33
ระบบป้องกันอัคคีภัย Fire Protection standard ACADEMIC YEAR 2013 / FIRST SEMESTER DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN QC. INT 481

QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

Embed Size (px)

DESCRIPTION

มาตรฐานการตรวจสอบอาคารเพื่อป้องกันอัคคีภัย

Citation preview

Page 1: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ระบบป้องกันอัคคีภัย Fire Protection standard

ACADEMIC YEAR 2013 / FIRST SEMESTER DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN

QC. INT 481

Page 2: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

องค์ประกอบที่ทําให้เกิดอัคคีภัย

เชื้อเพลิง / วัสดุติดไฟ ออกซิเจน ความร้อน

Page 3: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ประเภทของการเกิดอัคคีภัยแบ่งตามชนิดของเชื้อเพลิง

Class A เพลิงที่เกิดจาก ไม้ เสื้อผ้า กระดาษ เศษขยะ ใช้น้ําหรืเครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

Class B เพลิงที่เกิดจาก ของเหลว เช่น น้ํามันเบนซิน น้ํามันเครื่อง น้ํามันจารบี ทินเนอร์ สี ดับเพลิงโดยทําให้อับอากาศโดยใช้สารเคมีปิดผิวหน้าเพลิง ใช้โฟมร่วมกับเครื่องก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

Page 4: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ประเภทของการเกิดอัคคีภัยแบ่งตามชนิดของเชื้อเพลิง

Class C เพลิงที่เกิดจาก เครื่องมือไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ ไฟฟ้าที่อํานวยความสะดวกของมนุษย์ ใช้เครื่องดับเพลิงชนิดที่ไม่เป็นตัวนําไฟฟ้า ดับโดยการกลบเพลิงโดยใช้เครื่องดับเพลิงชนิดบรรจุกาซคาร์บอนได

Class D เพลิงที่เกิดจาก โลหะไหม้ไฟได ้เช่น แมกนีเซียม โพแทสเซียม ผงอะลูมิเนียม สังกะสี โซเดียม ไททาเนียม เซอร์โคเนียม ลิเทียม ใช้เครื่องดับเพลิงชนิดผงแห้งกลบเพลิง หรือชนิดบรรจุก๊าซคาร์บอนไดออก

Page 5: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

หลักการออกแบบอาคารให้ปลอดภัยจากอัคคีภัย

ส่วน Passive การออกแบบโดยคํานึงถึง การวางตัวอาคาร การกําหนดระยะห่างของอาคาร การจัดระบบทางสัญจร การจัดแนวผนังกันไฟ การจัดทางหนีไฟ การจัดบันไดหนีไฟ รวมทั้งโครงสร้างอาคาร

ส่วน Active การออกแบบระบบเตือนอัคคีภัย ระบบดับเพลิง และระบบควบคุมไฟ เช่น ระบบ ระบบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง ท่อดับเพลิง ระบบกระจายน้ําดับเพลิง สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เครื่องดับเพลิงมือถือ ระบบควบคุมควันไฟ

Page 6: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ระบบดับเพลิงดับด้วยน้ําภายในอาคาร

ระบบถังน้ําสํารองสําหรับดับเพลิง ระบบส่งน้ําดับเพลิง

Page 7: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ระบบส่งน้ําดับเพลิง

ท่อหลักส่งน้ําดับเพลิงท่อยืน Standpipe หัวรับน้ําดับเพลิง Fire Department Connection เครื่องสูบน้ําดับเพลิง Fire Pump สายส่งน้ําดับเพลิง Fire Hose ระบบกระจายน้ําดับเพลิง Automatic Water Sprinkler

Page 8: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ท่อหลักส่งน้ําดับเพลิงท่อยืน Standpipe

ระบบท่อเปียกอัตโนมัติ Automatic – Wet ระบบท่อเปียกควบคุมด้วยมือ Manual – Wet ระบบท่อยืนร่วม Combined System

Page 9: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ส่วนประกอบของอุปกรณ์ส่งนําดับเพลิง

เครื่องสูบน้ําดับเพลิง Fire Pump

Page 10: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ส่วนประกอบของอุปกรณ์ส่งนําดับเพลิง

หัวรับน้ําดับเพลิง Fire Department Connection

หัวดับเพลิง Hydrant

Page 11: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ส่วนประกอบของอุปกรณส่งนําดับเพลิง

สายฉีดน้ําดับเพลิง Fire Hose

หัวฉีดน้ําดับเพลิง Fire Hose nozzles

Page 12: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ส่วนประกอบของอุปกรณส่งนําดับเพลิง

เครื่องดับเพลิงมือถือ Fire Hose

Page 13: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ระบบกระจายน้ําดับเพลิง Automatic Water Sprinkler

ระบบท่อเปียก Wet Pipe System ระบบท่อแห้ง Dry Pipe System

Page 14: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ชนิดหัวกระจายน้ําดับเพลิง Automatic Water Sprinkler

แบบติดแขวนลง Pendent Sprinkler แบบติดตั้งหงายข้ึน Up - Right Sprinkler แบบติดข้างผนัง Side Wall Sprinkler

Page 15: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

อุปกรณ์สัญญาณแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System)

อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน Heat Detector อุปกรณ์ตรวจจับควัน Smoke Detector

Page 16: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

อุปกรณ์สัญญาณแจ้งเหตุเตือนภัยเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System)

Page 17: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ระบบการออกแบบภายในอาคาร. Passive

