2
w w w . d i a l o g u e o n w r i t i n g . b l o g s p o t . c o m 1 บทนา ในต่างประเทศ(และในประเทศไทย) ปัญหา plagiarism ถือว่าเป็นปัญหาที่สาคัญมากๆ เพราะว่า อาจจะถึงกับโดนไล่ออกเลยทีเดียว (เมืองไทยบางที่ก็มีการยึดปริญญาด้วย) การ plagiarism เกิด ได้เมื่อ ผู้เขียนใช้ ความคิดของ sources โดยไม่ให้เครดิต ผู้เขียนใช้ ภาษาของ sources โดยไม่ใช่เครื่องหมาย quotation (“__”) ผู้เขียนไม่เขียนบทย่อและการ paraphrase โดยใช้คาพูดของผู้เขียนเอง 1 สาหรับข้อแรกนั้น เราแก้ปัญหาได้ไม่ยาก เพียงแต่ทุกคร้งที่เรายืมความคิดของใครมาใช้ เราควร cite ให้ถูกต้อง สาหรับปัญหาข้อที่สอง แก้ได้โด;ยทุกครั้งที่เราจะใช้ประโยคจาก sources (direct quote) เราควรใช้เครื่องหมาย quotation เพื่อผู้อ่านจะได้รู้ว่าประโยคไหนเป็นประโยคของผู้เขียน และประโยคไหนเป็นประโยคของ sources คาแนะนา สาหรับปัญหาข้อสุดท้ายอาจจะเป็นเรื่องที่ยุ่งยากสักหน่อย เพราะว่าการ summary (ย่อความ) และ การ paraphrase ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยุ่งยากของ non-native writers of English ผมไม่มีวิธีแก้ไข ปัญหานี้ได้แบบเฉียบขาด เพียงแต่มีข้อแนะนาในการแก้ปัญหานี้ดังนี1. อย่าอ่านบทความแค่ 1-2 ประโยคที่เราต้องการใช้ หรืออ่านแค่ 1-2 ย่อ หน้า ข้อนี้ดูเหมือนเป็นเรื่องง่ายๆ แต่ว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมากๆ อย่าอ่านบทความแค่ 1-2 ประโยค (หรือ 1 ย่อหน้า) และ paraphrase เพราะว่าไม่เพียงแต่คุณอาจจะได้ข้อความที่ไม่ถูกต้องแล้ว คุณอาจจะไม่เข้าใจจุดประสงค์ของผู้เขียนทั้งหมด เช่น ถ้าบทความหนึ่งมี 10 หน้า โดย 1-2 หน้าแรกเป็น introduction, หน้า 3-4 เป็นส่วนที่ผู้เขียนสรุปความคิดต่างๆ ที่ผู้เขียนไม่เห็นด้วย, หน้า 5-8 เป็นเหตุผลว่าทาไมผู้เขียนจึงไม่เห็นด้วยกับความคิดข้างต้น, และ 2 หน้าสุดท้ายเป็น การสรุป. ถ้าคุณอ่านแค่หน้า 3-4 แล้วไปสรุปว่า The author suggests that____. นั่นเท่ากับ คุณบิดเบือน source ทันที ดังนั้นต้องอ่านบทความให้หมด 1 แปลมาจาก Hacker, Diana. A Pocket Style Manual. 4 th ed. Boston: Bedford/St. Martin’s, 2004. Print. การ paraphrase ที่ถูกต้อง โดย เมื่อลมแรง…ใบไม้ก็ร่วง [email protected]

Paraphrase

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Paraphrase

w w w . d i a l o g u e o n w r i t i n g . b l o g s p o t . c o m 1

บทน า ในต่างประเทศ(และในประเทศไทย) ปัญหา plagiarism ถือว่าเป็นปัญหาที่ส าคัญมากๆ เพราะว่าอาจจะถึงกับโดนไล่ออกเลยทีเดียว (เมืองไทยบางที่ก็มีการยดึปริญญาด้วย) การ plagiarism เกิดได้เมื่อ

