173
คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER) QI11-01-R0/05/50 1 /12 การทดสอบ หมอแปลงไฟฟา ( POWER TRANSFORMER ) การทดสอบ แบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคากระแสกระตุ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) 3. การวัดคากระแสลัดวงจร ( SHORT CIRCUIT CURRENT ) 4. การวัดอัตราสวนของขดลวดไฟฟา ( RATIO TEST ) 5. การวัดคาความตานทานของขดลวดไฟฟา ( WINDING RESISTANCE ) 6. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE ) 7. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS ) 8. การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดันสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT ) 9. การทดสอบคาความเปนฉนวนของน้ํามันหมอแปลง ( INSULATION TEST OF TRANSFORMER OIL ) 10. การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาและกระแสขณะไรภาวะ ( NO LOAD TEST ) 11. การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาขณะลัดวงจร ( PERCENT IMPEDANCE AND LOAD LOSS TEST ) 12. การทดสอบ BUSHING CT. ( BCT. TEST ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) กอนที่จะทําการทดสอบหมอแปลง ดวยวิธีการใชเครื่องมือตรวจวัดคาตางๆนั้น ใหทําการ สํารวจดูสภาพภายนอกโดยทั่วๆไปวามีสิ่งใดผิดปกติหรือไมดังรายการตอไปนี- ARCING HORN - LIFTING LUGS - THERMOMETER POCKET - TAP CHANGER - OIL INLET - OIL-LEVEL GAUGE - OIL-CONSERVATOR - DEHYDRATING BREATHER - RADIATOR - NAME PLATE - OIL DRAIN VALVE - MARKER PLATE - CAPACITY PLATE

Test Procedure 1

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 1 /12

การทดสอบ หมอแปลงไฟฟา ( POWER TRANSFORMER ) การทดสอบ แบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) 3. การวัดคากระแสลัดวงจร ( SHORT CIRCUIT CURRENT ) 4. การวัดอัตราสวนของขดลวดไฟฟา ( RATIO TEST ) 5. การวัดคาความตานทานของขดลวดไฟฟา ( WINDING RESISTANCE ) 6. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE ) 7. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS ) 8. การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT ) 9. การทดสอบคาความเปนฉนวนของน้ํามันหมอแปลง ( INSULATION TEST OF

TRANSFORMER OIL ) 10. การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาและกระแสขณะไรภาวะ ( NO LOAD TEST ) 11. การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาขณะลัดวงจร ( PERCENT IMPEDANCE AND LOAD

LOSS TEST ) 12. การทดสอบ BUSHING CT. ( BCT. TEST ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

กอนที่จะทําการทดสอบหมอแปลง ดวยวิธีการใชเครื่องมือตรวจวดัคาตางๆนั้น ใหทําการสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไปวามีส่ิงใดผิดปกติหรือไมดังรายการตอไปนี ้- ARCING HORN - LIFTING LUGS - THERMOMETER POCKET - TAP CHANGER - OIL INLET - OIL-LEVEL GAUGE - OIL-CONSERVATOR - DEHYDRATING BREATHER - RADIATOR - NAME PLATE - OIL DRAIN VALVE - MARKER PLATE - CAPACITY PLATE

Page 2: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 2 /12

- EARTHING TERMINAL - TERMINAL MARKING (ANSI) - OIL LEAK - CRACK BUSHING

2.1 การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT )

รูปที่ 1. คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดงันี้ ถาขดลวดทดสอบมีแรงดันพิกดัตั้งแต 1 KV. ขึ้นไป ใหทดสอบดวยแรงดนั 200 V. ถาขดลวดทดสอบมีแรงดันพิกดันอยกวา 1 KV. ลงมา ใหทดสอบดวยแรงดัน 50 V. วิธีการทดสอบ

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - ปรับคาแรงดันตามที่กําหนดใหถูกตอง อานคากระแสและแรงดนั - ในกรณีที่หมอแปลงตอแบบ STAR (Y – CONNECTION ) และมีขั้ว NEUTRAL อยู

ภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO NEUTRAL แตถาไมมขีั้ว NEUTRAL อยูภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO LINE

- ใหทําการวัดทกุ TAP และทกุ PHASE ของหมอแปลงเรยีงตาม PHASE SEQUENCE การวัดคากระแสกระตุนนี ้เปนการตรวจสอบดูวาขดลวดมีการลัดวงจร หรือแกนเหลก็มีสภาพที่ผิดปกติหรือไม

x A

A X0 X1 H1 X2 H2 X3 H3

V

A

Transformer

1 – Phase AC. Supply

Page 3: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 3 /12

3.1 การวัดกระแสลัดวงจร ( SHORT CIRCUIT CURRENT )

รูปที่ 2. - ตอวงจรตามรปูที่ 2. และลัดวงจรอีกดานหนึ่งของหมอแปลงใหถูกตองตาม VECTOR

GROUP - การทดสอบทําที่ TAP แรงดันสูงสุดของหมอแปลงทั้งสองดาน และใหระบ ุTAP ที่

ทดสอบไวในแบบฟอรมดวย - ใหทําการวัดทกุ PHASE ของหมอแปลงเรยีงตาม PHASE SEQUENCE - สายลัดวงจรควรใชสายที่มีพกิัดกระแสขนาดมากกวา 200 A. หรือมากกวา 70 sq.mm. และ

มีหนาสัมผัสการยึดที่ดแีละแนน - ความคลาดเคลื่อนของกระแสที่วัดไดตองมีคาผิดพลาดไมเกิน 2 % ( เมื่อเทียบกับคากระแส

ที่วัดไดในการตรวจรับที่ระดบัแรงดันเดียวกัน ) - ในกรณีที่หมอแปลงตอแบบ STAR ( Y- CONNECTION ) และไมมีขัว้ NEUTRAL อยู

ภายนอก ไมตองทดสอบในหัวขอนี ้

X3 X2

H3

H1 X1

H2

X0 X1 H1 X2 H2 X3 H3

A

V

1 – Phase AC. Supply

Page 4: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 4 /12

4.1 การวัดคาอัตราสวนของขดลวดไฟฟา ( RATIO TEST )

รูปที่ 3. - ตอวงจรตามรปูที่ 3. - การวัดคาอัตราสวนของขดลวดไฟฟาโดยใชเครื่องมือ TRANSFORMER TURN RATIO

TESTER - การทดสอบดวยเครื่องมือนี ้ยังเปนการชวยตรวจสอบความถูกตองของ POLARITY และ

VECTOR ดวย - ใหทําการวัดทกุ TAP และทกุ PHASE ของหมอแปลง เรียงตาม PHASE SEQUENCE - ความคลาดเคลื่อนของคาที่วัดไดตองไมเกิน + 0.5 % เมื่อเทียบกับคาอัตราสวนจาก NAME

PLATE 5.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด (WINDING RESISTANCE )

รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - กระแสที่ทดสอบไมควรเกิน 15 % ของกระแสพิกดั ( RATED CURRENT ) - สับ SWITCH และรอจนกวาเข็มอานคากระแสไมเปลี่ยนแปลง แลววัดแรงดันครอม

ขดลวด ทดสอบที่ขั้วของหมอแปลง หลังจากนั้นจึงอานคากระแสและแรงดันพรอมกนั - กอนปลด SWITCH ตองปลด VOLTMETER ออกจากวงจรกอน

Transformer Turn Ratio Tester

12 / 120 v 12/120 v

X2

X1

H2

H1

Switch

A H0 X0 H1 X1 H2 X2 H3 X3

V

DC. Supply

H1c H1p X1 X2 H2p H2c

~ Transformer

12/120 v

Page 5: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 5 /12

- ในกรณีที่หมอแปลงตอแบบ STAR ( Y- CONNECTION ) และมีขั้ว NEUTRAL อยูภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO NEUTRAL แตถาไมมขีั้ว NEUTRAL อยูภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO LINE

- สําหรับขดลวดที่มี TAP ปรับระดับแรงดนัใหทําการวัดคาที่ทุกๆ TAP ในแตละ PHASE จนเสร็จสิ้นกอน โดยเริ่มจาก TAP แรงดันต่ําสุดหรือสูงสุดแลวจึงเปลีย่นไปวัดคาใน PHASE อ่ืนเรยีงตาม PHASE SEQUENCE

- จดคาอุณหภูมขิองขดลวดระหวางการทดสอบ โดยวดัจากอุณหภูมิของน้ํามัน - ความคลาดเคลื่อนของคาความตานทานทีว่ัดไดไมควรเกิน 2 % เมื่อเทียบกับคาทดสอบจาก

โรงงาน ( FACTORY TEST ) ที่อุณหภูมิเดียวกัน 6.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANEC )

รูปที่ 5.

- ตอวงจรตามรปูที่ 5. ใหลัดวงจรที่ขั้วในแตละชุดของหมอแปลงเขาดวยกันเพื่อที่จะใหแรงดันทดสอบมีคาเทากันในแตละ PHASE

- ถาขดลวดมีแรงดันพิกดั 2500 Vac. ขึ้นไปใหทดสอบที่แรงดัน 2500 Vdc. และคํานวณคา PI. ถาขดลวดมีแรงดันพกิัดนอยกวา 2500 Vac. ลงมา ใหทดสอบที่แรงดัน 1000 Vdc. และไมตองคํานวณคา PI.

- คาความตานทานฉนวนที่วัด ใหเปนคาระหวางขดลวดที่ทดสอบกับตัวถังโลหะ และขดลวดที่เหลือตอลงดิน

- จดคาอุณหภูมขิองขดลวด อากาศและความชื้นสัมพัทธ คา POLARIZATION INDEX ( PI. ) คืออัตราสวนความตานทานฉนวนที่ 10 นาท ีตอ1 นาที

-

X0 H1 X1 H2 X2 H3 X3

G E

Transformer Megger

Page 6: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 6 /12

- คา PI. สามารถใชตรวจสอบดูสภาพหมอแปลง ใหพจิารณาดังนี ้

สภาพ PI อันตราย เลว นาสงสัย พอใช ดี

นอยกวา 1.0 1.0 - 1.1

> 1.1 - 1.25 > 1.25 - 2.0 มากกวา 2.0

- สําหรับหมอแปลงที่มีการตอแกนเหล็ก ( CORE ) ลงดินภายนอกตวัถัง ใหปลดสายที่ตอลง

ดินออก และวดัความตานทานฉนวนระหวางแกนเหล็ก ( CORE ) เทียบกับตัวถังและดิน ดวยแรงดันทดสอบ 1000 V.

7.1 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS ) รูปที่ 6.

- การวัดคาความสูญเสียที่เกิดขึ้นเนื่องจากกระแสรั่วไหล ( LEAKAGE CURRENT ) ผานฉนวนของอุปกรณ โดยแสดงคาออกมาในรูปของ POWER FACTER ( PF ) โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา DOBLE TEST

- วิธีการทดสอบ ใหทําการทดสอบตาม TEST FORM ที่แนบมา ตามชนดิของหมอแปลง - จดคาอุณหภูมขิองน้ํามัน อากาศและความชื้นสัมพัทธ

AC. Supply 220 V.

H1 H2 H3

DOBLE

X0 X1 X2 X3 Transformer

H1 H2 H3

Page 7: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 7 /12

- คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้ แรงดันที่พกิดัของขดลวด คาแรงดันทดสอบ 2 - 5 KV 5 - 10 KV > 10 KV

2.5 KV 5 KV 10 KV

- วิธีคํานวณคาจากเครื่อง DOBLE TEST % PF = Watt *100 V I - คา % PF ที่อุณหภูม ิ20 o C สําหรับตัดสินสภาพของหมอแปลง ดูไดจากตารางดังนี ้

สภาพ ชนิด

เลว ( % PF )

นาสงสัย ( % PF )

ดี ( % PF )

POWER TRANSFORMER ( OIL FILLED )

> 1.0 0.5 – 1.0 < 0.5

DIST. TRANSFORMER ( OIL FILLED )

> 2.0 2.0 – 1.0 < 1.0

DRY TYPE

>5.0 2.0 – 5.0 < 2.0

ASKAREL

> 10.0 0.5 – 10.0 < 0.5

- ในกรณีหมอแปลงใหม คา % PF ไมควรเกิน 1.5 เทา ของคาทดสอบจากบริษัทผูผลิต - คาตัวประกอบแกไขสําหรับเปลี่ยนคา % PF ณ. อุณหภูมติางๆ เพื่อเทียบคาที่อุณหภูม ิ

20 o C ใหดไูดจากตาราง และควรใชอุณหภูม ิTOP OIL เปนหลัก

Page 8: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 8 /12

ตารางคาตัวประกอบแกไขสําหรับการวัดคา % PF ของหมอแปลง ที่ อุณหภูมิ 20 o C C F MULTIPLIERS 0 32.0 1.56 1 2 3 4

33.8 35.6 37.4 39.2

1.54 1.52 1.50 1.48

5 41.0 1.46 6 7 8 9

42.8 44.6 46.4 48.2

1.45 1.44 1.43 1.41

10 50.0 1.38 11 12 13 14

51.8 53.6 55.4 57.2

1.35 1.31 1.27 1.24

15 59.0 1.20 16 17 18 19

60.5 62.6 64.4 66.2

1.16 1.12 1.08 1.04

20 68.0 1.00 21 22 23 24

69.8 71.6 73.4 75.2

0.96 0.91 0.87 0.83

25 77.0 0.79 26 27 28 29

78.8 80.6 82.4 84.2

0.76 0.73 0.70 0.67

30 86.0 0.63 31 32 33 34

87.8 89.6 91.4 93.2

0.60 0.58 0.56 0.53

35 95.0 0.51 36 37 38 39

96.8 98.6 100.4 102.2

0.49 0.47 0.45 0.44

40 104.0 0.42

7.2 การวัดคาความสูญเสีย และคา % PF ทางฉนวนของ BUSHING - กอนทําการทดสอบคา % PF ใหทําการทดสอบคาความตานทานฉนวนกระแสตรง - วัดคา % PF ในตําแหนง UST เมื่อ BUSHING มี TEST TAP และวัดคา % PF ในตําแหนง

GROUND เมื่อ BUSHING ไมมี TEST TAP

Page 9: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 9 /12

- คา % PF ที่วัดไดสําหรับ CONDENSER BUSHING ชนิด OIL IMPREGNATED PAPER ที่มีสภาพด ีไมควรเกิน 1% ที่อุณหภูม ิ20 o C

- ใหเทยีบคา CAPACITANCE ที่วัดได กับ NAME PLATE ไมควรเกิน 10 % 8.1 การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดันสงู (HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT )

- เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือเครื่องวัดคา % PF ( DOBLE TEST ) - ใหทําการวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง ของหมอแปลงเพียงดานเดียว - ใหทําการวัดคาที่ TAP แรงดันสูง - ใหทําการทดสอบตามหัวขอกําหนดดังนี ้

HIGH VOLTAGE EXCITATION CURRENT TESTS

SINGLE PHASE THREE – PHASE WYE ENERGIZE UST ENERGIZE UST PHASE H1 H2 ( or H0 ) H1 H0 A H2 ( or H0 ) H1 H2 H0 B H3 H0 C THREE PHASE DELTA THREE PHASE AUTO ENERGIZE UST GROUND PHASE ENERGIZE UST PHASE H1 H2 H3 A H1 H0X0 A H2 H3 H1 B H2 H0X0 B H3 H1 H2 C H3 H0X0 C

9.1 การทดสอบคาความเปนฉนวนของน้าํมันหมอแปลง ( INSULATION TEST OF TRANSFORMER OIL ) สําหรับหมอแปลงไฟฟาที่ใชน้ํามันไฮโดรคารบอน เปนฉนวนไฟฟา มีรายละเอยีดการทดสอบ ดังนี ้ 9.1.1 การทดสอบคาความแข็งแรงเชงิกําบังไฟฟาของน้ํามนัหมอแปลง (DIELECTRIC STRENGTH OF TRANSFORMER OIL )

- ใหทดสอบตามมาตรฐาน ASTM D1816 และ / หรือ D877 - ใหระมดัระวังการสุมตัวอยาง และภาชนะบรรจุน้ํามันตองสะอาด

Page 10: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 10 /12

- น้ํามันที่ทําการทดสอบควรมีคาอุณหภูมิใกลเคียง อุณหภมูิของอากาศ - คาความแข็งแรงเชิงกําบังไฟฟาของน้ํามันหมอแปลง ในสภาพใหมและสะอาด ตาม

มาตรฐาน ASTM ใหพจิารณาดังนี ้ D 1816 GAP SETTING 1 mm. คาความคงทนมากกวา 28 KV. D 1816 GAP SETTING 2 mm. คาความคงทนมากกวา 56 KV. D 877 คาความคงทนมากกวา 30 KV.

9.1.2 การทดสอบคา % PF ของน้าํมันหมอแปลง ( % PF OF TRANSFORMER OIL ) - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบคือ DOBLE TEST - ใหระมดัระวังการสุมตัวอยาง และภาชนะบรรจุน้ํามันตองสะอาด - คา % PF ที่ไดจากการทดสอบ ใหพิจารณาดังนี ้

สภาพของน้ํามนั % PF ที่อุณหภูม ิ20 o C

คุณภาพดีและใหม คุณภาพด ี สภาพนาสงสัย สภาพเลว

< 0.05 % < 0.5 % 0.5 – 2.0 % > 2.0 %

- ใหจดคาอุณหภูมิของน้ํามันที่ทดสอบ

10.1 การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟา และกระแสขณะไรภาระ (NO LOAD TEST ) - ในกรณีหมอแปลงเล็กที่มีแรงดันขดลวดดานใดดานหนึ่งประมาณ 400 V. ใหตอวงจรวัดคา

แบบใช TWO – WATT METHOD - ในกรณีหมอแปลงใหญที่มีแรงดันขดลวดสูงกวา 1000 V. ใหตอวงจรวัดคาแบบใช

THREE – WATT METHOD - ในกรณีทดสอบโดยใชหมอแปลง STEP – UP ( 400 V./ 22,000 – 33,000 V. )ใหตอขัว้

NEUTRAL ของหมอแปลงลงดิน - ใหปรับ TAP ของขดลวดหมอแปลง ทดสอบที่คาแรงดันพิกัดที่ระบุไวใน NAME PLATE

ของหมอแปลง - กอนทําการทดสอบ ในกรณีที่ม ีBCT. อยูภายในหมอแปลง ใหลัดวงจร BCT. ลงดิน - ใหจดคาอุณหภูมิของขดลวดหมอแปลง ขณะทดสอบและอุณหภูมิของน้ํามันหมอแปลง

Page 11: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 11 /12

- วัดคากระแส แรงดัน และWATT เพื่อเทียบคากับ SPECIFCATION เนื่องจากมาตรฐาน ANSI C57. 12. 00 – 1980 กําหนดคาความคลาดเคลื่อนของ NO LOAD LOSS สําหรับหมอแปลง SINGLE PHASE และ THREE PHASE ตองไมเกิน +10 %

- ในกรณีที่ไมสามารถปอนแรงดันทดสอบไดเทากับพกิัด ใหทดสอบที่แรงดันสูงสุด เทาที่ จะสามารถทําการทดสอบได

- หลังจากปอนแรงดันทดสอบใหกับหมอแปลงแลว ให ENERGIZED ทิ้งไวไมต่ํากวา 15 นาที และ ให สังเกตสิ่งผิดปกติ

- ขั้วของหมอแปลงที่จะทดสอบ ไมควรตอรวมกับ BUS หรืออุปกรณใดๆ - คากระแสไรภาระ ใหเทยีบกบัคา GUARANTEE ของผูผลิต ในกรณีทีม่ิไดระบุไว

คากระแสไรภาระไม ควรเกนิ 2.0% ของขนาดพิกดั OA ของหมอแปลง 11.1 การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาขณะลัดวงจร ( PERCENT IMPEDANCE AND LOAD LOSS TEST )

- ปรับ TAP ของขดลวดใหตรงกับ BASE ของ IMPEDANCE ที่กําหนดไวใน NAME PLATE ทั้งสองดาน และระบุ TAP ที่ทดสอบไวใน FORM TEST

- การลัดวงจรควรใชสายไฟฟา หรือ BUS ทองแดงที่มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของกระแสลัดวงจร

- กอนทําการทดสอบ ในกรณีที่หมอแปลงมี BCT. อยูภายใน ใหทําการลัดวงจร BCT. ลงดิน - ใหจดคาอุณหภูมิของขดลวด และอณุหภมูิของน้ํามันหมอแปลง กอนทําการทดสอบ - วัดคากระแส แรงดัน และWATT จาก METER เพื่อเทียบคาจาก SPECIFICATION และ

จากมาตรฐาน ANSI C57.12. 00 –1980 กําหนดคาความคลาดเคลื่อนของ TOTAL LOSS ตองไมเกิน +6 %

- คา % IMPEDANCE ที่อุณหภูมิทําการทดสอบ คํานวณไดจาก % IZ = Vsc ( line ) * ( MVA ) base * 100 Isc 3 * ( KV ) 2 base - ใหจดอุณหภูมขิองขดลวด หลังจากการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบคาอุณหภูมิของขดลวดที่

อานกอนที่จะทําการทดสอบ โดยคาความแตกตางของคาทั้งสองตองนอยกวา 5 o C - สําหรับหมอแปลงแบบ 3 – WINDING และ AUTO คาความคลาดเคลื่อน ตองไมเกิน +10

% เมื่อเทียบกบั SPECIFICATION และหมอแปลงหลายตัวที ่DESIGN เดียวกันตองมีคา % IMPEDANCE ตางกันไมมากกวา 10 %

- สําหรับหมอแปลงไฟฟาแบบ 2 – WINDING ซ่ึงมีคา % IMPEDANCE มากกวา 2.5 % คาความคลาดเคลื่อน + 7.5 % เมื่อเทียบกับ SPECIFICATION และคา % IMPEDANCE นอยกวา 2.5 % คาความคลาดเคลื่อน + 10.0 % เมื่อเทียบกับ SPECIFICATION และหมอแปลง

Page 12: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 12 /12

หลายตัวที ่DESIGN เดียวกนัตองมีคา % IMPEDANCE ตางกันไมมากกวา 7.5 % ในกรณีที่ไมสามารถหาคาที่กําหนดจาก SPECIFICATION อนโุลมใหใชคาทีก่ําหนด ใน NAME PLATE

12.1 การทดสอบ BUSHING CT. ( BCT. TEST ) - การทดสอบคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ใหทําการลัดวงจรของขดลวดในแตละชุด

เมื่อทําการ ทดสอบขดลวดชุดใด ให GROUND ชุดที่เหลือ โดยทดสอบดวยแรงดนักระแสตรง 1000 V. ระยะเวลาทดสอบ 1 นาที

- การวัดคากระแสกระตุน ตอวงจรตามรูปที ่7. รูปที่ 7. - กอนทําการทดสอบ ตองทําการ DEMAGNETIZE BCT. - ทําการวัดทกุๆตัว และเปรียบเทียบคาที่ไดใน CLASS - การหาจุด KNEE – POINT หาจากกราฟลักษณะสมบัติของ กระแสกระตุนกับ แรงดนัที่

ปอน - การวัดคาอัตราสวนของขดลวด BCT. โดยใชเครื่องมือ TRANSFORMER TURN RATIO

TEST - สําหรับ BCT. ที่มีหลาย TAP ใหทําการวัดคาอัตราสวนของขดลวด BCT. ทุก TAP

Transformer Step up X2

A

V BCT.

X1

AC. Supply 220 v.

Page 13: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 1/5

การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER การทดสอบ แบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

2 การวัดคาชวงเวลาเปดและปด ( TIMING TEST ) 3. การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานฉนวน ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT 5. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR )

1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) เปนการสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทั่วไป วามี ส่ิงผิดปกติหรือไม

2.1 การวัดคาชวงเวลาเปดและปด ( TIMING TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ TM 1600 TIMING TEST SET - คาที่ทําการทดสอบ ดังนี้

CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70 VDC. ) CLOES และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. ) C – O OPERATION ( TRIP FREE ) ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. )

- ถาเปน HYDRAULIC จะทําการทดสอบดงันี้ MINIMUM PRESSURE • CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. )

CRICUIT BREAKER

TM1600

Page 14: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 2/5

• CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70 VDC. )

• CLOSE และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. ) RATED PRESSURE • CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70

VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. ) • C – O OPERATION ( TRIP FREE ) ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) MAXIMUM PRESSURE • CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70 VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. )

- คาที่ทดสอบได ควรไมเกินคาที่บริษัทผูผลิตกําหนดไว หรือใชคาโดยทั่วไป คือ TRIPPING TIME ประมาณ 20 – 60 ms. CLOSING TIME ประมาณ 100 – 120 ms. - คาระหวาง PHASE ถาบริษัทผูผลิตไมไดกําหนด ใหแตกตางไดไมเกิน 10 ms.

3. 1 การวัดคาความตานทานของหนาสัมผสั ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT )

รูปที่ 2.

CRICUIT BREAKER

1 2

A

V

Page 15: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 3/5

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ DC. VOLTMETER , DC. AMMETER , DC. POWER

SUPPLY หรือ ใช เครื่องมือทดสอบ MICRO OHMMETER - วิธีการทดสอบตามรูปที่ 9. เปนการวดัคาความตานทาน ของหนาสัมผัสของ CIRCUIT

BREAKER ดวยวิธี DROP OF POTENTIAL โดยการปอนกระแส 100 Amp. DC. แลววัดคา VOLT. นํามาคํานวณหาคาความตานทาน R = V

I - วิธีการทดสอบโดยใช MICRO OHMMETER วัดคาโดยตรง โดยปอนกระแส 100 Amp.

DC. แลวอานคาจากเครื่องไดเลย - คาที่ทดสอบได ตองใกลเคียงกับคา FACTORY TEST

4.1 การวัดความตานทานฉนวน ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 3.

- ตอวงจรตามรปูที่ 3. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง MEGGER โดยทดสอบตามตารางขางลางนี้

ENERGIZED GROUND 2,500 VDC. At 1 min. 1 2 บันทึกคาที่ทดสอบ 2 CASE บันทึกคาที่ทดสอบ

ENERGIZED

CRICUIT BREAKER

MEGGER

1 2

Page 16: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 4/5

- คาที่ทดสอบได ตองไมต่ํากวา 10,000 M. ohm. สําหรับ VACUUM CIRCUIT BREAKER

- คาที่ทดสอบได ตองไมต่ํากวา 1,000 M. ohm. สําหรับ OIL CIRCUIT BREAKE และ GAS CIRCUIT BREAKER

5.1 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR ) รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ INSULATION POWER FACTOR TEST หรือเรียกวา

เครื่อง DOBLE TEST - วิธีการทดสอบทําตามตารางทดสอบที่แนบมา - คาที่ทดสอบได คา Watt loss ควรไมเกิน 0.05 Watt. สําหรับ VACUUM CIRCUIT

BREAKER - สําหรับ OIL CIRCUIT BREAKER คา Watt loss ในแตละ Phase ของ Part เดียวกัน ตอง

ตางกันไมเกิน 20 % - สําหรับ GAS CIRCUIT BREAKER คา Watt loss ตองไมเกิน 0.02 W. หรือ 20 mW.

กรณีถาเกินขอใหบริษัท ผูผลิตชี้แจงเหตุผลในแตละสัญญาไป โดยไมตอง ช้ีแจงทุกครั้งที่พบ เมื่อพบครั้งแรกใหช้ีแจงมา เมื่อพบคา Watt loss ที่ทดสอบครั้งตอไป ถือคําชี้แจงครั้งแรกเปนเหตุผลจนครบสัญญา

- ในกรณีที่ม ีGrading Capacitor ตอครอมอยูดวยใหพิจารณาดังนี้

CIRCUIT BREAKER

DOBLE

Page 17: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 5/5

• คา Watt loss ตองไมเกิน 1. Watt. โดยที่ทดสอบในสภาพตอครอมกับ Interrupter Unit

• คา Capacitance ตองตางกันไมเกิน 10 % • ถามีขอสงสัยใหปลดแยกวัดทีละสวน

Page 18: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 1/7

การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบไดดังนี ้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) 3. การทดสอบขั้ว ( POLARITY TEST ) 4. การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) 5. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 6. การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT ) 7. การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ CT. ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ไปวามี ส่ิงผิดปกติหรือไม เชน Porcelain แตก บิ่น , Oil ร่ัวซึม หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box ดานขดลวดกระแสต่ํา และใหสังเกตวาตัวถังตอลงดินแลว

2.1 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - ปอนกระแสที่ทดสอบทางดานกระแสแรงสูง ตองไมนอยกวา 10 % ของกระแส Full Tap - วัดคากระแสทางดานกระแสแรงต่ําดวย AMMETER สวนชุดที่ยังไมไดวัดคาใหลัดวงจร - บันทึกคาที่วดัได ลงในแบบฟอรม - คาความคลาดเคลื่อนของคาอัตราสวนของขดลวด ควรมีคาไมเกิน + 2 % ที่ full winding และ +

5 % ที่ Tap section เมื่อเทียบกับคาอัตราสวนจาก NAME PLATE

Variable Auto transformer CT.

Reference CT.

X1

H1

H2 X2 Loading Transformer

A

A

AC. Supply

H1 X1

Page 19: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 2/7

2.2 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) ดวย Transformer ratio tester

รูปที่ 2.

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. เปนการทดสอบดวย Transformer ratio tester โดยวดั Ratio , Polarity และ Phase deviation เฉพาะ Full winding สวน Tap winding ใหวดั Ratio โดยการวัดแรง ดันตกครอมแตละ Tap เปรียบเทียบกบัแรงดันที่ตกครอมตามอัตราสวน - คาแรงดันทดสอบสําหรับ Relaying CT. ใหทดสอบที่แรงดัน 120V. สวน Metering CT. ให

ทดสอบที่แรงดัน 12V. (เฉพาะเครื่อง Transformer ratio tester รุน TR800) - ในกรณีที่ทดสอบดวยแรงดัน 12V. แลวกระแสเกนิพิกดัของเครื่องทดสอบ ใหทดสอบ Ratio

ดวย Current method - ความคลาดเคลื่อนของคาอัตราสวนของขดลวด Full winding อานไดจากเครื่องทดสอบสวน

ความคลาดเคลื่อนของคาอัตราสวนของขดลวด Tap winding คํานวณไดจากสูตร Vt = Vf x Ratio (tap)

Ratio (full)

%ε = Vm - Vt x 100 Vt เมื่อ %ε = ความคลาดเคลื่อนของอัตราสวนของขดลวด (%) Vt = คา Voltage ตามอัตราสวนของขดลวด Vf = คา Voltage ที่อานไดจาก Full winding Ratio (tap) = คาอัตราสวนของขดลวดที่ Tap winding ที่ตองการวัด (เชน 200 : 5 = 200) Ratio (full) = คาอัตราสวนของขดลวดที่ Full winding (เชน 1200 : 5 = 1200) Vm = คา Voltage ที่อานไดจากการทดสอบที่ Tap winding ที่ทําการวัด - ความคลาดเคลื่อนอัตราสวนของขดลวดที่ทดสอบได ควรมีคาไมเกนิ+ 2% ที่ Full winding และ + 5% ที่ Tapped winding เมื่อเทียบกับคาอตัราสวนจาก Nameplate

Page 20: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 3/7

3.1 การทดสอบขั้ว ( POLARITY TEST ) รูปที่ 3.

- ตอวงจรตามรปูที่ 3. - สับ Switch เข็มของ Meter จะตองตีขึ้น - ปลด Switch เข็มของ Meter จะตองตีลง - แสดงวาขัว้ถูกตอง เรียกวา Subtractive Polarity - บันทึกคาลงในแบบฟอรม

1.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT )

- เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ DC. Power supply , DC. AMMETER , DC. VOLTMETER หรือทดสอบโดยใช OHM METER ที่มีความละเอยีดสงู

- ปอนกระแส DC. เขาที ่Terminal ดานกระแสแรงต่ํา ที่ Tap full ประมาณ 1 milli – Amp วัดคา Volt แลวนํามาคํานวณ หาคาความตานทาน

- โดยใช OHM METER วัดคาที่ Terminal โดยตรง - บันทึกคาลงในแบบฟอรม - คาความคลาดเคลื่อน ตองไมเกิน 2 % จากคาของ Factory test

-

+

Secondary

S S

1.5 VDC.

Primary Secondary

mA or mV

Current Transformer

Page 21: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 4/7

5.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - ใหลัดวงจรของขดลวด ในแตละชุด ดานกระแสต่ํา - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

• ขดลวดดานกระแสสูง ใหทดสอบดวยแรงดนั 2,500 VDC. ที่ 1 นาที • ขดลวดดานกระแสต่ํา ใหทดสอบดวยแรงดนั 1,000 VDC. ที่ 1 นาที

- ความตานทานฉนวนกระแสตรงที่วัด ใหเปนคาระหวาง ขดลวดที่ทดสอบกับตัวถัง และขดลวดที่ เหลือซ่ึงตอลงดิน

- ใหทดสอบตามตารางตอไปนี้

TEST CONNECTION DC. Meg. Ohm. REMARK ENERGIZED GROUND VOLT. ( 1 MIN. ) HV LV ( ALL ) 2,500 LV ( V ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( W ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( X ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( Y ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( Z ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000

- คาความตานทานฉนวนกระแสตรง ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้ • ขดลวดดานกระแสสูง ( HV ) ตองไมต่ํากวา 1,000 Meg. Ohm.

H1 H2

Current Transformer

GROUND

ENERGIZED

X1

MEGGER

Page 22: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 5/7

• ขดลวดดานกระแสต่ํา ( LV ) ตองไมต่ํากวา 10 Meg. Ohm. 6.1 การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT ) รูปที่ 5.

- ตอวงจรตามรปูที่ 5. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือเครื่อง Insulation Power Factor test set หรือที่เรียกวาเครื่อง

Doble test - ใหลัดวงจรของขดลวด ดานกระแสต่ํา ทุกชุดเขาดวยกนั - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

แรงดันที่กําหนดของขดลวดแรงสูง ( KV ) แรงดันทดสอบ ( KV ) 3 – 5 5 – 10 > 10

2.5 5 10

Current Transformer

H1 H2

AC. Supply 220 V.

X1 DOBLE

Page 23: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 6/7

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังตอไปนี ้

Test Connections Current ( m ) Watts Ener. GST GSTg UST

Test KV Avg. Avg.

%PF Cap.

HV LV 10

HV LV 10

- บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ - ผลการทดสอบในตําแหนง Ground ( GST ) และ Guard ( GSTg ) ควรมีคาเทากันสําหรับ CT. ที่

ใชงานในระบบ ตั้งแต 69 KV เนื่องจาก CT. ในระบบนีจ้ะถูกออกแบบ ใหม ีGround shield ลอมรอบขดลวดดานกระแสสูง

- คา % PF ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้• ประเภท OIL – FILLED TYPE ควรมีคาไมเกิน 1 % ที่อุณหภูม ิ20 °C • ประเภท MOLDED – TYPE ควรมีคาไมเกนิ 2 %

7.1 การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) รูปที่ 6.

- ตอวงจรตามรปูที่ 6. - ใหทําการวัดชดุ Full tap ทุกชุดของขดลวดดานกระแสต่ํา โดยเมื่อทําการทดสอบขดลวดชุดใด

ให เปดวงจรชดุที่เหลือ - กอนดําเนินการทดสอบตองทําการ DEMAGNETIZED ทุกครั้ง โดยเพิ่มแรงดันที่ขดลวดดาน

กระแสต่ําจนถึงจุด SATURATION ของแกนเหล็ก คือคากระแสจะเปลี่ยนแปลงไปมาก ไมเปนเชิงเสนกับการเปลี่ยนแปลงแรงดัน แลวจึงคอยๆ ลดแรงดันจนกระแสเปนศูนย

Variac

SEC. PRI.

Step – up Transformer CT.

A

V AC. Supply

Page 24: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 7/7

- ปรับคาแรงดันทดสอบ ใหเพิม่ขึ้นทีละคา พรอมทั้งอานคาแรงดันและกระแสในแตละคา จนสามารถหาคา KNEE POINT ของ EXCITATION CURVE ได โดยดําเนินการทดสอบใหมากคาในยานที่เกดิ SATURATION เพื่อเพิ่มความแมนยํา ในการทดสอบ

- ขณะดําเนินการทดสอบ ใหเขียนกราฟไปพรอมกัน เพื่อจะไดทราบสภาพการเกิด SATURATION ของแกนเหล็ก และควรใชกราฟแบบ LOG – LOG

- การหาคา KNEE POINT ของ EXCITATION CURVE ทําไดโดย การลากเสนสัมผัสกับสวนโคงของ CURVE โดยทํามุม 45 o กับแกนนอน ตามรูปที่ 7.

รูปที่ 7.

เสนสัมผัส 90 o KNEE POINT เสนตั้งฉาก SATURATION 45 o

Page 25: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 1/5

การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER การทดสอบแบงออกเปน ขั้นตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) 3. การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 5. การวัดคาความสูญเสียและ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) 6. การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT

MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ PT ดวยวิธีการทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไปวามีส่ิงผิดปกติ หรือไม เชน Porcelain แตกบิ่น , Oil ร่ัวซึม หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box ดานแรงต่ํา และใหสังเกตวาตัวถังตอลงดินแลว

2.1 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ Transformer Turn Ratio Test ซ่ึงการทดสอบดวย

เครื่องมือนี้ ยังเปนการตรวจสอบความถูกตองดาน Polarity ดวย - ใหทําการทดสอบอัตราสวนของขดลวดทกุ TAP ตามที่ระบุใน NAME PLATE - บันทึกคาลงในแบบฟอรม

Transformer Turn Ratio Test

12 / 120 V. 12/120V

H2 X2

H1 X1

PT.

H1c H1p 12 / 120 V X1 X2 H2p H2c

~

Page 26: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 2/5

- ความคลาดเคลื่อนของคาที่ทดสอบได ควรมีคาไมเกิน ACCURACY CLASS ตามที่ระบุ ใน NAME PLATE

3.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 2.

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ DC. Power Supply , DC. Ammeter , DC.Voltmeter

หรือทดสอบโดยใช Ohm meter ที่มีความละเอียดสูง - ปอนกระแส DC. เขาที ่Terminal ดานแรงดันต่ํา ที่ Tap full วัดคาแรงดัน แลวนํามา

คํานวณ หาคาความตานทาน - โดยใช Ohm meter วัดคาที ่Terminal โดยตรง - บันทึกคาลงในแบบฟอรม - ความคลาดเคลื่อน ของคาทดสอบควรไมเกิน 2 % จากคาของ Factory test

4.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 3. PT.

ENERGIZED H1

GROUND

PT.

DC. Supply

A

V

SEC. PRI.

X1

Page 27: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 3/5

- ตอวงจรตามรปูที่ 3. - ใหลัดวงจรของขดลวดทางดานแรงดันต่ํา - ในกรณ ีPT ตอใชงานแบบ Line to ground ใหปลด Jumper ที่ขั้ว Neutral ออกจากขัว้ตอ

ลงดิน - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง MEG OHM METER หรือ ที่เรียกวา เครื่อง

MEGGER - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

• ขดลวดดานแรงดันสูงที่มีแรงดันตั้งแต 3,300 V ขึ้นไป ใหทดสอบดวยแรงดัน 2,500 VDC. ที่ 1 นาที

• ขดลวดดานแรงดันสูงที่มีแรงดันต่ํากวา 3,300 V ลงมา และขดลวดดานแรงต่ํา ให ทดสอบดวยแรงดัน 1,000 VDC. ที่ 1 นาที

- คาความตานฉนวนกระแสตรงที่วัด ใหเปนคาระหวางขดลวดที่ทดสอบกับตัวถัง และขดลวดที่เหลือซ่ึงตอลงดิน

- ใหแยกทําการทดสอบในแตละชุดของขดลวด ดานแรงดันต่ํา - วิธีการทดสอบใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

TEST CONNECTION ENERGIZE GROUND

DC. ( VOLT )

MEG. OHM. ( 1 MIN. )

HV LV ( ALL ) 2,500 LV ( X ) HV + ( REMAINDER ) 1,000 LV ( Y ) HV + ( REMAINDER ) 1,000

- คาความตานทานฉนวนกระแสตรงที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้

• ขดลวดดานแรงดันสูง ตองไมต่ํากวา 1,000 Meg. Ohm • ขดลวดดานแรงดันต่ํา ตองไมต่ํากวา 10 Meg. Ohm

Page 28: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 4/5

5.1 การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT ) รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ Insulation Power Factor Test หรือที่เรียกวา เครื่องDoble - ใหลัดวงจรของขดลวดดานแรงดันต่ํา ทุกชุดเขาดวยกนั - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

แรงดันที่กําหนดของขดลวดดานแรงดนัสูง ( KV )

แรงดันทดสอบ ( KV )

3 - 5 5 - 10 > 10

2.5 5 10

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

Test Connection Current ( m ) Watts Ener. GST GSTg UST

Test KV. Avg. Avg.

% PF Cap.

HV LV

HV LV

H1

PT. 220V.AC

X1

DOBLE

Page 29: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 5/5

- บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ - คา % PF ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้

• ประเภท OIL – FILLED TYPE ควรมีคาไมเกิน 1 % ที่อุณหภูม ิ20 o C • ประเภท MOLDED – TYPE ควรมีคาไมเกนิ 2 %

6.1 การวัดคากระแสกระตุน ดวยแรงดันสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT MEASUREMENT )

- การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง โดยใชเครื่องมอืวัด % PF ( Doble test ) - ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

TEST CONNECTION ENERGIZE GST

VOLTAGE ( KV )

CURRENT ( milli – Amp )

H1 H2 - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

• PT ที่ตอใชงานแบบ PHASE TO PHASE ใหทดสอบทีแ่รงดันที่กําหนดของขดลวดดานแรงสูง หรือที่แรงดัน 10 KV แลวแตวาคาใดจะนอยกวา

• PT ที่ตอใชงานแบบ PHASE TO GROUND ใหทดสอบที่แรงดันที่กาํหนด PHASE TO GROUND ของขดลวดดานแรงดนัสูง หรือที่แรงดัน 10 KV แลวแตวาคาใดจะนอยกวา

Page 30: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) 3. การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 5. การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ CCVT ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไป วามีส่ิงผิดปกติ หรือไม เชน Porcelain แตก บิ่น , Oil ร่ัวซึม หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box ดานแรงดนัต่ํา และ ใหสังเกตวาตัวถังตอลงดินแลว

2.1 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ Transformer Turn Ratio Test ซ้ึงการทดสอบดวย

เครื่องมือนี้ ยังเปนการชวยทดสอบความถูกตองดาน Polarity ดวย - ในกรณีที่แตละชุดของขดลวดดานแรงต่ํามหีลาย TAP ใหทดสอบทุก TAP ตามที่ระบุใน

NAME PLATE - ความคลาดเคลื่อนของคาที่ทดสอบได ควรมีคาไมเกิน ACCURACY CLASS

3.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE

CCVT.