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร แสงสว่างและป้ายสัญลักษณ์

Page 18: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

มาตรฐานการทนไฟของโครงสร้างอาคาร

อาคารขนาดเล็กชั้นเดียว อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง อาคารขนาดกลาง อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 1½ ชั่วโมง อาคารขนาดใหญ่ อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง อาคารสูงทุกอาคาร อัตราทนไฟไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง ประตูทนไฟต้องเป็นวัสดุไม่ติดไฟ มีจุดหลอมละลายอย่างน้อย 800˚c

Page 19: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

ทางหนีไฟ ประตูหนีไฟ บันไดหนีไฟ ช่องผ่านและระเบียงหนีไฟ ทางหนีไฟแนวราบละทางผ่านออก ส่วนปิดล้อมควัน Smoke proof enclosures

Page 20: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

ประตูหนีไฟ กุญแจหรือกลอนสามารถเปิดออกจากภายนอกได้ มีความสูงไม่น้อยกว่า 2.00 เมตร กว้าง 90 เมตร แต่ไม่เกินกว่า 120 เมตร เปิดบานสุดไม่น้อยกว่า 90 ° กับวงกบประตู ไม่เป็นประตูหมุน ประตูเลื่อน ประตูเปิดขึ้นบน ประตูเหล็ก ประตูเฟี้ยม พ้ืนทั้งสองด้านชองบานประตูต้องเรียบเสมอกับส่วนบนของธรณีประตู หรือไม่ต่ํากว่าระดับบนธรณีประตูเกินกว่า 5 เซนติเมตร ทางหนีที่เปิดตรงสู่ภายนอกอาคาร ระดับภายในภายนอกประตูไม่เกิน 15 เซ็นติเมตร

Page 21: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

Page 22: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันหนีไฟ บันไดในอาคารเคลียร์ในต้องไม่แคบกว่า 0.90 เมตร ลูกตั้งไม่สูงกว่า 20 เซนติเมตรและความสูงทุกขั้นต้องมีขนาดเท่ากัน ลูกนอนกว้างไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร บันไดเวียนความกว้างลูกนอนขอบนอกไม่เกิน 30 เซนติเมตร ส่วนแคบสุดไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร ชานพักกว้างไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร บันไดลงสิ้นสุดชั้นใต้ดิน ต้องมีผนังและประตูกั้น พร้อมทั้งป้ายสัญลักษณ์

Page 23: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันไดหนีไฟ

Page 24: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันหนีไฟ บันไดกว้างเกินกว่า 2.20 เมตร จะต้องเพ่ิมราวจับช่องกลางด้วย ราวจับต้องติดตั้งไม่ต่ํากว่าระดับ 75 เซนติเมตร สูงไม่เกิน 90 เซนติเมตร บันไดที่กว้างไม่เกิน 120 เซนติเมตร อาจมีราวจ้บเพียงด้านใดด้านหนึ่ง

Page 25: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันไดหนีไฟ

Page 26: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันไดหนีไฟ

Page 27: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันไดหนีไฟ

Page 28: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

บันไดหนีไฟ

Page 29: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

จํานวนทางหนีไฟ ชั้นแทรกซึ่งใช้ประโยชน์อื่นนอกจากเก็บของ ที่มีพ้ืนที่มากกว่า 200 ตารางเมตร หรือความยาวเกินกว่า 18 เมตร ต้งมีบันไดหนีไฟรับคนสู่ช้างล่างไม่น้อยกว่า 2 บันได อาคารชั้นใดหรือห้องใด ซึ่งมีความจุคนตั้งแต ่ 500- 999 คน จะต้องมีทางหนีไฟไม่น้อยกว่า 3 ทาง อาคารชั้นใดหรือห้องใด ซึ่งมีความจุคนตั้งแต ่1000 คน จะต้องมีทางหนีไฟไม่น้อยกว่า 4 ทาง

Page 30: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

การจัดวางทางหนีไฟ กรณีผู้ใช้อาคารไม่สามารถออกไปยังพ้ืนที่โล่ง จะต้องจัดให้มีทางหนีไฟอย่างน้อย 2 ทาง กรณีทางหนีไฟ 2 ทาง ระยะห่างทางหนีไฟทั้งสองต้องไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของเส้นทแยงมุมของอาคาร

Page 31: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

สิ่งกีดขวางทางหนีไฟ ทางที่นําไปสู่ทางหนีไฟ ต้องไม่ผ่านห้องครัว ห้องเก็บของ ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า หรือห้องอ่ืน ๆ ซึ่งปิดด้วยกุญแจ ยกเว้นอาคารขนาดใหญ่อนุโลมให้ผ่านห้องเก็บของได้ ทางที่นําไปสู่ทางหนีไฟและประตู ต้องไม่ประดับหรือตกแต่งจนทําให้ปิดบังหรือเป็นอุปสรรคกับการหนีไฟ ห้ามติดตั้งกระจกเงาที่ประตูหนีไฟ หรือบริเวณใก้ลเคียงจนทําให้เกิดความสับสนในทิศทางของการหนีไฟ

Page 32: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

การจัดระบบพ้ืนที่หนีไฟและระยะสัญจร

สิ่งกีดขวางทางหนีไฟ

Page 33: QC-Int 481-Lecture 04-Fire projections

ระบบป้องกันอัคคีภัย Fire Protection standard

ACADEMIC YEAR 2013 / FIRST SEMESTER DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN