphawan Name Contribution นวพร แซ เลื่อง 20-08- 2010 14:59 ฉบับปรับปรุง รวมสวนที่คนควาเพิ่มเติม รายงานกลุมครั้งที2 ปรับปรุง เรื่อง นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0 /3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหม นายกฤษฎา กุณฑล 5317650011 นายกอเดช อาสะกะละ 5317650020 นางสาวนวพร แซเลื่อง 5317650046 นางสมฤดี ปาละวัล 5317650097 เสนอ รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ ดร.นพวรรณ ฉิมรอยลาภ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 01162661-2553 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร สาขาหลักสูตรและการสอน (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ปการศึกษา 2553 ประกอบดวย เรื่อง บทนํา Web 2.0 กับการศึกษา การคิดใหมในโรงเรียน K-12 โดยการใชเครื่องมือของ web 2.0 ความเขาใจใน web 2.0 กับการศึกษา กอนนําไปสู web 2.0 กับ E-learning การคนหาทางเลือกใหมสําหรับอนาคต Web 2.0 กับ อีเลิรนนิ่ง นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนแนวใหม ในยุค WEB 2.0 นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0 /3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหม บทนํา เทคโนโลยี web 2.0 ไดเขามามีบทบาทเกี่ยวของกับหลักสูตรและการสอนในปจจุบัน ทําใหมุมมองในการออกแบบหลักสูตรและรูปแบบการ จัดการเรียนการสอนเกิดขึ้นหลายรูปแบบ รวมทั้งชวยสรางเสริมความสนใจของผูเรียนในการแสวงหาความรูที่มีอยูมากมาย ในสวนของผูออกแบ หลักสูตรจะตองพัฒนาใหมีความทันสมัยและเหมาะสมกับผูเรียน ในสวนของผูเรียนสามารถเลือกเรียนรูตามความสนใจ ซึ่งจะชวยสงเสริมการเรี รูไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต เนื้อหานวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0/3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหมนีมีหัวขอสําคัญ 4 หัวขอ ประกอบดวย 1) การคิดใหมของคและผูบริหารโรงเรียน K 12 2) เครื่องมือและคําแนะนําที่สําคัญในโลกของ eLearning 3) eLearning กับทางเลือกในอนาคต และ 4) ประเภท ของ eLearning การคิดใหมในโรงเรียน K-12 โดยการใชเครื่องมือของ web 2.0 กฤษฎา Barry Jahn ไดศึกษาขอมูลจาก Hood River School District และ West Sylvan Middle School ซึ่งเปนโรงเรียน K-12 หมายถึง โรงเรียนที่เ Page 1 of 25 28/8/2553 https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

Report2G3กลุม3 สรุปรายงานในหัวขอของตน

ภายในวันที่ 24 ก.ค. 2553 - ขยายเวลาเปน 20 สิงหาคม 2553

ตัวแทนนิสิตแตละกลุม จัดสงรายงาน (โดยการโพสตในกรอบ และจัดใหสวยงามนาอาน) 1. รายงาน ตองประกอบดวย - สวนหัวขอรายงาน สวนเนื้อหาตามหัวขอ และ เว็บไซตอางอิง 2. ระบุวาเปนงานกลุมครั้งที่ 2 - เร่ืองที่ทํา - รายช่ือสมาชิกกลุมพรอมภาพ และขอความวา

รายงานน้ีเปนสวนหนึ่งของรายวิชา01162661 - 2553 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน เสนอตอ รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ และ ดร.นพวรรณ ฉิมรอยลาภ

Maturos - Nopphawan

Name Contributionนวพร แซเลื่อง 20-08-2010 14:59

ฉบับปรับปรุง รวมสวนที่คนควาเพ่ิมเติม รายงานกลุมคร้ังที่ 2 ปรับปรุง เร่ือง นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0 /3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหม นายกฤษฎา กุณฑล 5317650011 นายกอเดช อาสะกะละ 5317650020 นางสาวนวพร แซเลื่อง 5317650046 นางสมฤดี ปาละวัล 5317650097 เสนอ รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ ดร.นพวรรณ ฉิมรอยลาภ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 01162661-2553 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร สาขาหลักสูตรและการสอน (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ปการศึกษา 2553 ประกอบดวย เร่ือง บทนํา Web 2.0 กับการศึกษา การคิดใหมในโรงเรียน K-12 โดยการใชเคร่ืองมือของ web 2.0 ความเขาใจใน web 2.0 กับการศึกษา กอนนําไปสู web 2.0 กับ E-learning การคนหาทางเลือกใหมสําหรับอนาคต Web 2.0 กับ อีเลิรนนิ่ง นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนแนวใหม ในยุค WEB 2.0 นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0 /3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหม บทนํา เทคโนโลยี web 2.0 ไดเขามามีบทบาทเก่ียวของกับหลักสูตรและการสอนในปจจุบัน ทําใหมุมมองในการออกแบบหลักสูตรและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเกิดข้ึนหลายรูปแบบ รวมทั้งชวยสรางเสริมความสนใจของผูเรียนในการแสวงหาความรูท่ีมีอยูมากมาย ในสวนของผูออกแบหลักสูตรจะตองพัฒนาใหมีความทันสมัยและเหมาะสมกับผูเรียน ในสวนของผูเรียนสามารถเลือกเรยีนรูตามความสนใจ ซึ่งจะชวยสงเสริมการเรยีรูไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต เน้ือหานวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0/3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหมน้ี มีหัวขอสําคัญ 4 หัวขอ ประกอบดวย 1) การคิดใหมของครูและผูบริหารโรงเรียน K 12 2) เคร่ืองมือและคําแนะนําที่สําคัญในโลกของ eLearning 3) eLearning กับทางเลือกในอนาคต และ 4) ประเภทของ eLearning การคิดใหมในโรงเรียน K-12 โดยการใชเคร่ืองมือของ web 2.0 กฤษฎา Barry Jahn ไดศึกษาขอมูลจาก Hood River School District และ West Sylvan Middle School ซ่ึงเปนโรงเรียน K-12 หมายถึง โรงเรียนท่ีเป

Page 1 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 2: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

สอนตั้งแตระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา สวนใหญจะใชในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาและบางสวนของออสเตรเลีย เปาหมายในการสัมมนา เพ่ือเตรียมความคิดในการสรางความสัมพันธเชื่อมโยงกับสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบันและอนาคต การเรียนรูความหมายของคํวา web 2.0 เคร่ืองมือท่ีเก่ียวของกับ web 2.0 และการประยุกตใช ประเด็นคําถามที่ 1 คุณมีความเก่ียวของกับนักเรียนท่ีมีความตองการและสไตลการเรียนรูท่ีแตกตางกันหรือไม หลักสูตรของโรงเรียนมีการเปล่ียนแปลงและมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนหรือไม สิ่งสําคัญคือการเรียนการสอนจะตองมีการสรางความสัมพันธระหวางกการเรียนรูแบบรวมมือ การใชทักษะทางความคิดในระดับสูง การใชโครงงาน การมีเน้ือหาท่ีทันสมัยกับความเปล่ียนแปลง ประสบการณในการเรยีรูเปนสิ่งท่ีมีคา นักเรียนสามารถสราง แกไข แบงปนความรู การสรางเครือขายทางสังคมและ E-learning สิ่งเหลานี้มีความสําคัญในการจัดการเรียการสอนในปจจุบันอยางยิ่ง ปจจุบันเมื่อคนมีอายุ 38 ป จะผานการทํางานมาระหวาง 10 – 14 งาน ความตองการแรงงานในอีกสามปขางหนาจะแตกตางไปจากสามปที่ผานมดังนั้นคุณและนักการศึกษาจะตองเตรียมคนอยางไร 1. สําหรับงานที่ยังไมเกิดขึ้นในปจจุบัน 2. เตรียมคนเพ่ือแกไขปญหาที่ยังไมมีการนิยามความหมาย 3. การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีที่ยังไมมีการคนควาไปถึง ขอมูลขาวสารที่เพ่ิมขึ้นอยางทวีคูณในชวง 18 – 24 เดือนท่ีผานมา ขอมูลท่ีเรียนวันน้ีอาจลาสมัยในสามปขางหนา การสืบคนขอมูลในกูเก้ิล 2.7พันลานคร้ังตอเดือน หนังสือท่ีตีพิมพใหมทุกวันอยางนอยวันละ 3000 เลม นี่คือสิ่งท่ีบุคคลจะตองมีการตอบสนองกับสิ่งที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว เด็กวัยรุนในปจจุบันเกิดมาในโลกแหงดิจิตอล ท่ีสามารถสราง ใช ผสมผสาน แบงปนกันไดในทุกสิ่ง ประเด็นคําถามที่ 2 web 2.0 คืออะไร เว็บ 2.0 คือ ชุดของเทคโนโลยีท่ีใชสําหรับการประยุกตและการบริการ โดยผูเขียนไดอธิบายเพิ่มเติมวา เขาเชื่อวาภายในสองถึงสามปจากนี้ จะเกิดซอฟทแวรที่สามารถประยุกตใชกับเว็บได ความสามารถในการสราง แกไข แบงปน จะเปนลักษณะสําคัญที่เช่ือมโยงสูสังคมมากขึ้น ไมวาจะเปนในรูปแบบเอกสาร แผนงาน การนําเสนอ เสียง ภาพและวีดีโอ นอกจากนั้นแลวยังมีการตอบสนองจากเว็บ เชน google การใหสิ่งท่ีดีกวาและสิ่งที่ทุกคนเขาถึงได เชน firefox การอัพเดทหรือปรับปรุงขอมูลอยางเปนปจจุบัน ไมตองดาวนโหลด ไมตองมีคาใชจาย เปนตน ประเด็นที่ 3 เคร่ืองมือ web 2.0 ที่ควรรูจักมีอะไรบาง • ภาพ Google-Images, Flickr • วิกิ Wikispaces; CMS • เครือขายทางสังคม FaceBook, MySpace • วีดีโอ Ustream ,YouTube, Google Video, Netflicks • เทคโนโลยีเก่ียวกับเสียง Skype,TokBox,Jott, A/V Blog • Blog • Google Doc เว็บท่ีเก็บไฟลขอมูล แบงปน แกไขได • RSS reader ที่แสดงเนื้อหาขาว นักเรียนสวนใหญจะสนใจเทคโนโลยี ดังน้ันการท่ีครูและผูท่ีเกี่ยวของทางการศึกษามีความเขาใจในการใชเคร่ืองมือตาง ๆ เปนสิ่งที่จําเปนและสามารถตอบสนองผูเรียนท่ีมีความแตกตางระหวางบุคคลในดานรูปแบบการเรียนรูได ขอมูลจากโรงเรียนหนึ่ง ไดมอบหมายใหนักเรียนมี e-mail โดยใชช่ือโรงเรียนเปนหลัก ฝกใหมีการรับสง ตอบ แนบไฟลขอมูล และไดพัฒนาไปการสราง School based blog มีการแลกเปลี่ยนใหขอคิดซึ่งกันและกัน มีการสรางฐานขอมูลเอกสารช่ือ My Classroom Rules มีการอาน แลกเปลี่ยนและเผยแพร สิ่งสําคัญอีกประการหน่ึงคือการประเมินการเรียนรูของตนเอง มีการสรางมาตรวัด 5 ระดับเพื่อประเมินทักษะของตนเอง ระดับ 1 มีการรับรู แตไมลึซึ้ง ระดับ 2 มีความเขาใจเพียงบางสวน ระดับ 3 มีความเขาใจ แตยังตองการคําแนะนํา ระดับ 4 มีความเขาใจ แตตองการการเสริมแรงเพ่ือใหสามารถนําไปใชในสถานการณใหม ระดับ 5 มีความเขาใจและสามารถนําความรูไปใชในสถานการณใหม ดวยความหลากหลายและการพัฒนาอยางรวดเร็วทางเทคโนโลยี ประกอบกับเทคโนโลยีมีความเหมาะสมกับวัฒนธรรมของผูใชงาน ทําให Web2.0 ไดแพรความนิยมไปสูวงการศึกษา โดยเฉพาะการนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเรียนรู ซ่ึง Web 2.0 มีลักษณะอยางไร ถึงไดมีบทบาทตอการนําไปใชการจัดการศึกษาไดอยางรวดเร็วและเขากันไดดี

นวพร แซเลื่อง 10-08-2010 14:59

ความเขาใจใน web 2.0 กับการศึกษา กอนนําไปสู web 2.0 กับ E-learning นวพร ลักษณะของ Web 2.0 1. ความหมายของคําท่ีเก่ียวของกับ web 2.0 1.1 Web Application คือแอปพลิเคชั่นที่เขาถึงดวย Web browser ผานเครือขายคอมพิวเตอรอยางอินเทอรเน็ต หรืออนิทราเน็ต โดยจะมี WeApplication จํานวน 11 Web Application ท่ีไดรับความนิยมแพรหลาย 1.2 Web 2.0 เปนระยะที่สองของสถาปตยกรรมและการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่น หรืออาจกลาวไดวาเปนยุคท่ีสองของใหบริการบนอินเทอรเน็ต หลังจาก Web 1.0 เร่ิมเสื่อมความนิยมลง แอปพลิเคชั่นท่ีประกอบดวยคุณลักษณะแบบ Web 2.0 มักถูกออกแบบขึ้นมาจากเทคนิคตางๆ ท่ีพัฒนขึ้นในยุค 90 อาทิเชน public web service APls Ajax (Asynchronous Java And XML) และ web syndication (Web feeds เชน RSS feedsเปนตน) เว็บ 2.0 เปน platform ที่อาศัยอุปกรณที่อยูในเครือขายเปนตัวชวยทํางานรวมทั้งการใชงานและการประยุกตตาง ๆ ซึ่งตองอาศัยอุปกรณทํางานรวมกันเปนเครือขายท่ีเปนเนื้อเดียวกัน 1.3 เทคโนโลยีท่ีนาสนใจสําหรับ Web 2.0 ประกอบดวย 1) AJAX 2) XML, Web services 3) SaaS (Software as service) 1.4 Ajax (Asynchronous JavaScript and XML) คือ เทคโนโลยีท่ีรวมเอาความสามารถของ JavaScript, XML, CSS และ XHTML เอาไวดวยกซึ่งเปนการประยุกตเอาเทคโนโลยีเกามาผสมผสานจนไดเทคโนโลยีใหมที่นาศึกษาและนํามาใชงาน Ajax เปนกลุมของเทคนิคในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคช่ัน เพ่ือใหมีความสามารถโตตอบกับผูใชไดดีขึ้น โดยการรับสงขอมูลในฉากหลัง ทําใหท้ังหนาไมตองโหลดใหมทุกครั้งท่ีมีการเปล่ียนแปลง ซึ่งชวยใหเพ่ิมการตอบสนองความรวดเร็ว และการใชงานโดยรวม เอแจ็กซนั้นไมใชเทคโนโลใหม แตเปนเทคนิคที่ไดใชเทคโนโลยีหลายอยางที่มีอยูแลวรวมกันดังตอไปนี:้ • XHTML (หรือ HTML) และ CSS ใชในการแสดงผลลัพธและรูปแบบขอมูล • ECMAScript เชนจาวาสคริปต ในการเขาถึง Document Object Model (DOM) เพื่อใชในการแสดงขอมูลที่มีการเปล่ียนแปลงหรือโตตอบกับผใช • XMLHttpRequest ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูล asynchronously กับเว็บเซิรฟเวอร • XML ใชเปนรูปแบบขอมูลในการแลกเปลี่ยน ซึ่งรูปแบบอ่ืนก็สามารถใชไดเชนกัน ไมวาจะเปน HTML, JSON, EBML, หรือ เพลนเท็กซ 1.5 เว็บเซอรวิส (Web Services) เปนการ “บริการ” ท่ีเปนระบบซอฟตแวรท่ีออกแบบมาเพื่อสนับสนุนการทํางาน ระหวางคอมพิวเตอรกับคอมพิวเตอรผานระบบเครือขาย โดยภาษาท่ีใชในการติดตอสื่อสารระหวางคอมพิวเตอร คือ ภาษาเอ็กซเอ็มแอล (XML) Web Application ที่นิยมใชกันในยุคนี้ มี จํานวน 11 Web Application ดังนี้ (http://www.oknation.net/blog/print.php?id=189021) 1) Bbubl.us เปนโปรแกรมที่ใชสราง Mind map โดยทํางานบน Flash ซึ่งสามารถ Export file ออกมาในรูปแบบที่เปนไฟลภาพ หรือไฟล HTML1 ได

Page 2 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 3: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

2) Buzzword เปนโปรแกรม Online word processor น่ังเอง และโดยท่ัวไปจะทํางานบน Flash 3) Empress ใชสําหรับสรางภาพแบบ Slideshows เปนโปรแกรมที่ใชสําหรับสรางงาน presentation เอาใชแทน PowerPoint 4) High-rise เปนชุดโปรแกรมบริหารจัดการลูกคาสัมพันธ CRM(Customer relations manager) ซึ่งสามารถใชการจัดการบริหารธุรกิจถึง 37โปรแกรมผาน Web browser 5) Jott เปน Web.app ท่ีใชในการทําบันทึกใหกับตัวเอง โดยการบันทึกเปนเสียง แลวนําไปจัดเก็บลงในปฏิทินออนไลน ซึ่งเราสามารถเรียกใชเมื่อไหรก็ได 6) Mint เปน Web.app ท่ีใชจัดการบริหารการเงินดวยตัวของคุณเองผานระบบออนไลน ซ่ึงจะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี 7) Nozbe เปน Web.app สําหรับ Project management ทําหนาที่บริหารจัดการ Project ตางๆ 8) Sandy เปน Web.app ผูชวยสวนตัวในการจัดการเร่ืองอีเมลดวยภาษาธรรมชาติ 9) Vitalist มีลักษณะคลาย Nozbe และ Todoist เนื่องจากเปนโปรแกรมท่ีอยูในกลุมเดียวกัน 10) Scrybe เปน Web.app ที่มีการรวมกันระหวางปฏิทิน กับระบบแจงอีเมล ทําใหเราสามารถสรางตารางนัดหมายผานระบบออนไลน และแจงเตือนบุคคลท่ีเกี่ยวของทางอีเมลไดดวย 11) Todoist มลีักษณะการทํางานที่คลาย Nozbe แตจะเนนไปในแนวทางท่ีเปนการวางแผนใชชีวิตประจําวันมากกวา Jott บริษัทหนึ่งที่อยูใน Seattle, นําเสนอบริการใหมที่สะดวก ในการชวยใหคุณพูดขอความและสงใหตัวเองหรือคนอ่ืนๆ ผานเสียง แลวแปลง เปขอความคัดลอก หรือเปนขอความเสียง ตามท่ีคุณตองการ ซึ่ง John Pollard, CEO of Jott Networks ไดใหสัมภาษณเก่ียวกับบริการ Jott โดยJohn Pollard เปน CEO ของ Jott Networks ( www.jott.com ) ซึ่งเปนบริษัท Seattle ท่ีใหบริการโดยผานเพียงโทรศัพท โดยบริการที่นาสนคือ ชวยใหคุณสามารถเรียกหมายเลขโทรศัพท, ฝากขอความและมีขอความที่คัดลอกและสงไปยัง email ได ขอเพียงแคคุณมีสิ่งท่ีตองทํา แลวใชบริการผาน Jott del.icio.us เปนการรวบรวมสิ่งท่ีขื่นชอบของพวกคุณและคนอื่น มารวบรวมไว ในลักษณะท่ีคั่นหนังสือ โดยใช del.icio.us ในการเช่ือมตอ สิ่งท่ีคุณสนใจ ไดแก บทความ บล็อก ดนตรี การคนหารานอาหาร และอ่ืนๆ อีกมากมายจาก del.icio.us โดยทํางานขามเครือขายจากคอมพิวเตอรอื่นบนเว็บ และแบงปนสิ่งท่ีชื่นชอบกับเพ่ือน ๆ ของคุณ ครอบครัว และเพ่ือนรวมชั้น การคนหาสิ่งใหม หรือทุกสิ่งบน del.icio.us จะสรางความช่ืนชอบใหแกทุกคนท่ีไดจากความสําเร็จในการใชงานในสิ่งท่ีไดคนพบ ในวงการศึกษาตางประเทศ มีการนํา เทคโนโลยี ของ Web 2.0 มาใชกับ การจัดศึกษา ผาน ระบบ E-learning อยางหลากหลายและแปลกใหมดังนี้ จากการสัมมนาเมื่อวันจันทรที่ 5. พ.ย.2007 ณ ท่ีโรงเรียนในเขตลินคอน ซึ่งอํานวยการจัดงานสัมมนาเก่ียวกับ E-learning ปละครั้ง บริเวณนิวพต (http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/e-learning-workshop-nov-07) ซึ่ง การสัมมนานําเสนอใหเห็นภาพของโรงเรียนที่ใชโปรแกรมทางไกล และผูจัดทําการเรียนรูโดยใช E-learning ไดทําการถายทอดภาพจากสถานท่ีจริงของนักเรียนและทีมงานท่ีทํางานรวมกันในชั้นเรียนจริงมาสูท่ีสัมมนา มีการนําเสนอเรื่องเทคนิคและเครื่องมือในการสื่อสารและสรางสิแวดลอมชุมชนออนไลน สําหรับ เครื่องมือท่ีใชในการผสมผสานจัดการศึกษา ผาน ระบบ E-learning มีดังนี้ 1. การนําเสนองานดวย Google Docs เปนการนําเสนอดวยเอกสารผานเทคนิค ของ Google Docs 2. การสาธิตการใช Web 2.0 Tool ดวยทิปและหัวขอสนทนาใน Google Blog 3. การใช Blog ในการสอนโดยผูสอนต้ังคําถามบน บล็อกและผูเรียนเปนผูคนควาตอบขอคําถามบนบล็อก ซึ่งเปนวิธีหนึ่งที่ใช Web tool ชวยในการจัดการศึกษา 4. การใช YackPack (walkie-talkie) เปนเคร่ืองมือสื่อสารผานเว็บ มีลักษณะการใช คือ ไมสามารถใชกับอีเมลไดแตสามารถอัพโหลดภาพและขอความได มีขอแมคือ รูปภาพเก็บไวไดระยะสั้นและขอความเสียง ไมสามารถบันทึกเสียงไดหรือเลนอยูเบ้ืองหลังได เปนเครื่องมือท่ีใชสําหรับรัสงขอความเทานั้น เหมาะสําหรับการคุยกันระหวางเพ่ือน โดยสามารถใชงานดวยการรับเพื่อนใหอยูใน pack 5. เทคนิกการใช Google Docs ในการสราง การแกไข และการแชรขอมูลไดโดยลักษณะ ( Create/Edit/Share ) 6. การใช Jott ซึ่งเปนเว็บ ท่ีใหบริการโดยใชเสียงผานโทรศัพท เสียงจะถูกแปลงเปนขอความและสงไปท่ีเมล หรือ บล็อก 7. การใช Blogger โดยการบันทึกเสียง (audio recorder).แลวนําขึ้นสูบล็อกหรือเว็บ 8. การนําเสนอการใช UStream ซึ่งมีการนําเอาเสียง การบันทึกวีดีโอและรายการสด(audio/video recording and Live Broadcasting) มาใชรวมกันได 9. การใช Social Bookmarking (del.icio.us) ซึ่งเปนเว็บสําหรับชุมชนออนไลนที่ใหบริการเก่ียวกับการแลกเปลี่ยนเรื่องท่ีชื่นชอบเหมือนกันเชนการคนหารานอาหาร บทความ เร่ืองราวท่ีสนใจรวมกัน ระหวางกลุมจากเครือขายอินเตอรเน็ต และรวบรวมเขาดวยกันเหมือนการคั่นหนังสือ 10. การใช Google Images/Video; Flickr; YouTube; iGoogle (CMS) and Web2.0 Tools นําไปใชในการจัดการศึกษา เปนการแสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ยุค Web 2.0 มีความหลากหลาย แปลกใหมย่ิงขึ้น ผิดไปจากรูปแบบเดิม Barry jahn ผูซึ่งเปนคนท่ีไดศึกษา คนควา วิจัยเก่ียวกับเทคโนโลยี Web 2.0 เห็นดวยกับการท่ีผูนําทางการศึกษาหรือผูบริหารทางการศึกษา ตองมีความเช่ือวา 1.จะตองสนับสนุนใหการศึกษามีประสิทธิภาพและสนับสนุนใหผูเรียนอยูในสภาพท่ีเปนวัฒนธรรมของผูเรียนโดยแท 2.เช่ือวา อินเตอรเน็ตและเทคโนโลยีชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอนและเพิ่มโอกาสทางการเรียนรูแกผูเรียน 3.มองใหเห็นวา การเตรียมผูเรียนในวันนี้เพื่ออนาคตของเขามากกวาอดีตที่ผานมาของพวกเรา โดย Barry ไดแสดงใหเห็นวา อิทธิพลของ Web 2.0 ที่ใชกันอยางแพรหลาย และนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน มีลักษณะและประเภทกานําไปใชดังน้ี •Images ประเภท ภาพ ไดแก เว็บ Google-Images, Flickr Scribblar •Social Networking ประเภทชุมชนออนไลน ไดแก FaceBook, MySpace •Podcasting – ประเภทคลื่นเสียง ไดแก iTunes, Audacity •Video ประเภท ภาพเคลื่อนไหว Google Video Ustream, TeacherTube, YouTube CatchVideo.net •Audio ประเภทเสียง Jott, Skype, Yackpack, av-Blog •Blog ประเภทบล็อก ไดแก - Blogging vs webpage •Google Docs ประเภทเอกสารและการนําเสนอ W.Proc, S.Sheet, Presentation Share (co-edit, co-view) Publish (as URL or to Blog) Revision & tracking •Google Site ประเภท การสรางเว็บไซต web design

Page 3 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 4: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

.Social Bookmarking ประเภทการรวมรวมจัดการเว็บที่สนใจของกลุม delicious tagging RSS (Reader) Google Reader, Bloglines เหลาน้ี เปนตน ที่มา (http://www.barryjahn.com/web-2-0-tools) ความแพรหลายในเทคโนโลยีการสื่อสารบนเว็บ และมีหลากหลายใหเลือกใชไดตรงตามความตองการของผูใช อยางสะดวก รวดเร็ว งาย จึงปรากฏการพัฒนาผลิตภัณฑ เคร่ืองมือที่ใชบนเครือขายออนไลนมากมาย เพื่อเปนทางเลือกตามวัตถุประสงคของผูใชอยางไมจํากัด ดังท่ีจะกลาตอไปน้ี การคนหาทางเลือกใหมสําหรับอนาคต กอเดช เปนที่ประจักษอยางชัดเจนวา Web2.0 สามารถแสดงความหลากหลายของเทคโนโลยีการสื่อสารบนเว็บใหม ๆ ได ทุกท่ีทุกเวลา ท่ีสุดยอดยิ่งกคือท้ังหมดฟรี การสาธิตและการอภิปราย จะเนนวิธีการใชเคร่ืองมือตางๆในการเพ่ิมประสิทธิภาพการสื่อสารและบูรณาการเทคโนโลยีในทุกขอบเขตหลักสูตร เครื่องมือของ Google เปนหัวใจของ Web2.0 ผลิตภัณฑอ่ืน ๆ จะไดรับการกลาวถึงเชนกัน จากการศึกษาและสังเกตท่ีผานมาสองป เห็นการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนในการเชื่อมตอระหวางเทคโนโลยีและการศึกษา นักเรียนวันน้ีกลายเปนมนุษยดิจิตอลที่มีวัฒนธรรมฝงอยูในเทคโนโลยี ดังนั้นการจะทําใหการศึกษายุคปจจุบันประสบความสําเร็จ เราจําเปนตองเขาใจวัฒนธรรมใหมตัวนี้ การสํารวจทางเลือกท่ีจะเริ่มตนดวย การเตรียมความคิดของเราสําหรับ 4 R 's : -Relationship --> Relevance – Riger> --> Results - Shift Happens -->so Pay Attention คุณไดเขาไปในโลกของเด็ก สัมผัสถึงความตองการ และวิธีการเรียนรูของเด็กหรือเปลา หากถามวา หลักสูตรปจจุบันท่ีใชอยูมันมีลักษณะท่ีตอบสนองผูเรียนจริงๆหรือเปลา มันมีลักษณะท่ีเขาถึงผูเรียนจริงๆหรือไม ซึ่งประเด็นน้ีเราสามารถท่ีจะพิจารณาจากลักษณะการโตตอบระหวางผูสอน ผูเรียนและระหวางผูเรียนกับผูเรียน ในลักษณะของการสรางชุมชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การสรางขอมูล บอกเลาประสบการณตอกัน กิจกรรมเหลาน้ีเปนกิจกรรมหลักท่ีชาวดิจิตอลปฏิบัติอยูทุกวัน จากขอมูลของกรมแรงงานสหรัฐพบวา กลุมคนอายุ ท่ีเรียนจบ-38 ป จะมีงานที่เปนที่นิยม ประมาณ 10-14 งาน และ 10 งานในน้ัน เปนงานที่เพ่ิเกิดใหม หมายความวามีงานเกิดขึ้นใหมมากกวาคร่ึงในทุกๆ 3 ป ฉะน้ันหนาท่ีของนักการศึกษาปจจุบันไดเปลี่ยนไปแลว สอนการแกปญหาที่ยังไมเกิด สอนการใชเทคโนโลยีและเครื่องมือตางๆ ท่ียังไมไดคนพบดูแลวเปนเร่ืองที่นาปวดหัว แตจริง ๆ แลวหาเปนเชนนั้นไม สําหรับชาวดิจิตอลพรอมท่ีจะเรียนรูและปรับตัวกับความเปล่ียนแปลงเหลานั้น ลองใชเครื่องมือเหลาน้ีสําหรับ Web2.0 เพื่อชวยใหเราเขาไปสัมผัสโลกของผูเรียน เพื่อตอบสนองความตองการและรูปแบบการเรียนรู สําหรับกเตรียมพวกเขาใหพรอมสําหรับอนาคต ซึ่ง ผลิตภัณฑ โดย Google มีมากมาย เชน Gmail Docs Word, Spreadsheet, Presentation, Forms Upload Word, Excel, Powerpoint Blogger blogspot.com เว็บไซต (web page) Reader (และ RSS) รูปภาพ (Web Albums Picasa) SketchUp และแผนที่โลก ผลิตภัณฑ non - Google Web2 Jott.com โทรศัพทมือถืออีเมลหรือบล็อก Delicious.com Social bookmarking Scribblar.com ฝกอบรมออนไลน, สอน, การระดมความคิดสรางสรรครวมมือ เรียลไทมสดอัพโหลดภาพเสียง GetDropBox.com Skype.com CatchVideo.net YouTube VoiceThread.com Web 2.0 Tools Web2.0 สามารถกําหนดเปน"แพลตฟอรมบนเว็บสําหรับการใชงานและการบริการหมายถึง Web - based าซอฟตแวรและไฟลของคุณสามารถเขาถึงไดจากทุกท่ีทุกเวลา มีการทํานายวาภายในสองสามป ทุกโปรแกรมซอฟตแวรหลักจะยายเขาสูระบบคอมพิวเตอรของคุณ. Web2.0 : ไมมีการดาวนโหลดและผลิตภัณฑทุกอยางฟรี Non - Google Products (free all) Yodio Screentoaster.com Screenr Youtube OnlineVideoConverter.com Delicious.com TokBox.com TinyURL.com FlipMyPhotos.coDoodle.com 4Shared.com TeamViewer.com RSS Google Reader PDF การแปลง Word Ustream Voice Thread Podcasting Web2.0 ลูกผสม ดาวนโหลดฟรีแลวเขาถึงไดจากทุกที่ทุกเวลา dropbox Skype ไมจําเปนตอง Web2.0 แตคุณอาจตองการเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพเหลานี้ อยูดี : PDF - Xchange Viewer CutePDF Writer Free Sound Recorder Ninite Screenhunter5 Mac 's (SnagItBeta) นักเรียนสวนใหญยอมรับเทคโนโลยี หากครูพิจารณาใชเคร่ืองมือเหลานี้ คือ Web2.0 ก็สามารถเขาไปสูโลกของพวกเขา เรียนรูตามแบบการเรียรู(Learning style)ของนักเรียนแตละคน เพ่ือเตรียมนักศึกษาปจจุบันเพื่ออนาคต ดวยลักษณะของผูเรียนในยุคนี้ จึงหลีกเลี่ยงไมไดวา การจัดการศึกษาในปจจุบัน จะเกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีสื่อสารบนเครือขายออนไลน ผาน เคร่ืองมือ Web 2.0 ดังจะเห็นไดจาก การนําไปสูการจัดการศึกษาแบบ อีเลิรนน่ิง ดังจะกลาวตอไปนี้ Web 2.0 กับ อีเลิรนนิ่ง ประเภทของอีเลิรนนิ่ง สมฤดี หน่ึงในความทาทายท่ีสําคญัเมื่อพูดถึงอีเลิรนน่ิงจะเกิดความเขาใจท่ีแตกตางกัน เก่ียวกับขอบเขตของขอมูล โดยสวนใหญก็จะแทรกประสบการและงานของตนเขาไปในการสนทนาดวย การนําเสนอภาพของอีเลิรนน่ิง ไดสะทอนถึงสิ่งท่ีเราไดพบ สําหรับนักออกแบบการสอนแลว อีเลิรนนิง่หมายถึง หลักสูตรหรือสื่อการเรียนรูที่จะพัฒนาผูเรียนใหบรรลุตามวัตถุประสงค มีขอบเขตในเรื่องของการพัฒนาโปรแกรมการสอนตางๆ มีการแสดงความคิดเห็นที่แตกตางกันแตละประเภทของอีเลิรนนิ่ง ซึ่งแตละลักษณะจะมีประสิทธิภาพสูงเมื่อจัดใหอยูในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ประเภทของอีเลิรนนิ่งแบงได ดังนี้ 1. Course(หลักสูตร) ท่ีจัดทําขึ้นตามมาตรฐานทางวิชาการ เมื่อพูดถึงอีเลิรนนิ่งในหลักสูตรก็จะมองวาเปนสื่อ/วัสดุทางการศึกษา นักออกแบบจเร่ิมดวยการสรางสถานการณจําลอง การเลาเร่ือง สื่อออนไลน ลักษณะเดนคือการจัดใหเหมือนกับหองเรียน โดยทั้งผูเรียนและผูสอนสามารถเรียรูรวมกันได 2. Informal learning (การเรียนรูอยางไมเปนทางการ) การเรียนรูในลักษณะนี้ไมมีรูปแบบชัดเจนเรียนไดทุกที่ ทุกเวลา 3. Blended learning (การเรียนรูแบบผสมผสาน)เปนลักษณะการจัดการเรียนการสอนท่ีผสมผสานการเรียนในชั้นเรียนปกติกับการเรียนรูออนไลอาจมีสัดสวนในหองเรียน60% บนเว็บ40% เปดโอกาสใหมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนขอมูลภายนอกหองเรียน ผูเรียนสามารถเรียนรูทุกอยางท่ีตอ

Page 4 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 5: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

การ เพราะการเรียนรูเปนกระบวนการทางสังคม ผูสอนจึงมีบทบาทเปนท้ังผูสอน ผูใหคําแนะนํา และผูอํานวยความสะดวก 4. Communities(การสื่อสาร)ปญหาในสังคมปจจุบันนี้มีความสลับซับซอนโลกมีการเปลี่ยนแปลงเหตุการณตางๆในอดีตจะไมเหมือนกับปจจุบันการแกปญหาตางๆตองใชมุมมองที่หลากหลาย เพื่อสรางความเขาใจท่ีถูกตอง การจัดการเรียนรูในลักษณะน้ีเปนเสมือนชุมชนออนไลน โดยผานการสนทนากับสมาชิกในองคกรเดียวกันหรือองคกรระดับโลก 5. Knowledge Management(การจัดการความรู)จะเกี่ยวของกับกระบวนการในการจัดการความรูของแตละองคกร ซึ่งมีแปดลักษณะคือการเรียนและพัฒนา การจัดการสารสนเทศ การใหขอมูลยอนกลับ การสรุปความรู การเปล่ียนของความรู การทํางานเปนทีม การติดตอสื่อสาร และระบบการจัดการเนื้อหา 6. Learning Networks(การเรียนรูโดยผานเครือขายNetworks) 7. Work-based Learning(การเรียนรูโดยใชงานเปนฐาน) ที่มา http://www.elearnspace.org/Articles/elearningcategories.htm Kyle Mathews ไดนําเสนอ แนวคิดการศึกษากับ E-learning ไวในบทความ ที่แสดงใหเห็น ลักษณะของ E-learning ดังน้ี ฝนไปดวยกันกับ Kyle Mathews สาระสําคัญคือผูเขียนพยายามจะนําเสนอขอคิดเห็น และประสบการณในการประยุกต/เลือกใชโปรแกรมตางๆสําหรับการศึกษา ท้ังจากการทําวิจัการแลกเปลี่ยนกับเพ่ือน ๆ ทางเว็บ การพัฒนาบล็อกโดยมีประเด็นท่ีนาสนใจดังนี้ • การใชโปรแกรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอรตางๆในมหาวิทยาลัยจะเนนการเรียนรูในแนวกวางมากกวาการเจาะลึก • วีดิโอและสไลดจากการนําเสนอท่ี Druplacon DC 2009 ซ่ึงผูเขียนไดมีโอกาสไปนําเสนองานวิจัย • อะไรคือกุญแจสําคัญในการวัดการเรียนรูผูเขียนไดขอเสนอแนะจากJon Mott’s blog ซ่ึงเปนนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ผูที่รวมกันสรางแรงบันดาลใจในการใชเคร่ืองมือweb2.0ในหองเรียน เขาคิดวาเคร่ืองมือที่จะสรางการเรียนรู web 2.0 คอืkey metric ซ่ึงจะเปนตัวกําหนดแนวทางใการตัดสินใจและวัดความสําเร็จ • การเช่ือมตอซึ่งผูเขียนคิดวาเขากําลังเร่ิมทําlink post บอยขึ้น เขาสามารถเขาถึงเน้ือหา เขาคิดวาเขาควรจะเขียนเรื่องนี้แตก็ไมมีเวลาในการเขียน( a full blown post) • เว็บ2.0คือการศึกษาในอนาคต มีประเด็นที่ผูเขียนกลาวถึงดังนี้ -โลกในอนาคตจะเปนโลกท่ีไมมีหลักสูตร การเรียนรูในอนาคตจะเปน การเรียนนอกหองเรียนมากกวาในหองเรียน -ทฤษฎีการพัฒนาสังคมของ Vygotsky ท่ีวาทุก ๆ บทบาทในการพัฒนา วัฒนธรรมของเด็ก จะเกิดขึ้นสองครั้ง คือบทบาทในระดับทางสังคม และบทบาทในระดับความแตกตางระหวางบุคคล -ทําอยางไรจึงจะยิ่งใหญ? จากการวิจัยไดใหขอคิดเห็นวาควรสนใจใน เทคโนโลยีใหม ๆ กําหนดเปาหมายเฉพาะ,ไดรับสิ่งท่ีดี ใหขอมูลยอนกลับทันทีและใชมัน -ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคมของแบนดูรา ซึ่งกลาววาพฤติกรรมตาง ๆ ของ มนุษยเกิดจากการเรียนรูและสังเกตตนแบบหรือบุคคล นอกจากน้ี ผูเขียนยังไดเลาถึงประสบการณในการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาระบบสารสนเทศ การทําเว็บไซด E-commerce (ธุรกิจขายตรง) การทําเว็บไซดอ่ืนๆ(Drupal website) ซ่ึงเปนเว็บไซดที่บอกขาวและเหตุการณจากโบสถในเมืองUtah และชุมชนรอบๆ การทํางานเปนผูชวยนักวิจัย ซ่ึงไดทํางานรวมกับศาสตราจารยและนิสิตปริญญาเอก โดยศึกษวา จะทําอยางไรใหเทคโนโลยี web2.0 สามารถนํามาใชในหองเรียนและชวยใหนักเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนรู โดยเขาไดพัฒนาโมดุใหนักเรียนพัฒนาเว็บไซดของตนเอง และไดขอสรุปจากการวิจัยเก่ียวกับโปรแกรมอีเลิรนน่ิงท่ีสนับสนุนในเร่ืองของปฏิสัมพันธในกลุมเล็กๆอีกดว ซอฟแวร อีกตัวหนึ่งท่ีเปนเว็บแอปพริเคช่ัน ท่ีใชการออนไลน สรางองคความรูในลักษณะ web 2.0 คือ Wiki Wiki คือซอฟตแวร(Software) ในรูปแบบเว็บ (Web Application) ที่อนุญาตใหผูเขาชม สามารถแกไขเนื้อหาบนเว็บไดในขณะที่กําลังออนไลน(Online) อยูบนเบราวเซอร(Browser) วิกิ(Wiki) ตัวแรกช่ือวา WikiWikiWeb สรางโดย วอรด คันนิงแฮม(Ward Cunningham) เมื่อพ.ศ.2537 สําหรับโครงการ Portland Pattern Repository ของเขา โดยไดเขียนโปรแกรมขึ้นดวยภาษาเพิรล(Perl) และติดตั้งลงที่เว็บ c2.com โดยชื่อของ วิกิ นั้นมาจากช่ือรถประจําทางสาย"วิกิ วิกิ" (Wiki Wiki) ของระบบรถขนสงแชนซ อารท-ี52 ที่สนามบินฮอโนลูลูในรัฐฮาวาย คําวาวิกิในภาษาฮาวาย มีความหมายวาเร็ว ดังนั้นคําว"วิกิวิก"ิ หมายถึง "เร็วเร็ว" น่ันเอง ระบบวิกิเริ่มเปนที่รูจักภายหลังจากท่ีสารานุกรมวิกิพีเดียไดนํามาใช ซ่ึงตอมาไดมีหนวยงานหลายสวนไดนําระบบวิกิมาใช ไมวาในการจัดการเอกสาร การติดตอสื่อสาร หรือแมแตการรวมเขียนโปรแกรม เว็บไซด http://www.webopedia.com/ ไดใหความหมายของ Wiki วา เปนเว็บไซดที่รวมกันทําโดยผูเขียนหลาย ๆ คน มีรูปแบบ คลายกับ blซึ่งมผูีเขียนเพียงคนเดียว แตสําหรับ Wiki ผูเขียนหลาย ๆ คนสามารถชวยกัน เขียน แกไข ลบ หรือขยายความ ขอความท่ีอยูบนเว็บไซดได โดยใชการติดตอปฎิสัมพันธกันดวยโปรแกรม เบราวเซอร เว็บไซด http://www.wiki.org/ ไดใหความหมายของ Wiki วา เปนซอพทแวร server ที่ยอมใหผูใชหลาย ๆ คนสามารถสรางและแกไขเนื้อหาบนเว็บไซดไดโดยเสรีโดยใช web browser นอกจากนี้ Wiki ยังสนับสนุน hyperlinks และมีโครงสรางอยางงายในการสรางหนาใหมและการเช่ือมกันระหวางหนาภายในเว็บไซด ลักษณะสําคัญของ Wiki 1) เทคโนโลยีของวิกิวิกิเว็บเซิรฟเวอร (WikiWikiWeb Server) เปนโครงสรางไฮเปอรเท็กซ แตละหนาจะมีลิงกเปนจํานวนมากที่ลิงกไปยังหนาอื่น 2) เนนการทํางานแบบงาย ซึ่งผูเขียนสามารถสรางเนื้อหาบนเว็บไดโดยไมจําเปนตองมีความรูในภาษาเอชทีเอ็มแอล(HTML) โดยขอมูลถูกเขียรวมกันดวยภาษามารกอัป(MarkUp)อยางงายโดยผานเว็บเบราวเซอร(Web Browser)ในแตละหนาจะถูกเรียกวา"หนาวิกิ" และเนื้อหาภายในจะเช่ือมตอกันผานทางไฮเปอรลิงก (Hyperlinks)ซึ่งสงผลใหในแตละวิกิสามารถทํางานผานระบบที่เรียบงายและสามารถใชเปนฐานขอมูล สําหรับสืบคน ดูแลรักษาที่งาย นิยามลักษณะของเทคโนโลยีวิกิคือความงายในการสรางและแกไขหนาหนาเว็บ โดยไมจําเปนตองผานการตรวจสอบหรือยืนยันจากเจาของเว็บน เว็บวิกิหลายแหงเปดใหผูใชบริการท่ัวไปในขณะที่บางกรณี ข้ึนอยูกับการตั้งคาวิกิ บนเซิรฟเวอร ผูใชอาจจะตองล็อกอินเพื่อแกไข หรือเพ่ืออานบางหนา (http://th.wikipedia.org/wiki/Wiki) 3) ผูใชงานไมตองลงโปรแกรมเพิ่มเติมพิเศษ สามารถใชงานผานเบราวเซอร และผูใชไมจําเปนตองมีความรูดานเทคนิค 4) เปนสวนหนึ่งของ Web 2.0 * Web 2.0 เปนคําท่ีถูกคิดคนขึ้นมาใหมโดยทิม โอไรลลี่ย ( เพ่ือใชอธิบายถึงวิวัฒนาการในปจจุบนัของเว็บ จากที่เปนแคผลรวมของเว็บไซต

Page 5 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 6: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

หลายๆแหง มาเปนโครงสรางพ้ืนฐานทางคอมพิวเตอรท่ีใหบริการซอฟตแวรผานเว็บใหกับผูใช ผูท่ีเห็นดวยกับแนวคิดนี้คาดวาบริการตางๆ บนเว็2.0 จะมาแทนที่ซอฟตแวรแบบดั้งเดิมหลายๆ ประเภท แมจะยังไมมีคํานิยามท่ีอธิบายถึงเว็บ 2.0 ไดครอบคลุมที่สุด แตหน่ึงในหลายตัวอยางของความแตกตางระหวางเว็บ 1.0 และเว็บ 2.0 คือ การเปลี่ยนจากเว็บไซตที่มุงทําธุรกิจอยางเดียวมาเปนการมุงสรางชุมชนหรือสังคมคนออนไลนมากขึ้น เชนการใหบริการซอฟตแวรผานเว็บไซต การเปดกวางใหผูใชมีสวนรวมในการเผยแพรคอนเทนทตางๆ และการดาวนโหลดขอมูลแบบบิตทอรเรนท เปนตน ทําไม Wiki ถึงเปนนวัตกรรมในการเรียนการสอนอีเลิรนน่ิง รูปแบบการสอนที่ใชกันอยูโดยท่ัวไป เชน การเรียนการสอนในชั้นเรียน การเรียนทางไกล หรือการเรียนทางอินเทอรเน็ต การเรียนการสอนมักเปนการถายทอด หรือนําเสนอความคิดเพียงทางเดียว แมการอภิปรายท่ีมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ก็เปนลักษณะการใหขอมูล หรือความรูเปนของแตละคน การนําเทคโนโลยีของ Wiki มาใช ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนองคความรู เกิดการขัดเกลา ผสมผสาน และการตรวจสอบ เกิดการสังเคราะหขึ้นเปนความรูที่มาจากผูเรียนหลาย ๆ คน จึงถือไดวาเทคโนโลยี Wiki นับเปนนวัตกรรมในการเรียนรูรูปแบบหน่ึง ตัวอยางหนึ่งของการนํา Wiki มาใชในการเรียนการสอน เปนขอความบรรยายตอนหน่ึง แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ Wiki ของ ดร.วลัยภรณ นาคพันธุ หัวหนาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรัสิต (ขอมูลจากเว็บไซต http://gotoknow.org/blog/thaikm/17330 ) ดร.วลัยภรณ นาคพันธุ : .....มีวิชาหน่ึงท่ีดิฉันสอน ชื่อวาคอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบสถาปตยกรรมเบื้องตนที่ใหนักศึกษาเขาใจศัพทพื้นฐานในวงการออกแบบ การเขียนแบบดวยวิชาคอมพิวเตอร โดยในคลาสนี้เปนนักศึกษาระดับปริญญาโท 12 คน เร่ิมจากแนะนําใหเขารูจักระบบ CMS (content management system ) เปนระบบท่ีใชในการจัดการเนื้อหา สามารถตั้งเปน server ไดหลายรูปแบบดวยกัน คือ weblog e-commere-learning จนกระทั่งมาถึง Wikipedia ซึ่งตรงนี้ไดนํามาใชในการออกแบบ ในการจัดการเนื้อหา หลังจากท่ีแนะนํา Wikipedia ใหเขารูจักแลว ใการบานไปเขียนใน Wikipedia โดยเขียนรายงานเกี่ยวกับเร่ืองท่ีตนเองสนใจ 6 หัวขอ สวนหัวขอท่ี 7 เปนศัพทท่ีเก่ียวของทางดานคอมพิวเตอรเก่ียวกับการออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งตรงนี้ก็เปนเทคนิคอันหนึ่ง คือใหเขาเขียนสิ่งท่ีเขาสนใจและเขารู ขอแคหัวขอเดียวเกี่ยวกับศัพทท่ีจะเรียเน่ืองจากนักศึกษาจํานวนหลายคน คนหนึ่งเขาไปเขียนคนอื่นก็อานได เปนตัวอยางท่ีนักศึกษาสนใจ คือการตูนท่ีวัยรุนสนใจ เชน ปอมปอม มีคนเขามาชวยกันแก สโมสรฟุตบอลลิเวอรพูล แหลงโบราณคดีบานเชียง กอนที่จะใหกลับไปเขียนท่ีบานก็มีการ train ในชั้นเรียนกอน หนา web เว็ของ Wikipedia มีสวนท่ีเรียกวา กระบะทราย จะทําอะไรก็ได แลวจึงปลอยเขาลงสนามจริง ๆ คิดวาคงไมกอกวน Wikipedia เทาไหร หลังจากทีเขากลับไปเขียน ตอนแรกๆ นักศึกษาจะทํา link ตัวหนา ตัวเอียงไมเปนก็มีอาสาสมัครใจดีชวยกันเขามาเขียน เมื่อผานการตรวจสอบ ตอนหลังก็จะไดออกมาเปนบทความที่สวยงามได ศัพทตรงนี้เปนศัพทที่เราจะสอบปลายภาคอยูแลว มีคนเขามาเขียนหลายหัวขอดวยกัน สรุปวาประสบควสําเร็จดี ...... Wiki มีรูปแบบไหนบาง การใชงาน Wiki ข้ึนอยูกับจุดประสงคของคนเฉพาะกลุม เชน องคกรหรือบริษัทท่ีตองการใชงานWiki โดยทั่วไปแบงการใชงาน Wiki เปน 2 ประเภทคือใชงานในกลุมคนเฉพาะกลุม และใชงานเปนสาธารณะบนอินเทอรเน็ต Wiki สามารถนําไปใชงานไดหลายรูปแบบ เชน สามารถใชงานเปนเคร่ืองมือจัดการกับองคความรู (Knowledge Management Tools) การวางแผนและจัดการกับเอกสารตางๆ หรือใชในระบบจัดการขอมูล (Content Management System) ใชในกระดานสนทนา (Discussion Board) ปจจุบันมีหลายองคกรไดนําเทคโนโลยี Wiki ไปใชในดานตาง ๆ เชน เปนออรแกไนเซอร(Organizer)ภายในองคกร การจัดการเรียนการสอน การนํา Wiki มาประยุกตในการเรียนการสอนอีเลิรนน่ิง Duffy และ Bruns (2006) ไดเสนอการนําวิกิมาใชในการเรียนการสอนดังนี้ • นักศึกษาสามารถใชวิกิเปนตัวเอกสารหลักในการรวมกันพัฒนาโครงงานวิจัย • นักศึกษาสามารถใชวิกิเปนตัวเอกสารหลักในการเพิ่มบทสรุปความคิดของตนเองที่มีตอรายการหนังสือท่ีตองอานประกอบการเรียนและรวมกันเขียน annotated bibliography • ในการเรียนการสอนทางไกล ผูสอนสามารถพิมพหลักสูตรของวิชา เอกสารประกอบการเรียนบนวิกิ โดยที่ผูเรียนสามารถเพิ่มเติมเสนอความคดิเห็นของตนเองท่ีมีตอวิชาที่เรียนไดโดยตรง • วิกิสามารถใชเปนฐานความรูของผูสอน ในการรวมกันสะทอนความคิดเห็นเก่ียวกับการสอนในเร่ืองตางๆ ซึ่งสามารถนํามาจัดหมวดหมูใหงายตอการสืบคนไดในภายหลัง • วิกิสามารถนํามาใชในการสรางกระบวนทัศน โดยวิธีการระดมสมอง เพราะจะเปนตัวเชื่อมใหเกิดเครือขายของแหลงขอมูลตางๆ • วิกิสามารถนํามาใชแทนท่ีโปรแกรมในการนําเสนอ เชน PowerPoint เพราะผูเรียนสามารถรวมกันเพิ่มเติม แกไขขอมูลในการนําเสนอไดในเวลนั้นๆ • ใชเปนเคร่ืองมือในการเขียนรวมกันเปนกลุม • ใชในการประเมินผลวิชาที่เรียน โดยผูเรียนรวมกันเขียนสิ่งท่ีแตละคนไดจากการเรียนวิชานั้นๆ ขอดีของ Wiki ในการนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิ่ง 1) สามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูแบบรวมมือ (collaboration) กับผูเรียนดวยกัน และกับผูสอนไดเปนอยางดี สามารถแสดงความคิดเห็น แลการใหความไววางใจที่จะใหสมาชิกในกลุมสามารถที่จะแกไข ขอมูลตางๆ เพ่ือท่ีจะใหบทความ หรือ ความรูนั่นสมบูรณย่ิงข้ึน ดร. ธวัชชัย ปยะวัฒน (http://gotoknow.org/blog/memecoder/9220) ไดแสดงความเห็นดังน้ี ......เจตนาการใชงานวิกิก็เพ่ือการเขียนเอกสรวมกัน (Collaborative Writing) โดยจัดเรียงเนื้อหาตามโครงสรางของเอกสารน้ันๆ เอกสารท่ีเขียนอาจจะเปนคูมือในเรื่องใดเรื่องหนึ่งท่ีมีโครงสรางสามารถเขียนรวมกันและเชื่อมตอหากันในเนื้อหาของเอกสารได ดังน้ันขอดีของวิกิก็คือ ใชเขียนเอกสารท่ีเนื้อหามโีครงสราง (Structured Contents) รวมกันไดดี และเปดโอกาสใหมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเอกสารท่ีมีโครงสรางนั้นไดรวดเร็วทันตอการเปลี่ยนแปลง..... 2) สงเสริมคุณธรรมใหกับผูเรียน ในดานความสามัคคี ความเสียสละ ความรวมมือรวมใจ ในการแบงปนความรู ขอจํากัดของ Wiki ในการนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิ่ง 1) เอกสารที่เขียนตองมีโครงสรางท่ีชัดเจนในระดับหนึ่งแลวกอนเปดโอกาสใหมีการเขียนรวมกันได มิฉะน้ันจะเกิดปญหาในการเชื่อมตอและการจัดเรียงเนื้อหา (Structural Problems) 2) วิกิเหมาะตอการสกัดความรูชัดแจงใหอยูในรูปเอกสารที่มีโครงสรางที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดทันตอการเปลี่ยนแปลงท่ีแทจริง นอกจากน้ี “วกิิในภาพรวมยังหมายถึงไวยากรณในการเขียนเนื้อหาเพ่ือใหปรากฏบนเว็บที่งายกวาการเขียนดวยภาษา HTML ดวย 3) การเขียนขอความทีไมเหมาะสม ที่มา http://e-pro-bunga.blogspot.com/2009/04/wiki-e-pro-3.html การประยุกตใชระบบอีเลิรนน่ิงในสถานศึกษา ในการประยุกตใชระบบอีเลิรนนิ่งในสถานศึกษานั้น ควรเนนที่กระบวนการเรียนรูมากกวาเนนท่ีเทคโนโลยี ซ่ึงหมายถึงการนําระบบอีเลิรนนิ่งมาใชนั้น ผูสอนควรเนนในวิธีการท่ีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงสงผลใหผูเรียนมีความเขาใจในเน้ือหาท่ีเรียนมากขึ้นกวาการทองจําเพียงเนื้อหาท่ีเรียนเทาน้ัน โดยทั่วไปการสรางหลักสูตรการเรียนนั้น จะสรางตามแนวความคิดของผูสอนเปนหลัก ซึ่งจะพยายามสรางหลักสูตรใหมีเน้ือหาครบถวน มีโครง

Page 6 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 7: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

สรางท่ีผูสอนเช่ือวาผูเรียนสามารถอานและทําความเขาใจได แตเมื่อนํามาใช บอยครั้งจะพบวาไมสามารถใชไดกับผูเรียนทุกกลุม เน่ืองจากตามทฤษฎีการเรียนรูแลว ผูเรียนจะเปนผูสรางความรูตามพ้ืนฐานความรูที่ตนเองมีอยู หรือเลือกท่ีจะรูตามแนวทางของตนเองจากองคประกอบที่ผูสอจัดหาให ซึ่งผูสอนจําเปนตองควบคุม แนะนํา หรือกระตุนใหผูเรียนศึกษาและเรียนรูตามแนวทางที่ตั้งเปาหมายไว เมื่อพิจารณาแลว ระบบอีเลิรนนิ่งมีคุณลักษณะที่เหมาะสมในการประยุกตใชกับทฤษฎีการเรียนรู และนํามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูของเรียน เน่ืองจากผูสอนสามารถกําหนดสภาพแวดลอมการเรียนรูในระบบได สามารถสรางทางเลือกแกผูเรียน ในการเรียนรูตามท่ีตนเองตองการ มีเคร่ืองมือใหผูเรียนสามารถคนควาหาความรูเพิ่มเติม และสามารถสรางกลุมการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนไดโตตอบ อภิปราย เพ่ือกอใหเกิดความรูใหม การประยุกตทฤษฎีการเรียนรูแบบเนนใหผูเรียนเปนผูสรางความรู (Constructivist) กับระบบอีเลิรนน่ิง ทฤษฎีการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนผูสรางความรู อาศัยแนวความคิดที่วาผูเรียนจะเปนผูสรางความรูใหมๆ ดวยตนเอง โดยอาศัยภูมิความรูเดิมของตนเอง ซ่ึงการใชระบบอีเลิรนน่ิงนั้น ผูเรียนสามารถคนควาความรูจากอินเทอรเน็ตหรือจากเน้ือหาวิชาและนํามาสรางเปนความรูได โดยผูสอนทําหนาท่ีเปนเหมือนผูชวยใหกระบวนการเรียนรูของผูเรียนเปนไปตามวัตถุประสงค โดยผานการโตตอบและการอภิปรายระหวางผูเรียนและผูสอนและระหวางผูเรียนดวยกันเอง และผูสอนจะตองคอยควบคุม เมื่อการเรียนรูน้ันดําเนินไปในทิศทางท่ีไมตรงกับวัตถุประสงคที่วางไว การคนควาขอมูลใหมๆ ในระบบอินเทอรเน็ตจะชวยกระตุนความนาสนใจแกผูเรียน และผูเรียนเองสามารถเลือกท่ีจะเขาถึงขอมูลที่คนความาไดตามท่ีตนเองตองการ และผูเรียนจะตองอานขอมูลจํานวนมากซึ่งจะชวยเพ่ิมประสบการณ นอกจากน้ีผูเรียนยังตองวิเคราะหขอมูลที่ไดมาวาถูกตอและตรงตามวัตถุประสงคของเน้ือหาในการเรียน ครั้งนั้นหรือไม ซึ่งสิ่งตางๆเหลานี้จะทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและเขาใจในเนื้อหาอยางลึกซึ้งและเก็บเปนฐานความรูเพ่ือนําไปสรางความรูใหมๆตอไป 1.สงเสริมใหมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอน การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน เปนปจจัยสําคัญประการหน่ึงในการสรางแรงจูงใจในการเรียนรูของผูเรียน ความคุนเคยกับผูสอนจะทําใหผูเรียนรูสึกสบายใจท่ีจะถามเม่ือสงสัย หรือตองการหาความรูเพ่ิมเติม ระบบอีเลิรนนิ่งมีเคร่ืองมือท่ีสนับสนุนการปฏิสัมพันธในลักษณะนี้ เชนระบบอีเมล ระบบหองสนทนา ซึ่งสามารถนํามาใชปฏิสัมพนักับผูเรียนทั้งในและนอกเวลาเรียนได 2.สงเสริมใหมีการอภิปรายหรือความรวมมือระหวางผูเรียนดวยกันเอง การอภิปรายหรือรวมมือกันทํางานระหวางผูเรียน จะกอใหเกิดการแตกแขนทางความคิดและมีขอมูลใหมๆ และนําไปสูการเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู ดังน้ันถาผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถซักถาม อภิปรายถึงปญหในแตละขอรวมกัน โดยผูสอนทําหนาท่ีชี้แนะ และควบคุมใหการอภิปรายใหดําเนินไปในทิศทางท่ีถูกตอง จะทําใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด แตปญหาท่ีเกิดข้ึนคือ การอภิปรายในลักษณะน้ีอาจไมเหมาะกับหองเรียนขนาดใหญ ซึ่งการใชเครื่องมือในระบบอีเลิรนน่ิงจะชวยลดขอจํากัดดังกลาวได เชนการใชระบบเว็บบอรด ซึ่งผูสอนสามารถตั้งหัวขอเพื่อใหผูเรียนรวมอภิปราย โดยอาจใชรวมกับการคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากอินเทอรเน็ต เพ่ือใหเกิดความรูใหมๆ ในการอภิปราย และผูเรียนมีการเรียนรูเพิ่มขึ้น 3.เนนการเรียนเชิงรุก(Active Learning) มีบทวิจัยจํานวนมากท่ีพิสูจนวาการเรียนรูแบบเกาท่ีผูเรียนเขาไปนั่งฟงผูสอนในหอง จําสิ่งท่ีผูสอนพูด และทําขอสอบจากสิ่งที่จําไมไดสงผลใหผูเรียนมีความรูที่มากขึ้น แตการเรียนแบบเนนเชิงรุก ที่ผูเรียนจะตองอภิปรายถึงสิ่งที่ไดเรียนรู บันทึกความรูน้ัน และนําไปประยุกตเขากับการใชงานในปจจุบันจึงเปนวิธีการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ ตัวอยางของการเรียนรูเชิงรุกเชน การจัดใหมีการทโครงงานเปนทีม การวิจารณผลงานระหวางผูเรียนดวยกัน การอภิปราย ซึ่งสิ่งตางๆ เหลาน้ีสามารถดําเนินการไดโดยอาศัยการประยุกตใชเคร่ืองมในระบบอีเลิรนนิ่งเชน ระบบเว็บบอรด เปนตน นอกจากน้ีการใหผูเรียนมีสวนรวมในการกําหนดเนื้อหาการเรียน ก็เปนสวนหน่ึงในการเรียนเชิงรุกเชนเดียวกัน 4. เขาใจวาวิธีการเรียนรูในสิ่งเดียวกัน สามารถดําเนินการไดหลายวิธี การเรียนรูตามวัตถุประสงคหนึ่งๆ อาจทําไดจากหลายวิธีการ ผูเรียนท่ีชอบอาน อาจใชวิธีคนควาตามหองสมุด หรืออินเทอรเน็ตและอานขอมูลตางๆ เหลานั้นและนํามาวิเคราะหใหเกิดความรูตามท่ีตนเองตองการ ในขณะท่ีผูเรียนท่ีชอบปฏิบัติ อาจทดลองปฏิบัติจริง เพื่อทดสอบผลการเรียรูวาถูกตองหรือไม ดังนั้นผูสอนจะตองเขาใจและใหโอกาสผูเรียนในการเลือกวิธีท่ีตนเองถนัด เพื่อนําไปสูการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพระบบอีเลิรนนิ่งเปนระบบท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเลือกที่จะคนควาตามตองการ ประกอบกับเทคโนโลยีในปจจุบันทําใหการใชคอมพิวเตอรเพ่ือจําลองสถานการณตางๆ ทําไดงายข้ึน ดังนั้นการประยุกตใชระบบอีเลิรนน่ิงจึงเปดโอกาสใหผูเรียนไดกําหนดทางเลือกในการเรียนรูเอง จะสงผลใหการเรียนรูน้ันประสบความสําเร็จ ขอจํากัด การประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรูกับระบบอีเลิรนน่ิงน้ัน จะสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือผูสอนมีความเขาใจในทฤษฎีการเรียนรู และยอมทุมเทเวลาที่จะประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรูนั้นกับระบบอีเลิรนนิ่ง เนื่องจากแนวทางการสอนลักษณะน้ี ผูสอนจะตองทํางานหนักขึ้นเพื่อใหกเรียนรูน้ันมีประสิทธิภาพมากข้ึน นอกจากน้ี ผูเรียนและผูสอนตองมีเคร่ืองมือท่ีสามารถโตตอบกันไดตลอดเวลา และผูเรียนสามารถคนควาหาขอมูลใหมๆ เพ่ือนํามาสรางเปนควาซึ่งท้ังสองประการน้ันมีความจําเปนที่ผูเรียนตองมีเครื่องคอมพิวเตอร ที่เช่ือมตอกับระบบอินเทอรเน็ตตลอดเวลาของการเรียน อีกทั้งประสิทธิภาพของระบบอินเทอรเน็ตท่ีใช ก็มีผลตอความพึงพอใจของผูเรียน ถาระบบอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพต่ํา การคนควาหาขอมูลทําไดชามาก ก็จะสงผตอประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียนได และประการสุดทาย ผูเรียนบางคนอาจไมคุนเคยกับเทคโนโลยีและการศึกษาวิธีการใชเทคโนโลยีก็อาจสงผลตอการเรียนรูเน้ือหาตามวัตถุประสงคจริงๆ นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนแนวใหม ในยุค WEB 2.0 ในยุคเทคโนโลยีรวมสมัย web 2.0 น้ีไดนําความเปลี่ยนแปลงมาสูทุกวงการท่ีเก่ียวของอยางนาตื่นเตน ในมุมมองของการศึกษาก็เชนเดียวกัน กนําความรูใหม ๆ มาใชในการจัดการเรียนการสอน ทําใหเกิดความทาทายกับนักการศึกษาและครูทุกคน ซึ่งจะตองพยายามเรียนรูเทคโนโลยีใหมที่เกิดขึ้นอยางเทาทันและสามารถประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมกับบริบทของแตละสถานศึกษา โดยมีการนํามาใชตั้งแระดับนโยบายเชิงการบริหารไปสูการนําไปปฏิบัติ ประยุกตใชในสถาบันการศึกษาแตละแหง ซึ่งตางประยุกตใหมีความสอดคลองกับผูเรียนและความเปนเลิศในสถาบันการศึกษาเหลาน้ัน ดังตัวอยางตอไปนี้ นวัตกรรมหลักสูตรและนโยบายการศึกษา กฤษฎา กุณฑล นโยบายทางการศึกษาเปนสิ่งท่ีรัฐบาลของสหราชอาณาจักรใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง ในชวงสมัยของโทนี่ แบลร ไดพูดวา...สิ่งสําคัญที่สุดมีสามคําคือการศึกษา การศึกษาและการศึกษา คําถามคืออะไรสิ่งสําคัญในการประยุกตนวัตกรรมหลักสูตร ในป 2008 มีรายงานจากกระทรวง Innovation , Universities and Skill ไดสรุปผลการศึกษาวา การศึกษาจะเปนปจจัยสําคัญท่ีนําไปสูการเปล่ียนแปลงทุกสิ่งในโลกใบนี้ เราจําเปอยางยิ่งท่ีจะตองพัฒนาใหผูเรียนมีจิตใจท่ีมุงเนนการพัฒนานวัตกรรมตาง ๆ จึงจําเปนตองดําเนินการในส่ิงสําคัญ 3 ดานคือ 1.นวัตกรรมของกระบวนการออกแบบหลักสูตรใหมโดยผูนําทางการศึกษา 2.นวัตกรรมของการฝกปฏิบัติในช้ันเรียนรูปแบบใหม และ3.นวัตกรรมในการสรางทักษะและจิตใจของผูเรียน ซึ่งทั้งสามสิ่งจะมีความสําคัญอยางยิ่งในการออกแบบหลักสูตรใหเหมาะสมกับผูเรียนในอนาคต ชาติแหงความเปนนักนวัตกรรม จากรายงานของกระทรวง Innovation , Universities and Skill มีสาระสําคัญตอนหน่ึงคือ การศึกษา กฎหมาย สุขภาพและระบบการขนสง เปนจุดสําคัญในการสรางนวัตกรรมการเรียนรู เราจะตองจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและตอบสนองการเพิ่มความตองการของมนุษย ท่ีสลับซับซอนในอนาคต เปาหมายในการบริการทางการศึกษาจะตองมุงใหผูเรียนมีสุขภาพที่ดี มีความมั่นคงปลอดภัย มีความสุขและความสําเร็จ สรางสิ่งดีและมีความรูในดานเศรษฐศาสตร กรอบแนวคิดของการออกแบบหลักสูตร การออกแบบหลักสูตรเพ่ือใหผูเรียนมีสมรรถนะหลักและความสามารถดานอื่น ๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองออกแบบหลักสูตรใหเหมาะกับโลกแหง

Page 7 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 8: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

การทํางานในอนาคต ขอบขายของหลักสูตรจะตองมีความครอบคลุมอยางนอย 6 ประการไดแก ความสามารถในการแสวงหาความรูดวยตนเอง ความคิดสรางสรรค ความคิดสะทอนกลับ (reflective thinking) การทํางานเปนทีม การจัดการตนเองและการทํางานรวมกันใหประสบความสําเร็การออกแบบหลักสูตรในชวงอายุ 4-11 ป การศึกษาเอกสารเก่ียวกับหลักสูตรระดับประถมศึกษาในชวงที่ผานมา มีความพยายามท่ีจะมุงใหหลักสูตรมีความยืดหยุน มีโครงสรางนอยกวาท่ีเนอยูในปจจุบันโดยมุงเนนการสอนความรูท่ีเปนประโยชนและสรางทักษะเพื่อพัฒนาความเขาใจแนวคิดหลักของรายวิชาพ้ืนฐานตาง ๆ สรางโอกาสใหเด็กไดใชความรูและทักษะขามเน้ือหาตาง ๆ เพ่ือสรางความเขาใจและศักยภาพของผูเรียน สรางทัศนคติที่ดีในการรักการเรียนรูและความกระหายในการเรียนรู สงเสริมความคิดสรางสรรคและสรางความรูในเชิงลึกใหเกิดขึ้นกับผูเรียน ทักษะที่สําคัญในโลกป 2020 ประเด็นสําคัญในการออกหลักสูตรการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับป 2020 น้ัน วิสัยทัศนของการสอนและการเรียนรู ไดถูกกําหนดไววา...ผูเรียนจะตองมีความสามารถในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในระดับสูง มีความรูในการทํางานรวมกับผูอ่ืน รูจักการวิเคราะหขอมูลขาวสารที่มีอยูอยางมากมาย มีความรับผิดชอบ สรางการเรียนรูดวยตนเองและพัฒนานิสัยใหประสบความสําเร็จในการเรียน มีความเชื่อมั่นและมีความสามารถในการแกปญหา ความสรางสรรคและคิดสิ่งใหม ความทาทายทางเทคโนโลยี เปาหมายทางการศึกษาของประเทศอังกฤษดังท่ีไดกลาวมาแลว ทําใหตั้งแตป 2008 ไดมีการเนนดานการใช ICT ในการจัดการเรียนการสอนเพืเปลี่ยนโฉมหนาของการศึกษาอยางมาก ดังน้ันความทาทายของนักการศึกษาคือ การออกแบบหลักสูตรที่สรางแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองสูความเปนเลิศในดานตาง ๆ ซ่ึงการกําหนดนโยบายการศึกษาจะตองมีความครอบคลุมประเด็นตางๆ ไดแก การสอนและการเรียนท่ีมีคุณภาพสูงทีสุด การมุงเนนการประเมินผลไมวาเปนการประเมินจากเพื่อนหรือประเมินตนเอง การเช่ือมโยงการเรียนรูกับสื่อตาง ๆ เพื่อใหเขาใจบทเรียนมากทีสุด การออกแบบกลุมผูเรียนในชั้นเรียน การสรางบรรยากาศในการเรียนรู การออกแบบหลักสูตรท่ีเหมาะสม การปรับขยายหลักสูตรและการสนับสนุนผูเรียนที่มีความแตกตางกัน สิ่งเหลานี้คือความทาทายในการจัดการศึกษาในอนาคต .......สรุป.......(เพ่ิมเติม ).. จาก นวัตกรรมหลักสูตรและนโยบายการศึกษา ท่ีกลาวมา ไดคนพบวาการออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับผูเรียนในอนาคตจะตองเนนในดานความสามารถในการแสวงหาความรูดวยตนเอง ความคิดสะทอนกลับ(reflective thinking) การทํางานเปนทีม การจัดการตนเองและการทํางานรวมกันใหประสบความสําเร็จ นอกจากนั้นแลวจะตองออกแบบหลักสูตรเพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในระดับสูง มีความรูในการทํางานรวมกับผูอื่น รูจักการวิเคราะหขอมูลขาวสารท่ีมีอยูอยางมากมาย มีความรับผิดชอบ สรางการเรียนรูดวยตนเองและพัฒนานิสัใหประสบความสําเร็จในการเรียน มีความเชื่อมั่นและมีความสามารถในการแกปญหา มีความสรางสรรคและคิดสิ่งใหม ........... ....บทบาทของเทคโนโลยี ที่สงผลตอการพัฒนานวัตกรรม ทางหลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผลและบุคลากรทางการศึกษา การจัดการเรียนการสอนในหนวยงานทางการศึกษา รูปแบบการเรียนการสอน ในปจจุบันมักนํา นวัตกรรมทางการศึกษามาประยุกตใชควบคูกับเทคโนโลยีการศึกษา โดยเฉพาะนวัตกรรมของเทคโนโลยีดิจิตอลกับการศึกษา ดังตัวอยาง ดังตอไปน้ี JISC inspires เปนหนวยงานท่ี สนับสนุน วิทยาลยั และมหาวิทยาลัยใน สหราชอาณาจักร ใช นวัตกรรม ของเทคโนโลยี ดิจิตอล เพ่ือชวย ในการักษาตําแหนงการเปน ผูนําระดับโลก ในการศึกษาของสหราชอาณาจักร ซึ่งไดสรางนวัตกรรมการเรียนการสอนที่ประยุกตเทคโนโลยีดิจิตอลมาออกแบบวิธีการเรียนรู ดังน้ี แผนที่ การเรียนรู Dynamic Maps Learning Dynamic Learning เปนเสมือนแผนท่ี เดินเรือ ซึ่งสามารถพัฒนา และประเมินผล เพ่ือชวยเหลือนักเรียน และบุคลากร ใน การทําแผนท่ี การเรยีรู อยางกระตือรือรน โดย การวาดในบันทึกการ เรียน และ หลักสูตร ซึ่งบุคคลสามารถใชไดโดยงายตอการใช สิ่งอํานวยความสะดวก ในการเพ่ิมทรัพยากร และ เคร่ืองมือในการ สนับสนุน การสนทนา และการสะทอน แผนท่ี เหลานี้ ซึ่งเปนการใชท้ัง " semantic web " และ " Web 2.0 " ใการสราง ดานเทคโนโลยี และมาตรฐาน โดยการสนับสนุนใหในดานทรัพยากรและ หลักสูตร ขอมูล ( การจัดการ การเรียนรู สภาพแวดลอม ) แบันทึก การเรียนรู สวนตัว ( ePortfolios / blogs ) ซึ่ง JISC มีโครงการที่มีวัตถุประสงค หลักสูตร เปน การเปดกวางแบบชุมชน HE/FE วิธี น้ีจะทใหมีสวนรวมในงานเปน Package / รุน เชน กรณีศึกษา การทํางานอยางใกลชิดของนักศึกษา พนักงาน นายจางและ ผูมีสวนไดเสีย อ่ืนๆ ในการพัฒนา และดําเนินการ ปรับขยาย ระบบ จัดการท่ีย่ังยืน เพ่ือรองรับ การใช Dynamic Learning Maps ตอบสนองความตองการดานการศึกษาที่ความหลากหลาย ตั้งแตการพัฒนาตนเอง การวางแผนและการประเมิน เปาหมาย และวัตถุประสงค โครงการ น้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ สงเสริมนักศึกษาในหลักสูตรใหเกิดการเรียนรูและไดประสบการณ ผานการใช แผนที่ การเรียนรู แบบไดนามิก โดแผนที่ประกอบดวยหลักสูตร การเรียนรูในองคประกอบของ การใช เน้ือหาของ Web 2.0 และ semantic web นําไปใชในลักษณะ • มี แผนท่ี นําทางท้ัง เปนแบบทางการ ( วางแผน ) หลักสูตร และ การเรียนรู บันทึก สวนตัว • เพ่ือให บุคลากร และ นักศึกษา และทรัพยากร ไดเปนสวนหน่ึงของ กระบวนการ การทําแผนที่ อยางแข็งขัน • สงเสริม การสังเคราะห ความคิด ที่ สะทอน ความสําเร็จ ใน การตระหนักรู ดวยตนเอง และนําไปสูการวางแผน • ให ขอมูลเชิงลึกใน การเรียนรู จริง และคา การรับรู ของ ท้ังภายในและภายนอกของแหลงเรียนรู • จัด หลักสูตร เสริม โดยการให พ้ืนท่ี มีความยืดหยุนมาก ที่ ผูเรียน สามารถ ศึกษา หลักสูตร บันทึก และ สะทอน การเรียนรู และ หลักฐาน ขอทักษะ / ผล การเรียนรู วิธีดําเนินการ โครงการ โครงการ แบงเปน 9 แพ็กเกจ ของงาน 1) การบริหารจัดการโครงการ และ การวางแผน 2) ทบทวน การปฏิบัติ ในปจจุบัน 3) ระบุ ชุด เกณฑสําหรับ หลักสูตร การทําแผนที่ ความสัมพันธ ภายนอก และประสบการณ นักเรียน สวนบุคคล

Page 8 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 9: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

4) การพัฒนาและการ ใช แผนที่ การเรียนรู การใช หลักสูตรปริญญา นํารอง 5) เร่ิมการนํารองขนาดใหญคร้ังแรกในการนําไปพิสูจน แนวคิด การพัฒนา และ โครงสรางพื้นฐาน 6) การประเมิน เอกสาร กระบวนการกลยุทธ ความย่ังยืน 7) การกลั่น และ การดําเนินการ 8)กิจกรรม เผยแพร -- ความผูกพัน และความเขาใจ 9) JISC เอกสาร -- ผลงาน ตรวจสอบ ผลการ สอบทาน , เอกสาร และประเมิน ผล ผล ท่ีคาดวา และ ผล • แผนการ เผยแพร • แผน รายละเอียด โครงการ • ทบทวน การปฏิบัติ ในปจจุบัน • การวิเคราะห ความตองการของ ผูใช • การเรียนรู ตนแบบ แผนที่ สําหรับ ระยะ นํารอง • ศึกษา Piloted กับ MBBS • กรณีศึกษา เอกสาร • เอกสาร การ ประเมินผล • รายงาน การประเมินผล • แผน ยุทธศาสตร ตอเน่ือง • เว็บไซต โครงการ และ ชุมชน บล็อก • Final รายงาน และการประเมินผล เทคโนโลยี มาตรฐาน /ท่ี ใช • XML • SCORM • Leap2a • HTTP • CSS • XCRI • OPML / OML ที่มาจาก มหาวิทยาลัย นิวคาสเซิ http://www.jisc.ac.uk/whatwedo/programmes/elearning/curriculumdelivery/dynamiclearningmaps.aspx ......สรุป.....(เพ่ิมเติม)......... ......จากการศึกษา นวัตกรรมของเทคโนโลยีดิจิตอลกับการศึกษา ของ JISC inspires พบวา เปนนวัตกรรมการเรียนการสอน ที่ประยุกตเทคโนโลยีดิจิตอลมาออกแบบวิธีการเรียนรู ดังนี้ แผนที่ การเรียนรู Dynamic Maps Learning สามารถพัฒนา และประเมินผล เพื่อชวยเหลือนักเรียน และบุคลากร ในการบันทึกการ เรียน และ หลักสูตร การสนทนา และการสะทอนการเรียน ทั้ง " semantic web " และ " Web 2.0 " โดยหนวยงานสนับสนุนในดานทรัพยากร หลักสูตร ขอมูล การจัดการ การเรียนรู สภาพแวดลอม และบันทึก การเรียนรู สวนตัวผาน ( ePortfolios / blogs ) เพื่อเปดกวางแบบชุมชน HE/FE วิธี น้ีจะทําใหมีสวนรวมในงานเปน Package / รุน ในการพัฒนา และดําเนินการ ปรับขยาย ระบบ จัดการที่ย่ังยืน เพ่ือรองรับ การใช Dynamic Learning Maps ตอบสนองความตองการดานการศึกษาที่ความหลากหลาย ตั้งแตการพัฒนาตนเอง การวางแผนและการประเมิน ลักษณะการนําไปใช คือ ใหนักศึกษาเกิดการเรียนรูไดประสบการณ ผานการใช แผนที่ การเรียนรู แบบไดนามิก โดยแผนที่ประกอบดวยหลักสตูการเรียนรูในองคประกอบของ การใช เน้ือหาของ Web 2.0 และ semantic web นําไปใชในลักษณะ • มี แผนท่ีนําทางท้ัง เปนแบบทางการ ( วางแผน ) หลักสูตร และ การเรียนรู บันทึก สวนตัว • บุคลากร นักศึกษา และทรัพยากร เปนสวนหนึ่งของ กระบวนการการทําแผน • การสังเคราะห ความคิด ท่ี สะทอน ความสําเร็จ ใน การตระหนักรู ดวยตนเอง และนําไปสูการวางแผน • ให ขอมูลเชิงลึกใน การเรียนรู จริง และคา การรับรูท้ังภายในและภายนอกของแหลงเรียนรู • จัด หลักสูตร เสริม ใหมีความยืดหยุนที่ ผูเรียน สามารถ ศึกษา หลักสูตร บันทึก และ สะทอน การเรียนรู และ หลักฐาน ของ ทักษะ / ผล การเรียนรู

Page 9 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 10: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

.......รูปแบบการเรียนการสอน ทางเทคโนโลยีการศึกษา ของ MIT .... เทคโนโลยี การศึกษา เปนสวนหนึ่ง ของ นวัตกรรม การศึกษา ท่ี MIT เทคโนโลยี ไดเปลี่ยนแปลง วิธีการเรียนของนักเรียนท่ีใชในกระบวนการการเรียนรู และ เปลี่ยนวิธีการสราง ความรูผาน การทํางานของ สํานักงาน นวัตกรรม และเทคโนโลยี การศึกษา ( OEIT ) เน่ืองจาก สรางความรวมมือ กับ คณะ เจาหนาที่ และนักศึกษา เปนการแสดงการพัฒนาและ เผยแพร ใช นวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่อปรับปรุง การเรียนการสอน ของ MIT สิ่งที่ เกิดจาก การทํา เพ่ือสงเสริม การพัฒนาและ การนํา เทคโนโลยีการศึกษา ของ MIT • การเผยแพรนวัตกรรมใหม และ เทคโนโลยีใหมเปนการใหโอกาสในการ ยอมรับ เพื่อ สนับสนุนการศึกษา ของ MIT • การไดรับการสนับสนุนชวยเหลือ จากคณะ ในการการสราง และ บูรณาการ เทคโนโลยีท่ีมีความหลากหลาย รูปแบบ • เช่ือมโยง กับ การจัดตั้ง หนวยงาน ตรวจสอบของ MIT กับนวัตกรรม ใหมๆ • อํานวยความสะดวกใน การรับรู และการนํา เทคโนโลยีการศึกษา โดย คณะ MIT และหนวยงาน ผาน Gallery นวัตกรรม การศึกษา รวมทั้ง ฟอร่ัม โตตอบ เชน Ed Tech Fair และ Crosstalk . • การพัฒนาและ สนับสนุน เคร่ืองมือและ โปรแกรมสําหรับ หลักสูตรนําลองใหคําแนะนํา ของ Task Force on Commons การศึกษา ระดับปริญญาตรี . • ให สภาพแวดลอม การเรียนรู ท่ียืดหยุน เพื่อรองรับ การทดลอง นวัตกรรม ทางการศึกษา ตัวอยางของ เทคโนโลยีการศึกษาของ MIT ? • Tools Software เพื่อ ศึกษา และ วิจัย STAR ระหวาง งานวิจัยทางวิทยาศาสตร และ หองเรียน ผาน ซอฟตแวร ท่ีสนับสนุน การสํารวจ ของ หลัก แนวคิด การวิจัยทางวิทยาศาสตร ได ถูกนํามาใช ดาน การวิจัย หลายรูปแบบ StarBiochem , StarBiogene , StarHydro และ StarMolsi • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ติดตอ กับ ซอฟตแวร วางแผน เสนทาง ที่ คํานวณคาใชจาย และ เวลา เดินทาง metabolic สําหรับ กิจกรรพิเศษ เกี่ยวกับพาหนะ มนุษยอวกาศ '( EVA ) บน ดวงจันทรและ วัน อังคาร แบบใหม ให นักศึกษา และนักวิจัย สามารถใชในการ ประเมิน ภาพจํานวนมาก พรอมกับ ความสูง และ ความลาด เมื่อวางแผน EVAs • คณิตศาสตร Space - CI เปน พ้ืนท่ีออนไลน รวมกัน สําหรับ คณะ คณิตศาสตร ท่ีพวกเขา สามารถแบงปน ขอมูลเก่ียวกับ วิธีการ ที่ดีกวา สอนทักษะ การสื่อสาร ใน หลักสูตร คณิตศาสตร • โครงการ พูด Media ใช สื่อ การบรรยาย ใน รูปแบบ ดิจิตอล มาตรฐาน เชน . mp4 และ . mp3 และกระบวนการ ผลิต ให คนหา ขอมูลท่ีเก็บ วัสดุ การเรียนรู ดิจิตอล video-/audio-based • ประสิทธิภาพ Shakespeare in Asia ( SPiA ) สราง รายการ ของ วิดีโอจาก Shakespeare ดําเนินการใน ภาษาเอเชีย ท่ีแตกตางกัน เพ่ือสงเสริมความเขาใจ วัฒนธรรม และ เปน แหลงขอมูลหลัก สําหรับ นักเรียนครูอาจารย และนักวิจัย • Controversies Mapping นักเรียน ปญญา harnessed collective โดย ชวยใหนักเรียน ใชเคร่ืองมือ วิจัย บนเว็บ เพื่อ การศึกษาพื้นฐาน และทางการเมือง รูปแบบทางสังคมและ วิทยาศาสตร กับการใชประโยชน นําไปบูรณาการในช้ันรียนของนักเรียน เพื่อเปนการศึกษาของนักวิจัย ที่สนใจใน เขตขอมูล แบบไดนามิก ไดอยางม่ันใจ ไดตลอดเวลา และ พื้นที่เก็บ ขอมูล อยางยั่งยืน • Timeline ประวัติศาสตร รัสเซีย โครงการ สราง กรอบ ดิจิตอล เม่ือ นักเรียน รวมกัน ที่ จะ ใหการสนับสนุน ขอมูล การวิเคราะห การสะทอน แลทําความเขาใจ เก่ียวกับระยะเวลา ประวัติศาสตร multi - layered ของรัสเซีย ซึ่งอนุญาตให ผูเขาชม ประสบการณ การปฏิวัติ ของรัสเซีย ซึ่งเปจุด ที่ไดเปรียบ http://due.mit.edu/initiatives/educational-technology ......สรุป ....(เพิ่มเติม)..... ....จากการศึกษารูปแบบการเรียนการสอน กับ เทคโนโลยีการศึกษา ของ MIT พบวา.. เร่ืองน้ี เปนวิธีการจัดการเรียนรู ผานแหลงสนับสนุนทาง เทคโนโลยีการศึกษาของ MIT ซึ่งใชในกระบวนการการเรียนรู และ การสรางความรูผานการทํางานรวมกัน ระหวาง คณะ เจาหนาท่ี และนักศึกษา ของ สํานักงาน นวัตกรรม และเทคโนโลยี การศึกษา ( OEIT ) เพ่ือปรับปรุง การเรียนการสอน ของ MIT โดยมีกระบวนการ ของผูใหการสนับสนุน คือ 1. MIT เปนผู สงเสริม พัฒนาและ เผยแพรนวัตกรรมใหม ใหเกิดการยอมรับ 2. คณะ สราง และ บูรณาการ เทคโนโลยีที่มีความหลากหลาย 3. จัดตั้ง หนวยงาน ตรวจสอบนวัตกรรม ใหมๆ 4. อํานวยความสะดวกใน การนํา เทคโนโลยีการศึกษาไปสูการผาน Gallery นวัตกรรม การศึกษา รวมทั้ง ฟอร่ัม โตตอบ เชน Ed Tech Fair แลCrosstalk . 5. พัฒนา สนับสนุน สําหรับ หลักสูตร ระดับปริญญาตรี โดยจัดการเรียนรู ที่ยืดหยุน เพ่ือรองรับ การทดลอง นวัตกรรม ทางการศึกษา 6. กระบวนการเรียนการสอน ไดใชแหลงการเรียนรูท่ีหลากหลาย เชน • Tools Software เพื่อ ศึกษา และ วิจัยทางวิทยาศาสตร ในชั้นหองเรียน ผาน ซอฟตแวร • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) กับ ซอฟตแวร ให นักศึกษา และนักวิจัย วางแผน การเรียนและจัดกระบวนการเรียน • คณิตศาสตร Space - CI เปน พ้ืนท่ีออนไลน สําหรับแบงปน ขอมูล วิธีการสอน ทักษะ การสื่อสา ใน หลักสูตร คณิตศาสตร • โครงการ ใช สื่อ การบรรยาย ใน รูปแบบ ดิจิตอล มาตรฐาน • สราง รายการ ของ วิดีโอจาก Shakespeare เพื่อสงเสริมความเขาใจ วัฒนธรรม และ เปน แหลงขอมูลหลัก สําหรับ นักเรียนครูอาจารย และนัวิจัย • Controversies Mapping ชวยใหนักเรียน ใชเคร่ืองมือ วิจัย บนเว็บ • Timeline การเรียนรูประวัติศาสตร รัสเซีย ผานโครงการ ......นอกจากน้ี ไดมีการนําไปใชในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน ดังน้ี Topic : Becoming a teacher ( การเปนคร)ู สมฤดี ปาละวัล

Page 10 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 11: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

....เปนเวบไซดที่กลาวถึงการนําICTมาใชในการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครู วาการสอนเปนทางเลือกท่ีสําคญัและเปนงานท่ีเปนที่นิยมมากสําหรับุคคลท่ัวไป โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษและเวลสน้ันจะเปดโอกาสใหบุคคลจากหลากหลายอาชีพ และทุกระดับการศึกษาที่ตองการเปนครูเขามาสูอาชีพครูไดโดยตองมีใบประกอบวิชาชีพครู(Qualified Teacher Status)โดยตองผานโปรแกรมการฝกอบรม(Initial Teacher Traning)ท่ีพัฒนาขึ้นมาคือใชเวลาเรียนภาคทฤษฎี 18 สัปดาหและใชเวลาสวนใหญกับการฝกสอนในโรงเรียน ซ่ึงโปรแกรมนี้จะชวยพัฒนาทักษะความเปนที่มีประสิทธิภาพ หลักสูตรมี 5 ประเภท คือ 1. ระดับปริญญาตรี มีสาขาการศึกษา และศิลปะ/วิทยาศาสตร 2. ระดับปริญญาโท (จบปริญญาตรีแลว ฝกใหเปนครูใน 1 – 2 ป) 3. อบรมครูจาง(เปนการฝกและพัฒนาคุณสมบัติของครูขณะทํางาน เชนหลักสูตรครูบัณฑิต) 4. อบรมครูตามเกณฑการประเมิน (สําหรับผูที่มีประสบการณการสอนในโรงเรียนแตไมมีQTS 5. Overseas Training Teacher ซึ่งการพัฒนาโปรแกรมการฝกในลักษณะนี้จะมุงตอบสนองความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เปดโอกาสใหผูเรียนไดเลือกเรียนในรูปแบบหลักสูตรท่ีตนสนใจ ถนัดและสอดคลองกับความตองการ โดยหลักสูตร(โปรแกรมการศึกษา) ไดวางแนวทางการเรียนไวหลากหลายใหผูเรียนไดเลือตามเปาหมายของตนเอง นอกจากนี้ผูเรียนกับผูสอนยังไดมีการพูดคุยกันผานทาง Facebook เพ่ือดูปฏิทิน วีดีโอ บทเรียน และตัวอยางงานนักเรียน ตลอดจนรับคําแนะนําจากการสอนไดตลอดเวลา http://www.tda.gov.uk/Recruit/becomingateacher.aspx เร่ือง : Developing Performance Assessment Tasks นวัตกรรมทางการประเมินผล : การประเมินโดยใชการปฏิบัติงานเปนฐานคืออะไร การประเมินโดยใชการปฏิบัติงานเปนฐาน ( Performance-based assessment)เปนวิธีการท่ีจะตดิตามผลงานของนักเรียน เพื่อดูความกาวหนาใการปฏิบัติงานของนักเรียนตามผลการเรียนรูที่คาดหวัง วิธีการประเมินน้ีตองการใหผูเรียนสรางคําตอบหรือผลงานท่ีแสดงถึงความรูและทักษะขอผูเรียน ซ่ึงแตกตางจากวิธีทดสอบแบบเดิมท่ีตองการใหผูเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองเติมในชองวาง ลักษณะของการประเมินการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพ The Office of Technology Assessment of the U.S. ไดกลาวถึงการประเมินโดยใชการปฏิบัติงานวาเปนรูปแบบการทดสอบท่ีหลากหลายตองการใหผูเรียนสรางคําตอบหรือผลงานของตนเองท่ีแสดงถึงความรูและทักษะของผูเรียน สอดคลองกับความคิดของStephen K. Hess ที่วาเปาหมายของการประเมินการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพจะพัฒนางานซึ่งจะทําใหผูเรียนมีความชํานาญและความรูกอนการประเมิน ซึ่งมีการออกแบบการประเมิน ดังนี้ - ผูเรียนควรจะมีสวนรวมในการปฏิบัติจริง - กําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังชัดเจน ผลงานควรมาจากการออกแบบท่ีวางไว - ผูเรียนควรมีความคาดหวังในผลงาน มีความตั้งใจและทุมเทใหกับผลงาน - ผูเรียนควรจะใชความสามารถทั้งหมดในการประยุกตความรูและทักษะบนพ้ืนฐานของความเปนจริง - ผูเรียนควรมีการปรับปรุงผลงานเพ่ือเพ่ิมความเช่ียวชาญ ทฤษฎีการเรียนรูกลุมปญญานิยมและการประเมินการปฏิบัติงาน Guide to Alternative Assessment (ASCD) เสนอคําแนะนําตอไปนี้ใหสอดคลองกับการสอนและการประเมิน จะยึดตามความหมายเฉพาะจากงานวิจัย Cognitive Learning Theory (CLT) คือ - ความรูท่ีถูกสรางขึ้น ขึ้นอยูกับกระบวนการเรียนรูของแตละบุคคลจากสารสนเทศใหมๆและความรูเดิมที่ไดรับการกระตุน อภิปราย โดยใหคิดวาไมีอะไรท่ีเปนคําตอบท่ีถูกเพียงคําตอบเดียว การใชบทบาทสมมุติ สถานการณจําลอง การโตวาที - การเนนทักษะการคิดเชนคิดวิเคราะห คิดเปรียบเทียบ การลงความเห็น คิดแบบทํานาย ตั้งสมมติฐาน การประยุกตสารสนเทศในสถานการณใหมๆ - การเห็นคุณคาของการทํางานเปนกลุม - ผูเรียนจะปฏิบัติงานไดดีเมื่อรูเปาหมาย เห็นโครงสรางและรูวิธีการปฏิบัติงานเมื่อเทียบกับมาตรฐาน - เปนรูปแบบการเรียนรูท่ีหลากหลาย ชวยเหลือผูเรียนทั้งรายบุคคลและชั้นเรียน - ใหโอกาสผูเรียนไดคิดทบทวนและปรับปรุงงาน - ผูเรียนไดประเมินตนเอง - ชวยใหผูเรียนเรียนรูอยางมีชีวิตชีวาและมีการประสานงานกับผูอ่ืน กระบวนการออกแบบการประเมินการปฏิบัติงาน 1. ระบุผลงานและตัวช้ีวัด 2. สรางช้ินงานท่ีมีความหมาย(ประเด็น,ปญหา,หัวขอ,สิ่งท่ีผูเรียนสนใจ) 3. ระบุผลงานและการปฏิบัติงาน 4. พิจารณาทางเลือกในการออกแบบงาน 5. วางแผนกิจกรรม(การดําเนินงาน)ในงาน 6. ระบุเกณฑการประเมิน 7. การสรางการตอบสนอง 8. การตัดสินใจเกี่ยวกับคะแนน(วาเปนการประเมินเพื่อปรับปรุง หรือเพ่ือตัดสิน),ผูเรียนตองทราบจุดประสงคของการประเมินการปฏิบัติงาน การใหคะแนนการประเมินการปฏิบัติงาน - Rubrics - Rule - Scoring Key http://www.pgcps.org/~elc/developingtasks.html ..........สรุป......(เพ่ิมเติม)....... ...จากการศึกษา 2 ประเด็นขางตน สรุปสาระเปน 2 สวนดังนี้ สวนแรก เปนนวัตกรรมดานหลักสูตร เรื่องการพัฒนาโปรแกรมการอบรมสําหรับการประกอบวิชาชีพครู โดยหลักสูตรเปดโอกาสใหกับบุคคลหลาหลายอาชีพ ทุกระดับการศึกษา มีใหเลือก5รูปแบบ ซึ่งหลักสูตรฝกอบรมท่ีพัฒนาข้ึนนี้จบแลวสามารถไปขอใบประกอบวิชาชีพครูไดทันที เปนหลักสูตรที่ไดรับความสนใจ สอดคลองกับความตองการของผูเรียน สวนท่ีสอง เปนนวัตกรรมทางการประเมินผล คือการประเมินผลโดยใชการปฏิบัติงานเปนฐาน ซึ่งเปนการประเมินท่ีหลากหลาย เพ่ือสะทอนถึงความสามารถท่ีแทจริงของผูเรียน เชนการใหผูเรียนปฏิบัติจริง การสรางชิ้นงาน ฯลฯ โดยการประเมินชิ้นงานนั้นก็จะใชเกณฑการประเมินท่ียอมรัได(Rubric) ชวยใหการประเมินนาเช่ือถือ มีความเปนปรนัยและสามารถตรวจสอบผลการประเมินได .....สําหรับนวัตกรรมหลักสูตรและการสอน ซ่ึงกลุมไดคนควา เพิ่มเติม มีดดังน้ี...... ......สรุปสาระสําคัญ.......

Page 11 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 12: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

...1....การศึกษาสําหรับผูเรียนวัยเน็ต (Educating the Net Generation) กฤษฎา กุณฑล การออกแบบหลักสูตรที่รองรับความคาดหวังในศตวรรษท่ี 21 ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในหนึ่งรอยปที่ผานมา ไมวาจะเปนการเคลื่อนไหวทางสังคม ความทาทายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาการเปลี่ยนแปลงจากยุคอุตสาหกรรมเปนยุคแหงสังคมฐานความรู เทคโนโลยีและวิทยาศาสตรสมัยใหม สงผลกระทบตอการเรียนการสอนในระดอุดมศึกษาวาควรทําอยางไรเพื่อรองรับตอการเปลี่ยนแปลงนั้น จากความคิดดังกลาวจะตองมีการทําความเขาใจระหวางผูรับผิดชอบการศึกษาระดับอุดมศึกษา กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ผูปกครองและชุมชเพ่ือใหรับรูความเปลี่ยนแปลงท่ีกําลังจะเกิดขึ้น สําหรับหลักสูตร อุปกรณทางเทคโนโลยีพ้ืนฐาน เชน โปรเจคเตอร โทรทัศน เคร่ืองบันทึกวีดีโอ ที่ใชกันอยูในชวงหนึ่งของการเรียนการสอน จะถูกแทนที่โดยเทคโนโลยีที่ประกอบดวยขอความ สูตร กราฟฟค และภาพ ท่ีจะชวยสงเสริมการเรียนรู สิ่งสําคญัคืองานทางดานเทคโนโลยีท่ีรับรูดวยการมองเห็และเทคโนโลยีที่สามารถสรางมัลติมีเดียได จะมีบทบาทเปนอยางมาก จากความคิดดังกลาว นําไปสูการเตรียมครูท่ีมีความรูในดานนวัตกรรมการเรียนการสอน รวมทั้งการขยายความรวมมือระหวางครูและผูเรียน เพ่ือเติมเต็มและพัฒนาการเรียนรูในชุมชน เทคโนโลยีและการออกแบบหลักสูตร อะไรคือบทบาทสําคญัของเทคโนโลยีตอการเรียนการสอน คําตอบก็คือเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีศักยภาพสูงท่ีสุด การออกแบบหลักสูตรจะตองออแบบใหผูเรียนสามารถสรางความรูไดดวยตนเอง เพื่อใหอยูในสังคมท่ีมีความสลับซับซอนและมีความเปนสากลมากย่ิงข้ึน โดยมุงหวังใหผูเรียน 1. มีความสามารถในการสื่อสารในกลุมและสถานการณหลากหลาย โดยใชทักษะการเขียน การพูดและการสื่อความหมาย 2. มีความสามารถในการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพเพ่ือแกไขปญหา 3. ทํางานเปนทีมในองคประกอบที่หลากหลายไดดีและสามารถสรางการยอมรับจากกลุม สิ่งที่สําคัญคือผูเรียนจะตองมีความรอบรูเก่ียวกับจินตนาการ ธรรมชาติของโลกและความรูเก่ียวกับชุมชนท่ีมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ดังนความรูท่ีจําเปนสําหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ไดแก ความสามารถในการแสวงหาความรูโดยการวิจัย หองเรียนท่ีเนนการสืบเสาะหาความรู การวางแผนการทํางานภายในมหาวิทยาลัยและระหวางมหาวิทยาลัย การบูรณาการความรูและ สหวิทยาการ การสรางประสบการณในการเรียนทีหลากหลายเพื่อกระตุนการเรียนรูของผูเรียน การบูรณาการความรูในหองเรียนกับการนําไปใชจริง การเรียนการสอนในระบบทางไกล เปนตน จะเห็นไดวาการออกแบบหลักสูตรท่ีเหมาะสมในอนาคตน้ัน จะตองมีการเตรียมหลักสูตรท่ีเหมาะสมกับผูเรียน เตรียมสื่อการเรียนการสอนท้ังท่ีเปมัลติมีเดีย การใชเทคโนโลยีท่ียืดหยุนในการนําเสนอความรูใหแกผูเรียน การสรางบรรยากาศการเรียนรูจริง การสงเสริมการวิจัยในระดับปริญญาเทคโนโลยีแหงการเรียนรูตลอดเวลา วิธีสอนที่ผสมผสาน และการประเมินผลการเรียนรูจะตองเปลี่ยนแปลงไป ..2...การเรียนแบบรวมมือ.. Cooperative Learning นวพร แซเลื่อง การเรียนแบบรวมมือ เปนวิธีการเรียนหนึ่งที่ดีท่ีสุด ท่ีไดพบจากการวิจัยทางดานการสอน ที่ช้ีใหเปนวา ผูเรียนไดทํางานรวมกัน ทําใหเรียนรูเร็ว มีประสิทธิภาพ เกิดการมั่นคงทางการเรียนและการคงอยูของความรู ทําใหเกิดความรูสึกทางบวกตอประสบการณการเรียนรู ผูเรียนสามารถเรียนรูประสบการณ จากกิจกรรมกลุมและการเรียนผานโครงการที่สําเร็จ ซ่ึงเปนการช้ีใหเห็นวา เปนวิธีการที่ยืนยันถึงผลสําเร็จของการทํางานกลุมและเปนปจจัยสําคัญที่ท้ังผูสอนและผูเรียนตางตระหนักถึง การท่ีผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียน เกิดการเรียนรูตอเนื่อง โดยการทํางานกลุม เปนหนทางท่ีใหเด็กเรียนรู ท่ีเกิดจากปจจัยภายในของบุคคล ใหเกิทักษะชีวิตและพัฒนาความสามารถในการทํางานรวมกันภายในกลุมซ่ึงเปนทักษะที่ตองการมากในสถานที่ทํางาน เปนการใหนักเรียนไดผลัดกันแสดงบทบาทที่แตกตาง เชน บทบาทของผูอํานวยความสะดวก ผูรายงาน ผูบันทึก ในกลุมความรวมมือ ทุกคนมีงานเฉพาะของตน ทุกคนจะเกีย่ของกับการเรียนรู ในโครงงาน หรือกิจกรรม ซึ่งผลสัมฤทธิ์ของกลุม จะแปรไปตามความสําเร็จของงานแตละคน ..3.... สื่อการสอนกับรูปแบบการสอนท่ีเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน กอเดช อาสะกะระ การศึกษาวิจัยท่ีผานมา มักคนหา ความรูเกี่ยวกับวิธีการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดสูงสุด โดยอยูในประเด็น -ความจําและโครงสรางความรู -การคิดวิเคราะห -การเรียนรูแรกเกิดของมนุษย -กระบวนการคิดและการควบคุมตนเอง -อิทธิพลของวัฒนธรรม โดยนํา แนวคิด “กรวยประสบการณ” ไปสูการวิจัยการจัดการเรียนรูในหองเรียนที่มีประสิทธิภาพ ดังนี้ 1. การเรียนรูโดยการกระทํา 2. บริบทของการเรียน 3. ปฏิสัมพันธระหวางบริบทตางๆ 4. แหลงเรียนรู ดังนั้น ไดมีแนวคิดใหมเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูท่ีเนนการสรางความรูดวยตนเองของผูเรียน ซ่ึงหลักสูตรประเภทนี้จะเนนไปที่ความหลากหลายมิของแหลงเรียนรูและประเภทของส่ือท่ีมีความไวในการเรียนรูเปนหลัก ซึ่งสื่อปจจุบันที่ตอบสนองความตองการตรงน้ีไดคือ ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร ซึ่งจําเปนตองมีลักษณะ ดังนี้ -มีการประมวญผลแบบทันที(Real time) ในขณะเดียวกันตองไมเปนอุปสรรคตอการเรียนรูระหวางกันมีการสื่อสารและรวมแลกเปลี่ยน -แกไข จัดเก็บ ในทุกที่ทุกเวลา -สามารถสรางเน้ือหาและนําเสนอตัวเองแบบ Real time -มีการสื่อสารกันแบบสนทนาออนไลนทุกเวลา ระหวางผูเรียนกับผูเรียนและกับผูสอน -เปดกวางในการดาวโหลด ฟรี ไรขีดจํากัด -มีการประชุมกลุมจากทุกที่ Video Conference -ใชวิดีโอ แบบ Real time -ใชเคร่ืองมือหลากหลายชนิดติดตอสื่อสารกับผูสอนตลอดเวลา

