29
PRECAST CRACK INVESTIGATION MEETING AGENDA 14 MARCH 2013 1. CRACK ON PRECAST BEFORE REVISED REBAR 2. RESULT OF WORK AFTER REVISED REBAR AROUND OPENING 3. DR. SONGPOL PRESENT ANALYSIS RESULT 4. FURTHER INVESTIGATION PROGRAM OF PRECAST PRODUCTION, TRANSPORTATION, ERECTION By Mr.Narate Meksook 14 March 2013

Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Investigation crack on precast wall

Citation preview

Page 1: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PRECAST CRACK INVESTIGATION

MEETING AGENDA 14 MARCH 2013

1. CRACK ON PRECAST BEFORE REVISED REBAR

2. RESULT OF WORK AFTER REVISED REBAR AROUND OPENING

3. DR. SONGPOL PRESENT ANALYSIS RESULT

4. FURTHER INVESTIGATION PROGRAM OF PRECAST PRODUCTION, TRANSPORTATION, ERECTION

By Mr.Narate Meksook 14 March 2013

Page 2: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS32 NAVAMIN 06 March 2013

PS27 อ่อนนุช 13 March 2013 PS24 บางนา กม.12 13 March 2013

1. CRACK ON PRECAST BEFORE REVISED REBAR

Page 3: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS32 ก่อนการแก้ไขเหล็กรอบช่องเปิดแตกร้าว 40จุด รวมทั้งสองชั้น

Page 4: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS24 ก่อนการแก้ไขเหล็กรอบช่องเปิด แตกร้าว

185จุด รวมทั้งสองชั้น

Page 5: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS27

Page 6: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

รอยแตกนี้ไม่เกิดในบางหลัง!!!

1 PS27 143 เล็กกว่า PC53

1 PS27 144 PC53(R)1 PS27 145 PC53(L)1 PS27 168 PC53(L)1 PS27 173 PC53(R)1 PS27 203 PC53(R)1 PS27 204 PC53(L)1 PS27 205 PC53(R)

173, 204, 205, 203 ไม่แตกร้าว

แตกกว้าง0.1มม

Page 7: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS27

แตกกว้าง0.1มม

รอยแตกนี้ไม่เกิดในบางหลัง!!!

1 PS27 143 เล็กกว่า PC53

1 PS27 144 PC53(R)1 PS27 145 PC53(L)1 PS27 168 PC53(L)1 PS27 173 PC53(R)1 PS27 203 PC53(R)1 PS27 204 PC53(L)1 PS27 205 PC53(R)173, 204, 205 ไม่แตกร้าว

Page 8: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS27 รอยแตกเกิดที่ผนังในบ้าน!!!

Page 9: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS24

รอยแตกนี้ไม่เกิดในอีกหลัง!!!4 PS24 250 BPmo53-R

4 PS24 251 BPmo53-L

5 PS24 252 BP53(R-L)

Page 10: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS24

แตกกว้าง0.2มม

Page 11: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS24

Page 12: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

รอยแตกส่วนมากเกิดด้านเดียว ข้างในบ้านและลึก 1-2ซมเท่านั้น

ลึก 1-2ซม

Page 13: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

ผิวผนังด้านนอกบ้านไม่แตกร้าว

Page 14: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

รอยแตกส่วนมากเกิดด้านเดียว ข้างในบ้านและลึก 1-2ซมเท่านั้น

ลึก 1-2ซม

Page 15: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

รอยแตกส่วนมากเกิดด้านเดียว ข้างในบ้านและลึก 1-2ซมเท่านั้น

ลึกไม่ถึง1ซม

Page 16: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

ภาพท ี 7 ผลการวิเคราะห์แสดงรูปดา้น  D แสดงผนงัหมายเลข  P102  หน่วยแรงสูงสุดทีเกิดขึนมีค่าเท่ากบั 70.73 ksc

ผลการวิเคราะห์แบบจาํลองบา้นแสดงให้เห็นว่าผนงัหมายเลข  P104 ซึงเป็นผนงัทีมีปัญหารอยร้าวบริเวณมุมช่องเปิด  มีค่าหน่วยแรงสูงสุดเท่ากบั  75.06 ksc โดยช่องเปิดของผนงัดงักล่าวมีความกวา้ง  1.50 m และสูง 1.80 m  ดงันัน  ในศึกษาการแกปั้ญหารอยร้าวบริเวณช่องเปิดจึงอาศยัการสร้างแบบจาํลองผนังคอนกรีตทีมีความกวา้งของช่องเปิดแตกต่างกนั  เพือออกแบบเหลก็เสริมพิเศษบริเวณมุมช่องเปิดให้มีความเหมาะสมและตา้นทานหน่วยแรงดึงทีเกิดขึนจากผลของแรงทีมากระทาํ แบบจําลองผนังคอนกรีตทมีีขนาดช่องเปิดแตกต่างกนั การวิเคราะห์โครงสร้างผนังคอนกรีตด้วยแบบจาํลองทางคณิตศาสตร์ใช้โปรแกรมวิเคราะห์  SAP2000 สาํหรับการจาํลองผนงัคอนกรีตไดมี้การทดสอบวิเคราะห์ตวัอย่างทงัหมด  56 ตวัอย่าง  โดยมีรูปแบบสมมติฐานสาํหรับการกาํหนดจุดรองรับ (Boundary Condition) 2 ลกัษณะคือ  

1) จุดรองรับตรงฐานป็นแบบ  Pinned Support (ยดึรังการเคลือนทีแกน  x y และ  z) ริมผนงัดา้นขา้งไดก้าํหนดใหมี้การยดึรังในทิศทางแกน  x  และแกน  y และการยดึรังผนงัดา้นบนไดก้าํหนดใหมี้การยดึรังในทิศทางแกน  x เท่านนัเพือให้ตวัอยา่งจาํลองมีพฤติกรรมทีใกลเ้คียงกบัผนงับา้นทีใชง้านจริง  ภาพที    แสดงตวัอยา่งแบบจาํลองผนงัคอนกรีตทีกาํหนดการยดึรังแบบ  Pinned Support ตรงตาํแหน่งฐานของผนงั สาํหรับตวัอย่างแผ่นผนังคอนกรีตไดมี้การแบ่งขนาดทีแตกต่างกนั  4  รูปแบบและมีขนาดช่องเปิดทีแตกต่างกนัจาํนวน  12 รูปแบบ  ดงัแสดงดงัภาพที  9 ตารางที  1  และ  2 ตามลาํดบั  

Max Stress

1ช่อง กว้าง 10 ซม

Page 17: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

PS32

By Mr.Narate Meksook 14 March 2013

Page 18: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

รอยแตกส่วนมากเกิดด้านเดียว ข้างในบ้านและลึก 1-2ซมเท่านั้น

ลึกไม่ถึง0.5ซม

Page 19: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

2. RESULT OF WORK AFTER REVISED REBAR AROUND OPENING

ลําดับ โครงการ แปลงบ้าน Type บ้าน จำนวนมุมช่องเปิดทั้งหมดในบ้าน

จำนวนรอยแตกที่่ตรวจพบ %

ขนาดความกว้างมากที่สุดของรอยแตก(มม)

วันที่่ตรวจสอบ จำนวนชั้นที่ตรวจ

1 PS27 143 เล็กกว่า PC53

120 5 4.167 0.2 13 มีค. 2013

รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

1 PS27 144 PC53(R) 156 3 1.923 0.4 13 มีค. 2013

รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

1 PS27 145 PC53(L) 156 รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือน

กันทุกหลัง21 PS27 168 PC53(L) 156 8 5.13 0.2 13 มีค. 2013 รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือน

กันทุกหลัง2

1 PS27 173 PC53(R) 156 17 10.9 0.3 13 มีค. 2013

รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

1 PS27 203 PC53(R) 156 3 1.92 0.4 13 มีค. 2013

รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

1 PS27 204 PC53(L) 156 5 3.21 0.4 13 มีค. 2013

รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

1 PS27 205 PC53(R) 156 4 2.56 0.3 13 มีค. 2013

รอยแตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

AVERAGEAVERAGEAVERAGEAVERAGE 173.1 6.4 4.26 0.312 PS32 68 BVP53a (R) 56 12 21.43 0.3 4 มีค. 2013

บ้านเลขที่ 88 ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 25 จุด ที่ชั้นล่าง

1

2 PS32 71 BVP53a (L) 56 12 21.43 0.2 4 มีค. 2013บ้านเลขที่ 88 ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 25 จุด ที่ชั้นล่าง

13 PS32 69 BPmo54 (L) 64 10 15.63 0.3 4 มีค. 2013บ้านเลขที่ 88 ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 25 จุด ที่ชั้นล่าง

1

3 PS32 96 BPmo54 (R) 64 9 14.06 0.3 4 มีค. 2013

บ้านเลขที่ 88 ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 25 จุด ที่ชั้นล่าง

1

3 PS32 70 BPmo54 (R) 64 13 20.31 0.2 4 มีค. 2013

บ้านเลขที่ 88 ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 25 จุด ที่ชั้นล่าง

1

AVERAGEAVERAGEAVERAGEAVERAGE 60.8 11.2 18.6 0.3 26.67

4 PS24 250 BPmo53-R 132 4 3.0 0.4 13 มีค. 2013 บ้านเลขที่ 253ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 185 จุด รอย

แตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

4 PS24 251 BPmo53-L 132 9 6.8 0.4 13 มีค. 2013

บ้านเลขที่ 253ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 185 จุด รอย

แตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

5 PS24 252 BP53(R-L) 145 19 13.1 0.3 13 มีค. 2013

บ้านเลขที่ 253ที่ไม่ได้เสริมเหล็ก พบรอยแตกจํานวน 185 จุด รอย

แตกไม่ได้เกิดเหมือนกันทุกหลัง

2

AVERAGEAVERAGEAVERAGEAVERAGE 136 11 7.7 0.4 135.70

2 PS30 134 BVP-53a (R)

2 PS34 242 BVP 53a-R

2 PS34 234 BVP 53a-L

6 PS34 230 BP 53a-L

6 PS34 231 BP 53a-R

6 PS34 244 BP 53a-R

6 PS34 243 BP 53a-L

6 PS34 245 BP 53a-L7 PS34 232 BP MO 53a-L7 PS34 233 BP MO 53a-R8 PS27 206 PB52(L-R)9 PBV5310 DP54

Page 20: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

0

38

75

113

150 136

27

4.36.8

18.6

100 100 100

PS27 บ้าน PC53 PS24 บ้าน BPmo53 PS32 บ้าน BVP53a และ BPmo54

% รอยแตกที่พบก่อนแก้ไขเหล็ก% รอยแตกที่พบหลังแก้ไขเหล็ก% มุมทั้งหมดในบ้าน

การแตกร้าวลดลงมาก30%-95%จากแก้ไขเหล็กเสริมช่องเปิดBy Mr.Narate Meksook 14 March 2013

ไม่มีข้อมูลจํานวนรอยแตกก่อนแก้ไขของ PS27

Page 21: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

4.2. หลักการประเมินความกวางรอยแตกราว  ตามมาตรฐานตางๆ การวัดความกวางรอยแตกราวบริเวณผิวหนาโครงสรางคอนกรีตควรเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน    

ตางๆ  ที่สําคัญ  [9] ดังแสดงในตารางที่  3

ตารางที่  3  การประเมินความกวางรอยแตกราวตามมาตรฐานแบบตางๆ

ประเภทโครงสราง ความกวางรอยราว(มม.)

ACI 224R.90 [10] อากาศแหง อากาศชื้น,  รอนชื้น โครงสรางใตน้ําทะเล โครงสรางกันน้ํา

0.41 0.30 0.25 0.10

ACI 318-89 [11] โครงสรางภายใน โครงสรางภายนอก

0.41 0.33

ACI 350R-89 [12] โครงสรางในสภาวะทั่วไป โครงสรางในสภาวะรุนแรง

0.27 0.22

CEB/FIP Modal Code 1990 [13] โครงสรางในสภาวะรอนชื้น 0.30

4.3. หลักการประเมินความกวางรอยแตกราว  ตามมาตรฐานประเทศอังกฤษ

จากขอกําหนดมาตรฐานการใชคอนกรีตในงานกอสรางประเทศอังกฤษ [14] ไดกําหนดกรณีเบ้ืองตนของการตรวจสอบความกวางรอยราวโดยทั่วไป  ซึ่งความกวางรอยราวกวางสุดที่สามารถยอมรับได  มีคาเทากับ 0.3 มิลลิเมตร  โดยจะวัดที่บริเวณผิวคอนกรีต  ดวยสมมติฐานที่ดวยความกวางของรอยราวจะลดลงอยางคอนขางรวดเร็วที่ระดับความลึกจากผิวคอนกรีต  ซึ่งสมมติฐานนี้จะเกิดข้ึนจริงไดในกรณีที่รอยราวที่เกิดข้ึนเปนรอยราวที่เกิดจากคอนกรีตที่สัมผัสกับอุณหภูมิสูง  หรือคอนกรีตเกิดการทรุดตัวในขณะสภาวะคอนกรีตสด

4.4. การประมาณความกวางรอยราวคอนกรีตจากแรงกระทําภายนอก

เมื่อโครงสรางรับแรงกระทําภายนอก  จะกอใหเกิด  Tensile Stresses ซึ่งกอใหเกิดคาความตึงเครียดและสงผลใหคอนกรีตเกิดรอยแตกราวข้ึน  นอกจากนี้  ยังมีการสรางสมการสําหรับประเมินความกวางรอยราวที่ยอมรับได  สําหรับงานโครงสรางสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก  [15]  ดังสมการที่1

(Capillary Surface Tension) จึงทําใหคอนกรีตที่อยูโดยรอบชองวาง Capillary นั้นเกิดการอัดตัวเขามาเนื่องจากการรักษาสมดุลของแรง เปนสาเหตุทําใหคอนกรีตเกิดการหดตัว

ภาพที่  4    การระเหยของน้ําในชอง  Capillary

ภาพที่  5  แรงดึง  Capillary  ทําใหคอนกรีตหดตัว

2.1.2 การเกิดการยึดรั้ง (Restraint)  โดยปกติแลวการเกิดการหดตัวของคอนกรีตเพียงอยางเดียวนั้น ไมสามารถทําใหคอนกรีตเกิดการแตกราวได เนื่องจากถาคอนกรีตเกิดการหดตัวแบบอิสระจะไมมีการเกิดแรงดึงภายในเกิดข้ึน จึงไมมีการแตกราวจากการหดตัว แตในการใชงานในชีวิตจริง เปนไปไมไดเลยที่คอนกรีตจะไมมีการยึดรั้งเกิดข้ึน ทั้งนี้  การยึดรั้งแบงออกเปน  2 ประเภท  ไดแก

Page 22: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

โครงการ Villete Lite พัฒนาการ32 วันที6่ มี.ค 2013

Page 23: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

ไม่มีการล็อคด้านนี้จึงเกิดการสะบัดไปมาได้

โครงการ Villete Lite พัฒนาการ32 วันที6่ มี.ค 2013

Page 24: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

By Mr.Narate Meksook 14 March 2013

โครงการ Villete Lite พัฒนาการ32 ก.พ 2013

Page 25: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

โครงการ Villete Lite พัฒนาการ32 วันที6่ มี.ค 2013

Page 26: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

การกองขนส่งที่ไม่ถูกวิธี

การยึดและการล็อคขนส่งที่ไม่ถูกวิธี

ท่อ PVC!!!!

แผ่นสะบัดไปมาและไม่มีจุดยึดที่มั่นคงแข็งแรง

รอยแตกร้าวด้านเดียวอย่างที่ตรวจพบ

รอยแตกร้าวสองด้านและทะลุทั้งหน้าตัดอย่างที่ตรวจพบ

รอยแตกร้าวสองด้านและทะลุทั้งหน้าตัดอย่างที่ตรวจพบ

Page 27: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

สรุปประเด็นที่สําคัญหลังจากแก้ไขเหล็กเสริม

1. จากรายงานการวิเคราะห์ แรงที่ขนาดมากที่สุดในผนังคือผลของการเปลี่ยนแปลงอุณห๓ูมิภายนอกทําให้เกิดแรงดึงในแผ่นผนังเพราะผนังขยายตัวไม่ได้เนื่องจากมีการยึดรั้งกันทั้งระบบ

2. รอยแตกร้าวมีจํานวนลดลงเหลือ7% จากเดิม135%หลังจากแก้ไขเหล็กช่องเปิด ยกเว้นโครงการ PS32ที่ลดลงไม่มากและต้องตรวจสอบการผลิต ขนส่ง ติดตั้ง อีกครั้ง

3. รอยแตกมีขนาด 0.2-0.-3มมและส่วนมาก(90%)มีความลึกเพียง2-3ซม จากผิวผนังและไม่ได้แตกทะลุทั้งหน้าตัด ซึ่งไม่ส่งผลกระทบต่อการรับน้ําหนักโครงสร้างเพราะถือว่าเป็นรอยร้าวขนาดเล็ก แต่ควรใช้วัสดุ Crack Bridging Membrane ที่ขยาย ยืดหดตัวได้เพื่อปิดรอยแยกดังกล่าวและป้องกันไม่ให่น้ําซึมผ่าน อีกทั้งเมื่อรับน้ําหนักแนวดิ่งรอยแตกนั้นจะถูกอัดให้แน่นตลอดเวลา

5. ผนังในบ้านซึ่งไม่ผลของอุณหภูมิมาเกี่ยวข้องก็เกิดรอยแตกเช่นกันดังนั้นควรตรวจสอบการผลิต ขนส่ง ติดตั้ง อีกครั้ง

6. รอยแตกความลึกเพียง2-3ซม เกิดด้านในบ้าน โดยปรกติรอยแตกเนื่องจากอุณห๓ูมิโดยปรกติจะเกิดการแตกทะลุทั้งหน้าตัดเพราะแผ่นมีขนาดไม่หนาการกระจายของอุณห๓ูมิไม่แตกต่างกันมากทั้งภายในและภายนอก อีกทั้งยังไม่มีการติดเครื่องปรับอากาศแต่ก็เกิดรอยร้าวขึ้นแล้วแสดงว่ามีแรงอย่างอื่นมากระทําให้เกิดการแตกเช่น การยก ถอดแบบ การขนส่ง ต้องตรวจสอบต่อไป

By Mr.Narate Meksook 14 March 2013

Page 28: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

Pruksa Real Estate (Public) Co., Ltd Page 1of 4 Document No. DV002

การศึกษาระบบคอนกรีตสําเร็จรูปเพื่อหาสาเหตุและวิธีป้องกันการแตกร้าวแผ่นผนังและคาน

Rev 0. March 3, 2556 BE

โครงการ : การศึกษาหาสาเหตและวิธีการป้องกันการแตกร้าวของแผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูปตั้งแต่กระบวนออกแบบ, การผลิต, ตรวจสอบคุณภาพ, ขนส่ง, ติดตั้ง ,และหลังก่อสร้าง

โครงการที่จะทําการศึกษาเป็นบ้านเดี่ยว 2 แบบโดยขอบเขตการศึกษาให้ครอบคลุมปัญหาการแตกร้าวที่พบมากดังต่อไปนี้

1. การแตกร้าวที่มุมของช่องเปิดแผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูป

2.การแตกร้าวที่คานคอนกรีตสําเร็จรูปสําเร็จรูป

3. การแตกร้าวที่รอยต่อระหว่างแผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูป

4.การแตกร้าวที่รอยต่อระหว่างKickerและแผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูป

Pruksa Real Estate (Public) Co., Ltd Page 2of 4 Document No. DV002

ขั้นตอนการดําเนินงาน

ขั้นตอนที่ระบุด้านล่างนี้เป็นเพียงข้อกําหนดเบื้องต้นเท่านั้นซึ่งทางทีมผู้ศึกษาสามารถเสนอเพิ่มเติมจากนี้ได้เพื่อให้ครอบคลุมปัญหาสาเหตุการแตกร้าวที่แท้จริง1. ทางพฤกษาแจ้งรายละเอียดโครงการที่จะทําการศึกษาพร้อมส่งแบบก่อสร้างและแบบที่ใช้ผลิตให้ทางทีมผู้ศึกษา2. ทีมผู้ศึกษาจัดทีมงานเข้าร่วมตรวจสอบการผลิต - ส่วนผสมคอนกรีต,อุณหมิ, กําลังคอนกรีตที่ช่วงเวลาต่างๆเช่นการถอดแบบ,การบ่ม, การยกแล้ววิเคราะห์ว่าแต่ละขั้นคอนกรีตมีกําลังอัดเพียงพอเหมาะสมหรือไม ่ ให้ศึกษาแยกตามชิ้นส่วน คานและผนังในบ้านแต่ละแบบ โดยการจัดทํารายการคํานวณตรวจสอบเทียบกับแบบก่อสร้าง - หาค่า Shrinkage Strainของคอนกรีตที่ใช้ผลิตคานและผนังแล้ววิเคราะห์ตรวจสอบว่าค่าที่ทดสอบได้มีผลต่อการแตกร้าวของแผ่นผนังที่ติดตั้งแล้วหรือไม่พร้อมให้จัดทํารายการคํานวณตรวจสอบ - ให้ตรวจสอบการออกแบบจุดยกและการยกจริงว่าเหมาะสมหรือไม่และทําให้เกิดการแตกร้าวหรือไม่โดยจัดทํารายการคํานวณตรวจสอบทุกช้ินส่วน - ให้ตรวจสอบการวางเหล็กเสริมรวมถึงตําแหน่งจุดยก, ฝังแผ่นเหล็ก, ฝังท่อสายไฟ ต่างๆ เทียบกับแบบผลิต3. ทีมผู้ศึกษาวิเคราะห์ขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพการผลิตว่ามีความเหมาะสมและเพียงพอหรือไม่พร้อมให้ข้อเสนอแนะในส่วนต้องเพิ่มเติมเช่นมีการตรวจสอบรอยร้าวในแต่ละขั้นตอนการผลิตอย่างไร ความถี่แค่ไหน

4. FURTHER INVESTIGATION PROGRAM OF PRECAST PRODUCTION, TRANSPORTATION, ERECTION

Page 29: Presentation Crack Investigation Precast by Mr Narate Meksook

Pruksa Real Estate (Public) Co., Ltd Page 3of 4 Document No. DV002

4. ทีมผู้ศึกษาจัดทีมงานเข้าร่วมตรวจสอบการขนส่งช้ินส่วนไปยังหน้างาน ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่และสามารถก่อให้เกิดการแตกร้าวหรือไม่อย่างไร

- ให้ตรวจสอบขั้นตอนการยก, การวางที่รองรับบนรถขนส่ง, สภาพผิวทางตลอดเส้นทาง, การยกแผ่นลง, การจัดเก็บหน้างาน

- ให้ตรวจสอบขั้นตอนการตรวจรับแผ่นของทางหน้างาน

5. ทีมผู้ศึกษาจัดทีมงานเข้าร่วมตรวจสอบติดตั้งว่ามีความเหมาะสมหรือไม่

และสามารถก่อให้เกิดการแตกร้าวหรือไม่อย่างไร

- ให้ตรวจสอบขั้นตอนติดตั้ง

- ให้ตรวจสอบขั้นตอนการเกราท์ซีเมนท์ที่รอยต่อผนังและชนิดของวัสดุที่ใช้

- ให้ตรวจสอบขั้นตอนการเชื่อมยึดแผ่นคอนกรีตสําเร็จรูป

6. ทีมผู้ศึกษาจัดทีมงานเข้าติดตามสํารวจชิ้นงานที่ติดตั้งไปแล้วว่ามีการ

แตกร้าวหรือไม่อย่างไรพรอมทําเป็นรายงานสํารวจโดย ให้สํารวจ 2 ครั้งคือหลังติดตั้งเสร็จ 1 เดือน และ 3 เดือน

หมายเหตุ

- ทุกขั้นตอน1-6 ให้มีการถ่ายภาพเพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงโดยละเอียดทุกขั้นตอน

- ทุกขั้นตอน1-6 ให้ทีมผู้ศึกษาเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาหรือปรับปรุง

กระบวนการดังกล่าวเพื่อป้องกันปัญหาในอนาคต

- ให้จัดส่งรายงานการสํารวจและวิเคราะ์แต่ละขั้นตอนพร้อมร่วมบรรยายสรุปให้กับทางทีมงานพฤกษาอย่างน้อย 2 ครั้งในแต่ละขั้นตอนการสํารวจ

สถานที่: สํานักงานพฤกษา

By Mr.Narate Meksook 14 March 2013