ผู้เขียนใช้ความคิดของ sources โดยไม่ให้เครดติ ผู้เขียนใช้ภาษาของ sources โดยไม่ใช่เครือ่งหมาย quotation (“__”) ผู้เขียนไม่เขียนบทย่อและการ paraphrase โดยใชค้ าพูดของผู้เขียนเอง1

ส าหรับข้อแรกนั้น เราแก้ปัญหาได้ไม่ยาก เพียงแต่ทุกครั้งที่เรายืมความคิดของใครมาใช้ เราควร cite ให้ถูกต้อง ส าหรับปญัหาข้อที่สอง แก้ได้โด;ยทุกครั้งที่เราจะใช้ประโยคจาก sources (direct quote) เราควรใช้เครื่องหมาย quotation เพื่อผู้อ่านจะได้รู้ว่าประโยคไหนเป็นประโยคของผู้เขียน และประโยคไหนเป็นประโยคของ sources

ค าแนะน า ส าหรับปัญหาข้อสุดท้ายอาจจะเป็นเรื่องที่ยุ่งยากสกัหน่อย เพราะว่าการ summary (ย่อความ) และการ paraphrase ดูเหมือนจะเป็นเรื่องยุ่งยากของ non-native writers of English ผมไม่มีวิธีแก้ไขปัญหานี้ได้แบบเฉียบขาด เพียงแต่มีข้อแนะน าในการแก้ปัญหานี้ดังน้ี

1. อย่าอ่านบทความแค่ 1-2 ประโยคที่เราต้องการใช้ หรืออ่านแค่ 1-2 ย่อ

หน้า ข้อนี้ดูเหมือนเป็นเรื่องง่ายๆ แต่ว่าเป็นเรื่องที่ส าคัญมากๆ อย่าอ่านบทความแค่ 1-2 ประโยค(หรือ 1 ย่อหน้า) และ paraphrase เพราะว่าไม่เพียงแต่คุณอาจจะได้ข้อความที่ไม่ถูกตอ้งแล้ว คุณอาจจะไม่เข้าใจจุดประสงค์ของผู้เขียนทั้งหมด เช่น ถ้าบทความหนึ่งมี 10 หน้า โดย 1-2 หน้าแรกเป็น introduction, หน้า 3-4 เป็นส่วนที่ผู้เขียนสรุปความคิดต่างๆ ที่ผู้เขียนไม่เห็นด้วย, หน้า 5-8 เป็นเหตุผลว่าท าไมผู้เขียนจึงไม่เห็นด้วยกับความคิดข้างต้น, และ 2 หน้าสุดท้ายเป็นการสรุป. ถ้าคุณอ่านแค่หน้า 3-4 แล้วไปสรุปว่า The author suggests that____. นั่นเท่ากับคุณบิดเบือน source ทันที ดังน้ันต้องอ่านบทความให้หมด

1 แปลมาจาก Hacker, Diana. A Pocket Style Manual. 4th ed. Boston: Bedford/St. Martin’s, 2004. Print.

การ paraphrase ที่ถูกต้อง โดย เมือ่ลมแรง…ใบไม้ก็ร่วง

[email protected]

Page 2: Paraphrase

w w w . d i a l o g u e o n w r i t i n g . b l o g s p o t . c o m 2

นอกจากนี้การอ่านบทความทั้งหมดยังช่วยให้คุณเข้าใจความคิดรวมๆ ของ source ซึ่งถือว่าส าคัญมากๆ ในการ paraphrase เพราะว่าถ้าคุณไม่เข้าใจภาพรวมของ source คุณจะไม่สามารถรู้ว่าจุดประสงค์ของ source คืออะไร