Page 12 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 13: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

http://www.educause.edu/EDUCAUSE+Review/EDUCAUSEReviewMagazineVolume40/FutureoftheLearningSpaceBreaki/157992 ..4.... การเรียนรูดวย : Graphical Organizers as Thinking Technology สมฤดี ปาละวัล จากคําพูดท่ีวา “A Picture is Worth a Thousand Words” ภาพหน่ึงภาพมีคาเปนพันคํา เปนแนวคิดท่ีJamie McKenzie กลาวถึง Graphical Organizers (การสรางภาพ)ซึ่งเปนเทคนิคหนึ่งที่ผูเรียนแตละคนสามารถจดบันทึกสิ่งตางๆ รวบรวมขอมูลท่ีซับซอนและยุงยาก มาสื่อความหมาใหเขาใจงาย ยอหรือตีความชัดเจนขึ้น โดยใชความคิดสรางสรรคของตนเองสื่อความหมายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นผานสัญลักษณหรือภาพท่ีตนเปนผูจัดทํา การสรางแผนภาพจะชวยใหนักเรียนวางแผนสําหรับการคนหา ใหคําแนะนํา ระบุจุดมุงหมายชัดเจน แสดงสิ่งที่พวกเขาไดรับและสิ่งที่ยังขาดหายไป บางคร้ัง Graphical Organizers (การสรางภาพ)ก็จะทําคลายกับMind Maps(แผนท่ีความคิด)และConcept Maps ซึ่งจะใชภาพหรือกราฟกในกจัดระเบียบขอมูลและความคิด เพ่ือทําความเขาใจ จํา หรือเขียนเกี่ยวกับสิ่งตางๆท่ีเกิดข้ึนขณะเรียนรู สําหรับครูที่ตองการเรียนรูเพ่ิมเติมเกี่ยวกับกลยุทธในการใชภาพในการสอนก็สามารถเขาไปในเว็บไซดของGreg Freeman สรุปGraphical Organizers เปนนวัตกรรมทางการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนรู ซึ่งในการเรียนรูของผูเรียนนั้น สิ่งท่ีจําเปคือความสามารถในการเชื่อมโยงประสบการณ และความคิดเดิมเขากับสิ่งใหมๆ และสิ่งท่ีเกิดข้ึนน้ันจะคงติดอยูในสมองของผูเรียนแตละคน ขณะครูไมสามารถบอกไดวาผูเรียนเขาใจในสิ่งท่ีตนสอนหรือไม แต Graphical Organizers จะเปนเครื่องมือท่ีทําใหครูเขาใจการคิด และรูวาอะไรซออยูในสมองของผูเรียน นอกจากสิ่งท่ีเขาคิด หรือเขาใจแลวยังมีความรูสึก ที่ครูตองพิจารณาวาผูเรียนตองการสื่ออะไร ยังขาดตกบกพรองตรงไหเพ่ือครูจะไดเสริมใหได ดังน้ันถือไดวา Graphical Organizers เปนนวัตกรรมทางการเรียนการสอนที่นาสนใจที่ครูผูสอนสามารถนํามาปรับใชในการสอน ตลอดจนการประเมินผลไดเชนกัน .....5 การประยุกตใช Mind Mapping : How Mind Mapping Can Help You การใชMind Mappingในการจัดการ เชนการทําโครงการ การจัดทําแผนกลยุทธ, การใชMind Mappingในการจัดการเรียนการสอน และการใชMind Mappingในการพัฒนาสวนบุคคล ในท่ีนี้จะสรุปเฉพาะท่ีเกี่ยวกับการเรียนการสอน ดังนี้ Mind Mapping (แผนที่ความคิด)เปนเคร่ืองมือที่สําคัญในการเสริมสรางการเรียนรูและสรางรากฐานสําหรับการเรียนรูที่ดีใหกับผูเรียน แผนท่ีควาคิดชวยใหผูเรียนไดพัฒนาพลังสมอง เปนเทคนิคที่ใชในการเรียนรู โดยสามารถใชในการจดบันทึก ถายทอดออกมาเปนภาพ หรือสญัลักษณ ชวในการจดจํา(ความคงทนในการเรียนรู) ครูสามารถใชเทคนิคแผนที่ความคิดเพื่อสนับสนุนความสามารถของผูเรียนในการเขียนและการเรียนรูอยามั่นใจ การสอนโดยใชแผนท่ีความคิดชวยดึงสิ่งท่ีเปนนามธรรมในสมองของผูเรียนออกมาเปนรูปธรรม ผูสอนจะเห็นความสัมพันธเชื่อมโยงระหวาความรูพ้ืนฐานเดิมของผูเรียนกับความรูใหม ความสําคญัของเทคนิคจะอยูที่การใหความรวมมือ การมีสวนรวม การใหความเห็นในการทํางานรวมกัน การรับฟงความเห็นของผูอ่ืนเพื่อปรับเพิ่มเติมในผลงาน วิธีการใชแผนที่ความคิดในการสอน ครูสามารถท่ีจะกําหนดหัวขอหรือใหผูเรียนเปนผูกําหนดเองโดยประเด็นหัวขออาจจะเปนปญหาหรือประเด็นเก่ียวของ เมื่อตัดสินใจเลือกแลวใหเวลาสัก2นาทีเพ่ือกําหนดความคิดยอย ซ่ึงแตกมาจากประเด็นแรกท่ีกําหนด ผูเรียนเขียนคํา ภาพ หรือสัญลักษณลงบนกระดาษ และไมตองใหความเห็นใดๆในผลงานของตน จากนั้นใหสมาชิกคนอื่นๆพิจารณาผลงาน แลวเจาของผลงานอธิบายงาของตน สมาชิกชวยกันเพิ่มเติมสิ่งที่หายไปหรือไมชัดเจน เจาของผลงานบันทึกสิ่งที่สมาชิกนําเสนอแลวไปปรับแกผลงาน แลวนําผลงานไปเก็บไว สรุปการใชแผนท่ีความคิดเปนนวัตกรรมทางการเรียนการสอนท่ีชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการเรียนรูใหกับผูเรียน ทําใหผูเรียนคนพบสิ่งที่อยูในใจลึกๆ ซึ่งจะเปนประโยชนตอสมองชวยในการจับและระลึกถึงความรูเดิม เพื่อสงเสริมกระบวนการเรียนรูใหม นอกจากนี้ยังมีการนําเทคนิคน้ีไปใชใการประชุม การอบรมสัมมนา การทํากิจกรรมนอกสถานที่ เพราะการเรียนรูดวยการจดบันทึกเปนเรื่องท่ีนาเบื่อ ไมชวนอาน แตการใชแผนภาพหรืสญัลักษณเพ่ือสื่อความหมายจะทําใหสามารถจดจํากิจกรรมตางๆท่ีเกิดขึ้นขณะเรียนรูไดดีย่ิงขึ้น ในขณะเดียวกันก็สามารถใชในการประเมินผลไเชนกันเพ่ือตรวจสอบความเขาใจของผูเรียน บทสรุป เทคโนโลยี ของ web 2.0 ไดมีบทบาทตอการการจัดการศึกษาท้ัง การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผลผูเรียน โดยไมอาจแยกออกจากกันได ทั้งน้ีเพราะ ลักษณะของเทคโนโลยี web 2.0 มีความสอดคลองกับบริบทของผูเรียน คือ ลักษณะผูเรียนที่ตองแลกเปล่ียน สรางเครือขายบนออนไลน ใหมีโอกาสทํางานรวมกัน อีกทั้ง ความหลากหลาย ความสะดวก งายตอการนําไปใชงานของเทคโนโลยี web 2.0 ตามวัตถุประสงคทั้งผูสอนและผูเรียน เปนแรงหนุนใหนําไปสูการเปล่ียนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนอยางรวดเร็ว จากรูปแบบในช้ันเรียน มาเปนแบบออนไลน หรือ learning มากขึ้น โดยเลือกใชแอบพริเคช่ันและซอฟแวรตาง ๆ ท่ีเหมาะสมนําไปใชในกระบวนการเรียนการสอน พัฒนารูปแบบการสอนท่ีหลากหลายมากขึ้น จากการนํา เทคโนโลยี web 2.0 ที่มีอยูบนเครือขายอินเตอรเน็ตมาใชใหสอดคลองกับบริบทของการเรียนการสอน ที่อํานวยความสะดวกแกผูสอและเสริมการเรียนรูที่ตรงกับความตองการของผูเรียน เปนปจจัยหนุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในวงการศึกษาอยางมาก จึงนําไปสูการพัฒนาทิศทการบริหารจัดการทางการศึกษา โดยเริ่มตั้งแตในช้ันนโยบายการศึกษา ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตร และนวัตกรรมท่ีสอดคลองกับผูเรียนย่ิงขึ้น รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรการศึกษา คือ ครู ที่เอ้ือตอการพัฒนาผูเรียน ในยุค web 2.0 นี้ ซึ่งหนวยงานการศึกษาแตละแหง ไดนําองคความรูทางศาสตรการสอน ผนวกกับเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือพัฒนาเปนนวัตกรรมการศึกษาในรูปแบบเฉพาะของหนวยงานแตละแหง ที่มุงผลใหผูเรียน ไดพัฒนาการเรียนรูดวยตนเองจากแหลงเรียนรูอยางหลากหลาย ท่ีเนนใหเรียนรูในสิ่งทีต่สนใจตามความแตกตางระหวางบุคคลอยางจริงจัง จึงเปนการสะทอนใหเห็นวา นับแตน้ีไป เราไมอาจปฏิเสธไดวา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นับวันจะพัฒนาอยางรวดเร็วและหลากหลาย จะกอใหเกิการเปลี่ยนแปลงตอวงการศึกษาไมจบสิ้น และจะมีอิทธิพลตอการนําไปสูการพัฒนาหลักสูตร และการสอนไมรูจบ แหลงอางอิง http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/e-learning-workshop-nov-07 http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/newport-elearning-conf--2008-9 http://www.kyle.mathews2000.com/category/elearning20 http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/rethinking-our-k-12-schools-using-web2-0-tools http://www.jisc.ac.uk/whatwedo/programmes/elearning/curriculumdelivery/dynamiclearningmaps.aspx http://due.mit.edu/initiatives/educational-technology http://www.tda.gov.uk/Recruit/becomingateacher.aspx http://www.pgcps.org/~elc/developingtasks.html

มธุรส จง Dear Group3

Page 13 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 14: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

ชัยกิจ 31-07-2010 07:22

ครูขอใหทบทวนทําหัวขอน้ีใหม โดยเพิ่มการคนควาในสวนของ Curriculum and Instruction Innovation แลวนํามา รวมเขากับงานเดิมท่ีทําไวนะคะ ครูขยายเวลาใหถึง 10 สิงหาคม น้ีเลยคะ Maturos

นวพร แซเลื่อง 24-07-2010 11:51

รายงานกลุมคร้ังที่ 2 เร่ือง นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 Curriculum and Instruction Innovation and Current ICT Web2.0: eLearning 2.0 /3.0 and Web 2.0 - กับการเรียนการ สอนแบบ eLearning แนวใหม นายกฤษฎา กุณฑล 5317650011 นายกอเดช อาสะกะละ 5317650020 นางสาวนวพร แซเลื่อง 5317650046 นางสมฤดี ปาละวัล 5317650097 เสนอ รศ.ดร.มธุรส จงชัยกิจ ดร.นพวรรณ ฉิมรอยลาภ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา 01162661-2553 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร สาขาหลักสูตรและการสอน (ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน ปการศึกษา 2553 ประกอบดวย เร่ือง บทนํา Web 2.0 กับการศึกษา การคิดใหมในโรงเรียน K-12 โดยการใชเคร่ืองมือของ web 2.0 ความเขาใจใน web 2.0 กับการศึกษา กอนนําไปสู web 2.0 กับ E-learning การคนหาทางเลือกใหมสําหรับอนาคต Web 2.0 กับ อีเลิรนนิ่ง นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนแนวใหม ในยุค WEB 2.0

นวพร แซเลื่อง 24-07-2010 11:51

บทนํา เทคโนโลยี web 2.0 ไดเขามามีบทบาทเก่ียวของกับหลักสูตรและการสอนในปจจุบัน ทําใหมุมมองในการออกแบบหลักสูตรและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเกิดข้ึนหลายรูปแบบ รวมทั้งชวยสรางเสริมความสนใจของผูเรียนในการแสวงหาความรูท่ีมีอยูมากมาย ในสวนของผูออกแบบหลักสูตรจะตองพัฒนาใหมีความทันสมยัและเหมาะสมกับผูเรียน ในสวนของผูเรียนสามารถเลือกเรียนรูตามความสนใจ ซ่ึงจะชวยสงเสริมการเรียนรูไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต เน้ือหานวัตกรรมหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยีรวมสมัย Web2.0 eLearning 2.0/3.0 and Web 2.0 กับการเรียนการสอนแบบ eLearning แนวใหมน้ี มีหัวขอสําคัญ 4 หัวขอ ประกอบดวย 1) การคิดใหมของครูและผูบริหารโรงเรียน K 12 2) เคร่ืองมือและคําแนะนําที่สําคัญในโลกของ eLearning 3) eLearning กับทางเลือกในอนาคต และ 4) ประเภทของ eLearning การคิดใหมในโรงเรียน K-12 โดยการใชเคร่ืองมือของ web 2.0 Barry Jahn ไดศึกษาขอมูลจาก Hood River School District และ West Sylvan Middle School ซ่ึงเปนโรงเรียน K-12 หมายถึง โรงเรียนท่ีเปสอนตั้งแต ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา สวนใหญจะใชในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดาและบางสวนของออสเตรเลีย เปาหมายในการสัมมนา เพ่ือเตรียมความคิดใน การสรางความสัมพันธเชื่อมโยงกับสิ่งที่เกิดขึ้นในปจจุบันและอนาคต การเรียนรูความหมายของคําวา web 2.0 เคร่ืองมือที่เก่ียวของกับ web 2.และการประยุกตใช ประเด็นคําถามที่ 1 คุณมีความเก่ียวของกับนักเรียนท่ีมีความตองการและสไตลการเรียนรูท่ีแตกตางกันหรือไม หลักสูตรของโรงเรียนมีการเปล่ียนแปลงและมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนหรือไม สิ่งสําคัญคือการเรียนการสอนจะตองมีการสรางความสัมพันธระหวางกการเรียนรูแบบรวมมือ การใชทักษะทางความคิดในระดับสูง การใชโครงงาน การมีเนื้อหาท่ีทันสมัยกับความเปล่ียนแปลง ประสบการณในการเรียนรูเปนสิ่งที่มีคา นักเรียนสามารถสราง แกไข แบงปนความรู การสรางเครือขายทางสังคมและ E-learning สิ่งเหลานี้มีความสําคัญในการจัดการเรียนการสอนในปจจุบันอยางยิ่ง ปจจุบันเมื่อคนมีอายุ 38 ป จะผานการทํางานมาระหวาง 10 – 14 งาน ความตองการแรงงานในอีกสามปขางหนาจะแตกตางไปจากสามปที่ผานม ดังนั้นคุณและนักการศึกษาจะตองเตรียมคนอยางไร

Page 14 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 15: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

1. สําหรับงานที่ยังไมเกิดขึ้นในปจจุบัน 2. เตรียมคนเพ่ือแกไขปญหาที่ยังไมมีการนิยามความหมาย 3. การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีที่ยังไมมีการคนควาไปถึง ขอมูลขาวสารที่เพ่ิมขึ้นอยางทวีคูณในชวง 18 – 24 เดือนท่ีผานมา ขอมูลท่ีเรียนวันน้ีอาจลาสมัยในสามปขางหนา การสืบคนขอมูลในกูเก้ิล 2.7พันลานคร้ังตอเดือน หนังสือที่ตีพิมพใหมทุกวันอยางนอยวันละ 3000 เลม นี่คือสิ่งท่ีบุคคลจะตองมีการตอบสนองกับสิ่งที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว เด็กวัยรุนในปจจุบันเกิดมาในโลกแหงดิจิตอล ท่ีสามารถสราง ใช ผสมผสาน แบงปนกันไดในทุกสิ่ง ประเด็นคําถามที่ 2 web 2.0 คืออะไร เว็บ 2.0 คือ ชุดของเทคโนโลยีท่ีใชสําหรับการประยุกตและการบริการ โดยผูเขียนไดอธิบายเพิ่มเติมวา เขาเชื่อวาภายในสองถึงสามปจากนี้ จะเกิดซอฟทแวรที่สามารถประยุกตใชกับเว็บได ความสามารถในการสราง แกไข แบงปน จะเปนลักษณะสําคัญที่เช่ือมโยงสูสังคมมากขึ้น ไมวาจะเปนในรูปแบบเอกสาร แผนงาน การนําเสนอ เสียง ภาพและวีดีโอ นอกจากนั้นแลวยังมีการตอบสนองจากเว็บ เชน google การใหสิ่งท่ีดีกวาและสิ่งที่ทุกคนเขาถึงได เชน firefox การอัพเดทหรือปรับปรุงขอมูลอยางเปนปจจุบัน ไมตองดาวนโหลด ไมตองมีคาใชจาย เปนตน ประเด็นที่ 3 เคร่ืองมือ web 2.0 ที่ควรรูจักมีอะไรบาง • ภาพ Google-Images, Flickr • วิกิ Wikispaces; CMS • เครือขายทางสังคม FaceBook, MySpace • วีดีโอ Ustream ,YouTube, Google Video, Netflicks • เทคโนโลยีเก่ียวกับเสียง Skype,TokBox,Jott, A/V Blog • Blog • Google Doc เว็บท่ีเก็บไฟลขอมูล แบงปน แกไขได • RSS reader ที่แสดงเนื้อหาขาว นักเรียนสวนใหญจะสนใจเทคโนโลยี ดังน้ันการท่ีครูและผูท่ีเกี่ยวของทางการศึกษามีความเขาใจในการใชเคร่ืองมือตาง ๆ เปนสิ่งที่จําเปนและสามารถตอบสนองผูเรียนท่ีมีความแตกตาง ระหวางบุคคลในดานรูปแบบการเรียนรูได ขอมูลจากโรงเรียนหนึ่ง ไดมอบหมายใหนักเรียนมี e-mail โดยใชช่ือโรงเรียนเปนหลัก ฝกใหมีการรับสง ตอบ แนบไฟลขอมูล และไดพัฒนาไปการสราง School based blog มีการแลกเปลี่ยนใหขอคิดซึ่งกันและกัน มีการสรางฐานขอมูลเอกสารชื่อ My Classroom Rules มีการอาน แลกเปลี่ยนและเผยแพร สิ่งสําคัญอีกประการหน่ึงคือการประเมินการเรียนรูของตนเอง มีการสรางมาตรวัด 5 ระดับเพื่อประเมินทักษะของตนเอง ระดับ 1 มีการรับรู แตไมลึซึ้ง ระดับ 2 มีความเขาใจเพียงบางสวน ระดับ 3 มีความเขาใจ แตยังตองการคําแนะนํา ระดับ 4 มีความเขาใจ แตตองการการเสริมแรงเพ่ือใหสามารถนําไปใชในสถานการณใหม ระดับ มีความเขาใจและสามารถนําความรูไปใชในสถานการณใหม ดวยความหลากหลายและการพัฒนาอยางรวดเร็วทางเทคโนโลยี ประกอบกับเทคโนโลยีมีความเหมาะสมกับวัฒนธรรมของผูใชงาน ทําให Web2.0 ไดแพรความนิยมไปสูวงการศึกษา โดยเฉพาะการนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน และเรียนรู ซ่ึง Web 2.0 มีลักษณะอยางไร ถึงไดมีบทบาทตอการนําไปใชการจัดการศึกษาไดอยางรวดเร็วและเขากันไดดี

นวพร แซเลื่อง 24-07-2010 11:51

ความเขาใจใน web 2.0 กับการศึกษา กอนนําไปสู web 2.0 กับ E-learning ลักษณะของ Web 2.0 1. ความหมายของคําท่ีเก่ียวของกับ web 2.0 1.1 Web Application คือแอปพลิเคชั่นที่เขาถึงดวย Web browser ผานเครือขายคอมพิวเตอรอยางอินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ต โดยจะมี WeApplication จํานวน 11 Web Application ท่ีไดรับความนิยมแพรหลาย 1.2 Web 2.0 เปนระยะที่สองของสถาปตยกรรมและการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่น หรืออาจกลาวไดวาเปนยุคท่ีสองของใหบริการบนอินเทอรเน็ต หลังจาก Web 1.0 เร่ิมเสื่อมความนิยมลง แอปพลิเคชั่นท่ีประกอบดวยคุณลักษณะแบบ Web 2.0 มักถูกออกแบบขึ้นมาจากเทคนิคตางๆ ท่ีพัฒนขึ้นในยุค 90 อาทิเชน public web service APls Ajax (Asynchronous Java And XML) และ web syndication (Web feeds เชน RSS feedsเปนตน) เว็บ 2.0 เปน platform ที่อาศัยอุปกรณที่อยูในเครือขายเปนตัวชวยทํางานรวมทั้งการใชงานและการประยุกตตาง ๆ ซึ่งตองอาศัยอุปกรณทํางานรวมกันเปนเครือขายท่ีเปนเนื้อเดียวกัน 1.3 เทคโนโลยีท่ีนาสนใจสําหรับ Web 2.0 ประกอบดวย 1) AJAX 2) XML, Web services 3) SaaS (Software as service) 1.4 Ajax (Asynchronous JavaScript and XML) คือ เทคโนโลยีท่ีรวมเอาความสามารถของ JavaScript, XML, CSS และ XHTML เอาไวดวยกซึ่งเปนการประยุกตเอาเทคโนโลยีเกามาผสมผสานจนไดเทคโนโลยีใหมที่นาศึกษาและนํามาใชงาน Ajax เปนกลุมของเทคนิคในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคช่ัน เพ่ือใหมีความสามารถโตตอบกับผูใชไดดีขึ้น โดยการรับสงขอมูลในฉากหลัง ทําใหท้ังหนาไมตองโหลดใหมทุกครั้งท่ีมีการเปล่ียนแปลง ซึ่งชวยใหเพ่ิมการตอบสนองความรวดเร็ว และการใชงานโดยรวม เอแจ็กซนั้นไมใชเทคโนโลใหม แตเปนเทคนิคที่ไดใชเทคโนโลยีหลายอยางที่มีอยูแลวรวมกันดังตอไปนี:้ • XHTML (หรือ HTML) และ CSS ใชในการแสดงผลลัพธและรูปแบบขอมูล • ECMAScript เชนจาวาสคริปต ในการเขาถึง Document Object Model (DOM) เพื่อใชในการแสดงขอมูลที่มีการเปล่ียนแปลงหรือโตตอบกับผใช • XMLHttpRequest ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูล asynchronously กับเว็บเซิรฟเวอร • XML ใชเปนรูปแบบขอมูลในการแลกเปลี่ยน ซึ่งรูปแบบอ่ืนก็สามารถใชไดเชนกัน ไมวาจะเปน HTML, JSON, EBML, หรือ เพลนเท็กซ 1.5 เว็บเซอรวิส (Web Services) เปนการ “บริการ” ท่ีเปนระบบซอฟตแวรท่ีออกแบบมาเพื่อสนับสนุนการทํางาน ระหวางคอมพิวเตอรกับคอมพิวเตอรผานระบบเครือขาย โดยภาษาท่ีใชในการติดตอสื่อสารระหวางคอมพิวเตอร คือ ภาษาเอ็กซเอ็มแอล (XML) Web Application ที่นิยมใชกันในยุคนี้ มี จํานวน 11 Web Application ดังนี้ (http://www.oknation.net/blog/print.php?id=189021)

Page 15 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 16: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

1) Bbubl.us เปนโปรแกรมที่ใชสราง Mind map โดยทํางานบน Flash ซึ่งสามารถ Export file ออกมาในรูปแบบที่เปนไฟลภาพ หรือไฟล HTML1 ได 2) Buzzword เปนโปรแกรม Online word processor น่ังเอง และโดยท่ัวไปจะทํางานบน Flash 3) Empress ใชสําหรับสรางภาพแบบ Slideshows เปนโปรแกรมที่ใชสําหรับสรางงาน presentation เอาใชแทน PowerPoint 4) High-rise เปนชุดโปรแกรมบริหารจัดการลูกคาสัมพันธ CRM(Customer relations manager) ซึ่งสามารถใชการจัดการบริหารธุรกิจถึง 37โปรแกรมผาน Web browser 5) Jott เปน Web.app ท่ีใชในการทําบันทึกใหกับตัวเอง โดยการบันทึกเปนเสียง แลวนําไปจัดเก็บลงในปฏิทินออนไลน ซึ่งเราสามารถเรียกใชเมื่อไหรก็ได 6) Mint เปน Web.app ท่ีใชจัดการบริหารการเงินดวยตัวของคุณเองผานระบบออนไลน ซ่ึงจะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี 7) Nozbe เปน Web.app สําหรับ Project management ทําหนาที่บริหารจัดการ Project ตางๆ 8) Sandy เปน Web.app ผูชวยสวนตัวในการจัดการเร่ืองอีเมลดวยภาษาธรรมชาติ 9) Vitalist มีลักษณะคลาย Nozbe และ Todoist เนื่องจากเปนโปรแกรมท่ีอยูในกลุมเดียวกัน 10) Scrybe เปน Web.app ที่มีการรวมกันระหวางปฏิทิน กับระบบแจงอีเมล ทําใหเราสามารถสรางตารางนัดหมายผานระบบออนไลน และแจงเตือนบุคคลท่ีเกี่ยวของทางอีเมลไดดวย 11) Todoist มีลักษณะการทํางานที่คลาย Nozbe แตจะเนนไปในแนวทางท่ีเปนการวางแผนใชชีวิตประจําวันมากกวา Jott บริษัทหนึ่งที่อยูใน Seattle, นําเสนอบริการใหมที่สะดวก ในการชวยใหคุณพูดขอความและสงใหตัวเองหรือคนอ่ืนๆ ผานเสียง แลวแปลง เปขอความคัดลอก หรือเปนขอความเสียง ตามท่ีคุณตองการ ซึ่ง John Pollard, CEO of Jott Networks ไดใหสัมภาษณเก่ียวกับบริการ Jott โดยJohn Pollard เปน CEO ของ Jott Networks ( www.jott.com ) ซึ่งเปนบริษัท Seattle ท่ีใหบริการโดยผานเพียงโทรศัพท โดยบริการที่นาสนคือ ชวยใหคุณสามารถเรียกหมายเลขโทรศัพท, ฝากขอความและมีขอความที่คัดลอกและสงไปยัง email ได ขอเพียงแคคุณมีสิ่งท่ีตองทํา แลวใชบริการผาน Jott del.icio.us เปนการรวบรวมสิ่งท่ีขื่นชอบของพวกคุณและคนอื่น มารวบรวมไว ในลักษณะท่ีคั่นหนังสือ โดยใช del.icio.us ในการเช่ือมตอ สิ่งท่ีคุณสนใจ ไดแก บทความ บล็อก ดนตรี การคนหารานอาหาร และอ่ืนๆ อีกมากมายจาก del.icio.us โดยทํางานขามเครือขายจากคอมพิวเตอรอื่นบนเว็บ และแบงปนสิ่งท่ีชื่นชอบกับเพ่ือน ๆ ของคุณ ครอบครัว และเพ่ือนรวมชั้น การคนหาสิ่งใหม หรือทุกสิ่งบน del.icio.us จะสรางความช่ืนชอบใหแกทุกคนท่ีไดจากความสําเร็จในการใชงานในสิ่งท่ีไดคนพบ ในวงการศึกษาตางประเทศ มีการนํา เทคโนโลยี ของ Web 2.0 มาใชกับ การจัดศึกษา ผาน ระบบ E-learning อยางหลากหลายและแปลกใหมดังนี้ จากการสัมมนาเมื่อวันจันทรที่ 5. พ.ย.2007 ณ ท่ีโรงเรียนในเขตลินคอน ซึ่งอํานวยการจัดงานสัมมนาเก่ียวกับ E-learning ปละครั้ง บริเวณนิวพต (http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/e-learning-workshop-nov-07) การสัมมนานําเสนอใหเห็นภาพของโรงเรียนที่ใชโปรแกรมทางไกล และผูจัดทําการเรียนรูโดยใช E-learning ไดทําการถายทอดภาพจากสถานทจริงของนักเรียนและทีมงานท่ีทํางานรวมกันในชั้นเรียนจริงมาสูที่สัมมนา มีการนําเสนอเรื่องเทคนิคและเครื่องมือในการสื่อสารและสรางสิ่งแวดลอมชุมชนออนไลน สําหรับ เครื่องมือท่ีใชในการผสมผสานจัดการศึกษา ผาน ระบบ E-learning มีดังนี้ 1. การนําเสนองานดวย Google Docs เปนการนําเสนอดวยเอกสารผานเทคนิค ของ Google Docs 2. การสาธิตการใช Web 2.0 Tool ดวยทิปและหัวขอสนทนาใน Google Blog 3. การใช Blog ในการสอนโดยผูสอนต้ังคําถามบน บล็อกและผูเรียนเปนผูคนควาตอบขอคําถามบนบล็อก ซึ่งเปนวิธีหนึ่งที่ใช Web tool ชวยในการจัดการศึกษา 4. การใช YackPack (walkie-talkie) เปนเคร่ืองมือสื่อสารผานเว็บ มีลักษณะการใช คือ ไมสามารถใชกับอีเมลไดแตสามารถอัพโหลดภาพและขอความได มีขอแมคือ รูปภาพเก็บไวไดระยะสั้นและขอความเสียง ไมสามารถบันทึกเสียงไดหรือเลนอยูเบ้ืองหลังได เปนเครื่องมือท่ีใชสําหรับรัสงขอความเทานั้น เหมาะสําหรับการคุยกันระหวางเพ่ือน โดยสามารถใชงานดวยการรับเพื่อนใหอยูใน pack 5. เทคนิกการใช Google Docs ในการสราง การแกไข และการแชรขอมูลไดโดยลักษณะ ( Create/Edit/Share ) 6. การใช Jott ซึ่งเปนเว็บ ท่ีใหบริการโดยใชเสียงผานโทรศัพท เสียงจะถูกแปลงเปนขอความและสงไปท่ีเมล หรือ บล็อก 7. การใช Blogger โดยการบันทึกเสียง (audio recorder).แลวนําขึ้นสูบล็อกหรือเว็บ 8. การนําเสนอการใช UStream ซึ่งมีการนําเอาเสียง การบันทึกวีดีโอและรายการสด(audio/video recording and Live Broadcasting) มาใชรวมกันได 9. การใช Social Bookmarking (del.icio.us) ซึ่งเปนเว็บสําหรับชุมชนออนไลนที่ใหบริการเก่ียวกับการแลกเปลี่ยนเรื่องท่ีชื่นชอบเหมือนกันเชนการคนหารานอาหาร บทความ เร่ืองราวท่ีสนใจรวมกัน ระหวางกลุมจากเครือขายอินเตอรเน็ต และรวบรวมเขาดวยกันเหมือนการคั่นหนังสือ 10. การใช Google Images/Video; Flickr; YouTube; iGoogle (CMS) and Web2.0 Tools นําไปใชในการจัดการศึกษา เปนการแสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน ยุค Web 2.0 มีความหลากหลาย แปลกใหมย่ิงขึ้น ผิดไปจากรูปแบบเดิม Barry jahn ผูซึ่งเปนคนท่ีไดศึกษา คนควา วิจัยเก่ียวกับเทคโนโลยี Web 2.0 เห็นดวยกับการท่ีผูนําทางการศึกษาหรือผูบริหารทางการศึกษา ตองมีความเช่ือวา 1.จะตองสนับสนุนใหการศึกษามีประสิทธิภาพและสนับสนุนใหผูเรียนอยูในสภาพท่ีเปนวัฒนธรรมของผูเรียนโดยแท 2.เช่ือวา อินเตอรเน็ตและเทคโนโลยีชวยเพ่ิมประสิทธิภาพในการสอนและเพิ่มโอกาสทางการเรียนรูแกผูเรียน 3.มองใหเห็นวา การเตรียมผูเรียนในวันนี้เพื่ออนาคตของเขามากกวาอดีตที่ผานมาของพวกเรา โดย Barry ไดแสดงใหเห็นวา อิทธิพลของ Web 2.0 ที่ใชกันอยางแพรหลาย และนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน มีลักษณะและประเภทกานําไปใชดังน้ี •Images ประเภท ภาพ ไดแก เว็บ Google-Images, Flickr

Page 16 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 17: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

Scribblar •Social Networking ประเภทชุมชนออนไลน ไดแก FaceBook, MySpace •Podcasting – ประเภทคลื่นเสียง ไดแก iTunes, Audacity •Video ประเภท ภาพเคลื่อนไหว Google Video Ustream, TeacherTube, YouTube CatchVideo.net •Audio ประเภทเสียง Jott, Skype, Yackpack, av-Blog •Blog ประเภทบล็อก ไดแก - Blogging vs webpage •Google Docs ประเภทเอกสารและการนําเสนอ W.Proc, S.Sheet, Presentation Share (co-edit, co-view) Publish (as URL or to Blog) Revision & tracking •Google Site ประเภท การสรางเว็บไซต web design . Social Bookmarking ประเภทการรวมรวมจัดการเว็บที่สนใจของกลุม delicious tagging RSS (Reader) Google Reader, Bloglines เหลาน้ี เปนตน ที่มา (http://www.barryjahn.com/web-2-0-tools) ความแพรหลายในเทคโนโลยีการสื่อสารบนเว็บ และมีหลากหลายใหเลือกใชไดตรงตามความตองการของผูใช อยางสะดวก รวดเร็ว งาย จึงปรากฏการพัฒนาผลิตภัณฑ เคร่ืองมือที่ใชบนเครือขายออนไลนมากมาย เพื่อเปนทางเลือกตามวัตถุประสงคของผูใชอยางไมจํากัด ดังท่ีจะกลาตอไปน้ี

นวพร แซเลื่อง 24-07-2010 11:39

การคนหาทางเลือกใหมสําหรับอนาคต เปนที่ประจักษอยางชัดเจนวา Web2.0 สามารถแสดงความหลากหลายของเทคโนโลยีการสื่อสารบนเว็บใหม ๆ ได ทุกท่ีทุกเวลา ท่ีสุดยอดยิ่งกคือท้ังหมดฟรี การสาธิตและการอภิปราย จะเนนวิธีการใชเคร่ืองมือตางๆในการเพ่ิมประสิทธิภาพการสื่อสารและบูรณาการเทคโนโลยีในทุกขอบเขตหลักสูตร เครื่องมือของ Google เปนหัวใจของ Web2.0 ผลิตภัณฑอ่ืน ๆ จะไดรับการกลาวถึงเชนกัน จากการศึกษาและสังเกตท่ีผานมาสองเห็นการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนในการเชื่อมตอระหวางเทคโนโลยีและการศึกษา นักเรียนวันน้ีกลายเปนมนุษยดิจิตอลที่มีวัฒนธรรมฝงอยูในเทคโนโลยี ดังนั้นการจะทําใหการศึกษายุคปจจุบันประสบความสําเร็จ เราจําเปนตองเขาใจวัฒนธรรมใหมตัวนี้ การสํารวจทางเลือกท่ีจะเริ่มตนดวย การเตรียมความคิดของเราสําหรับ 4 R 's : -Relationship --> Relevance – Riger> --> Results - Shift Happens -->so Pay Attention คุณไดเขาไปในโลกของเด็ก สัมผัสถึงความตองการ และวิธีการเรียนรูของเด็กหรือเปลา หากถามวา หลักสูตรปจจุบันท่ีใชอยูมันมีลักษณะท่ีตอบสนองผูเรียนจริงๆหรือเปลา มันมีลักษณะท่ีเขาถึงผูเรียนจริงๆหรือไม ซึ่งประเด็นน้ีเราสามารถท่ีจะพิจารณาจากลักษณะการโตตอบระหวางผูสอน ผูเรียนและระหวางผูเรียนกับผูเรียน ในลักษณะของการสรางชุมชน การแลกเปลี่ยนขอมูล การสรางขอมูล บอกเลาประสบการณตอกัน กิจกรรมเหลาน้ีเปนกิจกรรมหลักท่ีชาวดิจิตอลปฏิบัติอยูทุกวัน จากขอมูลของกรมแรงงานสหรัฐพบวา กลุมคนอายุ ท่ีเรียนจบ-38 ป จะมีงานที่เปนที่นิยม ประมาณ 10-14 งาน และ 10 งานในน้ัน เปนงานที่เพ่ิเกิดใหม หมายความวามีงานเกิดขึ้นใหมมากกวาคร่ึงในทุกๆ 3 ป ฉะน้ันหนาท่ีของนักการศึกษาปจจุบันไดเปลี่ยนไปแลว สอนการแกปญหาที่ยังไมเกิด สอนการใชเทคโนโลยีและเครื่องมือตางๆ ท่ียังไมไดคนพบดูแลวเปนเร่ืองที่นาปวดหัว แตจริง ๆ แลวหาเปนเชนนั้นไม สําหรับชาวดิจิตอลพรอมท่ีจะเรียนรูและปรับตัวกับความเปล่ียนแปลงเหลานั้น ลองใชเครื่องมือเหลาน้ีสําหรับ Web2.0 เพื่อชวยใหเราเขาไปสัมผัสโลกของผูเรียน เพื่อตอบสนองความตองการและรูปแบบการเรียนรู สําหรับกเตรียมพวกเขาใหพรอมสําหรับอนาคต ซึ่ง ผลิตภัณฑ โดย Google มีมากมาย เชน Gmail Docs Word, Spreadsheet, Presentation, Forms Upload Word, Excel, Powerpoint Blogger blogspot.com เว็บไซต (web page) Reader (และ RSS) รูปภาพ (Web Albums Picasa) SketchUp และแผนที่โลก ผลิตภัณฑ non - Google Web2 Jott.com โทรศัพทมือถืออีเมลหรือบล็อก Delicious.com Social bookmarking Scribblar.com ฝกอบรมออนไลน, สอน, การระดมความคิดสรางสรรครวมมือ เรียลไทมสดอัพโหลดภาพเสียง GetDropBox.com Skype.com CatchVideo.net YouTube VoiceThread.com Web 2.0 Tools Web2.0 สามารถกําหนดเปน"แพลตฟอรมบนเว็บสําหรับการใชงานและการบริการหมายถึง Web - based ซอฟตแวรและไฟลของคุณสามารถเขถึงไดจากทุกท่ีทุกเวลา มีการทํานายวาภายในสองสามป ทุกโปรแกรมซอฟตแวรหลักจะยายเขาสูระบบคอมพิวเตอรของคุณ. Web2.0 : ไมมีกา

Page 17 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 18: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

ดาวนโหลดและผลิตภัณฑทุกอยางฟรี Non - Google Products (free all) Yodio Screentoaster.com Screenr Youtube OnlineVideoConverter.com Delicious.com TokBox.com TinyURL.com FlipMyPhotos.coDoodle.com 4Shared.com TeamViewer.com RSS Google Reader PDF การแปลง Word Ustream Voice Thread Podcasting Web2.0 ลูกผสม ดาวนโหลดฟรีแลวเขาถึงไดจากทุกที่ทุกเวลา dropbox Skype ไมจําเปนตอง Web2.0 แตคุณอาจตองการเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพเหลานี้ อยูดี : PDF - Xchange Viewer CutePDF Writer Free Sound Recorder Ninite Screenhunter5 Mac 's (SnagItBeta) นักเรียนสวนใหญยอมรับเทคโนโลยี หากครูพิจารณาใชเคร่ืองมือเหลานี้ คือ Web2.0 ก็สามารถเขาไปสูโลกของพวกเขา เรียนรูตามแบบการเรียรู(Learning style)ของนักเรียนแตละคน เพ่ือเตรียมนักศึกษาปจจุบันเพื่ออนาคต ดวยลักษณะของผูเรียนในยุคนี้ จึงหลีกเลี่ยงไมไดวา การจัดการศึกษาในปจจุบัน จะเกี่ยวของกับการใชเทคโนโลยีสื่อสารบนเครือขายออนไลน ผาน เคร่ืองมือ Web 2.0 ดังจะเห็นไดจาก การนําไปสูการจัดการศึกษาแบบ อีเลิรนน่ิง Web 2.0 กับ อีเลิรนนิ่ง ประเภทของอีเลิรนนิ่ง หน่ึงในความทาทายท่ีสําคญัเมื่อพูดถึงอีเลิรนน่ิงจะเกิดความเขาใจท่ีแตกตางกัน เก่ียวกับขอบเขตของขอมูล โดยสวนใหญก็จะแทรกประสบการและงานของตนเขาไปในการสนทนาดวย การนําเสนอภาพของอีเลิรนน่ิง ไดสะทอนถึงสิ่งท่ีเราไดพบ สําหรับนักออกแบบการสอนแลว อีเลิรนนิง่หมายถึง หลักสูตรหรือสื่อการเรียนรูที่จะพัฒนาผูเรียนใหบรรลุตามวัตถุประสงค มีขอบเขตในเรื่องของการพัฒนาโปรแกรมการสอนตางๆ มีการแสดงความคิดเห็นที่แตกตางกันแตละประเภทของอีเลิรนนิ่ง ซึ่งแตละลักษณะจะมีประสิทธิภาพสูงเมื่อจัดใหอยูในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ประเภทของอีเลิรนนิ่งแบงได ดังนี้ 1. Course(หลักสูตร) ท่ีจัดทําขึ้นตามมาตรฐานทางวิชาการ เมื่อพูดถึงอีเลิรนนิ่งในหลักสูตรก็จะมองวาเปนสื่อ/วัสดุทางการศึกษา นักออกแบบจเร่ิมดวยการสรางสถานการณจําลอง การเลาเร่ือง สื่อออนไลน ลักษณะเดนคือการจัดใหเหมือนกับหองเรียน โดยทั้งผูเรียนและผูสอนสามารถเรียรูรวมกันได 2. Informal learning (การเรียนรูอยางไมเปนทางการ) การเรียนรูในลักษณะนี้ไมมีรูปแบบชัดเจนเรียนไดทุกที่ ทุกเวลา 3. Blended learning (การเรียนรูแบบผสมผสาน)เปนลักษณะการจัดการเรียนการสอนท่ีผสมผสานการเรียนในชั้นเรียนปกติกับการเรียนรูออนไลอาจมีสัดสวนในหองเรียน60% บนเว็บ40% เปดโอกาสใหมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนขอมูลภายนอกหองเรียน ผูเรียนสามารถเรียนรูทุกอยางท่ีตอการ เพราะการเรียนรูเปนกระบวนการทางสังคม ผูสอนจึงมีบทบาทเปนท้ังผูสอน ผูใหคําแนะนํา และผูอํานวยความสะดวก 4. Communities(การสื่อสาร)ปญหาในสังคมปจจุบันนี้มีความสลับซับซอนโลกมีการเปลี่ยนแปลงเหตุการณตางๆในอดีตจะไมเหมือนกับปจจุบันการแกปญหาตางๆตองใชมุมมองที่หลากหลาย เพื่อสรางความเขาใจท่ีถูกตอง การจัดการเรียนรูในลักษณะน้ีเปนเสมือนชุมชนออนไลน โดยผานการสนทนากับสมาชิกในองคกรเดียวกันหรือองคกรระดับโลก 5. Knowledge Management(การจัดการความรู)จะเกี่ยวของกับกระบวนการในการจัดการความรูของแตละองคกร ซึ่งมีแปดลักษณะคือการเรียนและพัฒนา การจัดการสารสนเทศ การใหขอมูลยอนกลับ การสรุปความรู การเปล่ียนของความรู การทํางานเปนทีม การติดตอสื่อสาร และระบบการจัดการเนื้อหา 6. Learning Networks(การเรียนรูโดยผานเครือขายNetworks) 7. Work-based Learning(การเรียนรูโดยใชงานเปนฐาน) ที่มา http://www.elearnspace.org/Articles/elearningcategories.htm ฝนไปดวยกันกับ Kyle Mathews สาระสําคัญคือผูเขียนพยายามจะนําเสนอขอคิดเห็น และประสบการณในการประยุกต/เลือกใชโปรแกรมตางๆสําหรับการศึกษา ท้ังจากการทําวิจัการแลกเปลี่ยนกับเพ่ือน ๆ ทางเว็บ การพัฒนาบล็อกโดยมีประเด็นท่ีนาสนใจดังนี้ • การใชโปรแกรมเกี่ยวกับคอมพิวเตอรตางๆในมหาวิทยาลัยจะเนนการเรียนรูในแนวกวางมากกวาการเจาะลึก • วีดิโอและสไลดจากการนําเสนอท่ี Druplacon DC 2009 ซ่ึงผูเขียนไดมีโอกาสไปนําเสนองานวิจัย • อะไรคือกุญแจสําคัญในการวัดการเรียนรูผูเขียนไดขอเสนอแนะจากJon Mott’s blog ซ่ึงเปนนักเทคโนโลยีทางการศึกษา ผูที่รวมกันสรางแรงบันดาลใจในการใชเคร่ืองมือweb2.0ในหองเรียน เขาคิดวาเคร่ืองมือที่จะสรางการเรียนรู web 2.0 คอืkey metric ซ่ึงจะเปนตัวกําหนดแนวทางใการตัดสินใจและวัดความสําเร็จ • การเช่ือมตอซึ่งผูเขียนคิดวาเขากําลังเร่ิมทําlink post บอยขึ้น เขาสามารถเขาถึงเน้ือหา เขาคิดวาเขาควรจะเขียนเรื่องนี้แตก็ไมมีเวลาในการเขียน( a full blown post) • เว็บ2.0คือการศึกษาในอนาคต มีประเด็นที่ผูเขียนกลาวถึงดังนี้ -โลกในอนาคตจะเปนโลกท่ีไมมีหลักสูตร การเรียนรูในอนาคตจะเปนการเรียนนอกหองเรียนมากกวาในหองเรียน -ทฤษฎีการพัฒนาสังคมของ Vygotsky ท่ีวาทุก ๆ บทบาทในการพัฒนาวัฒนธรรมของเด็ก จะเกิดขึ้นสองคร้ัง คือบทบาทในระดับทางสังคม แลบทบาทในระดับความแตกตางระหวางบุคคล -ทําอยางไรจึงจะยิ่งใหญ? จากการวิจัยไดใหขอคิดเห็นวาควรสนใจในเทคโนโลยีใหม ๆ กําหนดเปาหมายเฉพาะ,ไดรับสิ่งที่ดี ใหขอมูลยอนกลับทันทีและใชมัน -ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคมของแบนดูรา ซึ่งกลาววาพฤติกรรมตาง ๆ ของมนุษยเกิดจากการเรียนรูและสังเกตตนแบบหรือบุคคล นอกจากน้ี ผูเขียนยังไดเลาถึงประสบการณในการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาระบบสารสนเทศ การทําเว็บไซด E-commerce (ธุรกิจขายตรง) การทําเว็บไซดอ่ืนๆ(Drupal website) ซ่ึงเปนเว็บไซดที่บอกขาวและเหตุการณจากโบสถในเมืองUtah และชุมชนรอบๆ การทํางานเปนผูชวยนักวิจัย ซ่ึงไดทํางานรวมกับศาสตราจารยและนิสิตปริญญาเอก โดยศึกษวา จะทําอยางไรใหเทคโนโลยี web2.0 สามารถนํามาใชในหองเรียนและชวยใหนักเรียนมีความกระตือรือรนในการเรียนรู โดยเขาไดพัฒนาโมดุใหนักเรียนพัฒนาเว็บไซดของตนเอง และไดขอสรุปจากการวิจัยเก่ียวกับโปรแกรมอีเลิรนน่ิงท่ีสนับสนุนในเร่ืองของปฏิสัมพันธในกลุมเล็กๆอีกดว

Page 18 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 19: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

Wiki Wiki คือซอฟตแวร(Software) ในรูปแบบเว็บ (Web Application) ที่อนุญาตใหผูเขาชม สามารถแกไขเนื้อหาบนเว็บไดในขณะที่กําลังออนไลน(Online) อยูบนเบราวเซอร(Browser) วิกิ(Wiki) ตัวแรกช่ือวา WikiWikiWeb สรางโดย วอรด คันนิงแฮม(Ward Cunningham) เมื่อพ.ศ.2537 สําหรับโครงการ Portland Pattern Repository ของเขา โดยไดเขียนโปรแกรมขึ้นดวยภาษาเพิรล(Perl) และติดตั้งลงที่เว็บ c2.com โดยชื่อของ วิกิ นั้นมาจากช่ือรถประจําทางสาย"วิกิ วิกิ" (Wiki Wiki) ของระบบรถขนสงแชนซ อารท-ี52 ที่สนามบินฮอโนลูลูในรัฐฮาวาย คําวาวิกิในภาษาฮาวาย มีความหมายวาเร็ว ดังนั้นคําว"วิกิวิก"ิ หมายถึง "เร็วเร็ว" น่ันเอง ระบบวิกิเริ่มเปนที่รูจักภายหลังจากท่ีสารานุกรมวิกิพีเดียไดนํามาใช ซ่ึงตอมาไดมีหนวยงานหลายสวนไดนําระบบวิกิมาใช ไมวาในการจัดการเอกสาร การติดตอสื่อสาร หรือแมแตการรวมเขียนโปรแกรม เว็บไซด http://www.webopedia.com/ ไดใหความหมายของ Wiki วา เปนเว็บไซดที่รวมกันทําโดยผูเขียนหลาย ๆ คน มีรูปแบบ คลายกับ blซึ่งมีผูเขียนเพียงคนเดียว แตสําหรับ Wiki ผูเขียนหลาย ๆ คนสามารถชวยกัน เขียน แกไข ลบ หรือขยายความ ขอความท่ีอยูบนเว็บไซดได โดยใชการติดตอปฎิสัมพันธกันดวยโปรแกรม เบราวเซอร เว็บไซด http://www.wiki.org/ ไดใหความหมายของ Wiki วา เปนซอพทแวร server ที่ยอมใหผูใชหลาย ๆ คนสามารถสรางและแกไขเนื้อหาบนเว็บไซดไดโดยเสรีโดยใช web browser นอกจากนี้ Wiki ยังสนับสนุน hyperlinks และมีโครงสรางอยางงายในการสรางหนาใหมและการเช่ือมกันระหวางหนาภายในเว็บไซด ลักษณะสําคัญของ Wiki 1) เทคโนโลยีของวิกิวิกิเว็บเซิรฟเวอร (WikiWikiWeb Server) เปนโครงสรางไฮเปอรเท็กซ แตละหนาจะมีลิงกเปนจํานวนมากที่ลิงกไปยังหนาอื่น 2) เนนการทํางานแบบงาย ซึ่งผูเขียนสามารถสรางเนื้อหาบนเว็บไดโดยไมจําเปนตองมีความรูในภาษาเอชทีเอ็มแอล(HTML) โดยขอมูลถูกเขียรวมกันดวยภาษามารกอัป(MarkUp)อยางงายโดยผานเว็บเบราวเซอร(Web Browser)ในแตละหนาจะถูกเรียกวา"หนาวิกิ" และเนื้อหาภายในจะเช่ือมตอกันผานทางไฮเปอรลิงก (Hyperlinks)ซึ่งสงผลใหในแตละวิกิสามารถทํางานผานระบบที่เรียบงายและสามารถใชเปนฐานขอมูล สําหรับสืบคน ดูแลรักษาที่งาย นิยามลักษณะของเทคโนโลยีวิกิคือความงายในการสรางและแกไขหนาหนาเว็บ โดยไมจําเปนตองผานการตรวจสอบหรือยืนยันจากเจาของเว็บน เว็บวิกิหลายแหงเปดใหผูใชบริการท่ัวไปในขณะที่บางกรณี ข้ึนอยูกับการตั้งคาวิกิ บนเซิรฟเวอร ผูใชอาจจะตองล็อกอินเพื่อแกไข หรือเพ่ืออานบางหนา (http://th.wikipedia.org/wiki/Wiki) 3) ผูใชงานไมตองลงโปรแกรมเพิ่มเติมพิเศษ สามารถใชงานผานเบราวเซอร และผูใชไมจําเปนตองมีความรูดานเทคนิค 4) เปนสวนหนึ่งของ Web 2.0 * Web 2.0 เปนคําท่ีถูกคิดคนขึ้นมาใหมโดยทิม โอไรลลี่ย ( เพ่ือใชอธิบายถึงวิวัฒนาการในปจจบุันของเว็บ จากที่เปนแคผลรวมของเว็บไซตหลายๆแหง มาเปนโครงสรางพ้ืนฐานทางคอมพิวเตอรท่ีใหบริการซอฟตแวรผานเว็บใหกับผูใช ผูท่ีเห็นดวยกับแนวคิดนี้คาดวาบริการตางๆ บนเว็2.0 จะมาแทนที่ซอฟตแวรแบบดั้งเดิมหลายๆ ประเภท แมจะยังไมมีคํานิยามท่ีอธิบายถึงเว็บ 2.0 ไดครอบคลุมที่สุด แตหน่ึงในหลายตัวอยางของความแตกตางระหวางเว็บ 1.0 และเว็บ 2.0 คือ การเปลี่ยนจากเว็บไซตที่มุงทําธุรกิจอยางเดียวมาเปนการมุงสรางชุมชนหรือสังคมคนออนไลนมากขึ้น เชนการใหบริการซอฟตแวรผานเว็บไซต การเปดกวางใหผูใชมีสวนรวมในการเผยแพรคอนเทนทตางๆ และการดาวนโหลดขอมูลแบบบิตทอรเรนท เปนตน ทําไม Wiki ถึงเปนนวัตกรรมในการเรียนการสอนอีเลิรนน่ิง รูปแบบการสอนที่ใชกันอยูโดยท่ัวไป เชน การเรียนการสอนในชั้นเรียน การเรียนทางไกล หรือการเรียนทางอินเทอรเน็ต การเรียนการสอนมักเปนการถายทอด หรือนําเสนอความคิดเพียงทางเดียว แมการอภิปรายท่ีมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ก็เปนลักษณะการใหขอมูล หรือความรูเปนของแตละคน การนําเทคโนโลยีของ Wiki มาใช ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนองคความรู เกิดการขัดเกลา ผสมผสาน และการตรวจสอบ เกิดการสังเคราะหขึ้นเปนความรูที่มาจากผูเรียนหลาย ๆ คน จึงถือไดวาเทคโนโลยี Wiki นับเปนนวัตกรรมในการเรียนรูรูปแบบหน่ึง ตัวอยางหนึ่งของการนํา Wiki มาใชในการเรียนการสอน เปนขอความบรรยายตอนหน่ึง แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ Wiki ของ ดร.วลัยภรณ นาคพันธุ หัวหนาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรัสิต (ขอมูลจากเว็บไซต http://gotoknow.org/blog/thaikm/17330 ) ดร.วลัยภรณ นาคพันธุ : .....มีวิชาหน่ึงท่ีดิฉันสอน ชื่อวาคอมพิวเตอรเพ่ือการออกแบบสถาปตยกรรมเบื้องตนที่ใหนักศึกษาเขาใจศัพทพื้นฐานในวงการออกแบบ การเขียนแบบดวยวิชาคอมพิวเตอร โดยในคลาสนี้เปนนักศึกษาระดับปริญญาโท 12 คน เร่ิมจากแนะนําใหเขารูจักระบบ CMS (content management system ) เปนระบบท่ีใชในการจัดการเนื้อหา สามารถตั้งเปน server ไดหลายรูปแบบดวยกัน คือ weblog e-commere-learning จนกระทั่งมาถึง Wikipedia ซึ่งตรงน้ีไดนํามาใชในการออกแบบ ในการจัดการเนื้อหา หลังจากท่ีแนะนํา Wikipedia ใหเขารูจักแลว ใหการบานไปเขียนใน Wikipedia โดยเขียนรายงานเกี่ยวกับเร่ืองท่ีตนเองสนใจ 6 หัวขอ สวนหัวขอที่ 7 เปนศัพทท่ีเกี่ยวของทางดานคอมพิวเตอรเก่ียวกับการออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งตรงนี้ก็เปนเทคนิคอันหน่ึง คือใหเขาเขียนสิ่งท่ีเขาสนใจและเขารู ขอแคหัวขอเดียวเก่ียวกับศัพทท่ีจะเรียน เนื่องจากนศึกษาจํานวนหลายคน คนหน่ึงเขาไปเขียนคนอ่ืนก็อานได เปนตัวอยางที่นักศึกษาสนใจ คือการตูนที่วัยรุนสนใจ เชน ปอมปอม มีคนเขามาชวยกัแก สโมสรฟุตบอลลิเวอรพูล แหลงโบราณคดีบานเชียง กอนที่จะใหกลับไปเขียนท่ีบานก็มีการ train ในช้ันเรียนกอน หนา web เว็บของ Wikipedia มีสวนท่ีเรียกวา กระบะทราย จะทําอะไรก็ได แลวจึงปลอยเขาลงสนามจริง ๆ คิดวาคงไมกอกวน Wikipedia เทาไหร หลังจากท่ีเขากลับไปเขียน ตอนแรกๆ นักศึกษาจะทํา link ตัวหนา ตัวเอียงไมเปนก็มีอาสาสมัครใจดีชวยกันเขามาเขียน เมื่อผานการตรวจสอบ ตอนหลังก็จะไดออกมาเปนบทความที่สวยงามได ศัพทตรงนี้เปนศัพทท่ีเราจะสอบปลายภาคอยูแลว มีคนเขามาเขียนหลายหัวขอดวยกัน สรุปวาประสบความสําเร็จดี ...... Wiki มีรูปแบบไหนบาง การใชงาน Wiki ข้ึนอยูกับจุดประสงคของคนเฉพาะกลุม เชน องคกรหรือบริษัทท่ีตองการใชงานWiki โดยทั่วไปแบงการใชงาน Wiki เปน 2 ประเภทคือใชงานในกลุมคนเฉพาะกลุม และใชงานเปนสาธารณะบนอินเทอรเน็ต

Page 19 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 20: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

Wiki สามารถนําไปใชงานไดหลายรูปแบบ เชน สามารถใชงานเปนเคร่ืองมือจัดการกับองคความรู (Knowledge Management Tools) การวางแผนและจัดการกับเอกสารตางๆ หรือใชในระบบจัดการขอมูล (Content Management System) ใชในกระดานสนทนา (Discussion Board) ปจจุบันมีหลายองคกรไดนําเทคโนโลยี Wiki ไปใชในดานตาง ๆ เชน เปนออรแกไนเซอร(Organizer)ภายในองคกร การจัดการเรียนการสอน การนํา Wiki มาประยุกตในการเรียนการสอนอีเลิรนน่ิง Duffy และ Bruns (2006) ไดเสนอการนําวิกิมาใชในการเรียนการสอนดังนี้ • นักศึกษาสามารถใชวิกิเปนตัวเอกสารหลักในการรวมกันพัฒนาโครงงานวิจัย • นักศึกษาสามารถใชวิกิเปนตัวเอกสารหลักในการเพิ่มบทสรุปความคิดของตนเองที่มีตอรายการหนังสือท่ีตองอานประกอบการเรียนและรวมกันเขียน annotated bibliography • ในการเรียนการสอนทางไกล ผูสอนสามารถพิมพหลักสูตรของวิชา เอกสารประกอบการเรียนบนวิกิ โดยที่ผูเรียนสามารถเพิ่มเติมเสนอความคิดเห็นของตนเองท่ีมีตอวิชาที่เรียนไดโดยตรง • วิกิสามารถใชเปนฐานความรูของผูสอน ในการรวมกันสะทอนความคิดเห็นเก่ียวกับการสอนในเร่ืองตางๆ ซึ่งสามารถนํามาจัดหมวดหมูใหงายตอการสืบคนไดในภายหลัง • วิกิสามารถนํามาใชในการสรางกระบวนทัศน โดยวิธีการระดมสมอง เพราะจะเปนตัวเชื่อมใหเกิดเครือขายของแหลงขอมูลตางๆ • วิกิสามารถนํามาใชแทนท่ีโปรแกรมในการนําเสนอ เชน PowerPoint เพราะผูเรียนสามารถรวมกันเพิ่มเติม แกไขขอมูลในการนําเสนอไดในเวลนั้นๆ • ใชเปนเคร่ืองมือในการเขียนรวมกันเปนกลุม • ใชในการประเมินผลวิชาที่เรียน โดยผูเรียนรวมกันเขียนสิ่งท่ีแตละคนไดจากการเรียนวิชานั้นๆ ขอดีของ Wiki ในการนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิ่ง 1) สามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูแบบรวมมือ (collaboration) กับผูเรียนดวยกัน และกับผูสอนไดเปนอยางดี สามารถแสดงความคิดเห็น แลการใหความไววางใจที่จะใหสมาชิกในกลุมสามารถที่จะแกไข ขอมูลตางๆ เพ่ือท่ีจะใหบทความ หรือ ความรูนั่นสมบูรณย่ิงข้ึน ดร. ธวัชชัย ปยะวัฒน (http://gotoknow.org/blog/memecoder/9220) ไดแสดงความเห็นดังน้ี ......เจตนาการใชงานวิกิก็เพ่ือการเขียนเอกสารรวมกัน (Collaborative Writing) โดยจัดเรียงเนื้อหาตามโครงสรางของเอกสารน้ันๆ เอกสารท่ีเขียนอาจจะเปนคูมือในเร่ืองใดเรื่องหนึ่งท่ีมีโครงสรางสามารถเขียนรวมกันและเชื่อมตอหากันในเนื้อหาของเอกสารได ดังน้ันขอดีของวิกิก็คือ ใชเขียนเอกสารท่ีเน้ือหามีโครงสราง (Structured Contents) รวมกันไดดี และเปดโอกาสใหมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเอกสารที่มีโครงสรางน้ันไดรวดเร็วทันตอการเปลี่ยนแปลง..... 2) สงเสริมคุณธรรมใหกับผูเรียน ในดานความสามัคคี ความเสียสละ ความรวมมือรวมใจ ในการแบงปนความรู ขอจํากัดของ Wiki ในการนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนอีเลิรนนิ่ง 1) เอกสารที่เขียนตองมีโครงสรางท่ีชัดเจนในระดับหนึ่งแลวกอนเปดโอกาสใหมีการเขียนรวมกันได มิฉะน้ันจะเกิดปญหาในการเชื่อมตอและการจัดเรียงเนื้อหา (Structural Problems) 2) วิกิเหมาะตอการสกัดความรูชัดแจงใหอยูในรูปเอกสารที่มีโครงสรางที่สามารถเปลี่ยนแปลงไดทันตอการเปลี่ยนแปลงท่ีแทจริง นอกจากน้ี “วกิิในภาพรวมยังหมายถึงไวยากรณในการเขียนเนื้อหาเพ่ือใหปรากฏบนเว็บที่งายกวาการเขียนดวยภาษา HTML ดวย 3) การเขียนขอความทีไมเหมาะสม ที่มา http://e-pro-bunga.blogspot.com/2009/04/wiki-e-pro-3.html การประยุกตใชระบบอีเลิรนน่ิงในสถานศึกษา ในการประยุกตใชระบบอีเลิรนนิ่งในสถานศึกษานั้น ควรเนนที่กระบวนการเรียนรูมากกวาเนนท่ีเทคโนโลยี ซ่ึงหมายถึงการนําระบบอีเลิรนนิ่งมาใชนั้น ผูสอนควรเนนในวิธีการท่ีจะเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียน ซ่ึงสงผลใหผูเรียนมีความเขาใจในเน้ือหาท่ีเรียนมากขึ้นกวาการทองจําเพียงเนื้อหาท่ีเรียนเทาน้ัน โดยทั่วไปการสรางหลักสูตรการเรียนนั้น จะสรางตามแนวความคิดของผูสอนเปนหลัก ซึ่งจะพยายามสรางหลักสูตรใหมีเน้ือหาครบถวน มีโครงสรางท่ีผูสอนเช่ือวาผูเรียนสามารถอานและทําความเขาใจได แตเมื่อนํามาใช บอยครั้งจะพบวาไมสามารถใชไดกับผูเรียนทุกกลุม เน่ืองจากตามทฤษฎีการเรียนรูแลว ผูเรียนจะเปนผูสรางความรูตามพ้ืนฐานความรูที่ตนเองมีอยู หรือเลือกท่ีจะรูตามแนวทางของตนเองจากองคประกอบที่ผูสอจัดหาให ซึ่งผูสอนจําเปนตองควบคุม แนะนํา หรือกระตุนใหผูเรียนศึกษาและเรียนรูตามแนวทางที่ตั้งเปาหมายไว เมื่อพิจารณาแลว ระบบอีเลิรนนิ่งมีคุณลักษณะที่เหมาะสมในการประยุกตใชกับทฤษฎีการเรียนรู และนํามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูของเรียน เน่ืองจากผูสอนสามารถกําหนดสภาพแวดลอมการเรียนรูในระบบได สามารถสรางทางเลือกแกผูเรียน ในการเรียนรูตามท่ีตนเองตองการ มีเคร่ืองมือใหผูเรียนสามารถคนควาหาความรูเพิ่มเติม และสามารถสรางกลุมการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนไดโตตอบ อภิปราย เพ่ือกอใหเกิดความรูใหม การประยุกตทฤษฎีการเรียนรูแบบเนนใหผูเรียนเปนผูสรางความรู (Constructivist) กับระบบอีเลิรนน่ิง ทฤษฎีการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนผูสรางความรู อาศัยแนวความคิดที่วาผูเรียนจะเปนผูสรางความรูใหมๆ ดวยตนเอง โดยอาศัยภูมิความรูเดิมของตนเอง ซ่ึงการใชระบบอีเลิรนน่ิงนั้น ผูเรียนสามารถคนควาความรูจากอินเทอรเน็ตหรือจากเน้ือหาวิชาและนํามาสรางเปนความรูได โดยผูสอนทําหนาท่ีเปนเหมือนผูชวยใหกระบวนการเรียนรูของผูเรียนเปนไปตามวัตถุประสงค โดยผานการโตตอบและการอภิปรายระหวางผูเรียนและผูสอนและระหวางผูเรียนดวยกันเอง และผูสอนจะตองคอยควบคุม เมื่อการเรียนรูน้ันดําเนินไปในทิศทางท่ีไมตรงกับวัตถุประสงคที่วางไว การคนควาขอมูลใหมๆ ในระบบอินเทอรเน็ตจะชวยกระตุนความนาสนใจแกผูเรียน และผูเรียนเองสามารถเลือกท่ีจะเขาถึงขอมูลที่คนความาไดตามท่ีตนเองตองการ และผูเรียนจะตองอานขอมูลจํานวนมากซึ่งจะชวยเพ่ิมประสบการณ นอกจากน้ีผูเรียนยังตองวิเคราะหขอมูลที่ไดมาวาถูกตอและตรงตามวัตถุประสงคของเน้ือหาในการเรียนครั้งนั้นหรือไม ซ่ึงสิ่งตางๆเหลาน้ีจะทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและเขาใจในเนื้อหาอยางลึกซึ้งแลเก็บเปนฐานความรูเพ่ือนําไปสรางความรูใหมๆ ตอไป 1.สงเสริมใหมีปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอน การปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนและผูสอนทั้งในเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน เปนปจจัยสําคัญประการหน่ึงในการสรางแรงจูงใจในการเรียนรูของผูเรียน ความคุนเคยกับผูสอนจะทําใหผูเรียนรูสึกสบายใจท่ีจะถามเม่ือสงสัย หรือตองการหา

Page 20 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 21: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

ความรูเพ่ิมเติม ระบบอีเลิรนนิ่งมีเคร่ืองมือท่ีสนับสนุนการปฏิสัมพันธในลักษณะนี้ เชนระบบอีเมล ระบบหองสนทนา ซึ่งสามารถนํามาใชปฏิสัมพนักับผูเรียนทั้งในและนอกเวลาเรียนได 2.สงเสริมใหมีการอภิปรายหรือความรวมมือระหวางผูเรียนดวยกันเอง การอภิปรายหรือรวมมือกันทํางานระหวางผูเรียน จะกอใหเกิดการแตกแขนทางความคิดและมีขอมูลใหมๆ และนําไปสูการเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียนรู ดังนั้นถาผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถซักถาม อภิปรายถึงปญหาในแตละขอรวมกัน โดยผูสอนทําหนาท่ีชี้แนะ และควบคุมใหการอภิปรายใดําเนินไปในทิศทางที่ถูกตอง จะทําใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด แตปญหาที่เกิดขึ้นคือ การอภิปรายในลักษณะนี้อาจไมเหมาะกัหองเรียนขนาดใหญ ซ่ึงการใชเคร่ืองมือในระบบอีเลิรนน่ิงจะชวยลดขอจํากัดดังกลาวได เชนการใชระบบเว็บบอรด ซ่ึงผูสอนสามารถตั้งหัวขอเพืใหผูเรียนรวมอภิปราย โดยอาจใชรวมกับการคนควาขอมูลเพ่ิมเติมจากอินเทอรเน็ต เพื่อใหเกิดความรูใหมๆ ในการอภิปราย และผูเรียนมีการเรียนเพ่ิมขึ้น 3.เนนการเรียนเชิงรุก(Active Learning) มีบทวิจัยจํานวนมากท่ีพิสูจนวาการเรียนรูแบบเกาท่ีผูเรียนเขาไปนั่งฟงผูสอนในหอง จําสิ่งท่ีผูสอนพูด และทําขอสอบจากสิ่งที่จําไมไดสงผลใหผูเรียนมีความรูที่มากขึ้น แตการเรียนแบบเนนเชิงรุก ที่ผูเรียนจะตองอภิปรายถึงสิ่งที่ไดเรียนรู บันทึกความรูน้ัน และนําไปประยุกตเขากับการใชงานในปจจุบันจึงเปนวิธีการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ ตัวอยางของการเรียนรูเชิงรุกเชน การจัดใหมีการทําโครงงานเปนทีม การวิจารณผลงานระหวางผูเรียนดวยกัน การอภิปราย ซึ่งสิ่งตางๆ เหลาน้ีสามารถดําเนินการไดโดยอาศัยการประยุกตใชเครื่องมือในระบบอีเลิรนนิ่งเชน ระบบเว็บบอรด เปนตน นอกจากน้ีการใหผูเรียนมีสวนรวมในการกําหนดเนื้อหาการเรียน ก็เปนสวนหน่ึงในการเรียนเชิงรุกเชนเดียวกัน 4. เขาใจวาวิธีการเรียนรูในสิ่งเดียวกัน สามารถดําเนินการไดหลายวิธีการเรียนรูตามวัตถุประสงคหน่ึงๆ อาจทําไดจากหลายวิธีการ ผูเรียนท่ีชอบอาน อาจใชวิธีคนควาตามหองสมุด หรืออินเทอรเน็ตและอานขอมูลตางๆ เหลาน้ันและนํามาวิเคราะหใหเกิดความรูตามท่ีตนเองตองการ ในขณะผูเรียนท่ีชอบปฏิบัติ อาจทดลองปฏิบัติจริง เพ่ือทดสอบผลการเรียนรูวาถูกตองหรือไม ดังนั้นผูสอนจะตองเขาใจและใหโอกาสผูเรียนในการเลือกวิธีที่ตนเองถนัด เพื่อนําไปสูการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพระบบอีเลิรนนิ่งเปนระบบที่เปดโอกาสใหผูเรียนสามารถเลือกที่จะคนควาตามตองการ ประกอบกับเทคโนโลยีในปจจุบันทําใหการใชคอมพิวเตอรเพ่ือจําลองสถานการณตางๆ ทไดงายขึ้น ดังนั้นการประยุกตใชระบบอีเลิรนน่ิงจึงเปดโอกาสใหผูเรียนไดกําหนดทางเลือกในการเรียนรูเอง จะสงผลใหการเรียนรูน้ันประสบความสําเร็จ ขอจํากัด การประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรูกับระบบอีเลิรนน่ิงน้ัน จะสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือผูสอนมีความเขาใจในทฤษฎีการเรียนรู และยอมทุมเทเวลาที่จะประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรูนั้นกับระบบอีเลิรนนิ่ง เนื่องจากแนวทางการสอนลักษณะน้ี ผูสอนจะตองทํางานหนักขึ้นเพื่อใหกเรียนรูน้ันมีประสิทธิภาพมากข้ึน นอกจากน้ี ผูเรียนและผูสอนตองมีเคร่ืองมือท่ีสามารถโตตอบกันไดตลอดเวลา และผูเรียนสามารถคนควาหาขอมูลใหมๆ เพ่ือนํามาสรางเปนควาซึ่งท้ังสองประการน้ันมีความจําเปนที่ผูเรียนตองมีเครื่องคอมพิวเตอร ที่เช่ือมตอกับระบบอินเทอรเน็ตตลอดเวลาของการเรียน อีกทั้งประสิทธิภาพของระบบอินเทอรเน็ตท่ีใช ก็มีผลตอความพึงพอใจของผูเรียน ถาระบบอินเทอรเน็ตมีประสิทธิภาพต่ํา การคนควาหาขอมูลทําไดชามาก ก็จะสงผตอประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียนได และ ประการสุดทาย ผูเรียนบางคนอาจไมคุนเคยกับเทคโนโลยีและการศึกษาวิธีการใชเทคโนโลยีก็อาจสงผลตอการเรียนรูเน้ือหาตามวัตถุประสงคจริงๆ นวัตกรรมหลักสูตรและการสอนแนวใหม ในยุค WEB 2.0 ในยุคเทคโนโลยีรวมสมัย web 2.0 น้ีไดนําความเปลี่ยนแปลงมาสูทุกวงการท่ีเก่ียวของอยางนาตื่นเตน ในมุมมองของการศึกษาก็เชนเดียวกัน กนําความรูใหม ๆ มาใชในการจัดการเรียนการสอน ทําใหเกิดความทาทายกับนักการศึกษาและครูทุกคน ซึ่งจะตองพยายามเรียนรูเทคโนโลยีใหมที่เกิดขึ้นอยางเทาทันและสามารถประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมกับบริบทของแตละสถานศึกษา โดยมีการนํามาใชตั้งแระดับนโยบายเชิงการบริหารไปสูการนําไปปฏิบัติ ประยุกตใชในสถาบันการศึกษาแตละแหง ซึ่งตางประยุกตใหมีความสอดคลองกับผูเรียนและความเปนเลิศในสถาบันการศึกษาเหลาน้ัน ดังตัวอยางตอไปนี้ นวัตกรรมหลักสูตรและนโยบายการศึกษา กฤษฎา กุณฑล นโยบายทางการศึกษาเปนสิ่งท่ีรัฐบาลของสหราชอาณาจักรใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง ในชวงสมัยของโทนี่ แบลร ไดพูดวา...สิ่งสําคัญที่สุดมีสามคําคือการศึกษา การศึกษาและการศึกษา คําถามคืออะไรสิ่งสําคัญในการประยุกตนวัตกรรมหลักสูตร ในป 2008 มีรายงานจากกระทรวง Innovation , Universities and Skill ไดสรุปผลการศึกษาวา การศึกษาจะเปนปจจัยสําคัญท่ีนําไปสูการเปล่ียนแปลงทุกสิ่งในโลกใบนี้ เราจําเปอยางยิ่งท่ีจะตองพัฒนาใหผูเรียนมีจิตใจท่ีมุงเนนการพัฒนานวัตกรรมตาง ๆ จึงจําเปนตองดําเนินการในส่ิงสําคัญ 3 ดานคือ 1.นวัตกรรมของกระบวนการออกแบบหลักสูตรใหมโดยผูนําทางการศึกษา 2.นวัตกรรมของการฝกปฏิบัติในช้ันเรียนรูปแบบใหม และ 3.นวัตกรรมในการสรางทักษะและจิตใจของผูเรียน ซึ่งทั้งสามสิ่งจะมีความสําคัญอยางยิ่งในการออกแบบหลักสูตรใหเหมาะสมกับผูเรียนในอนาค ชาติแหงความเปนนักนวัตกรรม จากรายงานของกระทรวง Innovation , Universities and Skill มีสาระสําคัญตอนหน่ึงคือ การศึกษา กฎหมาย สุขภาพและระบบการขนสง เปนจุดสําคัญในการสรางนวัตกรรมการเรียนรู เราจะตองจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและตอบสนองการเพิ่มความตองการของมนุษย ท่ีสลับซับซอนในอนาคต เปาหมายในการบริการทางการศึกษาจะตองมุงใหผูเรียนมีสุขภาพที่ดี มีความมั่นคงปลอดภัย มีความสุขและความสําเร็จ สรางสิ่งดีและมีความรูในดานเศรษฐศาสตร กรอบแนวคิดของการออกแบบหลักสูตร การออกแบบหลักสูตรเพ่ือใหผูเรียนมีสมรรถนะหลักและความสามารถดานอื่น ๆ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองออกแบบหลักสูตรใหเหมาะกับโลกแหงการทํางานในอนาคต ขอบขายของหลักสูตรจะตองมีความครอบคลุมอยางนอย 6 ประการไดแก ความสามารถในการแสวงหาความรูดวยตนเอง ความคิดสรางสรรค ความคิดสะทอนกลับ (reflective thinking) การทํางานเปนทีม การจัดการตนเองและการทํางานรวมกันใหประสบความสําเร็ การออกแบบหลักสูตรในชวงอายุ 4-11 ป การศึกษาเอกสารเก่ียวกับหลักสูตรระดับประถมศึกษาในชวงที่ผานมา มีความพยายามท่ีจะมุงใหหลักสูตรมีความยืดหยุน มีโครงสรางนอยกวาท่ี