X2

X1

H2

H1 H1c H1p 12 / 120 V. X1 X2 H2p H2c

~

Transformer Turn Ratio Tester

Page 31: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 2/4

MEASUREMENT ) - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ DC. Power supply , DC. Ammeter , DC. Voltmeter

หรือ ทดสอบโดยใช Ohm meter ที่มีความละเอียดสูง - ปอนกระแส DC. เขาที ่Terminal ดานแรงดันต่ํา ที่ Tap full วัดคาแรงดัน แลวนํามา

คํานวณหาคาความตานทานของขดลวด - โดยการใช Ohm meter วัดคาที่ Terminal box โดยตรง - คาความคลาดเคลื่อนควรไมเกิน 2 % จากคา Factory test

4.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT )

- ใหปลดแยกขัว้ตอที่เกีย่วของทางดานแรงสูงของ CCVT เทาที่จะปลดไดเพื่อใหสามารถแยกทดสอบในสวน ยอยได เชนในสวนของ CAPACITOR DIVIDER (C1 และ C2 )หรือขดลวดดานแรงสูง ในสวนของ ELECTROMAGNETIC UNIT

C1 X1 X2 C2 X3 P2 Y1 Y2 P1 Y3 P1 P2 CAR รูปที่ 2.

- ตามตัวอยางวงจรในรูปที ่2. จุดตอที่จะตองแยกออกจากกันก็คือ จุด CAR และตองแยกจุดตอลงดินดวย ก็สามารถทําการทดสอบในสวนของ C. total และสวนของขดลวดดานแรงสูงของ Electromagnetic Unit แตถา CCVT มีอุปกรณ Ground Switch ( GS ) ดวยก็จะสามารถแยกทดสอบในสวนของ C1 และ C2 ได

- ใหลัดวงจรในแตละชุดของขดลวดดานแรงต่ําของสวน Electromagnetic Unit - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

Page 32: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 3/4

• CAPACITOR ในสวนของ CAPACITOR DIVIDER และขดลวดดานแรงดันสูงของ Electromagnetic Unit ใหทดสอบดวยแรงดนั 2,500 VDC. ที่ 1 นาที

• ขดลวดดานแรงดันต่ําของ Electromagnetic Unit ใหทดสอบดวยแรงดัน 1,000 VDC. ที่ 1 นาที

• วิธีการทดสอบ ให ทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

TEST CONNECTION TEST ENERGIZE GROUND

DC. VOLTAGE ( V )

MEG. OHM At 1 Min.

Ct HV CAR 2,500 C1 HV GS 2,500 C2 CAR GS 2,500

Capacitor Divider

HV ( P1 + P2 ) LV ( X + Y ) 2,500 LV ( X ) HV + LV ( Y ) 1,000

Electromagnetic Unit

LV ( Y ) HV + LV (X ) 1,000

- คาความตานทานฉนวนกระแสตรงที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้ • ในสวนของ Capacitor Divider

: High – Voltage Capacitor ตองไมต่ํากวา 10,000 Meg Ohm : Intermediate – Voltage Capacitor ตองไมต่ํากวา 1,000 Meg Ohm

• ในสวนของ Electromagnetic Unit : ขดลวดดานแรงสูง ตองไมต่ํากวา 100 Meg Ohm : ขดลวดดานแรงดันต่ํา ตองไมต่ํากวา 10 Meg Ohm

5.1 การวัดคาความสูญเสียและ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT )

- ใหลัดวงจรของขดลวดดานแรงดันต่ําทุกชดุเขาดวยกนั - ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

Test Test Connection Test Current ( m ) Watt % PF CAP

Page 33: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 4/4

ENER. GST GSTg UST KV

Ct HV CAR 10

C1 HV GS 10

Capacitor Divider C2 CAR GS 2.5

P1,P2 LV 2.5

Electro – Magnetic

P1,P2 LV 2.5

- บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ - คา % PF ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้

• สวนของ Capacitor Divider ควรมีคาไมเกนิ 1 % • สวนของ Electromagnetic Unit ควรมีคาไมเกิน 4 %

- คา Capacitance ที่วัดได ควรคลาดเคลื่อนไมเกิน – 5 % ถึง + 10 % ของคา Name plate

Page 34: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 1/5

การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER การทดสอบ LIGHTNING ARRSTER แบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) 3. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ LIGHTNING ARRESTER ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอก โดยทั่ว ๆ ไปวามส่ิีงผิดปกติหรือไม เชน ลูกถวยแตกบิ่น หรืออุปกรณที่เปน Seal มีการหลุดหลวม หรือฉีกขาด หรือไม

2.1 การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 1.

- ใหลัดวงจรสาย Ground ของ Lighting Arrester เขากับ Ground System โดยไมผาน Surge Counter

- คาแรงดันสําหรับทดสอบกําหนดไวดังนี ้ แรงดันทีพ่ิกัดของ LA ( KV )

แรงดันทดสอบ ( VDC )

0.5 – 1.5 1.5 – 5 > 5

500 1,000 2,500

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

1 2 3

GROUND

ENERGIZE

Megger

Page 35: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 2/5

Test Connection Energize Ground UST

Test Voltage ( VDC )

Meg Ohm At 1 Min.

1 - 2 2,500 2 - 3 2,500 3 4 - 2,500

- บันทึกคาอุณหภูม ิและ ความชื้นสัมพัทธของอากาศ - คาที่ทดสอบได ควรไมเกิน 10 %จาก Factory test

3.1 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS MEASUREMENT ) - คาแรงดันสําหรับทดสอบกําหนดไวดังนี ้

แรงดนัที่พิกัดของ LA ( KV )

แรงดันทดสอบ ( KV )

< 2.7 2.7 - 5.1 6.0 – 7.5 8.1 – 10.0 > 12

ไมตองทดสอบ 2.5 5.0 7.5 10.0

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

Test Connection Current Watt EN. GST GSTg UST

Test kv

AVG.

AVG.

Cap.

1 2 10

2 3 10

3 4 10

- คาที่ทดสอบได ในกลุมเดียวกันตองมีคาตางกันไมเกิน 10 % จึงจะถือวา LA มีสภาพด ี

Page 36: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 3/5

การทดสอบ SURGE COUNTER การทดสอบ SURGE COUNTER แบงออกเปนขั้นตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบการทํางานของ COUNTING RELAY 3. การทดสอบ LEAKAGE CURRENT MILLI – AMMETER 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ SURGE COUNTER ดวยวิธีการทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไปวามีส่ิงผิดปกติหรือไม เชนอุปกรณทีเ่ปน Seal มีการหลุดหลวม หรือฉีกขาด หรือไม

2.1 การทดสอบการทํางานของ COUNTER RELAY - Charge ประจุของ Capacitor ตามคาแรงดนัและคา Capacitance ที่เหมาะสมกับ SURGE

COUNTER แตละผูผลิตและ แตละชนิดตามคาในตารางดังนี ้

ยี่หอ TYPE แรงดัน ( VDC ) ความจุของ CAP. REMARK AEG ZW 4,000 0.5 ASEA TXA 2,000 0.5 สามารถทดสอบดวย

Switching Surge 150 V ได

BBC SCF 1,000 2.0 EMP SC - 13 4,000 1.0 MEIDENSHA VC – B

ZC - AIM 1,000 4.0

MITSUBISHI AI – F AI – H AI – J AI - M

1,000 1,000 1,000 4,500

1.5 1.0 1.0 4.0

Page 37: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 4/5

ยี่หอ TYPE แรงดัน ( VDC ) ความจุของ CAP. REMARK OHIO BRASS 97BB3 5,000 0.3 ตองCharge Counter ดวย

ไฟฟากระแสสลับ 110 V ประมาณ 2 นาที แลวจึงเอาออกและทดสอบตาม วิธีการ

SPRECHER + SCHUH

AZG 2 1,000 1.0 ตองCharge Counter ดวย ไฟฟากระแสตรงดวยขั้วบวกที่ขั้ว Line ของ Surge Counter ดวยแรงดัน 9V หรือไฟฟากระแสสลับ 6V ตลอดเวลา แลวจึง Discharge คา Capacitor ดวยไฟบวกทีข่ั้ว Line ของCounter

TOSHIBA SDC - N 1,000 1.0 - นํา Capacitor ที่ Charge ประจุจนเต็มแลว Discharge ที่ขั้วของ Surge Counter ถา

Counter มีสภาพปกติจะทํางานเลื่อนตัวเลขไป 1 Step - หลังจาก Discharge Capacitor ไปแลว จะตองทําการคายประจุของ Capacitor ใหแนใจ

อีกครั้งวา ประจุภายใน Capacitor หมดไปแลว มิฉะนั้นถาประจุภายใน Capacitor ยังมอียู อาจทําใหเกิดอันตรายตอผูเผลอไปสัมผัสได

3.1 การทดสอบ LEAKAGE CURRENT MILL – AMMETER รูปที่ 2.

R = 100 1 Watt

Variac

A AC. Supply

Page 38: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 5/5

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. - ปรับแรงดันที ่VARIAC อยางชาๆ ใหเข็มของ MILLI – AMMETER คอยๆเพิ่มขึ้น อาน

คาของ MILLI – AMMETER หรือ METER แบบเข็มที่มีคากระแส 0.5 , 1.0 , 1.5 , 2.0 และ 3.0 Milli – Amp หลังจากนั้นเพิ่มขึ้นทลีะ 1 Milli – Amp จนสุดสเกลที่ MILLI – AMMETER ที่ SURGE COUNTER อานคาได

- คาที่อานจาก METER ทั้ง 2 ตัว ตองตางกันไมเกนิ 10 % ในกรณีที่เกนิใหพยายามปรับแตงใหถูกตอง กรณีที ่METER ไม LINEAR ใหปรับแตงใหมีความถูกตองที่ยานกระแสคาต่ํา เชน 0.5 , 1.0 , Milli – Amp สวนคากระแสที่สูงกวา 3.0 Milli – Amp ยอมใหผิดพลาดได

- ถาตัว METER ที่ติดตั้งอยูที ่SURGE COUNTER ระบุวาเปน PEAK METER หรือ CREST METER คาที่อานไดตองหารดวย 2 จึงจะเปนคาที่อานไดจาก METER มาตรฐาน

Page 39: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ CAPACITOR BANK การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคา CAPACITANCE 3. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานของ REACTOR 5. การวัดคา IMPEDANCE ของ REACTOR 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนทําการทดสอบ CAPACITOR BANK ใหสํารวจดสูภาพภายนอกรอบๆ CAPACITOR BANK และพยายามสังเกตดลููกถวย แตก , บิ่น , น้ํายา ELECTROLYTE ร่ัว , กระปอง CAPACITOR บวม และอืน่ๆ รวมทั้ง GROUND ของ CAPACITOR BANK

2.1 การวัดคา CAPACITANCE รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. โดยใชวิธี AC. VOLT – AMP METHOD - ใหตอ AMP METER ไวดาน MARK หรือ HOT ของ VARIAC สายไฟเสนที่ออกจาก

AMP METER ให ตอไปที่ขัว้หลักของ CAPACITOR สวนสายไฟเสนที่ออกจาก VARIAC ขั้ว COMMON ไมใหตอที่ STRUCTURE หรือ STACK เพื่อขจัดปญหาที่อาจจะเกดิขึ้นได

- สายวัดแรงดันใหตอวดัที่ขั้วของ CAPACITOR เมื่ออานคาแรงดันแลว ใหเอาสายวัดแรงดันออก แลวอานกระแส ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดของคา CAPACITANCE อันเนื่องมาจาก IMPEDANCE ของ VOLT METERกอนเสียบไฟเขา VARIAC ทุกครั้งใหระวังเรื่อง MARK ไฟใหดี เพราะถาสลับ MARK จะทําใหกระแสลัดวงจรได หลังจากเสียบไฟเขา ARIAC แลวคอยๆ เพิ่มแรงดนัขึ้นไป 200 V และใหใช SCALE ของ AMP METER อานคาประมาณหรือมากกวา 2 ใน 3 ของ SCALE

A V

AC. Supply 220 v.

Variac

Page 40: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 2/4

- คาที่ทดสอบไดจะตองไมเกนิ + 2 % ของ FACTORY TEST และจะตองอยูในชวง – 0 % ถึง + 15 % ของพิกัดดวย ไมวาจะเปน INTERNAL หรือ EXTERNAL FUSE

3.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 2.

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. ซ่ึงเปนการวัดคา INTERNAL DISCHARGE RESISTOR - โดยใชเครื่องมอื MEGGER ทําการทดสอบ โดยใชแรงดัน 2,500 VDC 1 นาที คาที่ทดสอบ

ได จะใกลเคยีงกันหมด ใน CAPACITOR TYPE เดียวกนั - คาที่ทดสอบได จะตองผิดพลาดไมเกิน 20 % เมื่อเทียบกบัคา NAME PLATE - ในกรณีที่ CAPACITOR เปนชนิดที่ไมมีขัว้ใดขัว้หนึ่งตอลงที่ตัวกระปอง และขั้วตอ

CAPACITOR มี ขนาดใกลเคียงกัน และใหญทั้งสองขั้วใหทําการทดสอบดังนี้ • โดยใชเครื่องมอื MEGGER ทําการทดสอบวัดคาขั้ว กับ ขั้ว ใชแรงดัน 2,500 VDC ที่ 1

นาที • โดยใชเครื่องมอื MEGGER ทําการทดสอบวัดคาโดยลัดวงจร 2 ขั้ว เทียบกับ GROUND • ใชแรงดัน 2,500 VDC ที่ 1 นาที ตามรูปที่ 3.

รูปที่ 3.

สายลัดวงจร

E G

MEGGER

E G

MEGGER

Page 41: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 3/4

4.1 การวัดคาความตานทานของ REACTOR รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. โดยใชวิธี DC. VOLT – AMP METHOD - ปอนไฟกระแสตรงใหแก REACTOR ประมาณ 20 % ของกระแสพกิดัของ REACTOR ถา

หากไม จํากัดกระแส อาจจะทําใหตวั REACTOR รอนและทําใหคาความตานทาน ทีว่ัดไดผิดพลาด

- บันทึกคา กระแส และแรงดนั นํามาคํานวณหาคาความตานทาน และบนัทึกคาอุณหภมูิและความชื้นสัมพทัธ เพื่อเปรียบคากับ FACTORY TEST ที่อุณหภูมิเดยีวกัน

5.1 การวัดคา IMPEDANCE ของ REACTOR รูปที่ 5.

Variac Current Transformer REACTOR

AC. Supply

DC. Supply REACTOR

Switch A

V

V A

CT.

Page 42: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 4/4

- ตอวงจรตามรปูที่ 5. โดยใชวิธี AC. VOLT – AMP METHOD - ปอนกระแสสลับ โดยพยายามใหถึงกระแสพิกัดของ REACTOR หรือสูงสุดของขีดจํากัด

ของเครื่องมือ สายวัดแรงดันตกครอม REACTOR พยายามใหส้ันที่สุด และไมควรเกนิ 2 เมตร ใหวัดทีข่ั้วของ REACTOR

- บันทึกคากระแส และ แรงดนั นํามาคํานวณหาคา IMPEDANCE โดยใชสูตรดังนี้ XL = V 2 - R2

I L = XL 314.159

- คา IMPEDANCE ที่คํานวณไดจะตองผิดพลาดไมเกิน – 0 % ถึง + 20 % ของพิกัด หรือพิจารณาจากคา FACTORY TEST

Page 43: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ POWER CABLE การทดสอบสามารถแบงขั้นตอนการทดสอบไดดังนี ้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASRUEMENT ) 3. การทดสอบความทนตอแรงดันสูงกระแสตรง ( DC. HIGH VOLTAGE TEST ) 4. การวัดคาความสูญเสียและ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทั่วๆไป วามส่ิีงผิดปกติหรือไม เชน POTHEAD หรือสวนประกอบอื่นใด มีรอย CRACK แตก บิ่น ชํารุด ฉีกขาด และใหสังเกตวา METALLIC SHEATH , METALLIC SHIELD , METALLIC ARMOR ตอลงดินแลว รวมทั้ง POTHEAD ควรอยูในสภาพที่แหงและสะอาด และ CABLE ไดปลดแยกจากอุปกรณที่ตอรวมแลว

2.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT )

- กอนทําการทดสอบ ตองทําการตอลงดิน CABLE ทุกเสนที่จะดําเนินการทดสอบ และอุปกรณขางเคยีงที่ไมเกีย่วของ

- แรงดันที่ใชในการทดสอบ 2,500 VDC เปนเวลา 1 นาที - ในการทดสอบใหทําการวัดทีละเสนเทียบกับสวนที่ตอลงดิน และเสนที่เหลือตอลงดิน - คาความตานทานกระแสตรงที่ยอมรับได ใหพิจารณาเปรยีบเทียบระหวางคาที่วัดไดในการ

ทดสอบคราวเดียวกัน ไมควรจะแตกตางกนัมาก โดยเฉพาะคาที่วดัไดหลังการทดสอบ ตองไมต่ํากวาคาทีว่ัดไดกอนการทดสอบ

3.1 การทดสอบความทนตอแรงดันสงูกระแสตรง ( DC. HIGH VOLTAGE TEST ) - กอนทําการทดสอบ ตองทําการตอลงดิน CABLE ทุกเสนที่จะทําการทดสอบ และอุปกรณที ่

อยู ขางเคียงทีไ่มเกี่ยวของ - ตองแยก CABLE ที่จะทดสอบ ออกหางจากเสนที่ยังไมทาํการทดสอบ เปนระยะทางไมนอย

กวา 1 นิ้วตอ 10 KV. ของแรงดันทดสอบ เพื่อปองกันการเกิด FLASH OVER และความคลาดเคลื่อนของคา LEAKAGE CURRENT จากสวนที่ไมเกี่ยวของ

- คาแรงดันที่ใชในการทดสอบ กําหนดไวดงันี้ • ตาม Standards IEC 840 / 1988

DC. Voltage test = 3Uo at 15 min.

Page 44: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 2/4

Rated nominal Voltage ( between conductors ) U

High Voltage for equipment ( between conductors ) Um

Value of Uo ( between conductor and screen ) Uo

KV KV KV 45 - 47 60 - 69 110 - 115 132 - 138 150 - 161

52 72.5 123 145 170

26 36 64 76 87

• ตาม Standards IEC 502 / 1983

DC. Voltage test = 2.5 * Uo * 2.4 at 15 min. Rated nominal Voltage KV.

Value of Uo KV.

Voltage test at 15 min. KV

1.0 3.3 - 3.6 6.6 - 7.2 11.0 - 12.0 17.5 22.0 - 24.0 33.0 - 36.0

0.6 1.8 3.6 6.0 8.7 12.0 18.0

8.4 15.6 26.4 36.0 52.8 72.0 108.0

• โดยทั่วไป ( กฟผ. )จะใช Standards IEC 502 / 1983 - ขณะเริ่มตนทดสอบจะตองปอนแรงดันไมเกิน 1.8 เทาของแรงดันทีก่ําหนด ( Phase to

Phase) ของ CABLE - การเพิ่มแรงดนัทดสอบจะตองเพิ่มในอัตราที่สม่ําเสมอ โดยไมเพิ่มจนถงึแรงดันทดสอบที่

กําหนดในเวลา 10 วินาท ีและไมชาจนถึงแรงดันทดสอบที่กําหนดในเวลามากกวา 60 วินาท ีหลังจากครบระยะเวลาทดสอบตามที่กําหนด ใหปรับชุดควบคุมแรงดันทดสอบ กลับไปที่

Page 45: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 3/4

ตําแหนงศนูย แลวรอจนระดบัแรงดันทดสอบลดต่ําลงกวา 3 KV. จึงปดเครื่องจายแรงดันกระแสตรง เปนการยืดอายุการใชงานของเครื่องมือใหยนืยาวขึน้

- CABLE ที่ทําการทดสอบควรมีคาอุณหภมูิใกลเคียงอุณหภูมิของอากาศ - CABLE ที่ถือวาทดสอบผาน จะตองไมเกดิการ Breakdown หรือ Terminal Flash over และ

คา Leakage current จะตองไมเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ทดสอบ 4.1 การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) - ใหทดสอบคา % PF ในตําแหนง Ground โดยเทียบกับสวนที่ตอลงดิน และเสนที่เหลือซ่ึงตอ

ลงดิน - ใหทดสอบที่แรงดันไมเกนิคาแรงดัน Phase to Ground ของ CABLE ในกรณ ีCABLE ที่

ทดสอบมีคาแรงดันที่กําหนด ( Phase to Ground ) ต่ํากวา 10 KV. - ใหทดสอบที่แรงดัน 10 KV. ในกรณ ีCABLE ที่ทดสอบมีคาแรงดันทีก่ําหนด ( Phase to

Ground ) ตั้งแต 10 KV. - บันทึกคาอุณหภูมิและความชืน้สัมพัทธของอากาศ - คา % PF ที่วัดไดสําหรับ CABLE ที่มีสภาพดีไมควรเกิน 0.1 % หากมีขอสงสัยให

เปรียบเทียบกบัขอมูลเดิมหรือระหวางผลการทดสอบในคราวเดยีวกนั ตลอดจนขอมูลของแตละบริษัทผูผลิต

4.2 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวนของ POTHEAD รูปที่ 1. - ใหวดัคาตามวธีิ SINGLE HOT COLLAR TEST ในตําแหนง GST ตามรูปที่ 1. - กอนดําเนินการทดสอบตองจัดให COLLAR แนบสนิทกับผิวของ POTHEAD เพื่อปองกัน

ความคลาดเคลื่อนของผลการทดสอบ เนื่องจากสภาพของหนาสัมผัสที่ไมสนิท หรือชองวางที่เกิดขึ้น และเพื่อเพิ่มความแมนยําของคากระแสที่วัดได สาย COLLAR ควรอยูในสภาพที ่

HOT COLLAR ENERGIZE

CONDUCTOR

Page 46: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 4/4

ตึงและยืน่ออกมานอยที่สุด รวมทั้งควรจดัสายปอนแรงดนัทดสอบ ( High Voltage Cable ) ใหอยูในตําแหนงทํามุม 900 กับแกนของ POTHEAD ดวย

- ใหแยกทําการทดสอบแตละ POTHEAD ใน 3 ตําแหนงคอื ตําแหนง ชวงบน กลาง และ ลาง ดังรูปที่ 2.