2. อย่าอ่านแบบ passive ระหว่างที่อ่านให้ติ๊กย่อหน้าที่ส าคัญ ค าว่า “ย่อหน้าที่ส าคัญ” ในที่นี้หมายถึงย่อหน้าที่เก่ียวข้องกับส่ิงที่เราต้องการเขียน ตรงน้ีให้สังเกตว่า “ย่อหน้าที่ส าคัญ” อาจจะไม่ใช่ main idea ของบทความเสมอไป แต่บางทีย่อหน้าส าคัญอาจจะหมายถึง main idea ก็ได้เชน่เดียวกัน ดังน้ันให้เอาจุดประสงค์ของการเขียนของเราเป็นหลัก

3. อย่ากลับไปมองที่ sources

หลังจากอ่านบทความทั้งหมดแล้ว ให้ลอง paraphrase ย่อหน้าที่เกี่ยวข้องโดยที่ไม่กลับไปมอง sources การไม่กลับไปมอง sources เป็นสิ่งที่ส าคัญมากๆ ถ้าเรามอง sources แล้ว เราอาจจะนึกค าพูดเราเองไม่ออก เสร็จแล้วอาจจะกลับไปอา่นย่อหน้าที่เราติ๊กไว้ แล้วดูว่ามีย่อหน้าไหนที่เรายังไม่ได้ paraphrase ให้อ่านย่อหน้านั้นคร่าวๆ อีกที ให้แน่ใจว่าเราเข้าใจได้โดยที่ไม่มอง sources แล้วลอง paraphrase

4. อย่า plug-in โดยใช ้synonym ที่ส าคัญคือ อย่ามองประโยคแล้ว plug-in โดยใช้ synonym วิธีการแบบนี้ไม่ใช่ paraphrase แต่อาจจะเปน็ plagiarism ก็ได้ คุณจะแก้การใช้ synonym โดยอัตโนมัตถิ้าคุณท าตามค าแนะน าข้อที่ 3 นั่นคือ ขณะ paraphrase ให้เก็บ source ไว้ในลิ้นชักไว้เลย…ตรงน้ีอาจจะยากสะหนอ่ยเพราะว่าประโยคจาก source อาจจะติดหัวเรามาเน่ืองจากเราเพิ่งอ่านจบใหม่ๆ วิธีแก้ 3 วิธีคือ

ให้อ่านทีละ 4-5 ย่อหน้าที่ต้องการ paraphrase แล้ว paraphrase ทีละ 4-5 ย่อหน้า ยิ่งมาจากคนละ source ยิ่งดี แต่ต้องให้แน่ใจว่าตัวเองเข้าใจย่อหน้าเหล่านั้นแล้ว มิฉะนั้นอาจจะสับสนได้ ตรงน้ีโยงไปอีกค าแนะน าคือ เม่ือ paraphrase เสร็จแล้วให้กลับไปเชคว่าเนื้อหาตรงกับ source ไหม: paraphrase คือการเปล่ียนวิธีการพูด แต่ไม่ใช่การเปล่ียนเนื้อหา

ลองอ่าน sources หรือย่อหน้าก่อนนอนหรือกอ่นอาบน้ า หลังตื่นมาหรืออาบน้ าเสร็จ แล้วลองมาเขียนเรียบเรียงเป็นค าพูดตัวเอง

เมื่อเก็บ sources ใส่ลิ้นชักแล้ว อย่าเพิ่งเขียน ให้ลองพูดกับตัวเอง(เป็นภาษาไทยก็ได้)ว่าเมื่อกี้เราอ่านอะไรไป ให้จินตนาการว่าก าลังอธิบายให้เพื่อนฟังว่าสิ่งที่เราอ่านพูดว่าอะไร

ตรงนี้ไม่ต้องกลัวผิดเพราะว่า สุดท้ายแล้วเราต้องกลับไปเชคเนื้อหาก่อนอีกทีว่าเนื้อหาเราตรงกับ sources ไหม (เน้นอีกแล้ว) ถ้าเราตรงก็เพิ่มเติมแก้ไขได้…

“หลังจากอ่านบทความทั้งหมด

แล้ว ให้ลอง paraphrase ย่อหน้าทีเ่กีย่วข้องโดยทีไ่ม่กลบัไป

มอง sources”