Page 21 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 22: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

เนอยูในปจจุบันโดยมุงเนนการสอนความรูท่ีเปนประโยชนและสรางทักษะเพื่อพัฒนาความเขาใจแนวคิดหลักของรายวิชาพ้ืนฐานตาง ๆ สรางโอกาสใหเด็กไดใชความรูและทักษะขามเน้ือหาตาง ๆ เพ่ือสรางความเขาใจและศักยภาพของผูเรียน สรางทัศนคติที่ดีในการรักการเรียนรูและความกระหายในการเรียนรู สงเสริมความคิดสรางสรรคและสรางความรูในเชิงลึกใหเกิดขึ้นกับผูเรียน ทักษะที่สําคัญในโลกป 2020 ประเด็นสําคัญในการออกหลักสูตรการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับป 2020 น้ัน วิสัยทัศนของการสอนและการเรียนรู ไดถูกกําหนดไววา...ผูเรียนจะตองมีความสามารถในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในระดับสูง มีความรูในการทํางานรวมกับผูอ่ืน รูจักการวิเคราะหขอมูลขาวสารที่มีอยูอยางมากมาย มีความรับผิดชอบ สรางการเรียนรูดวยตนเองและพัฒนานิสัยใหประสบความสําเร็จในการเรียน มีความเชื่อมั่นและมีความสามารถในการแกปญหา ความสรางสรรคและคิดสิ่งใหม ความทาทายทางเทคโนโลยี เปาหมายทางการศึกษาของประเทศอังกฤษดังท่ีไดกลาวมาแลว ทําใหตั้งแตป 2008 ไดมีการเนนดานการใช ICT ในการจัดการเรียนการสอนเพืเปลี่ยนโฉมหนาของการศึกษาอยางมาก ดังน้ันความทาทายของนักการศึกษาคือ การออกแบบหลักสูตรที่สรางแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองสูความเปนเลิศในดานตาง ๆ ซ่ึงการกําหนดนโยบายการศึกษาจะตองมีความครอบคลุมประเด็นตางๆ ไดแก การสอนและการเรียนท่ีมีคุณภาพสูงทีสุด การมุงเนนการประเมินผลไมวาเปนการประเมินจากเพื่อนหรือประเมินตนเอง การเช่ือมโยงการเรียนรูกับสื่อตาง ๆ เพื่อใหเขาใจบทเรียนมากทีสุด การออกแบบกลุมผูเรียนในชั้นเรียน การสรางบรรยากาศในการเรียนรู การออกแบบหลักสูตรท่ีเหมาะสม การปรับขยายหลักสูตรและการสนับสนุนผูเรียนที่มีความแตกตางกัน สิ่งเหลานี้คือความทาทายในการจัดการศึกษาในอนาคต รูปแบบการเรียนการสอน กับ นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา นวพร แซเลื่อง นวัตกรรมของเทคโนโลยีดิจิตอลกับการศึกษา JISC inspires เปนหนวยงานท่ี สนับสนุน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยใน สหราชอาณาจักร ใช นวัตกรรม ของเทคโนโลยี ดิจิตอล เพ่ือชวย ในการักษาตําแหนงการเปน ผูนําระดับโลก ในการศึกษาของสหราชอาณาจักร ซึ่งไดสรางนวัตกรรมการเรียนการสอนที่ประยุกตเทคโนโลยีดิจิตอลมาออกแบบวิธีการเรียนรู ดังน้ี แผนที่ การเรียนรู Dynamic Maps Learning Dynamic Learning เปนเสมือนแผนท่ี เดินเรือ ซึ่งสามารถพัฒนา และประเมินผล เพ่ือชวยเหลือนักเรียน และบุคลากร ใน การทําแผนท่ี การเรยีรู อยางกระตือรือรน โดย การวาดในบันทึกการ เรียน และ หลักสูตร ซึ่งบุคคลสามารถใชไดโดยงายตอการใช สิ่งอํานวยความสะดวก ในการเพ่ิมทรัพยากร และ เคร่ืองมือในการ สนับสนุน การสนทนา และการสะทอน แผนท่ี เหลานี้ ซึ่งเปนการใชท้ัง " semantic web " และ " Web 2.0 " ใการสราง ดานเทคโนโลยี และมาตรฐาน โดยการสนับสนุนใหในดานทรัพยากรและ หลักสูตร ขอมูล ( การจัดการ การเรียนรู สภาพแวดลอม ) แบันทึก การเรียนรู สวนตัว ( ePortfolios / blogs ) ซึ่ง JISC มีโครงการที่มีวัตถุประสงค หลักสูตร เปน การเปดกวางแบบชุมชน HE/FE วิธี น้ีจะทใหมีสวนรวมในงานเปน Package / รุน เชน กรณีศึกษา การทํางานอยางใกลชิดของนักศึกษา พนักงาน นายจางและ ผูมีสวนไดเสีย อ่ืนๆ ในการพัฒนา และดําเนินการ ปรับขยาย ระบบ จัดการท่ีย่ังยืน เพ่ือรองรับ การใช Dynamic Learning Maps ตอบสนองความตองการดานการศึกษาที่ความหลากหลาย ตั้งแตการพัฒนาตนเอง การวางแผนและการประเมิน เปาหมาย และวัตถุประสงค โครงการ น้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือ สงเสริมนักศึกษาในหลักสูตรใหเกิดการเรียนรูและไดประสบการณ ผานการใช แผนที่ การเรียนรู แบบไดนามิก โดแผนที่ประกอบดวยหลักสูตร การเรียนรูในองคประกอบของ การใช เน้ือหาของ Web 2.0 และ semantic web นําไปใชในลักษณะ • มี แผนท่ี นําทางท้ัง เปนแบบทางการ ( วางแผน ) หลักสูตร และ การเรียนรู บันทึก สวนตัว • เพ่ือให บุคลากร และ นักศึกษา และทรัพยากร ไดเปนสวนหน่ึงของ กระบวนการ การทําแผนที่ อยางแข็งขัน • สงเสริม การสังเคราะห ความคิด ที่ สะทอน ความสําเร็จ ใน การตระหนักรู ดวยตนเอง และนําไปสูการวางแผน • ให ขอมูลเชิงลึกใน การเรียนรู จริง และคา การรับรู ของ ท้ังภายในและภายนอกของแหลงเรียนรู • จัด หลักสูตร เสริม โดยการให พ้ืนท่ี มีความยืดหยุนมาก ที่ ผูเรียน สามารถ ศึกษา หลักสูตร บันทึก และ สะทอน การเรียนรู และ หลักฐาน ขอทักษะ / ผล การเรียนรู วิธีดําเนินการ โครงการ โครงการ แบงเปน 9 แพ็กเกจ ของงาน 1) การบริหารจัดการโครงการ และ การวางแผน 2) ทบทวน การปฏิบัติ ในปจจุบัน 3) ระบุ ชุด เกณฑสําหรับ หลักสูตร การทําแผนที่ ความสัมพันธ ภายนอก และประสบการณ นักเรียน สวนบุคคล 4) การพัฒนาและการ ใช แผนที่ การเรียนรู การใช หลักสูตรปริญญา นํารอง 5) เร่ิมการนํารองขนาดใหญคร้ังแรกในการนําไปพิสูจน แนวคิด การพัฒนา และ โครงสรางพื้นฐาน 6) การประเมิน เอกสาร กระบวนการกลยุทธ ความย่ังยืน 7) การกลั่น และ การดําเนินการ 8)กิจกรรม เผยแพร -- ความผูกพัน และความเขาใจ 9) JISC เอกสาร -- ผลงาน ตรวจสอบ ผลการ สอบทาน , เอกสาร และประเมิน ผล

Page 22 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 23: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

ผล ท่ีคาดวา จะไดรับ • แผนการ เผยแพร • แผน รายละเอียด โครงการ • ทบทวน การปฏิบัติ ในปจจุบัน • การวิเคราะห ความตองการของ ผูใช • การเรียนรู ตนแบบ แผนที่ สําหรับ ระยะ นํารอง • ศึกษา Piloted กับ MBBS • กรณีศึกษา เอกสาร • เอกสาร การ ประเมินผล • รายงาน การประเมินผล • แผน ยุทธศาสตร ตอเน่ือง • เว็บไซต โครงการ และ ชุมชน บล็อก • Final รายงาน และการประเมินผล เทคโนโลยี มาตรฐาน /ท่ี ใช • XML • SCORM • Leap2a • HTTP • CSS • XCRI • OPML / OML ที่มาจาก มหาวิทยาลัย นิวคาสเซิ http://www.jisc.ac.uk/whatwedo/programmes/elearning/curriculumdelivery/dynamiclearningmaps.aspx นวพร แซเลื่อง รูปแบบการเรียนการสอน ทางเทคโนโลยีการศึกษา ของ MIT เทคโนโลยี การศึกษา เปนสวนหนึ่ง ของ นวัตกรรม การศึกษา ท่ี MIT เทคโนโลยี ไดเปลี่ยนแปลง วิธีการเรียนของนักเรียนท่ีใชในกระบวนการการเรียนรู และ เปลี่ยนวิธีการสราง ความรูผาน การทํางานของ สํานักงาน นวัตกรรม และเทคโนโลยี การศึกษา ( OEIT ) เน่ืองจาก สรางความรวมมือ กับ คณะ เจาหนาที่ และนักศึกษา เปนการแสดงการพัฒนาและ เผยแพร ใช นวัตกรรม เทคโนโลยี เพื่อปรับปรุง การเรียนการสอน ของ MIT สิ่งที่ เกิดจาก การทํา เพ่ือสงเสริม การพัฒนาและ การนํา เทคโนโลยีการศึกษา ของ MIT • การเผยแพรนวัตกรรมใหม และ เทคโนโลยีใหมเปนการใหโอกาสในการ ยอมรับ เพื่อ สนับสนุนการศึกษา ของ MIT • การไดรับการสนับสนุนชวยเหลือ จากคณะ ในการการสราง และ บูรณาการ เทคโนโลยีท่ีมีความหลากหลาย รูปแบบ • เช่ือมโยง กับ การจัดตั้ง หนวยงาน ตรวจสอบของ MIT กับนวัตกรรม ใหมๆ • อํานวยความสะดวกใน การรับรู และการนํา เทคโนโลยีการศึกษา โดย คณะ MIT และหนวยงาน ผาน Gallery นวัตกรรม การศึกษา รวมทั้ง ฟอร่ัม โตตอบ เชน Ed Tech Fair และ Crosstalk . • การพัฒนาและ สนับสนุน เคร่ืองมือและ โปรแกรมสําหรับ หลักสูตรนําลองใหคําแนะนํา ของ Task Force on Commons การศึกษา ระดับปริญญาตรี . • ให สภาพแวดลอม การเรียนรู ท่ียืดหยุน เพื่อรองรับ การทดลอง นวัตกรรม ทางการศึกษา ตัวอยางของ เทคโนโลยีการศึกษาของ MIT ? • Tools Software เพื่อ ศึกษา และ วิจัย STAR ระหวาง งานวิจัยทางวิทยาศาสตร และ หองเรียน ผาน ซอฟตแวร ท่ีสนับสนุน การสํารวจ ของ หลัก แนวคิด การวิจัยทางวิทยาศาสตร ได ถูกนํามาใช ดาน การวิจัย หลายรูปแบบ StarBiochem , StarBiogene , StarHydro และ StarMolsi • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ติดตอ กับ ซอฟตแวร วางแผน เสนทาง ที่ คํานวณคาใชจาย และ เวลา เดินทาง metabolic สําหรับ กิจกรรพิเศษ เกี่ยวกับพาหนะ มนุษยอวกาศ '( EVA ) บน ดวงจันทรและ วัน อังคาร แบบใหม ให นักศึกษา และนักวิจัย สามารถใชในการ ประเมิน ภาพจํานวนมาก พรอมกับ ความสูง และ ความลาด เมื่อวางแผน EVAs • คณิตศาสตร Space - CI เปน พ้ืนท่ีออนไลน รวมกัน สําหรับ คณะ คณิตศาสตร ท่ีพวกเขา สามารถแบงปน ขอมูลเก่ียวกับ วิธีการ ที่ดีกวา สอนทักษะ การสื่อสาร ใน หลักสูตร คณิตศาสตร • โครงการ พูด Media ใช สื่อ การบรรยาย ใน รูปแบบ ดิจิตอล มาตรฐาน เชน . mp4 และ . mp3 และกระบวนการ ผลิต ให คนหา ขอมูลท่ีเก็บ วัสดุ การเรียนรู ดิจิตอล video-/audio-based • ประสิทธิภาพ Shakespeare in Asia ( SPiA ) สราง รายการ ของ วิดีโอจาก Shakespeare ดําเนินการใน ภาษาเอเชีย ท่ีแตกตางกัน เพ่ือสง

Page 23 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 24: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

เสริมความเขาใจ วัฒนธรรม และ เปน แหลงขอมูลหลัก สําหรับ นักเรียนครูอาจารย และนักวิจัย • Controversies Mapping นักเรียน ปญญา harnessed collective โดย ชวยใหนักเรียน ใชเคร่ืองมือ วิจัย บนเว็บ เพื่อ การศึกษาพื้นฐาน และทางการเมือง รูปแบบทางสังคมและ วิทยาศาสตร กับการใชประโยชน นําไปบูรณาการในช้ันรียนของนักเรียน เพื่อเปนการศึกษาของนักวิจัย ที่สนใจใน เขตขอมูล แบบไดนามิก ไดอยางม่ันใจ ไดตลอดเวลา และ พื้นที่เก็บ ขอมูล อยางยั่งยืน • Timeline ประวัติศาสตร รัสเซีย โครงการ สราง กรอบ ดิจิตอล เม่ือ นักเรียน รวมกัน ที่ จะ ใหการสนับสนุน ขอมูล การวิเคราะห การสะทอน แลทําความเขาใจ เก่ียวกับระยะเวลา ประวัติศาสตร multi - layered ของรัสเซีย ซึ่งอนุญาตให ผูเขาชม ประสบการณ การปฏิวัติ ของรัสเซีย ซึ่งเปจุด ที่ไดเปรียบ http://due.mit.edu/initiatives/educational-technology นอกจากน้ี ไดมีการนําไปใชในการพัฒนาหลักสูตรและการสอน ดังนี้ Topic : Becoming a teacher ( การเปนคร)ู สมฤดี ปาละวัล เปนเวบไซดท่ีกลาวถึงการนําICTมาใชในการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครู วาการสอนเปนทางเลือกที่สําคัญและเปนงานที่เปนท่ีนิยมมากสําหรับบุคคลท่ัวไป โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษและเวลสน้ันจะเปดโอกาสใหบุคคลจากหลากหลายอาชีพ และทุกระดับการศึกษาที่ตองการเปนครูเขามาสูอาชีพครูไดโดยตองมีใบประกอบวิชาชีพครู(Qualified Teacher Status)โดยตองผานโปรแกรมการฝกอบรม(Initial Teacher Traning)ท่ีพัฒนาขึ้นมาคือใชเวลาเรียนภาคทฤษฎี 18 สัปดาหและใชเวลาสวนใหญกับการฝกสอนในโรงเรียน ซ่ึงโปรแกรมนี้จะชวยพัฒนาทักษะความเปนที่มีประสิทธิภาพ หลักสูตรมี 5 ประเภท คือ 1. ระดับปริญญาตรี มีสาขาการศึกษา และศิลปะ/วิทยาศาสตร 2. ระดับปริญญาโท (จบปริญญาตรีแลว ฝกใหเปนครูใน 1 – 2 ป) 3. อบรมครูจาง(เปนการฝกและพัฒนาคุณสมบัติของครูขณะทํางาน เชนหลักสูตรครูบัณฑิต) 4. อบรมครูตามเกณฑการประเมิน (สําหรับผูที่มีประสบการณการสอนในโรงเรียนแตไมมีQTS 5. Overseas Training Teacher ซึ่งการพัฒนาโปรแกรมการฝกในลักษณะนี้จะมุงตอบสนองความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เปดโอกาสใหผูเรียนไดเลือกเรียนในรูปแบบหลักสูตรท่ีตนสนใจ ถนัดและสอดคลองกับความตองการ โดยหลักสูตร(โปรแกรมการศึกษา) ไดวางแนวทางการเรียนไวหลากหลายใหผูเรียนไดเลือตามเปาหมายของตนเอง นอกจากนี้ผูเรียนกับผูสอนยังไดมีการพูดคุยกันผานทาง Facebook เพ่ือดูปฏิทิน วีดีโอ บทเรียน และตัวอยางงานนักเรียน ตลอดจนรับคําแนะนําจากการสอนไดตลอดเวลา http://www.tda.gov.uk/Recruit/becomingateacher.aspx เร่ือง : Developing Performance Assessment Tasks นวัตกรรมทางการประเมินผล : การประเมินโดยใชการปฏิบัติงานเปนฐานคืออะไร การประเมินโดยใชการปฏิบัติงานเปนฐาน ( Performance-based assessment)เปนวิธีการท่ีจะติดตามผลงานของนักเรียน เพื่อดูความกาวหนาใการปฏิบัติงานของนักเรียนตามผลการเรียนรูที่คาดหวัง วิธีการประเมินน้ีตองการใหผูเรียนสรางคําตอบหรือผลงานท่ีแสดงถึงความรูและทักษะขอผูเรียน ซ่ึงแตกตางจากวิธีทดสอบแบบเดิมท่ีตองการใหผูเรียนเลือกคําตอบท่ีถูกตองเติมในชองวาง ลักษณะของการประเมินการปฏิบัติงานท่ีมีประสิทธิภาพ The Office of Technology Assessment of the U.S. ไดกลาวถึงการประเมินโดยใชการปฏิบัติงานวาเปนรูปแบบการทดสอบท่ีหลากหลายตองการใหผูเรียนสรางคําตอบหรือผลงานของตนเองท่ีแสดงถึงความรูและทักษะของผูเรียน สอดคลองกับความคิดของStephen K. Hess ที่วาเปาหมายของการประเมินการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพจะพัฒนางานซึ่งจะทําใหผูเรียนมีความชํานาญและความรูกอนการประเมิน ซึ่งมีการออกแบบการประเมิน ดังนี้ - ผูเรียนควรจะมีสวนรวมในการปฏิบัติจริง - กําหนดผลการเรียนรูที่คาดหวังชัดเจน ผลงานควรมาจากการออกแบบท่ีวางไว - ผูเรียนควรมีความคาดหวังในผลงาน มีความตั้งใจและทุมเทใหกับผลงาน - ผูเรียนควรจะใชความสามารถทั้งหมดในการประยุกตความรูและทักษะบนพ้ืนฐานของความเปนจริง - ผูเรียนควรมีการปรับปรุงผลงานเพ่ือเพ่ิมความเช่ียวชาญ ทฤษฎีการเรียนรูกลุมปญญานิยมและการประเมินการปฏิบัติงาน Guide to Alternative Assessment (ASCD) เสนอคําแนะนําตอไปนี้ใหสอดคลองกับการสอนและการประเมิน จะยึดตามความหมายเฉพาะจากงานวิจัย Cognitive Learning Theory (CLT) คือ - ความรูท่ีถูกสรางขึ้น ขึ้นอยูกับกระบวนการเรียนรูของแตละบุคคลจากสารสนเทศใหมๆและความรูเดิมที่ไดรับการกระตุน อภิปราย โดยใหคิดวาไมีอะไรท่ีเปนคําตอบท่ีถูกเพียงคําตอบเดียว การใชบทบาทสมมุติ สถานการณจําลอง การโตวาที - การเนนทักษะการคิดเชนคิดวิเคราะห คิดเปรียบเทียบ การลงความเห็น คิดแบบทํานาย ตั้งสมมติฐาน การประยุกตสารสนเทศในสถานการณใหมๆ - การเห็นคุณคาของการทํางานเปนกลุม - ผูเรียนจะปฏิบัติงานไดดีเมื่อรูเปาหมาย เห็นโครงสรางและรูวิธีการปฏิบัติงานเมื่อเทียบกับมาตรฐาน - เปนรูปแบบการเรียนรูท่ีหลากหลาย ชวยเหลือผูเรียนทั้งรายบุคคลและชั้นเรียน - ใหโอกาสผูเรียนไดคิดทบทวนและปรับปรุงงาน - ผูเรียนไดประเมินตนเอง - ชวยใหผูเรียนเรียนรูอยางมีชีวิตชีวาและมีการประสานงานกับผูอ่ืน กระบวนการออกแบบการประเมินการปฏิบัติงาน 1. ระบุผลงานและตัวช้ีวัด 2. สรางช้ินงานท่ีมีความหมาย(ประเด็น,ปญหา,หัวขอ,สิ่งท่ีผูเรียนสนใจ) 3. ระบุผลงานและการปฏิบัติงาน 4. พิจารณาทางเลือกในการออกแบบงาน 5. วางแผนกิจกรรม(การดําเนินงาน)ในงาน 6. ระบุเกณฑการประเมิน 7. การสรางการตอบสนอง

Page 24 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203

Page 25: Page 1 of 25pirun.ku.ac.th/~g5317650046/gwork/report2g3.pdf · 1. รายงาน ต องประกอบด วย - ส วนห ัวข อรายงาน ส วนเน

show all

8. การตัดสินใจเกี่ยวกับคะแนน(วาเปนการประเมินเพื่อปรับปรุง หรือเพ่ือตัดสิน),ผูเรียนตองทราบจุดประสงคของการประเมินการปฏิบัติงาน การใหคะแนนการประเมินการปฏิบัติงาน - Rubrics - Rule - Scoring Key http://www.pgcps.org/~elc/developingtasks.html สรุป นวัตกรรมทางหลักสูตรและการสอนกับเทคโนโลยี web 2.0 มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาผูเรียนที่สอดคลองกับธรรมชาติผูเรียน หรือเปนการจัดการเรียนการสอนท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่ง แตละหนวยงานการศึกษาตางมุงหมาย พัฒนาผูเรียนใหสามารถพัฒนาศักยภาพของตนจากการเรียนรูในสภาพจริง ผานเทคโนโลยีทางการศึกษา และสารสนเทศ ซึ่งไมสามารถท่ีแยกออกจากกันไดโดยสิ้นเชิง เอกสารอางอิง http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/e-learning-workshop-nov-07 http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/newport-elearning-conf--2008-9 http://www.kyle.mathews2000.com/category/elearning20 http://sites.google.com/site/barryjahn/Welcome/Workshops/rethinking-our-k-12-schools-using-web2-0-tools http://www.jisc.ac.uk/whatwedo/programmes/elearning/curriculumdelivery/dynamiclearningmaps.aspx http://due.mit.edu/initiatives/educational-technology http://www.tda.gov.uk/Recruit/becomingateacher.aspx http://www.pgcps.org/~elc/developingtasks.html

Page 25 of 25

28/8/2553https://course.ku.ac.th/lms/forum_ori/show.php?show=-1&module=61203