รูปที่ 2. - คาความสูญเสียทางฉนวนที่ยอมรับได ใหพิจารณาเปรยีบเทียบระหวางผลทดสอบในคราวเดียวกันหรือจากขอมูลเดิม โดยทั่วไปควรมีคาไมเกิน 0.10 Watt

บน

กลาง ลาง

Page 47: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DISCONNECTING SWITCH

QI11-09-R0-01/05/50 1/2

การทดสอบ DISCONNECTING SWITCH การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) 3. การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ DISCONNECTING SWITCH ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดู สภาพภายนอกโดยทัว่ไปวามี ส่ิงผิดปกติหรือไม เชน Porcelain แตก บิ่น หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box วามีสาย Wiring หลุดหลวม หรือ Terminal มีรอยแตก หรือไม

2.1 การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง MEGGER โดยใชแรงดันในการทดสอบ 2,500

VDC. ทดสอบเปนเวลา 1 นาที - วิธีการทดสอบโดย Energize ที่ตัวใบมีด เทียบกับGround - บันทึกคาที่ทดสอบไดลงในตารางทดสอบ

MEGGER

Page 48: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DISCONNECTING SWITCH

QI11-09-R0-01/05/50 2/2

การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 2. - ตอวงจรตามรปูที่ 2. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบประกอบดวย DC. Voltmeter , DC. Ammeter , DC. Power

supply หรือจะใชเครื่องมือทดสอบ Micro ohmmeter - วิธีการทดสอบการวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส DS. ดวยวิธี Drop of potential โดย

การปอนกระแส 100 Amp. DC. แลววัดคา Volt นํามาคํานวณหาคาความตาน โดยใชสูตร R = V I - วิธีการทดสอบโดยใชเครื่อง Micro ohmmeter วัดคาโดยตรง โดยทําการปอนกระแส 100

Amp. DC. แลวอานคาความตานทานจากเครื่องทดสอบไดเลย - บันทึกคาที่ทดสอบไดลงในตารางดังนี ้

Measuring point Phase 1 - 2 3 - 4 1 - 4

A B C

- คาที่ทดสอบได ตองใกลเคียงกับคา Factory test

MICRO OHM

Page 49: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 1/7

การทดสอบ GROUNDING SYSTEM การวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน ( GROUNDING RESISTANCE MEASUREMENT ) แบงลําดับขั้นตอนการทดสอบไดดังนี ้1. หาระยะของเสนทะแยงมุมที่ยาวที่สุดของพื้นที ่Grounding System ที่จะทําการวดั เชน ตามรูปที่ 1.

ระยะของเสนทะแยงมุมที่ยาวที่สุดก็คือระยะ AD 2. พิจารณาหาแนวของระยะ Current electrode ที่จะสามารถดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบ

ตอลงดินดวย Fall of potential method ตามวิธีการในขอ 6. ถาไมสามารถดําเนินการตามวิธีดังกลาว ใหดําเนินการดวย Slope method ตามวิธีการในขอ 7.

3. การวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน ใหดําเนินการโดยใชวิธี Ammeter – Voltmeter กลาวคือ ทําการจายกระแสที่ทราบคา ( ซ่ึงอานจาก Ammeter ) จากแหลงจายไฟที่จัดเตรียมขึน้ ลงดินผานทาง Current electrode แลววดัคาแรงดันที ่Potential electrode ตามตัวอยางวงจรดังรูปที่ 2.

รูปที่ 2.

PE

Ground mesh

CE

AC. Supply

D / T Switch S

C

B

E

รูปที่ 1.

D

O OO O

O O

A V

1 2

Variac & Current transformer

Page 50: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 2/7

วิธีการทดสอบ ซ่ึงมีขั้นตอนในการดําเนนิการทดสอบ เพื่อหาคาความตานทานของระบบตอลงดิน ดังนี ้- สับ Double throw switch อยูที่ตําแหนง “ 1 ” และบันทึกคาแรงดันที่ปรากฏที่ Voltmeter ( V0 ) - สับ Switch “ S” และปรับ Variable Voltage ใหอานคากระแสทดสอบในวงจรจาก Ammeter ไม

นอยกวา 10 Amp. อานคาแรงดัน ( V1 ) แลวลด Variable Voltage ลงมาที่ “ 0 ” จึงทําการปลด Switch “ S ”

- สับ Double throw switch อยูที่ตําแหนง “ 2 ” และบันทึกคาแรงดันที่ปรากฏที่ Voltmeter ( V0 ) - สับ Switch “ S ” และปรับ Variable Voltage ใหอานคากระแสทดสอบในวงจรจาก Ammeter ไม

นอยกวา 10 Amp. อานคาแรงดัน ( V2 ) แลวลด Variable Voltage ลงมาที่ “ 0 ” จึงทําการปลด Switch “ S ”

- นําคาที่ทดสอบไดมาคํานวณดังนี ้ VT = V1 + V2 + V0 2 R = VT I

• หมายเหต ุ; ในกรณีเติมพกิัดของแหลงจายไฟ อาจชวยเพิม่กระแสทดสอบ ไดโดย / ปก Current electrode ใหลึกเพิ่มขึ้น / เทน้ํารอบ Current electrode / ปก electrode เพิ่มขึ้น และตอใหถึงกับ Current electrode เดิม

4. จุดอางอิง แทนระบบตอลงดิน ที่จะทําการวัด ( จุด E ) ใหใชจดุตอลงดนิของรั้วรอบสถานีไฟฟานัน้ จุดใดจุดหนึ่ง โดยตองทดสอบจุดอางอิงนัน้กอนวา มีความตอเนื่องถึงกันกับระบบตอลงดินที่จะทาํการวัดนั้น

5. การปก Current electrode และ Potential electrode ตองลึกลงไปในดนิ ไมนอยกวา 50 cm. และตองไมปกลงในบริเวณที่มีความชื้นในดนิสูง เชน ริมสระน้ํา รวมทั้งแนวของระยะ Rod ที่ปกตองตั้งฉาก กับแนวของสายสงไฟฟา ที่ตอเชื่อมสถานีไฟฟา (แตถาไมสามารถปฏิบัติได ใหเบี่ยงเบนไปจากแนวนี้ได แตตองไมทับไปตามแนวของสายสงไฟฟา )

6. วิธีการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินดวย Fall of potential method มีรายละเอียดดังนี ้6.1 ปก Current electrode หางจดุ E เปนระยะทางประมาณ 4 เทา ของความยาวของเสนทะแยงมุมที่

ยาวที่สุด ของพื้นที่ของระบบตอลงดินที่จะทําการวดั 6.2 ปก Potential electrode หางจากจุด E เปนระยะทาง 61.8 % ของระยะทางตามขอ 6.1 โดยใหอยู

ระหวางจุด E และ Current electrode และอยูในแนวเสนตรงเดียวกันตามรูปที่ 3.

Page 51: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 3/7

รูปที่ 3. 6.3 ดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินตามวธีิการในขอที่ 3. 6.4 หลังจากนัน้ยาย Potential electrode ไปปกในทิศทางตรงกนัขามกับแนวระยะ EC โดยหางจาก

จุด E เปนระยะทางตามขอที่ 6.2 แตถาไมสามารถปก Potential electrode ไดในแนวดงักลาว ใหเบี่ยงเบนไปจากแนวดังกลาวไดไมเกนิ 90 o ตามรูปที่ 4.

P * * * * C รูปที่ 4. 6.5 ดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินตามวธีิการในขอที่ 3. อีกครั้ง เพื่อเก็บเปน

ขอมูล ประกอบการอางอิง

E P *

E P C 61.8 %

4 เทา

Station grid

Potential electrode Current electrode

61.8 % 4 เทา Potential electrode Current electrode Station grid

แนวเบี่ยงเบนไมเกิน 90 o

Page 52: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 4/7

6.6 คาความตานทานของระบบตอลงดินที่ทําการวัด มีคาเทากับคาของความตานทานของระบบ ตอลงดินที่วัดได ตามขอที่ 6.3

7. วิธีการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินดวย Slope method มีรายละเอียดดังนี ้

รูปที่ 5. 7.1 ปกCurrent electrode หางจากจุด E เปนระยะทางประมาณ 2 – 3 เทา ของความยาวของดานที่

ยาวที่สุดของพื้นที่ของระบบ ตอลงดินที่จะทําการวดั 7.2 ปก Potential electrode หางจากจุด E เปนระยะทางเทากบั 0.2 , 0.4 , 0.6 ของระยะทางตามขอที่

7.1 7.3 ดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน ตามวิธีการในขอที ่3. ของแตละ ระยะ

Potential electrode โดยให R1 คือ ความตานทานของระบบตอลงดินที่ Potential electrode 0.2 EC R2 คือ ความตานทานของระบบตอลงดินที่ Potential electrode 0.4 EC R3 คือ ความตานทานของระบบตอลงดินที่ Potential electrode 0.6 EC 7.4 คํานวณหาคา µ (Change of Slope of the resistance / Distance curve ) จากขอมูลในขอที ่7.3โดย µ = R3 – R2 R2 – R1

Current electrode PPotential electrode Station grid

E

2 –3 เทา 0.6 EC

0.4 EC

0.2 EC

P P P C

Page 53: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 5/7

7.5 จากคา µ ที่คํานวณไดตามขอที่ 7.4 ใหนําไปหาคาความสัมพันธของระยะ Potential electrode ที่แทจิรง ( PT ) กับระยะหางของ Current electrode ( C ) จากตาราง เนื่องจากทราบระยะ C ดังนั้นยอมสามารถหาระยะ PT ได

Values of PT / C for various values of µ PT / C µ PT / C µ PT / C µ PT / C µ PT / C

0.40 0.643 0.64 0.607 0.88 0.566 1.12 0.514 1.36 0.445 0.41 0.642 0.65 0.606 0.89 0.564 1.13 0.512 1.37 0.441 0.42 0.640 0.66 0.604 0.90 0.562 1.14 0.509 1.38 0.438 0.43 0.639 0.67 0.602 0.91 0.560 1.15 0.507 1.39 0.434 0.44 0.637 0.68 0.601 0.92 0.558 1.16 0.504 1.40 0.431 0.45 0.636 0.69 0.599 0.93 0.556 1.17 0.502 1.41 0.427 0.46 0.635 0.70 0.597 0.94 0.554 1.18 0.499 1.42 0.423 0.47 0.633 0.71 0.596 0.95 0.552 1.19 0.497 1.43 0.418 0.48 0.632 0.72 0.594 0.96 0.550 1.20 0.494 1.44 0.414 0.49 0.630 0.73 0.592 0.97 0.548 1.21 0.491 1.45 0.410 0.50 0.629 0.74 0.591 0.98 0.546 1.22 0.488 1.46 0.406 0.51 0.627 0.75 0.589 0.99 0.544 1.23 0.486 1.47 0.401 0.52 0.626 0.76 0.587 1.00 0.542 1.24 0.483 1.48 0.397 0.53 0.624 0.77 0.585 1.01 0.539 1.25 0.480 1.49 0.393 0.54 0.623 0.78 0.584 1.02 0.537 1.26 0.477 1.50 0.389 0.55 0.621 0.79 0.582 1.03 0.535 1.27 0.474 1.51 0.384 0.56 0.620 0.80 0.580 1.04 0.533 1.28 0.471 1.52 0.379 0.57 0.618 0.81 0.579 1.05 0.531 1.29 0.468 1.53 0.374 0.58 0.617 0.82 0.577 1.06 0.528 1.30 0.465 1.54 0.369 0.59 0.615 0.83 0.575 1.07 0.526 1.31 0.462 1.55 0.364 0.60 0.614 0.84 0.573 1.08 0.524 1.32 0.458 1.56 0.358 0.61 0.612 0.85 0.571 1.09 0.522 1.33 0.455 1.57 0.352

Page 54: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 6/7

0.62 0.610 0.86 0.569 1.10 0.519 1.34 0.452 1.58 0.347 0.63 0.609 0.87 0.567 1.11 0.517 1.35 0.448 1.59 0.341

7.6 ในกรณทีี่คา µ ที่คํานวณไดตามขอที่ 7.4 มีคามากกวาที่ระบุในตาราง ใหเพิ่มระยะของ Current electrode แลวดําเนนิการหาคา µ ใหม ตามวิธีการในขอที่ 7.2 ถึง 7.4 7.7 ใหปก Potential electrode ที่ระยะ PT แลวดําเนนิการวัดคาความตานทานของระบบตอ ลงดิน ตามวิธีการในขอที่ 3. อีกครั้ง 7.8 ดําเนินการตามรายละเอียดในขอที ่7.1 ถึง 7.7 โดยเพิ่มระยะของ Current electrode จาก ระยะแรกที่ กําหนดขึน้ จนทําใหคาความตานทานของระบบตอลงดินที่ไดตามขอที่ 7.7 ไมลดลง เมื่อเพิ่มระยะของ Current electrode ซ่ึงคาความตานทานของระบบตอลงดินที่ ไดก็คือความตานทานจิรงของระบบตอลงดิน ที่ทําการวัด 7.8.1 บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธ ของอากาศ ตลอดจนสภาพดิน และผัง แสดงตําแหนงของบริเวณทีท่ําการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน 7.8.2 คาความตานทานของระบบตอลงดินที่วัดได ควรมีคาไมเกิน 1 ohm.

Page 55: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 7/7

Page 56: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบGROUNDING CONNECTION RESISTANCE

QI11-11-R0-01/05/50 1/1

การวัดคา GROUNDING CONNECTION RESISTANCE รูปที่ 1. - ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบประกอบดวย DC. Voltmeter , DC. Ammeter , DC. Power

supply หรือจะใชเครื่องมือทดสอบ Micro ohmmeter - วิธีการทดสอบการวัดคาความตานทานของ Grounding Connection ดวยวิธี Drop of

potential โดยการปอนกระแส 100 Amp. DC. แลววัดคา Volt นํามาคํานวณหาคาความตาน โดยใชสูตร R = V I - วิธีการทดสอบโดยใชเครื่อง Micro ohmmeter วัดคาโดยตรง โดยทําการปอนกระแส 100

Amp. DC. แลวอานคาความตานทานจากเครื่องทดสอบไดเลย - บันทึกคาที่ทดสอบไดลงในตาราง - คาที่สามารถยอมรับได โดยคํานวณไดดังนี้ P = I²R

โดยให P = 100 W I = Rated Current ของอุปกรณไฟฟา

MICRO OHM

Page 57: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER

QI11-12-R0-01/05/50 1/3

การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER ( MCB ) การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) 3. การวัดคาชวงเวลาเปด ( TIME TRIP ) 4. การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) เปนการสาํรวจดูสภาพ ภายนอก

โดยทั่วไป วามีส่ิงผิดปกติหรือไม 2.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง Megger ใชแรงดัน 500 VDC. โดยทําการวัด ขั้ว

เทียบกับ ขัว้ และ ขั้วเทียบกบั CASE ใชเวลา 1 นาท ี- คาที่ทดสอบได ตองมากกวา 5 Mag. Ohm

3.1 การวัดคาชวงเวลาเปด ( TIME TRIP ) แบงขั้นตอนการทดสอบออกไดดังนี ้ 3.1.1 การทดสอบ Time Trip ที่ 200 % ของ Rated Current 3.1.2 การทดสอบ Time ที่ 100 % ของ Rated Current • การทดสอบ Time Trip ท่ี 200 % ของ Rated Current

รูปที่ 1. - ตอวงจรตามรปูที่ 1. - ทําการ ON MCB. ปอนกระแส ที่ 200 %ของ Rated Current แลวจับเวลาที่ Trip ของ

MCB. โดยทําการทดสอบทีละ pole - เมื่อ MCB. pole ที่ทดสอบ Trip รอใหเย็นกอน แลจึงทําการทดสอบ pole ที่เหลือตอไป - คาที่ทดสอบไดใหนํามาเทียบกับ Time curve ของบริษัทผูผลิต

Variac & Current transformer

A

TIME

MCB

AC. Power Supply

Page 58: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER

QI11-12-R0-01/05/50 2/3

- ถาไมมีคา Time curve ใหใชคาตามตารางดังนี้

Rated Current ( Amp ) Time Trip / pole ( min. ) 0 – 30 2 31 – 50 4 51 – 100 6 101 – 225 8 226 – 400 10 401 – 600 12

• การทดสอบ Time ท่ี 100 % ของ Rated Current รูปที่ 2. - ตอวงจรตามรปูที่ 2. - ทําการ ON MCB. ปอนกระแสที่ Rated Current ของอุปกรณ แชทิ้งไว เปนเวลา 2 ช่ัวโมง

MCB. จะตองไม Trip 4.1 การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTACT

MEASUREMENT ) - ตอวงจรตามรปูที่ 3. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ ประกอบดวย DC. Ammeter ; DC. Voltmeter ; DC. Power

Supply - โดยการปอนกระแส DC. แลววดัคา Vlot นํามาคํานวณหาคาความตานทาน R = V I

Variac & Current transformer

A MCB

AC. Power Supply

Page 59: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER

QI11-12-R0-01/05/50 3/3

A

V DC. Power Supply

MBC.

รูปที่ 3.

Page 60: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ DISTANCE RELAY (21) การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบไดดังนี ้1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวา ไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC. Supply ของ Relay ที่สงมาวา

ตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual , Maintenance

manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพยีงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Zone characteristic ทุกชนิด และทกุ Zone ที่มีในตวั Relay เชน Zone 1, 2 , 3 ,4 , starting โดยแตละ Zone ให

ทดสอบตามขอกําหนดตอไปนี้ 9.1 Test ตั้งแตมุม 0 – 360 º ทุกๆ 15 º 9.2 Test single line to ground fault AG , BG , CG 9.3 Test phase to phase fault AB , BC , CA 9.4 Test three phase fault ABC 9.5 Test คา Operating time ของแตละ Zone โดยปอน Fault impedance ใหอยูที่ 50% ของ Zone ที่ Test และ

จะตอง Test ที่คา Setting time delay ตางๆกัน โดย set ที่ Minimum , Medium และ Maximum setting range ของตัว Relay 9.5.1 ถา Relay สามารถ set time ใน Zone Instantaneous ไดเชน Zone 1 ตองตรวจสอบวา time ที่ set จะไม

มีผลตอ time delay ของ Zone อ่ืนๆ หรือ Function อ่ืนๆ เชน ใน Relay LFZR พบวา เมื่อ set tz1 จะมีผลทําให trip time ใน Function อ่ืนๆมี Delay time เพิ่มขึน้ ตามคาของ tz1 ไปดวย

9.5.2 ในการ Test operating time ของ Relay จะตองตรวจสอบดวยวาถูกตองตาม Specification 1002 และ 1005 ในหวัขอ 1002-34 สําหรับระบบ 115 KV หัวขอ 1002-29 สําหรับระบบ 230 KV และหัวขอ 1005-20 สําหรับระบบ 500 KV

โดยในหัวขอ 1002-34.1 ระบุวา “ Operating time ของ Distance Relay จะขึ้นอยูกับ ตําแหนงที่เกิด Fault ในกรณทีี่ คา SIR < 20 และ ตําแหนงที่เกิด Fault อยู 50% ของRelay setting Reach คา Operating time ของ Relay จะตองมีคาไมเกนิ 30 ms.” ( 115 KV )

Page 61: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 2/4

หัวขอ 1002-29.1.1.1 ระบุวา “ Operating time ของ Distance Relay จะขึ้นอยูกับ ตําแหนงที่เกิด Fault ในกรณทีี่ คา SIR < 10 และ ตําแหนงที่เกิด Fault อยู 50% ของRelay setting Reach คา Operating time ของ Relay จะตองมีคาไมเกนิ 25 ms.” ( 230 KV ) หัวขอ 1005-20.1.1 ระบุวา “ Operating time ของ Distance Relay จะตองไมเกิน 20 ms.

9.6 ตองตรวจสอบวา Zone แตละ Zone ในตัว Relay ทํางานเปนอิสระตอกัน กลาวคือ ถา Zone 1 ไมทํางาน Zone 2 , Zone 3 ยังคงทํางานตาม Characteristic และคา Operating time ที่ได set ไว การตรวจสอบในหัวขอนี้ เนื่องจากมกีารพบใน Relay MICOM P442 เมื่อ On ทุก Zone แลวทดลองปอน Fault ใน Zone 1 พบวา Zone 2 และ Zone 3 จะถูก Block และเมื่อปอน Fault ใน Zone 2 พบวา Zone 3 จะถูก Block

9.7 ตรวจสอบดูวาผลการ Test อยูใน accuracy ที่ บริษัทผูผลิตระบุมา และเปนคาที่ยอมรบัได 9.8 จะตองมีการตรวจสอบวา ถามี Fault ทุกชนดินอก Zone Relay จะตองไมทํางาน สามารถทําการทดสอบไดโดย

On ทุก Zone เขาใชงานแลวทดลองปอน Fault ที่ประมาณ 110-200% ของ Zone ที่ใหญที่สุด โดยให Test เร่ิมจาก 110% แลวเพิ่มขึ้น Step ละ 10% จนถึง 200% แลวตรวจสอบวา Relay จะตองไมทาํงานดวย Zone การ Test ใหหวัขอนี้เพื่อปองกันไมให Relay ทํางาน Trip ผิดแบบที่เคยเกดิใน Relay LFZR ที่ทํางานผิดโดย Trip Zone 1 เมื่อเกดิ Fault นอก Zone (ประมาณ 130-150% ของ Zone นอกสุด)

9.9 ตรวจสอบดูวาถามี Harmonic current ที่ 3 , 5 เขามาเปนสวนประกอบประมาณ 10% ของ Fundamental (50 Hz) Relay ยังคงทํางานถูกตอง โดยเมื่อเกดิ Fault ใน Zone Relay ตองทํางานได และเมื่อเกิด Fault นอก Zone Relay ตองไมทํางาน การ Test หัวขอนี้เพือ่ปองกันไมให Relay ทํางาน Trip ผิดจาก Harmonic current แบบที่เกิดใน Relay ของ Hitachi ที่ทํางาน Trip นอก Zone เมื่อมี Harmonic current

10. การ Test power swing 10.1 ตองทําการ Test แบบ 3 Phase หรือ Phase to Phase ตาม Manual เพื่อตรวจสอบ Characteristic ของ Power swing 10.2 Zone หรือ ขอบของ power swing 10.3 Test time ในการ detect power swing 10.4 Test function ในการ Block ของ Power swing ทุก Function setting ( ตรวจสอบการ Block หรือ ไม Block ตาม setting 10.5 ตรวจสอบดูการ Block วาจะ Block จนกวา Impedance ของ Power swing จะเคลื่อนที่ออกนอก Zone หรือมีการ Block เทากับ time ที่อยูใน Logic หรือ Time ตามคา Setting 10.6 สําหรับ Power swing ที่ Set ใหมกีาร Detect โดยใชขอบของ Power swing รวมกับ Zone ตองตรวจสอบ วา Relay สามารถตรวจจับ Power swing ไดทุกทิศทาง ( ทั้ง 4 Quadrant )

11. การ Test function switch on to fault ( Line pick up , close in to fault ) 11.1ตองทําการตรวจสอบการทํางานของ Switch on to Fault ทุก Function เชน Level Detector , Zone Comparator , Manual close , Breaker auxiliary contact และ Line dead 11.2 ตรวจสอบการทํางานของ Switch on to fault รวมกบั Level detector และ Zone และ Manual

Page 62: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 3/4

11.3 ตรวจสอบ Output ตางๆที่ออกมาจาก Function Switch on to fault เชน Trip , Block recloser , Initate recloser 11.4 Test time ใน function นี้ - Operation time - Enable time และ Reset time ของ Function

12. การ Test trip on recluse ในกรณีที่ Relay มี Function นี้แยกกับ Switch on to fault นี้ ตองทดสอบการทํางาน ของ Function ตาม Logic ดวย 12. Test Distance scheme logic ตองทําการ Test ทุก scheme logic ที่มี ดังตอไปนี ้

13.1 Extension scheme มีหวัขอที่ตอง Test ดังตอไปนี้ - Trip time - การยืด Zone และ การ Reset ของ Zone Extension 13.2 Loss of Load Accelerated scheme มีหัวขอที่ตอง Test ดังตอไปนี ้ - Trip time - Test หาคาของ Current Level Detector ที่ทํางานรวมกับ Loss of Load - Test Function การทํางานตาม Scheme Logic 13.3 Permissive Under reach Transfer Trip (PUTT) หัวขอที่ตอง Test ดังนี ้ - Trip time - การสง Carrier และการ Trip จาก การรับ Carrier - Time delay drop – off ของ Carrier receive - Test ผลของการ Off carrier ซ่ึงจะทําใหมี Function การ Trip แบบ Basic scheme 13.4 Permissive Overreach Transfer Trip (POTT) - Trip time - การสง Carrier และการ Trip จาก การรับ Carrier - Test time delay pickup (TP) และ Time delay drop – off (TD) ที่ใชใน Function Current Reversal Guard

- Test ผลของการ Off carrier ซ่ึงจะทําใหม ีFunction การ Trip แบบ Basic scheme - Test function breaker open echo scheme - Test function weak infeed (WEI) โดยในการ Test ใหตรวจสอบคาของ Under voltage ที่นํามาใชใน Function นี้ดวย 13.5 Blocking scheme

- Trip time - การสง Carrier และการ Block Trip จาก การรับ Carrier - Time delay drop - off (TD) ที่ใชใน Current Reversal Guard

Page 63: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 4/4

- Test ผลของการ Off carrier ซ่ึงจะทําให Relay มี Function การ Trip แบบ Basic scheme 14. Test Directional Earth Fault (DEF) - Test directional angle (Polarize) ของ Function นี้ - Trip time - Test การทํางานของ DEF scheme logic แบบ POR พรอมทั้ง Current Reversal Guard ดวย - Test การทํางานของ DEF scheme logic แบบ Blocking พรอมทั้ง Current Reversal Guard ดวย - Test การทํางานวาเมื่อมีการ off carrier DEF จะตองทํางานแบบ DEF delay โดยมี Delay time ตามที่ set 15. Test Function Voltage Transformer Supervision (VTS) - Voltage หาย 1 Phase โดยตรวจสอบคาของ Vo > , Io < หรือ Vph < ที่ทําใหเกดิ V-fail - Voltage หาย 3 Phase ตรวจสอบระดับของ Voltage 3 Phase ที่ทําใหเกิด V-fail (ในกรณทีี่ Relay สามารถตรวจสอบ V-fail แบบ 3 Phase ได)

- Test delay ในการ Alarm และ Block ของ Function นี ้- ตรวจสอบ Function ในการ Block ของ V-fail วาสามารถทําการ Block ไดตามที่ manual ระบุ

16. Line Fault locator ทําการทดสอบไดโดย - Test ทุก Phase และ ทุก Fault type - Test โดยปอน Fault ที่ 80% และ 100% ของ Line Impedance หมายเหต ุ

- สําหรับการ Test Fault Location สําหรับ Fault แบบ Single Line to Ground (SLG) Fault ใหทําการ Test ผลของ Manual Compensation (Zmo) ดวย - ผลการ Test ตองอยูใน accuracy ที่ระบุใน manual ของ Relay

17. Disturbance recorder - ตรวจสอบคา Time หรือ Cycle ของ Pre Fault , Fault และ Post fault วาตรงตามคาที่ Set ไว - ตรวจสอบการ Trig จาก External และ Internal - ตรวจสอบการแสดงผลของ Voltage , Current และ Angle วามีคาถูกตองตามคาที่ปอน 18. Function Test - Test Function การ Trip จาก Function ตางๆ ในตัว Relay ทุก Function เชน Zone 1, Zone 2, Zone 3 PUTT , POTT, Blocking , Zone Extension , Switch on to fault , DEF และอื่นๆ - Test การทํางานรวมกับ Recloser เชน การ Trip – reclose , การ Trip – Reclose - Lockout

Page 64: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LINE CURRENT DIFFERENTIAL RELAY(87L)

QI11-14-R0-01/05/50 1/2

การทดสอบ Line Current Differential Relay (87L) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. สําหรับ Line Current Differential Relay การสง Relay ให กฟผ. ทดสอบจะตองสง Relay อยางนอย 2 ตัว

พรอมอุปกรณเชื่อมตอระบบสื่อสาร เชน Fiber Optic เพื่อที่ กฟผ. จะสามารถทําการทดสอบ Relay ใหเหมือนสภาพใชงานจริงได

10. ในคูมือการ Test ตองแสดงวิธีการ Test Slope ของ Relay ดวย 11. การ Test Minimum pickup current ตองทําการ Test ทุก Phase และใหทดลองปอน 2nd Harmonic ผสมเขาไป

ดวยแลวตรวจสอบดูวา Pickup Current (Fundamental Current) ยังคงเทาเดิม 12. การ Test Slope ใหทําการ Test ทุก Phase ที่คา Maximum , Minimum และ Medium Setting range ในกรณีที่

Relay มี Slope หลายชวงใหทําการ Test ชวงละ 2 จุด 13. Loop Test (ใช Relay 2 ตัว สงสัญญาณรับ- สงกันเหมือนสภาพใชงานจริง) 14. ปอน Current แบบ External Fault ที่คา Rated current ของ Relay โดยใช Current source ชุดเดยีวปอน Relay

ทั้ง 2 ตัว ตรวจสอบวา Relay จะตองไมทํางาน 15. ปอน Current แบบ Internal Fault ตรวจสอบดูวา Relay ทํางาน 16. ทดลองปลดสายสื่อสารระหวาง Relay แลวตรวจสอบวา Relay Block Trip ไดหรือไม 17. Test Operating Time ของ Relay ที่คา 120% และ 150% ของ pickup current (ทั้งแบบมี Bias และ ไมมี Bias)

โดยการ Test นี้ใหทําการ Test ที่คา Setting ตางๆ ดวย คอื Maximum , Minimum และ Medium Setting range 18. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 65: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LINE CURRENT DIFFERENTIAL RELAY(87L)

QI11-14-R0-01/05/50 2/2

19. ในกรณีที่ Relay มี Function อ่ืนมาดวย ตองทําการ Test ทุก Function โดยยดึวิธีการ Test ตามขอกําหนดของ Relay แตละชนิด

Page 66: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ TRANSFORMER DIFFERENTIAL RELAY(87K)

QI11-15-R0-01/05/50 1/2

การทดสอบ Transformer Differential Relay (87K) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Minimum Pickup Current ทุก Phase ทุก Winding

หมายเหตุ ระหวางการ Test ใหตรวจสอบดูวาคา Metering ที่ Relay แสดงที่หนาจอดวย (ถามี) 10. การ Test Slope ให Test โดยทําการปอน Fault ทุกชนิด ทุก Phase ที่คา Maximum , Minimum และ

Medium Setting range ในกรณีที่ Relay มี Slope หลายชวง ใหทาํการ Test ชวงละ 2 จุด สําหรับ Vector ที่จะ Set ระหวาง Test คือ Vector Group ที่มี Phase Shift 0 นาฬิกา , 1 นาฬิกา และ 11 นาฬกิา โดยจะตอง Test ทุก Vector Group

11. ทดลองปอน Fault ทุกชนิด ทุก Phase แบบ Through Fault แลวตรวจสอบดูวา Relay จะไมทํางาน 12. การ Test Harmonic Blocking ทั้ง Harmonic ที่ 2 และ 5 ใหทําการ Test หาคา Pickup ของ% Harmonic Blocking

โดยปอน Harmonic Current ผสมกับ Fundamental แลวตรวจสอบดูวา Relay จะ Block เมื่อมี Harmonic Current เปนปริมาณทีม่ากกวาคาที่ Set ไว

ในกรณีที่ Relay มีการ Block Inrush Current โดยการ Check Zero Crossing ก็ใหทดลองปอน Signal ที่มี Zero Crossing นอยกวาคา Zero Crossing Detector ของตัว Relay จะตองไม Block แตถาปอน Signal ที่มี Zero Crossing มากกวาคา Zero Crossing ของตัว Relay ตรวจสอบวา Relay จะสามารถ Block ได 13. Test Operating Time ของ Relay ที่คา 120% และ 150% ของ Pickup Current (ทั้งแบบมี Bias และไมมี

Bias) โดยใหทําการ Test ที่คา Maximum , Minimum และ Medium Setting range ถา Relay มี Instantaneous Unit ก็ใหทําการ Test Operating Time ของ Instantaneous Unit ดวย

Page 67: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ TRANSFORMER DIFFERENTIAL RELAY(87K)

QI11-15-R0-01/05/50 2/2

14. ตรวจสอบ Fault record (ถามี) ดวยวาขอมูลที่แสดงถูกตองหรือไม 15. ในกรณีที่ Relay มี Function อ่ืนดวย ตองทําการ Test ทุก Function โดยยึดวิธีการ Test ตามขอกําหนดของ

Relay แตละชนิด 16. ในกรณีที่ Relay มีการ Set คา Current Transformer Ratio Correction ใหตรวจสอบความถูกตองของ CT. Ratio

Correction ที่คา Maximum , Minimum และ Medium Setting 17. ในกรณีที่ Relay มีการ Set คา KV ใหทดลอง Test Pickup Current ที่คา KV ตางๆ โดยคา KV ที่ Set จะเปนคาที่

สอดคลองกับ Transformer ที่ใชใน กฟผ. คือ 230/115/22 KV , 500/230/22 KV , 115/33 KV , 115/11 KV 18. ตรวจสอบ Function การ Cross Block ระหวาง Phase ตอนเกิด Harmonic Block ดวย

Page 68: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ BUS DIFFERENTIAL RELAY(87B)

QI11-16-R0-01/05/50 1/3

การทดสอบ Bus Differential Relay (87B) High Impedance Bus Differential Relay การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup voltage unit ทุก Phase ที่คา Minimum , Medium และ Maximum setting 10. Test pickup current และตรวจสอบ Burden ของ Relay 11. Test Operating Time ที่คา Medium Setting โดยใหปอนคา Voltage ที่ 120% และ 150% ของคา Setting 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. Test Varistor , Nonlinear resistor หรือ Metrosil โดยปอนคา Voltage และวัด Current แลวเปรียบเทยีบ คาไดกับ

Characteristic Curve โดยจะตองมี Accuracy ตามที่คูมือกําหนด 14. ตรวจสอบวา Relay จะไมทาํงานผิดเมื่อมคีวามถี่อ่ืนผสมเขามา โดยเฉพาะ Harmonic ที่ 3 15. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 69: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ BUS DIFFERENTIAL RELAY(87B)

QI11-16-R0-01/05/50 2/3

Low Impedance Bus Differential Relay

การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ของทุก Unit เชน I start , I diff (Relay บางชนิดมี Current Unit 2 ชุด คือ Starting Unit และ

Differential Unit) โดย Test ทุก Phase ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ

10. Test slop ทุก Phase ที่ Minimum , Medium และ Maximum Setting ในกรณีที่ Relay มี Slope หลายชวงใหทําการ Test ชวงละ 2 จุด

11. ทดลองปอน Fault แบบ External fault ทุกชนิดตรวจสอบวา Relay ไมทํางาน 12. Test Status Input ของ Relay เชน DS status , Breaker fail initiate ตรวจสอบวา Relay , มี Function การทํางานที่

ถูกตอง ตาม Status Input 13. ตรวจสอบวงจร Input – Output ของ Current เชน การ Switching Current จะตองถูกตองตาม Status ของ DS

และไม Trip ผิดระหวาง Switching 14. Test Operating Time โดยปอน Current ที่คา 120% และ 150% ของ Pickup current (ในกรณีที่ Operating Time

สามารถ Set ไดใหทําการ Test ที่ Medium setting range ของ time delay) 15. Test Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 16. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 70: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ BUS DIFFERENTIAL RELAY(87B)

QI11-16-R0-01/05/50 3/3

Page 71: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OVER CURRENT RELAY(50/51)

QI11-17-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Over Current Relay (50/51) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Time Characteristic Curve ทุก Phase ทุก Characteristic โดย Test Dial (หรือ TMS) ที่คา Minimum ,

Medium และ Maximum และ Test curve ละ 3 จุด ที่คา 2 เทา และ 4 เทา ของ pickup current 11. Test pickup current ของ Instantaneous Unit ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม 14. ในกรณีที่ Relay ระบุวาสามารถ Set ใหทํางานเฉพาะที่ Fundamental current (50 Hz) เทานั้น ใหตรวจสอบ

คุณสมบัตินี้ดวย

Page 72: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DIRECTIONAL GROUND OVER CURRENT RELAT (67N)

QI11-18-R0-01/05/51 1/2

การทดสอบ Directional Ground Over current Relay (67N) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Time Characteristic Curve ทุก Phase ทุก Characteristic โดย Test Dial (หรือ TMS) ที่คา Minimum ,

Medium และ Maximum และ Test curve ละ 3 จุด ที่คา 2 เทา และ 4 เทา ของ pickup current 11. Test pickup current ของ Instantaneous Unit ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม 14. ในกรณีที่ Relay ระบุวาสามารถ Set ใหทํางานเฉพาะที่ Fundamental current (50 Hz) เทานั้น ใหตรวจสอบ

คุณสมบัตินี้ดวย 15. Test Directional Unit

15.1 ตรวจสอบวา Relay มี Polarize แบบ Zero Sequence Voltage , Negative Sequence Voltage หรือ Current Polarize

15.2 Test pickup sensitivity ของ polarize วาตรงตามคาที่ setting หรือ ตามที่ manual ระบุ 15.3 Test หาคา Operating angle และ Maximum torque angle โดยการปอน polarize และปอน Operating

current ที่ 1.5 เทา ของ pickup current แลวกวาดมุมหาคา Operating angle 16. ในกรณีที่เปน Direction Earth fault ที่มี Scheme Teleprotection ใหทําการ test function ของ scheme ดวย

Page 73: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DIRECTIONAL GROUND OVER CURRENT RELAT (67N)

QI11-18-R0-01/05/51 2/2

16.1 Test trip time 16.2 การสง Carrier และการ trip จากการรับ Carrier 16.3 Test time delay pickup และ time delay drop off ที่ใชใน Function current reversal guard

17. Test ผลของการ off carrier ซ่ึงจะทาํให Relay มีการ trip แบบ time delay overcurrent

Page 74: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OVER VOLTAGE RELAY(59) และ UNDER VOLTAGE RELAY (27)

QI11-19-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Over voltage relay (59) และ Under voltage relay (27) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup voltage ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. ในกรณีที่ Relay มีการทํางานเปนแบบ time curve ใหทาํการ Test ทุก Characteristic ทุก Phase โดยตั้งคา time

dial ไวที่คา Minimum , Medium และ Maximum ทําการ test curve ละ 3 จุดที่คา 120% , 130% , 140% ของคา pickup voltage สําหรับ Overvoltage relay และที่คา 80% , 70% , 60% ของ pickup voltage สําหรับ Undervoltage relay

11. ในกรณีที่ Relay มีการทํางานแบบ Definite time ใหทําการ test operating time ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range

12. ตรวจสอบการทํางานของ Relay เมื่อมีความถี่อ่ืนแทรกเขามา โดยเฉพาะ Harmonic ที่ 3 13. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 14. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 75: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ RECLOSER RELAY (79)

QI11-21-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Recloser Relay (79) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Dead time ทั้งแบบ Single pole และ Three pole ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Reclaim time หรือ Reset time ที่คา Minimum , Medium และ Maximum setting range 11. Test timer อ่ืนๆ ที่สามารถทําการ test ไดเชน Closing pulse และ Discriminating time 12. Test Function การทํางานของ Recloser ทุก Function โดยใช mini – breaker จําลองใหเหมือนกับสภาพใชงานจิ

รงใหมากที่สุด 13. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 14. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 76: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบSYNCHRONIZING CHECK RELAY (25)

QI11-22-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Synchronizing check Relay (25) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่

สงมาวาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพยีงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทุก Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting

Configuration ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ของ Different Voltage , Different Angle , Slip Frequency และ Under voltage (ใน

Function Sync – check ) ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Time ใน Function Sync – check ที่คา Minimum , Medium และ Maximum 11. Test คา Dead Level และ Hot (Live) Level ของทั้ง Bus และ Line ถา Setting ไดให test ที่คา Minimum ,

Medium และ Maximum Setting range 12. Test การทํางานของ Function voltage check เชน Bus Hot – Line Dead , Bus – Line Hot , Bus Dead –

Line Dead 13. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 14. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 77: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OUT OF STEP RELAY (68)

QI11-23-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Out of Step Relay (68) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Zone Characteristic ของ Out of Step ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Function การทํางานของ Out of Step block ใหตรวจสอบวาสามารถ block แตละ Zone ได ทุก Zone 11. Test Time ในการ block และ time ในการ check วาเปน Power Swing 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 78: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 1 /12

การทดสอบ หมอแปลงไฟฟา ( POWER TRANSFORMER ) การทดสอบ แบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) 3. การวัดคากระแสลัดวงจร ( SHORT CIRCUIT CURRENT ) 4. การวัดอัตราสวนของขดลวดไฟฟา ( RATIO TEST ) 5. การวัดคาความตานทานของขดลวดไฟฟา ( WINDING RESISTANCE ) 6. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE ) 7. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS ) 8. การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT ) 9. การทดสอบคาความเปนฉนวนของน้ํามันหมอแปลง ( INSULATION TEST OF

TRANSFORMER OIL ) 10. การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาและกระแสขณะไรภาวะ ( NO LOAD TEST ) 11. การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาขณะลัดวงจร ( PERCENT IMPEDANCE AND LOAD

LOSS TEST ) 12. การทดสอบ BUSHING CT. ( BCT. TEST ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

กอนที่จะทําการทดสอบหมอแปลง ดวยวิธีการใชเครื่องมือตรวจวดัคาตางๆนั้น ใหทําการสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไปวามีส่ิงใดผิดปกติหรือไมดังรายการตอไปนี ้- ARCING HORN - LIFTING LUGS - THERMOMETER POCKET - TAP CHANGER - OIL INLET - OIL-LEVEL GAUGE - OIL-CONSERVATOR - DEHYDRATING BREATHER - RADIATOR - NAME PLATE - OIL DRAIN VALVE - MARKER PLATE - CAPACITY PLATE

Page 79: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 2 /12

- EARTHING TERMINAL - TERMINAL MARKING (ANSI) - OIL LEAK - CRACK BUSHING

2.1 การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT )

รูปที่ 1. คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดงันี้ ถาขดลวดทดสอบมีแรงดันพิกดัตั้งแต 1 KV. ขึ้นไป ใหทดสอบดวยแรงดนั 200 V. ถาขดลวดทดสอบมีแรงดันพิกดันอยกวา 1 KV. ลงมา ใหทดสอบดวยแรงดัน 50 V. วิธีการทดสอบ

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - ปรับคาแรงดันตามที่กําหนดใหถูกตอง อานคากระแสและแรงดนั - ในกรณีที่หมอแปลงตอแบบ STAR (Y – CONNECTION ) และมีขั้ว NEUTRAL อยู

ภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO NEUTRAL แตถาไมมขีั้ว NEUTRAL อยูภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO LINE

- ใหทําการวัดทกุ TAP และทกุ PHASE ของหมอแปลงเรยีงตาม PHASE SEQUENCE การวัดคากระแสกระตุนนี ้เปนการตรวจสอบดูวาขดลวดมีการลัดวงจร หรือแกนเหลก็มีสภาพที่ผิดปกติหรือไม

x A

A X0 X1 H1 X2 H2 X3 H3

V

A

Transformer

1 – Phase AC. Supply

Page 80: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 3 /12

3.1 การวัดกระแสลัดวงจร ( SHORT CIRCUIT CURRENT )

รูปที่ 2. - ตอวงจรตามรปูที่ 2. และลัดวงจรอีกดานหนึ่งของหมอแปลงใหถูกตองตาม VECTOR

GROUP - การทดสอบทําที่ TAP แรงดันสูงสุดของหมอแปลงทั้งสองดาน และใหระบ ุTAP ที่

ทดสอบไวในแบบฟอรมดวย - ใหทําการวัดทกุ PHASE ของหมอแปลงเรยีงตาม PHASE SEQUENCE - สายลัดวงจรควรใชสายที่มีพกิัดกระแสขนาดมากกวา 200 A. หรือมากกวา 70 sq.mm. และ

มีหนาสัมผัสการยึดที่ดแีละแนน - ความคลาดเคลื่อนของกระแสที่วัดไดตองมีคาผิดพลาดไมเกิน 2 % ( เมื่อเทียบกับคากระแส

ที่วัดไดในการตรวจรับที่ระดบัแรงดันเดียวกัน ) - ในกรณีที่หมอแปลงตอแบบ STAR ( Y- CONNECTION ) และไมมีขัว้ NEUTRAL อยู

ภายนอก ไมตองทดสอบในหัวขอนี ้

X3 X2

H3

H1 X1

H2

X0 X1 H1 X2 H2 X3 H3

A

V

1 – Phase AC. Supply

Page 81: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 4 /12

4.1 การวัดคาอัตราสวนของขดลวดไฟฟา ( RATIO TEST )

รูปที่ 3. - ตอวงจรตามรปูที่ 3. - การวัดคาอัตราสวนของขดลวดไฟฟาโดยใชเครื่องมือ TRANSFORMER TURN RATIO

TESTER - การทดสอบดวยเครื่องมือนี ้ยังเปนการชวยตรวจสอบความถูกตองของ POLARITY และ

VECTOR ดวย - ใหทําการวัดทกุ TAP และทกุ PHASE ของหมอแปลง เรียงตาม PHASE SEQUENCE - ความคลาดเคลื่อนของคาที่วัดไดตองไมเกิน + 0.5 % เมื่อเทียบกับคาอัตราสวนจาก NAME

PLATE 5.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด (WINDING RESISTANCE )

รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - กระแสที่ทดสอบไมควรเกิน 15 % ของกระแสพิกดั ( RATED CURRENT ) - สับ SWITCH และรอจนกวาเข็มอานคากระแสไมเปลี่ยนแปลง แลววัดแรงดันครอม

ขดลวด ทดสอบที่ขั้วของหมอแปลง หลังจากนั้นจึงอานคากระแสและแรงดันพรอมกนั - กอนปลด SWITCH ตองปลด VOLTMETER ออกจากวงจรกอน

Transformer Turn Ratio Tester

12 / 120 v 12/120 v

X2

X1

H2

H1

Switch

A H0 X0 H1 X1 H2 X2 H3 X3

V

DC. Supply

H1c H1p X1 X2 H2p H2c

~ Transformer

12/120 v

Page 82: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 5 /12

- ในกรณีที่หมอแปลงตอแบบ STAR ( Y- CONNECTION ) และมีขั้ว NEUTRAL อยูภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO NEUTRAL แตถาไมมขีั้ว NEUTRAL อยูภายนอก ใหวดัคาแบบ LINE TO LINE

- สําหรับขดลวดที่มี TAP ปรับระดับแรงดนัใหทําการวัดคาที่ทุกๆ TAP ในแตละ PHASE จนเสร็จสิ้นกอน โดยเริ่มจาก TAP แรงดันต่ําสุดหรือสูงสุดแลวจึงเปลีย่นไปวัดคาใน PHASE อ่ืนเรยีงตาม PHASE SEQUENCE

- จดคาอุณหภูมขิองขดลวดระหวางการทดสอบ โดยวดัจากอุณหภูมิของน้ํามัน - ความคลาดเคลื่อนของคาความตานทานทีว่ัดไดไมควรเกิน 2 % เมื่อเทียบกับคาทดสอบจาก

โรงงาน ( FACTORY TEST ) ที่อุณหภูมิเดียวกัน 6.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANEC )

รูปที่ 5.

- ตอวงจรตามรปูที่ 5. ใหลัดวงจรที่ขั้วในแตละชุดของหมอแปลงเขาดวยกันเพื่อที่จะใหแรงดันทดสอบมีคาเทากันในแตละ PHASE

- ถาขดลวดมีแรงดันพิกดั 2500 Vac. ขึ้นไปใหทดสอบที่แรงดัน 2500 Vdc. และคํานวณคา PI. ถาขดลวดมีแรงดันพกิัดนอยกวา 2500 Vac. ลงมา ใหทดสอบที่แรงดัน 1000 Vdc. และไมตองคํานวณคา PI.

- คาความตานทานฉนวนที่วัด ใหเปนคาระหวางขดลวดที่ทดสอบกับตัวถังโลหะ และขดลวดที่เหลือตอลงดิน

- จดคาอุณหภูมขิองขดลวด อากาศและความชื้นสัมพัทธ คา POLARIZATION INDEX ( PI. ) คืออัตราสวนความตานทานฉนวนที่ 10 นาท ีตอ1 นาที

-

X0 H1 X1 H2 X2 H3 X3

G E

Transformer Megger

Page 83: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 6 /12

- คา PI. สามารถใชตรวจสอบดูสภาพหมอแปลง ใหพจิารณาดังนี ้

สภาพ PI อันตราย เลว นาสงสัย พอใช ดี

นอยกวา 1.0 1.0 - 1.1

> 1.1 - 1.25 > 1.25 - 2.0 มากกวา 2.0

- สําหรับหมอแปลงที่มีการตอแกนเหล็ก ( CORE ) ลงดินภายนอกตวัถัง ใหปลดสายที่ตอลง

ดินออก และวดัความตานทานฉนวนระหวางแกนเหล็ก ( CORE ) เทียบกับตัวถังและดิน ดวยแรงดันทดสอบ 1000 V.

7.1 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS ) รูปที่ 6.

- การวัดคาความสูญเสียที่เกิดขึ้นเนื่องจากกระแสรั่วไหล ( LEAKAGE CURRENT ) ผานฉนวนของอุปกรณ โดยแสดงคาออกมาในรูปของ POWER FACTER ( PF ) โดยใชเครื่องมือที่เรียกวา DOBLE TEST

- วิธีการทดสอบ ใหทําการทดสอบตาม TEST FORM ที่แนบมา ตามชนดิของหมอแปลง - จดคาอุณหภูมขิองน้ํามัน อากาศและความชื้นสัมพัทธ

AC. Supply 220 V.

H1 H2 H3

DOBLE

X0 X1 X2 X3 Transformer

H1 H2 H3

Page 84: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 7 /12

- คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้ แรงดันที่พกิดัของขดลวด คาแรงดันทดสอบ 2 - 5 KV 5 - 10 KV > 10 KV

2.5 KV 5 KV 10 KV

- วิธีคํานวณคาจากเครื่อง DOBLE TEST % PF = Watt *100 V I - คา % PF ที่อุณหภูม ิ20 o C สําหรับตัดสินสภาพของหมอแปลง ดูไดจากตารางดังนี ้

สภาพ ชนิด

เลว ( % PF )

นาสงสัย ( % PF )

ดี ( % PF )

POWER TRANSFORMER ( OIL FILLED )

> 1.0 0.5 – 1.0 < 0.5

DIST. TRANSFORMER ( OIL FILLED )

> 2.0 2.0 – 1.0 < 1.0

DRY TYPE

>5.0 2.0 – 5.0 < 2.0

ASKAREL

> 10.0 0.5 – 10.0 < 0.5

- ในกรณีหมอแปลงใหม คา % PF ไมควรเกิน 1.5 เทา ของคาทดสอบจากบริษัทผูผลิต - คาตัวประกอบแกไขสําหรับเปลี่ยนคา % PF ณ. อุณหภูมติางๆ เพื่อเทียบคาที่อุณหภูม ิ

20 o C ใหดไูดจากตาราง และควรใชอุณหภูม ิTOP OIL เปนหลัก

Page 85: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 8 /12

ตารางคาตัวประกอบแกไขสําหรับการวัดคา % PF ของหมอแปลง ที่ อุณหภูมิ 20 o C C F MULTIPLIERS 0 32.0 1.56 1 2 3 4

33.8 35.6 37.4 39.2

1.54 1.52 1.50 1.48

5 41.0 1.46 6 7 8 9

42.8 44.6 46.4 48.2

1.45 1.44 1.43 1.41

10 50.0 1.38 11 12 13 14

51.8 53.6 55.4 57.2

1.35 1.31 1.27 1.24

15 59.0 1.20 16 17 18 19

60.5 62.6 64.4 66.2

1.16 1.12 1.08 1.04

20 68.0 1.00 21 22 23 24

69.8 71.6 73.4 75.2

0.96 0.91 0.87 0.83

25 77.0 0.79 26 27 28 29

78.8 80.6 82.4 84.2

0.76 0.73 0.70 0.67

30 86.0 0.63 31 32 33 34

87.8 89.6 91.4 93.2

0.60 0.58 0.56 0.53

35 95.0 0.51 36 37 38 39

96.8 98.6 100.4 102.2

0.49 0.47 0.45 0.44

40 104.0 0.42

7.2 การวัดคาความสูญเสีย และคา % PF ทางฉนวนของ BUSHING - กอนทําการทดสอบคา % PF ใหทําการทดสอบคาความตานทานฉนวนกระแสตรง - วัดคา % PF ในตําแหนง UST เมื่อ BUSHING มี TEST TAP และวัดคา % PF ในตําแหนง

GROUND เมื่อ BUSHING ไมมี TEST TAP

Page 86: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 9 /12

- คา % PF ที่วัดไดสําหรับ CONDENSER BUSHING ชนิด OIL IMPREGNATED PAPER ที่มีสภาพด ีไมควรเกิน 1% ที่อุณหภูม ิ20 o C

- ใหเทยีบคา CAPACITANCE ที่วัดได กับ NAME PLATE ไมควรเกิน 10 % 8.1 การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดันสงู (HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT )

- เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือเครื่องวัดคา % PF ( DOBLE TEST ) - ใหทําการวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง ของหมอแปลงเพียงดานเดียว - ใหทําการวัดคาที่ TAP แรงดันสูง - ใหทําการทดสอบตามหัวขอกําหนดดังนี ้

HIGH VOLTAGE EXCITATION CURRENT TESTS

SINGLE PHASE THREE – PHASE WYE ENERGIZE UST ENERGIZE UST PHASE H1 H2 ( or H0 ) H1 H0 A H2 ( or H0 ) H1 H2 H0 B H3 H0 C THREE PHASE DELTA THREE PHASE AUTO ENERGIZE UST GROUND PHASE ENERGIZE UST PHASE H1 H2 H3 A H1 H0X0 A H2 H3 H1 B H2 H0X0 B H3 H1 H2 C H3 H0X0 C

9.1 การทดสอบคาความเปนฉนวนของน้าํมันหมอแปลง ( INSULATION TEST OF TRANSFORMER OIL ) สําหรับหมอแปลงไฟฟาที่ใชน้ํามันไฮโดรคารบอน เปนฉนวนไฟฟา มีรายละเอยีดการทดสอบ ดังนี ้ 9.1.1 การทดสอบคาความแข็งแรงเชงิกําบังไฟฟาของน้ํามนัหมอแปลง (DIELECTRIC STRENGTH OF TRANSFORMER OIL )

- ใหทดสอบตามมาตรฐาน ASTM D1816 และ / หรือ D877 - ใหระมดัระวังการสุมตัวอยาง และภาชนะบรรจุน้ํามันตองสะอาด

Page 87: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 10 /12

- น้ํามันที่ทําการทดสอบควรมีคาอุณหภูมิใกลเคียง อุณหภมูิของอากาศ - คาความแข็งแรงเชิงกําบังไฟฟาของน้ํามันหมอแปลง ในสภาพใหมและสะอาด ตาม

มาตรฐาน ASTM ใหพจิารณาดังนี ้ D 1816 GAP SETTING 1 mm. คาความคงทนมากกวา 28 KV. D 1816 GAP SETTING 2 mm. คาความคงทนมากกวา 56 KV. D 877 คาความคงทนมากกวา 30 KV.

9.1.2 การทดสอบคา % PF ของน้าํมันหมอแปลง ( % PF OF TRANSFORMER OIL ) - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบคือ DOBLE TEST - ใหระมดัระวังการสุมตัวอยาง และภาชนะบรรจุน้ํามันตองสะอาด - คา % PF ที่ไดจากการทดสอบ ใหพิจารณาดังนี ้

สภาพของน้ํามนั % PF ที่อุณหภูม ิ20 o C

คุณภาพดีและใหม คุณภาพด ี สภาพนาสงสัย สภาพเลว

< 0.05 % < 0.5 % 0.5 – 2.0 % > 2.0 %

- ใหจดคาอุณหภูมิของน้ํามันที่ทดสอบ

10.1 การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟา และกระแสขณะไรภาระ (NO LOAD TEST ) - ในกรณีหมอแปลงเล็กที่มีแรงดันขดลวดดานใดดานหนึ่งประมาณ 400 V. ใหตอวงจรวัดคา

แบบใช TWO – WATT METHOD - ในกรณีหมอแปลงใหญที่มีแรงดันขดลวดสูงกวา 1000 V. ใหตอวงจรวัดคาแบบใช

THREE – WATT METHOD - ในกรณีทดสอบโดยใชหมอแปลง STEP – UP ( 400 V./ 22,000 – 33,000 V. )ใหตอขัว้

NEUTRAL ของหมอแปลงลงดิน - ใหปรับ TAP ของขดลวดหมอแปลง ทดสอบที่คาแรงดันพิกัดที่ระบุไวใน NAME PLATE

ของหมอแปลง - กอนทําการทดสอบ ในกรณีที่ม ีBCT. อยูภายในหมอแปลง ใหลัดวงจร BCT. ลงดิน - ใหจดคาอุณหภูมิของขดลวดหมอแปลง ขณะทดสอบและอุณหภูมิของน้ํามันหมอแปลง

Page 88: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 11 /12

- วัดคากระแส แรงดัน และWATT เพื่อเทียบคากับ SPECIFCATION เนื่องจากมาตรฐาน ANSI C57. 12. 00 – 1980 กําหนดคาความคลาดเคลื่อนของ NO LOAD LOSS สําหรับหมอแปลง SINGLE PHASE และ THREE PHASE ตองไมเกิน +10 %

- ในกรณีที่ไมสามารถปอนแรงดันทดสอบไดเทากับพกิัด ใหทดสอบที่แรงดันสูงสุด เทาที่ จะสามารถทําการทดสอบได

- หลังจากปอนแรงดันทดสอบใหกับหมอแปลงแลว ให ENERGIZED ทิ้งไวไมต่ํากวา 15 นาที และ ให สังเกตสิ่งผิดปกติ

- ขั้วของหมอแปลงที่จะทดสอบ ไมควรตอรวมกับ BUS หรืออุปกรณใดๆ - คากระแสไรภาระ ใหเทยีบกบัคา GUARANTEE ของผูผลิต ในกรณีทีม่ิไดระบุไว

คากระแสไรภาระไม ควรเกนิ 2.0% ของขนาดพิกดั OA ของหมอแปลง 11.1 การวัดคาความสูญเสียกําลังไฟฟาขณะลัดวงจร ( PERCENT IMPEDANCE AND LOAD LOSS TEST )

- ปรับ TAP ของขดลวดใหตรงกับ BASE ของ IMPEDANCE ที่กําหนดไวใน NAME PLATE ทั้งสองดาน และระบุ TAP ที่ทดสอบไวใน FORM TEST

- การลัดวงจรควรใชสายไฟฟา หรือ BUS ทองแดงที่มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของกระแสลัดวงจร

- กอนทําการทดสอบ ในกรณีที่หมอแปลงมี BCT. อยูภายใน ใหทําการลัดวงจร BCT. ลงดิน - ใหจดคาอุณหภูมิของขดลวด และอณุหภมูิของน้ํามันหมอแปลง กอนทําการทดสอบ - วัดคากระแส แรงดัน และWATT จาก METER เพื่อเทียบคาจาก SPECIFICATION และ

จากมาตรฐาน ANSI C57.12. 00 –1980 กําหนดคาความคลาดเคลื่อนของ TOTAL LOSS ตองไมเกิน +6 %

- คา % IMPEDANCE ที่อุณหภูมิทําการทดสอบ คํานวณไดจาก % IZ = Vsc ( line ) * ( MVA ) base * 100 Isc 3 * ( KV ) 2 base - ใหจดอุณหภูมขิองขดลวด หลังจากการทดสอบเพื่อเปรียบเทียบคาอุณหภูมิของขดลวดที่

อานกอนที่จะทําการทดสอบ โดยคาความแตกตางของคาทั้งสองตองนอยกวา 5 o C - สําหรับหมอแปลงแบบ 3 – WINDING และ AUTO คาความคลาดเคลื่อน ตองไมเกิน +10

% เมื่อเทียบกบั SPECIFICATION และหมอแปลงหลายตัวที ่DESIGN เดียวกันตองมีคา % IMPEDANCE ตางกันไมมากกวา 10 %

- สําหรับหมอแปลงไฟฟาแบบ 2 – WINDING ซ่ึงมีคา % IMPEDANCE มากกวา 2.5 % คาความคลาดเคลื่อน + 7.5 % เมื่อเทียบกับ SPECIFICATION และคา % IMPEDANCE นอยกวา 2.5 % คาความคลาดเคลื่อน + 10.0 % เมื่อเทียบกับ SPECIFICATION และหมอแปลง

Page 89: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบหมอแปลงไฟฟา (POWER TRANSFORMER)

QI11-01-R0/05/50 12 /12

หลายตัวที ่DESIGN เดียวกนัตองมีคา % IMPEDANCE ตางกันไมมากกวา 7.5 % ในกรณีที่ไมสามารถหาคาที่กําหนดจาก SPECIFICATION อนโุลมใหใชคาทีก่ําหนด ใน NAME PLATE

12.1 การทดสอบ BUSHING CT. ( BCT. TEST ) - การทดสอบคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ใหทําการลัดวงจรของขดลวดในแตละชุด

เมื่อทําการ ทดสอบขดลวดชุดใด ให GROUND ชุดที่เหลือ โดยทดสอบดวยแรงดนักระแสตรง 1000 V. ระยะเวลาทดสอบ 1 นาที

- การวัดคากระแสกระตุน ตอวงจรตามรูปที ่7. รูปที่ 7. - กอนทําการทดสอบ ตองทําการ DEMAGNETIZE BCT. - ทําการวัดทกุๆตัว และเปรียบเทียบคาที่ไดใน CLASS - การหาจุด KNEE – POINT หาจากกราฟลักษณะสมบัติของ กระแสกระตุนกับ แรงดนัที่

ปอน - การวัดคาอัตราสวนของขดลวด BCT. โดยใชเครื่องมือ TRANSFORMER TURN RATIO

TEST - สําหรับ BCT. ที่มีหลาย TAP ใหทําการวัดคาอัตราสวนของขดลวด BCT. ทุก TAP

Transformer Step up X2

A

V BCT.

X1

AC. Supply 220 v.

Page 90: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 1/5

การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER การทดสอบ แบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

2 การวัดคาชวงเวลาเปดและปด ( TIMING TEST ) 3. การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานฉนวน ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT 5. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR )

1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) เปนการสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทั่วไป วามี ส่ิงผิดปกติหรือไม

2.1 การวัดคาชวงเวลาเปดและปด ( TIMING TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ TM 1600 TIMING TEST SET - คาที่ทําการทดสอบ ดังนี้

CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70 VDC. ) CLOES และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. ) C – O OPERATION ( TRIP FREE ) ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. )

- ถาเปน HYDRAULIC จะทําการทดสอบดงันี้ MINIMUM PRESSURE • CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. )

CRICUIT BREAKER

TM1600

Page 91: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 2/5

• CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70 VDC. )

• CLOSE และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. ) RATED PRESSURE • CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70

VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. ) • C – O OPERATION ( TRIP FREE ) ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) MAXIMUM PRESSURE • CLOSE และ TRIP ที่ RATED VOLTAGE ( 125 VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MINIMUM VOLTAGE ( CLOSE 90 VDC. TRIP 70 VDC. ) • CLOSE และ TRIP ที่ MAXIMUM VOLTAGE ( 140 VDC. )

- คาที่ทดสอบได ควรไมเกินคาที่บริษัทผูผลิตกําหนดไว หรือใชคาโดยทั่วไป คือ TRIPPING TIME ประมาณ 20 – 60 ms. CLOSING TIME ประมาณ 100 – 120 ms. - คาระหวาง PHASE ถาบริษัทผูผลิตไมไดกําหนด ใหแตกตางไดไมเกิน 10 ms.

3. 1 การวัดคาความตานทานของหนาสัมผสั ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT )

รูปที่ 2.

CRICUIT BREAKER

1 2

A

V

Page 92: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 3/5

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ DC. VOLTMETER , DC. AMMETER , DC. POWER

SUPPLY หรือ ใช เครื่องมือทดสอบ MICRO OHMMETER - วิธีการทดสอบตามรูปที่ 9. เปนการวดัคาความตานทาน ของหนาสัมผัสของ CIRCUIT

BREAKER ดวยวิธี DROP OF POTENTIAL โดยการปอนกระแส 100 Amp. DC. แลววัดคา VOLT. นํามาคํานวณหาคาความตานทาน R = V

I - วิธีการทดสอบโดยใช MICRO OHMMETER วัดคาโดยตรง โดยปอนกระแส 100 Amp.

DC. แลวอานคาจากเครื่องไดเลย - คาที่ทดสอบได ตองใกลเคียงกับคา FACTORY TEST

4.1 การวัดความตานทานฉนวน ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 3.

- ตอวงจรตามรปูที่ 3. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง MEGGER โดยทดสอบตามตารางขางลางนี้

ENERGIZED GROUND 2,500 VDC. At 1 min. 1 2 บันทึกคาที่ทดสอบ 2 CASE บันทึกคาที่ทดสอบ

ENERGIZED

CRICUIT BREAKER

MEGGER

1 2

Page 93: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 4/5

- คาที่ทดสอบได ตองไมต่ํากวา 10,000 M. ohm. สําหรับ VACUUM CIRCUIT BREAKER

- คาที่ทดสอบได ตองไมต่ํากวา 1,000 M. ohm. สําหรับ OIL CIRCUIT BREAKE และ GAS CIRCUIT BREAKER

5.1 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR ) รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ INSULATION POWER FACTOR TEST หรือเรียกวา

เครื่อง DOBLE TEST - วิธีการทดสอบทําตามตารางทดสอบที่แนบมา - คาที่ทดสอบได คา Watt loss ควรไมเกิน 0.05 Watt. สําหรับ VACUUM CIRCUIT

BREAKER - สําหรับ OIL CIRCUIT BREAKER คา Watt loss ในแตละ Phase ของ Part เดียวกัน ตอง

ตางกันไมเกิน 20 % - สําหรับ GAS CIRCUIT BREAKER คา Watt loss ตองไมเกิน 0.02 W. หรือ 20 mW.

กรณีถาเกินขอใหบริษัท ผูผลิตชี้แจงเหตุผลในแตละสัญญาไป โดยไมตอง ช้ีแจงทุกครั้งที่พบ เมื่อพบครั้งแรกใหช้ีแจงมา เมื่อพบคา Watt loss ที่ทดสอบครั้งตอไป ถือคําชี้แจงครั้งแรกเปนเหตุผลจนครบสัญญา

- ในกรณีที่ม ีGrading Capacitor ตอครอมอยูดวยใหพิจารณาดังนี้

CIRCUIT BREAKER

DOBLE

Page 94: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CIRCUIT BREAKER

QI11-02-R0-01/05/50 5/5

• คา Watt loss ตองไมเกิน 1. Watt. โดยที่ทดสอบในสภาพตอครอมกับ Interrupter Unit

• คา Capacitance ตองตางกันไมเกิน 10 % • ถามีขอสงสัยใหปลดแยกวัดทีละสวน

Page 95: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 1/7

การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบไดดังนี ้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) 3. การทดสอบขั้ว ( POLARITY TEST ) 4. การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) 5. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 6. การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT ) 7. การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ CT. ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ไปวามี ส่ิงผิดปกติหรือไม เชน Porcelain แตก บิ่น , Oil ร่ัวซึม หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box ดานขดลวดกระแสต่ํา และใหสังเกตวาตัวถังตอลงดินแลว

2.1 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - ปอนกระแสที่ทดสอบทางดานกระแสแรงสูง ตองไมนอยกวา 10 % ของกระแส Full Tap - วัดคากระแสทางดานกระแสแรงต่ําดวย AMMETER สวนชุดที่ยังไมไดวัดคาใหลัดวงจร - บันทึกคาที่วดัได ลงในแบบฟอรม - คาความคลาดเคลื่อนของคาอัตราสวนของขดลวด ควรมีคาไมเกิน + 2 % ที่ full winding และ +

5 % ที่ Tap section เมื่อเทียบกับคาอัตราสวนจาก NAME PLATE

Variable Auto transformer CT.

Reference CT.

X1

H1

H2 X2 Loading Transformer

A

A

AC. Supply

H1 X1

Page 96: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 2/7

2.2 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) ดวย Transformer ratio tester

รูปที่ 2.

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. เปนการทดสอบดวย Transformer ratio tester โดยวดั Ratio , Polarity และ Phase deviation เฉพาะ Full winding สวน Tap winding ใหวดั Ratio โดยการวัดแรง ดันตกครอมแตละ Tap เปรียบเทียบกบัแรงดันที่ตกครอมตามอัตราสวน - คาแรงดันทดสอบสําหรับ Relaying CT. ใหทดสอบที่แรงดัน 120V. สวน Metering CT. ให

ทดสอบที่แรงดัน 12V. (เฉพาะเครื่อง Transformer ratio tester รุน TR800) - ในกรณีที่ทดสอบดวยแรงดัน 12V. แลวกระแสเกนิพิกดัของเครื่องทดสอบ ใหทดสอบ Ratio

ดวย Current method - ความคลาดเคลื่อนของคาอัตราสวนของขดลวด Full winding อานไดจากเครื่องทดสอบสวน

ความคลาดเคลื่อนของคาอัตราสวนของขดลวด Tap winding คํานวณไดจากสูตร Vt = Vf x Ratio (tap)

Ratio (full)

%ε = Vm - Vt x 100 Vt เมื่อ %ε = ความคลาดเคลื่อนของอัตราสวนของขดลวด (%) Vt = คา Voltage ตามอัตราสวนของขดลวด Vf = คา Voltage ที่อานไดจาก Full winding Ratio (tap) = คาอัตราสวนของขดลวดที่ Tap winding ที่ตองการวัด (เชน 200 : 5 = 200) Ratio (full) = คาอัตราสวนของขดลวดที่ Full winding (เชน 1200 : 5 = 1200) Vm = คา Voltage ที่อานไดจากการทดสอบที่ Tap winding ที่ทําการวัด - ความคลาดเคลื่อนอัตราสวนของขดลวดที่ทดสอบได ควรมีคาไมเกนิ+ 2% ที่ Full winding และ + 5% ที่ Tapped winding เมื่อเทียบกับคาอตัราสวนจาก Nameplate

Page 97: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 3/7

3.1 การทดสอบขั้ว ( POLARITY TEST ) รูปที่ 3.

- ตอวงจรตามรปูที่ 3. - สับ Switch เข็มของ Meter จะตองตีขึ้น - ปลด Switch เข็มของ Meter จะตองตีลง - แสดงวาขัว้ถูกตอง เรียกวา Subtractive Polarity - บันทึกคาลงในแบบฟอรม

1.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT )

- เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ DC. Power supply , DC. AMMETER , DC. VOLTMETER หรือทดสอบโดยใช OHM METER ที่มีความละเอยีดสงู

- ปอนกระแส DC. เขาที ่Terminal ดานกระแสแรงต่ํา ที่ Tap full ประมาณ 1 milli – Amp วัดคา Volt แลวนํามาคํานวณ หาคาความตานทาน

- โดยใช OHM METER วัดคาที่ Terminal โดยตรง - บันทึกคาลงในแบบฟอรม - คาความคลาดเคลื่อน ตองไมเกิน 2 % จากคาของ Factory test

-

+

Secondary

S S

1.5 VDC.

Primary Secondary

mA or mV

Current Transformer

Page 98: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 4/7

5.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - ใหลัดวงจรของขดลวด ในแตละชุด ดานกระแสต่ํา - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

• ขดลวดดานกระแสสูง ใหทดสอบดวยแรงดนั 2,500 VDC. ที่ 1 นาที • ขดลวดดานกระแสต่ํา ใหทดสอบดวยแรงดนั 1,000 VDC. ที่ 1 นาที

- ความตานทานฉนวนกระแสตรงที่วัด ใหเปนคาระหวาง ขดลวดที่ทดสอบกับตัวถัง และขดลวดที่ เหลือซ่ึงตอลงดิน

- ใหทดสอบตามตารางตอไปนี้

TEST CONNECTION DC. Meg. Ohm. REMARK ENERGIZED GROUND VOLT. ( 1 MIN. ) HV LV ( ALL ) 2,500 LV ( V ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( W ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( X ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( Y ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000 LV ( Z ) HV + LV ( REMAINDER ) 1,000

- คาความตานทานฉนวนกระแสตรง ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้ • ขดลวดดานกระแสสูง ( HV ) ตองไมต่ํากวา 1,000 Meg. Ohm.

H1 H2

Current Transformer

GROUND

ENERGIZED

X1

MEGGER

Page 99: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 5/7

• ขดลวดดานกระแสต่ํา ( LV ) ตองไมต่ํากวา 10 Meg. Ohm. 6.1 การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT ) รูปที่ 5.

- ตอวงจรตามรปูที่ 5. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือเครื่อง Insulation Power Factor test set หรือที่เรียกวาเครื่อง

Doble test - ใหลัดวงจรของขดลวด ดานกระแสต่ํา ทุกชุดเขาดวยกนั - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

แรงดันที่กําหนดของขดลวดแรงสูง ( KV ) แรงดันทดสอบ ( KV ) 3 – 5 5 – 10 > 10

2.5 5 10

Current Transformer

H1 H2

AC. Supply 220 V.

X1 DOBLE

Page 100: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 6/7

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังตอไปนี ้

Test Connections Current ( m ) Watts Ener. GST GSTg UST

Test KV Avg. Avg.

%PF Cap.

HV LV 10

HV LV 10

- บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ - ผลการทดสอบในตําแหนง Ground ( GST ) และ Guard ( GSTg ) ควรมีคาเทากันสําหรับ CT. ที่

ใชงานในระบบ ตั้งแต 69 KV เนื่องจาก CT. ในระบบนีจ้ะถูกออกแบบ ใหม ีGround shield ลอมรอบขดลวดดานกระแสสูง

- คา % PF ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้• ประเภท OIL – FILLED TYPE ควรมีคาไมเกิน 1 % ที่อุณหภูม ิ20 °C • ประเภท MOLDED – TYPE ควรมีคาไมเกนิ 2 %

7.1 การวัดคากระแสกระตุน ( EXCITING CURRENT MEASUREMENT ) รูปที่ 6.

- ตอวงจรตามรปูที่ 6. - ใหทําการวัดชดุ Full tap ทุกชุดของขดลวดดานกระแสต่ํา โดยเมื่อทําการทดสอบขดลวดชุดใด

ให เปดวงจรชดุที่เหลือ - กอนดําเนินการทดสอบตองทําการ DEMAGNETIZED ทุกครั้ง โดยเพิ่มแรงดันที่ขดลวดดาน

กระแสต่ําจนถึงจุด SATURATION ของแกนเหล็ก คือคากระแสจะเปลี่ยนแปลงไปมาก ไมเปนเชิงเสนกับการเปลี่ยนแปลงแรงดัน แลวจึงคอยๆ ลดแรงดันจนกระแสเปนศูนย

Variac

SEC. PRI.

Step – up Transformer CT.

A

V AC. Supply

Page 101: Test Procedure 1

คูมือการปฏบิัติงาน การทดสอบ CURRENT TRANSFORMER

QI11-03-R0-01/05/50 7/7

- ปรับคาแรงดันทดสอบ ใหเพิม่ขึ้นทีละคา พรอมทั้งอานคาแรงดันและกระแสในแตละคา จนสามารถหาคา KNEE POINT ของ EXCITATION CURVE ได โดยดําเนินการทดสอบใหมากคาในยานที่เกดิ SATURATION เพื่อเพิ่มความแมนยํา ในการทดสอบ

- ขณะดําเนินการทดสอบ ใหเขียนกราฟไปพรอมกัน เพื่อจะไดทราบสภาพการเกิด SATURATION ของแกนเหล็ก และควรใชกราฟแบบ LOG – LOG

- การหาคา KNEE POINT ของ EXCITATION CURVE ทําไดโดย การลากเสนสัมผัสกับสวนโคงของ CURVE โดยทํามุม 45 o กับแกนนอน ตามรูปที่ 7.

รูปที่ 7.

เสนสัมผัส 90 o KNEE POINT เสนตั้งฉาก SATURATION 45 o

Page 102: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 1/5

การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER การทดสอบแบงออกเปน ขั้นตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) 3. การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 5. การวัดคาความสูญเสียและ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) 6. การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT

MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ PT ดวยวิธีการทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไปวามีส่ิงผิดปกติ หรือไม เชน Porcelain แตกบิ่น , Oil ร่ัวซึม หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box ดานแรงต่ํา และใหสังเกตวาตัวถังตอลงดินแลว

2.1 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ Transformer Turn Ratio Test ซ่ึงการทดสอบดวย

เครื่องมือนี้ ยังเปนการตรวจสอบความถูกตองดาน Polarity ดวย - ใหทําการทดสอบอัตราสวนของขดลวดทกุ TAP ตามที่ระบุใน NAME PLATE - บันทึกคาลงในแบบฟอรม

Transformer Turn Ratio Test

12 / 120 V. 12/120V

H2 X2

H1 X1

PT.

H1c H1p 12 / 120 V X1 X2 H2p H2c

~

Page 103: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 2/5

- ความคลาดเคลื่อนของคาที่ทดสอบได ควรมีคาไมเกิน ACCURACY CLASS ตามที่ระบุ ใน NAME PLATE

3.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 2.

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ DC. Power Supply , DC. Ammeter , DC.Voltmeter

หรือทดสอบโดยใช Ohm meter ที่มีความละเอียดสูง - ปอนกระแส DC. เขาที ่Terminal ดานแรงดันต่ํา ที่ Tap full วัดคาแรงดัน แลวนํามา

คํานวณ หาคาความตานทาน - โดยใช Ohm meter วัดคาที ่Terminal โดยตรง - บันทึกคาลงในแบบฟอรม - ความคลาดเคลื่อน ของคาทดสอบควรไมเกิน 2 % จากคาของ Factory test

4.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 3. PT.

ENERGIZED H1

GROUND

PT.

DC. Supply

A

V

SEC. PRI.

X1

Page 104: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 3/5

- ตอวงจรตามรปูที่ 3. - ใหลัดวงจรของขดลวดทางดานแรงดันต่ํา - ในกรณ ีPT ตอใชงานแบบ Line to ground ใหปลด Jumper ที่ขั้ว Neutral ออกจากขัว้ตอ

ลงดิน - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง MEG OHM METER หรือ ที่เรียกวา เครื่อง

MEGGER - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

• ขดลวดดานแรงดันสูงที่มีแรงดันตั้งแต 3,300 V ขึ้นไป ใหทดสอบดวยแรงดัน 2,500 VDC. ที่ 1 นาที

• ขดลวดดานแรงดันสูงที่มีแรงดันต่ํากวา 3,300 V ลงมา และขดลวดดานแรงต่ํา ให ทดสอบดวยแรงดัน 1,000 VDC. ที่ 1 นาที

- คาความตานฉนวนกระแสตรงที่วัด ใหเปนคาระหวางขดลวดที่ทดสอบกับตัวถัง และขดลวดที่เหลือซ่ึงตอลงดิน

- ใหแยกทําการทดสอบในแตละชุดของขดลวด ดานแรงดันต่ํา - วิธีการทดสอบใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

TEST CONNECTION ENERGIZE GROUND

DC. ( VOLT )

MEG. OHM. ( 1 MIN. )

HV LV ( ALL ) 2,500 LV ( X ) HV + ( REMAINDER ) 1,000 LV ( Y ) HV + ( REMAINDER ) 1,000

- คาความตานทานฉนวนกระแสตรงที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้

• ขดลวดดานแรงดันสูง ตองไมต่ํากวา 1,000 Meg. Ohm • ขดลวดดานแรงดันต่ํา ตองไมต่ํากวา 10 Meg. Ohm

Page 105: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 4/5

5.1 การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT ) รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ Insulation Power Factor Test หรือที่เรียกวา เครื่องDoble - ใหลัดวงจรของขดลวดดานแรงดันต่ํา ทุกชุดเขาดวยกนั - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

แรงดันที่กําหนดของขดลวดดานแรงดนัสูง ( KV )

แรงดันทดสอบ ( KV )

3 - 5 5 - 10 > 10

2.5 5 10

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

Test Connection Current ( m ) Watts Ener. GST GSTg UST

Test KV. Avg. Avg.

% PF Cap.

HV LV

HV LV

H1

PT. 220V.AC

X1

DOBLE

Page 106: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POTENTIAL TRANSFORMER

QI11-04-R0-01/05/50 5/5

- บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ - คา % PF ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้

• ประเภท OIL – FILLED TYPE ควรมีคาไมเกิน 1 % ที่อุณหภูม ิ20 o C • ประเภท MOLDED – TYPE ควรมีคาไมเกนิ 2 %

6.1 การวัดคากระแสกระตุน ดวยแรงดันสูง ( HIGH VOLTAGE EXCITING CURRENT MEASUREMENT )

- การวัดคากระแสกระตุนดวยแรงดนัสูง โดยใชเครื่องมอืวัด % PF ( Doble test ) - ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

TEST CONNECTION ENERGIZE GST

VOLTAGE ( KV )

CURRENT ( milli – Amp )

H1 H2 - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

• PT ที่ตอใชงานแบบ PHASE TO PHASE ใหทดสอบทีแ่รงดันที่กําหนดของขดลวดดานแรงสูง หรือที่แรงดัน 10 KV แลวแตวาคาใดจะนอยกวา

• PT ที่ตอใชงานแบบ PHASE TO GROUND ใหทดสอบที่แรงดันที่กาํหนด PHASE TO GROUND ของขดลวดดานแรงดนัสูง หรือที่แรงดัน 10 KV แลวแตวาคาใดจะนอยกวา

Page 107: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) 3. การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 5. การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ CCVT ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไป วามีส่ิงผิดปกติ หรือไม เชน Porcelain แตก บิ่น , Oil ร่ัวซึม หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box ดานแรงดนัต่ํา และ ใหสังเกตวาตัวถังตอลงดินแลว

2.1 การทดสอบคาอัตราสวนของขดลวด ( RATIO TEST ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ Transformer Turn Ratio Test ซ้ึงการทดสอบดวย

เครื่องมือนี้ ยังเปนการชวยทดสอบความถูกตองดาน Polarity ดวย - ในกรณีที่แตละชุดของขดลวดดานแรงต่ํามหีลาย TAP ใหทดสอบทุก TAP ตามที่ระบุใน

NAME PLATE - ความคลาดเคลื่อนของคาที่ทดสอบได ควรมีคาไมเกิน ACCURACY CLASS

3.1 การวัดคาความตานทานของขดลวด ( WINDING RESISTANCE

CCVT.

X2

X1

H2

H1 H1c H1p 12 / 120 V. X1 X2 H2p H2c

~

Transformer Turn Ratio Tester

Page 108: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 2/4

MEASUREMENT ) - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ DC. Power supply , DC. Ammeter , DC. Voltmeter

หรือ ทดสอบโดยใช Ohm meter ที่มีความละเอียดสูง - ปอนกระแส DC. เขาที ่Terminal ดานแรงดันต่ํา ที่ Tap full วัดคาแรงดัน แลวนํามา

คํานวณหาคาความตานทานของขดลวด - โดยการใช Ohm meter วัดคาที่ Terminal box โดยตรง - คาความคลาดเคลื่อนควรไมเกิน 2 % จากคา Factory test

4.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT )

- ใหปลดแยกขัว้ตอที่เกีย่วของทางดานแรงสูงของ CCVT เทาที่จะปลดไดเพื่อใหสามารถแยกทดสอบในสวน ยอยได เชนในสวนของ CAPACITOR DIVIDER (C1 และ C2 )หรือขดลวดดานแรงสูง ในสวนของ ELECTROMAGNETIC UNIT

C1 X1 X2 C2 X3 P2 Y1 Y2 P1 Y3 P1 P2 CAR รูปที่ 2.

- ตามตัวอยางวงจรในรูปที ่2. จุดตอที่จะตองแยกออกจากกันก็คือ จุด CAR และตองแยกจุดตอลงดินดวย ก็สามารถทําการทดสอบในสวนของ C. total และสวนของขดลวดดานแรงสูงของ Electromagnetic Unit แตถา CCVT มีอุปกรณ Ground Switch ( GS ) ดวยก็จะสามารถแยกทดสอบในสวนของ C1 และ C2 ได

- ใหลัดวงจรในแตละชุดของขดลวดดานแรงต่ําของสวน Electromagnetic Unit - คาแรงดันสําหรับทดสอบ กําหนดไวดังนี ้

Page 109: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 3/4

• CAPACITOR ในสวนของ CAPACITOR DIVIDER และขดลวดดานแรงดันสูงของ Electromagnetic Unit ใหทดสอบดวยแรงดนั 2,500 VDC. ที่ 1 นาที

• ขดลวดดานแรงดันต่ําของ Electromagnetic Unit ใหทดสอบดวยแรงดัน 1,000 VDC. ที่ 1 นาที

• วิธีการทดสอบ ให ทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

TEST CONNECTION TEST ENERGIZE GROUND

DC. VOLTAGE ( V )

MEG. OHM At 1 Min.

Ct HV CAR 2,500 C1 HV GS 2,500 C2 CAR GS 2,500

Capacitor Divider

HV ( P1 + P2 ) LV ( X + Y ) 2,500 LV ( X ) HV + LV ( Y ) 1,000

Electromagnetic Unit

LV ( Y ) HV + LV (X ) 1,000

- คาความตานทานฉนวนกระแสตรงที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้ • ในสวนของ Capacitor Divider

: High – Voltage Capacitor ตองไมต่ํากวา 10,000 Meg Ohm : Intermediate – Voltage Capacitor ตองไมต่ํากวา 1,000 Meg Ohm

• ในสวนของ Electromagnetic Unit : ขดลวดดานแรงสูง ตองไมต่ํากวา 100 Meg Ohm : ขดลวดดานแรงดันต่ํา ตองไมต่ํากวา 10 Meg Ohm

5.1 การวัดคาความสูญเสียและ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR MEASUREMENT )

- ใหลัดวงจรของขดลวดดานแรงดันต่ําทุกชดุเขาดวยกนั - ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

Test Test Connection Test Current ( m ) Watt % PF CAP

Page 110: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ COUPLING CAPACITOR VOLTAGE TRANSFOMER

QI11-05-R0-01/05/50 4/4

ENER. GST GSTg UST KV

Ct HV CAR 10

C1 HV GS 10

Capacitor Divider C2 CAR GS 2.5

P1,P2 LV 2.5

Electro – Magnetic

P1,P2 LV 2.5

- บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธของอากาศ - คา % PF ที่ยอมรับได ใหพิจารณาดังนี ้

• สวนของ Capacitor Divider ควรมีคาไมเกนิ 1 % • สวนของ Electromagnetic Unit ควรมีคาไมเกิน 4 %

- คา Capacitance ที่วัดได ควรคลาดเคลื่อนไมเกิน – 5 % ถึง + 10 % ของคา Name plate

Page 111: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 1/5

การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER การทดสอบ LIGHTNING ARRSTER แบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) 3. การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ LIGHTNING ARRESTER ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอก โดยทั่ว ๆ ไปวามส่ิีงผิดปกติหรือไม เชน ลูกถวยแตกบิ่น หรืออุปกรณที่เปน Seal มีการหลุดหลวม หรือฉีกขาด หรือไม

2.1 การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 1.

- ใหลัดวงจรสาย Ground ของ Lighting Arrester เขากับ Ground System โดยไมผาน Surge Counter

- คาแรงดันสําหรับทดสอบกําหนดไวดังนี ้ แรงดันทีพ่ิกัดของ LA ( KV )

แรงดันทดสอบ ( VDC )

0.5 – 1.5 1.5 – 5 > 5

500 1,000 2,500

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

1 2 3

GROUND

ENERGIZE

Megger

Page 112: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 2/5

Test Connection Energize Ground UST

Test Voltage ( VDC )

Meg Ohm At 1 Min.

1 - 2 2,500 2 - 3 2,500 3 4 - 2,500

- บันทึกคาอุณหภูม ิและ ความชื้นสัมพัทธของอากาศ - คาที่ทดสอบได ควรไมเกิน 10 %จาก Factory test

3.1 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวน ( DIELECTRIC LOSS MEASUREMENT ) - คาแรงดันสําหรับทดสอบกําหนดไวดังนี ้

แรงดนัที่พิกัดของ LA ( KV )

แรงดันทดสอบ ( KV )

< 2.7 2.7 - 5.1 6.0 – 7.5 8.1 – 10.0 > 12

ไมตองทดสอบ 2.5 5.0 7.5 10.0

- ใหทําการทดสอบตามตารางดังนี ้

Test Connection Current Watt EN. GST GSTg UST

Test kv

AVG.

AVG.

Cap.

1 2 10

2 3 10

3 4 10

- คาที่ทดสอบได ในกลุมเดียวกันตองมีคาตางกันไมเกิน 10 % จึงจะถือวา LA มีสภาพด ี

Page 113: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 3/5

การทดสอบ SURGE COUNTER การทดสอบ SURGE COUNTER แบงออกเปนขั้นตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การทดสอบการทํางานของ COUNTING RELAY 3. การทดสอบ LEAKAGE CURRENT MILLI – AMMETER 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ SURGE COUNTER ดวยวิธีการทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทัว่ๆไปวามีส่ิงผิดปกติหรือไม เชนอุปกรณทีเ่ปน Seal มีการหลุดหลวม หรือฉีกขาด หรือไม

2.1 การทดสอบการทํางานของ COUNTER RELAY - Charge ประจุของ Capacitor ตามคาแรงดนัและคา Capacitance ที่เหมาะสมกับ SURGE

COUNTER แตละผูผลิตและ แตละชนิดตามคาในตารางดังนี ้

ยี่หอ TYPE แรงดัน ( VDC ) ความจุของ CAP. REMARK AEG ZW 4,000 0.5 ASEA TXA 2,000 0.5 สามารถทดสอบดวย

Switching Surge 150 V ได

BBC SCF 1,000 2.0 EMP SC - 13 4,000 1.0 MEIDENSHA VC – B

ZC - AIM 1,000 4.0

MITSUBISHI AI – F AI – H AI – J AI - M

1,000 1,000 1,000 4,500

1.5 1.0 1.0 4.0

Page 114: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 4/5

ยี่หอ TYPE แรงดัน ( VDC ) ความจุของ CAP. REMARK OHIO BRASS 97BB3 5,000 0.3 ตองCharge Counter ดวย

ไฟฟากระแสสลับ 110 V ประมาณ 2 นาที แลวจึงเอาออกและทดสอบตาม วิธีการ

SPRECHER + SCHUH

AZG 2 1,000 1.0 ตองCharge Counter ดวย ไฟฟากระแสตรงดวยขั้วบวกที่ขั้ว Line ของ Surge Counter ดวยแรงดัน 9V หรือไฟฟากระแสสลับ 6V ตลอดเวลา แลวจึง Discharge คา Capacitor ดวยไฟบวกทีข่ั้ว Line ของCounter

TOSHIBA SDC - N 1,000 1.0 - นํา Capacitor ที่ Charge ประจุจนเต็มแลว Discharge ที่ขั้วของ Surge Counter ถา

Counter มีสภาพปกติจะทํางานเลื่อนตัวเลขไป 1 Step - หลังจาก Discharge Capacitor ไปแลว จะตองทําการคายประจุของ Capacitor ใหแนใจ

อีกครั้งวา ประจุภายใน Capacitor หมดไปแลว มิฉะนั้นถาประจุภายใน Capacitor ยังมอียู อาจทําใหเกิดอันตรายตอผูเผลอไปสัมผัสได

3.1 การทดสอบ LEAKAGE CURRENT MILL – AMMETER รูปที่ 2.

R = 100 1 Watt

Variac

A AC. Supply

Page 115: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LIGHTNING ARRESTER และ SURGE COUNTER

QI11-06-R0-01/05/50 5/5

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. - ปรับแรงดันที ่VARIAC อยางชาๆ ใหเข็มของ MILLI – AMMETER คอยๆเพิ่มขึ้น อาน

คาของ MILLI – AMMETER หรือ METER แบบเข็มที่มีคากระแส 0.5 , 1.0 , 1.5 , 2.0 และ 3.0 Milli – Amp หลังจากนั้นเพิ่มขึ้นทลีะ 1 Milli – Amp จนสุดสเกลที่ MILLI – AMMETER ที่ SURGE COUNTER อานคาได

- คาที่อานจาก METER ทั้ง 2 ตัว ตองตางกันไมเกนิ 10 % ในกรณีที่เกนิใหพยายามปรับแตงใหถูกตอง กรณีที ่METER ไม LINEAR ใหปรับแตงใหมีความถูกตองที่ยานกระแสคาต่ํา เชน 0.5 , 1.0 , Milli – Amp สวนคากระแสที่สูงกวา 3.0 Milli – Amp ยอมใหผิดพลาดได

- ถาตัว METER ที่ติดตั้งอยูที ่SURGE COUNTER ระบุวาเปน PEAK METER หรือ CREST METER คาที่อานไดตองหารดวย 2 จึงจะเปนคาที่อานไดจาก METER มาตรฐาน

Page 116: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ CAPACITOR BANK การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคา CAPACITANCE 3. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) 4. การวัดคาความตานทานของ REACTOR 5. การวัดคา IMPEDANCE ของ REACTOR 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนทําการทดสอบ CAPACITOR BANK ใหสํารวจดสูภาพภายนอกรอบๆ CAPACITOR BANK และพยายามสังเกตดลููกถวย แตก , บิ่น , น้ํายา ELECTROLYTE ร่ัว , กระปอง CAPACITOR บวม และอืน่ๆ รวมทั้ง GROUND ของ CAPACITOR BANK

2.1 การวัดคา CAPACITANCE รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. โดยใชวิธี AC. VOLT – AMP METHOD - ใหตอ AMP METER ไวดาน MARK หรือ HOT ของ VARIAC สายไฟเสนที่ออกจาก

AMP METER ให ตอไปที่ขัว้หลักของ CAPACITOR สวนสายไฟเสนที่ออกจาก VARIAC ขั้ว COMMON ไมใหตอที่ STRUCTURE หรือ STACK เพื่อขจัดปญหาที่อาจจะเกดิขึ้นได

- สายวัดแรงดันใหตอวดัที่ขั้วของ CAPACITOR เมื่ออานคาแรงดันแลว ใหเอาสายวัดแรงดันออก แลวอานกระแส ทั้งนี้เพื่อลดความผิดพลาดของคา CAPACITANCE อันเนื่องมาจาก IMPEDANCE ของ VOLT METERกอนเสียบไฟเขา VARIAC ทุกครั้งใหระวังเรื่อง MARK ไฟใหดี เพราะถาสลับ MARK จะทําใหกระแสลัดวงจรได หลังจากเสียบไฟเขา ARIAC แลวคอยๆ เพิ่มแรงดนัขึ้นไป 200 V และใหใช SCALE ของ AMP METER อานคาประมาณหรือมากกวา 2 ใน 3 ของ SCALE

A V

AC. Supply 220 v.

Variac

Page 117: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 2/4

- คาที่ทดสอบไดจะตองไมเกนิ + 2 % ของ FACTORY TEST และจะตองอยูในชวง – 0 % ถึง + 15 % ของพิกัดดวย ไมวาจะเปน INTERNAL หรือ EXTERNAL FUSE

3.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 2.

- ตอวงจรตามรปูที่ 2. ซ่ึงเปนการวัดคา INTERNAL DISCHARGE RESISTOR - โดยใชเครื่องมอื MEGGER ทําการทดสอบ โดยใชแรงดัน 2,500 VDC 1 นาที คาที่ทดสอบ

ได จะใกลเคยีงกันหมด ใน CAPACITOR TYPE เดียวกนั - คาที่ทดสอบได จะตองผิดพลาดไมเกิน 20 % เมื่อเทียบกบัคา NAME PLATE - ในกรณีที่ CAPACITOR เปนชนิดที่ไมมีขัว้ใดขัว้หนึ่งตอลงที่ตัวกระปอง และขั้วตอ

CAPACITOR มี ขนาดใกลเคียงกัน และใหญทั้งสองขั้วใหทําการทดสอบดังนี้ • โดยใชเครื่องมอื MEGGER ทําการทดสอบวัดคาขั้ว กับ ขั้ว ใชแรงดัน 2,500 VDC ที่ 1

นาที • โดยใชเครื่องมอื MEGGER ทําการทดสอบวัดคาโดยลัดวงจร 2 ขั้ว เทียบกับ GROUND • ใชแรงดัน 2,500 VDC ที่ 1 นาที ตามรูปที่ 3.

รูปที่ 3.

สายลัดวงจร

E G

MEGGER

E G

MEGGER

Page 118: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 3/4

4.1 การวัดคาความตานทานของ REACTOR รูปที่ 4.

- ตอวงจรตามรปูที่ 4. โดยใชวิธี DC. VOLT – AMP METHOD - ปอนไฟกระแสตรงใหแก REACTOR ประมาณ 20 % ของกระแสพกิดัของ REACTOR ถา

หากไม จํากัดกระแส อาจจะทําใหตวั REACTOR รอนและทําใหคาความตานทาน ทีว่ัดไดผิดพลาด

- บันทึกคา กระแส และแรงดนั นํามาคํานวณหาคาความตานทาน และบนัทึกคาอุณหภมูิและความชื้นสัมพทัธ เพื่อเปรียบคากับ FACTORY TEST ที่อุณหภูมิเดยีวกัน

5.1 การวัดคา IMPEDANCE ของ REACTOR รูปที่ 5.

Variac Current Transformer REACTOR

AC. Supply

DC. Supply REACTOR

Switch A

V

V A

CT.

Page 119: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ CAPACITOR BANK

QI11-07-R0-01/05/50 4/4

- ตอวงจรตามรปูที่ 5. โดยใชวิธี AC. VOLT – AMP METHOD - ปอนกระแสสลับ โดยพยายามใหถึงกระแสพิกัดของ REACTOR หรือสูงสุดของขีดจํากัด

ของเครื่องมือ สายวัดแรงดันตกครอม REACTOR พยายามใหส้ันที่สุด และไมควรเกนิ 2 เมตร ใหวัดทีข่ั้วของ REACTOR

- บันทึกคากระแส และ แรงดนั นํามาคํานวณหาคา IMPEDANCE โดยใชสูตรดังนี้ XL = V 2 - R2

I L = XL 314.159

- คา IMPEDANCE ที่คํานวณไดจะตองผิดพลาดไมเกิน – 0 % ถึง + 20 % ของพิกัด หรือพิจารณาจากคา FACTORY TEST

Page 120: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ POWER CABLE การทดสอบสามารถแบงขั้นตอนการทดสอบไดดังนี ้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASRUEMENT ) 3. การทดสอบความทนตอแรงดันสูงกระแสตรง ( DC. HIGH VOLTAGE TEST ) 4. การวัดคาความสูญเสียและ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดูสภาพภายนอกโดยทั่วๆไป วามส่ิีงผิดปกติหรือไม เชน POTHEAD หรือสวนประกอบอื่นใด มีรอย CRACK แตก บิ่น ชํารุด ฉีกขาด และใหสังเกตวา METALLIC SHEATH , METALLIC SHIELD , METALLIC ARMOR ตอลงดินแลว รวมทั้ง POTHEAD ควรอยูในสภาพที่แหงและสะอาด และ CABLE ไดปลดแยกจากอุปกรณที่ตอรวมแลว

2.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT )

- กอนทําการทดสอบ ตองทําการตอลงดิน CABLE ทุกเสนที่จะดําเนินการทดสอบ และอุปกรณขางเคยีงที่ไมเกีย่วของ

- แรงดันที่ใชในการทดสอบ 2,500 VDC เปนเวลา 1 นาที - ในการทดสอบใหทําการวัดทีละเสนเทียบกับสวนที่ตอลงดิน และเสนที่เหลือตอลงดิน - คาความตานทานกระแสตรงที่ยอมรับได ใหพิจารณาเปรยีบเทียบระหวางคาที่วัดไดในการ

ทดสอบคราวเดียวกัน ไมควรจะแตกตางกนัมาก โดยเฉพาะคาที่วดัไดหลังการทดสอบ ตองไมต่ํากวาคาทีว่ัดไดกอนการทดสอบ

3.1 การทดสอบความทนตอแรงดันสงูกระแสตรง ( DC. HIGH VOLTAGE TEST ) - กอนทําการทดสอบ ตองทําการตอลงดิน CABLE ทุกเสนที่จะทําการทดสอบ และอุปกรณที ่

อยู ขางเคียงทีไ่มเกี่ยวของ - ตองแยก CABLE ที่จะทดสอบ ออกหางจากเสนที่ยังไมทาํการทดสอบ เปนระยะทางไมนอย

กวา 1 นิ้วตอ 10 KV. ของแรงดันทดสอบ เพื่อปองกันการเกิด FLASH OVER และความคลาดเคลื่อนของคา LEAKAGE CURRENT จากสวนที่ไมเกี่ยวของ

- คาแรงดันที่ใชในการทดสอบ กําหนดไวดงันี้ • ตาม Standards IEC 840 / 1988

DC. Voltage test = 3Uo at 15 min.

Page 121: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 2/4

Rated nominal Voltage ( between conductors ) U

High Voltage for equipment ( between conductors ) Um

Value of Uo ( between conductor and screen ) Uo

KV KV KV 45 - 47 60 - 69 110 - 115 132 - 138 150 - 161

52 72.5 123 145 170

26 36 64 76 87

• ตาม Standards IEC 502 / 1983

DC. Voltage test = 2.5 * Uo * 2.4 at 15 min. Rated nominal Voltage KV.

Value of Uo KV.

Voltage test at 15 min. KV

1.0 3.3 - 3.6 6.6 - 7.2 11.0 - 12.0 17.5 22.0 - 24.0 33.0 - 36.0

0.6 1.8 3.6 6.0 8.7 12.0 18.0

8.4 15.6 26.4 36.0 52.8 72.0 108.0

• โดยทั่วไป ( กฟผ. )จะใช Standards IEC 502 / 1983 - ขณะเริ่มตนทดสอบจะตองปอนแรงดันไมเกิน 1.8 เทาของแรงดันทีก่ําหนด ( Phase to

Phase) ของ CABLE - การเพิ่มแรงดนัทดสอบจะตองเพิ่มในอัตราที่สม่ําเสมอ โดยไมเพิ่มจนถงึแรงดันทดสอบที่

กําหนดในเวลา 10 วินาท ีและไมชาจนถึงแรงดันทดสอบที่กําหนดในเวลามากกวา 60 วินาท ีหลังจากครบระยะเวลาทดสอบตามที่กําหนด ใหปรับชุดควบคุมแรงดันทดสอบ กลับไปที่

Page 122: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 3/4

ตําแหนงศนูย แลวรอจนระดบัแรงดันทดสอบลดต่ําลงกวา 3 KV. จึงปดเครื่องจายแรงดันกระแสตรง เปนการยืดอายุการใชงานของเครื่องมือใหยนืยาวขึน้

- CABLE ที่ทําการทดสอบควรมีคาอุณหภมูิใกลเคียงอุณหภูมิของอากาศ - CABLE ที่ถือวาทดสอบผาน จะตองไมเกดิการ Breakdown หรือ Terminal Flash over และ

คา Leakage current จะตองไมเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาที่ทดสอบ 4.1 การวัดคาความสูญเสีย และ % PF ทางฉนวน ( INSULATION POWER FACTOR

MEASUREMENT ) - ใหทดสอบคา % PF ในตําแหนง Ground โดยเทียบกับสวนที่ตอลงดิน และเสนที่เหลือซ่ึงตอ

ลงดิน - ใหทดสอบที่แรงดันไมเกนิคาแรงดัน Phase to Ground ของ CABLE ในกรณ ีCABLE ที่

ทดสอบมีคาแรงดันที่กําหนด ( Phase to Ground ) ต่ํากวา 10 KV. - ใหทดสอบที่แรงดัน 10 KV. ในกรณ ีCABLE ที่ทดสอบมีคาแรงดันทีก่ําหนด ( Phase to

Ground ) ตั้งแต 10 KV. - บันทึกคาอุณหภูมิและความชืน้สัมพัทธของอากาศ - คา % PF ที่วัดไดสําหรับ CABLE ที่มีสภาพดีไมควรเกิน 0.1 % หากมีขอสงสัยให

เปรียบเทียบกบัขอมูลเดิมหรือระหวางผลการทดสอบในคราวเดยีวกนั ตลอดจนขอมูลของแตละบริษัทผูผลิต

4.2 การวัดคาความสูญเสียทางฉนวนของ POTHEAD รูปที่ 1. - ใหวดัคาตามวธีิ SINGLE HOT COLLAR TEST ในตําแหนง GST ตามรูปที่ 1. - กอนดําเนินการทดสอบตองจัดให COLLAR แนบสนิทกับผิวของ POTHEAD เพื่อปองกัน

ความคลาดเคลื่อนของผลการทดสอบ เนื่องจากสภาพของหนาสัมผัสที่ไมสนิท หรือชองวางที่เกิดขึ้น และเพื่อเพิ่มความแมนยําของคากระแสที่วัดได สาย COLLAR ควรอยูในสภาพที ่

HOT COLLAR ENERGIZE

CONDUCTOR

Page 123: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ POWER CABLE

QI11-08-R0-01/05/50 4/4

ตึงและยืน่ออกมานอยที่สุด รวมทั้งควรจดัสายปอนแรงดนัทดสอบ ( High Voltage Cable ) ใหอยูในตําแหนงทํามุม 900 กับแกนของ POTHEAD ดวย

- ใหแยกทําการทดสอบแตละ POTHEAD ใน 3 ตําแหนงคอื ตําแหนง ชวงบน กลาง และ ลาง ดังรูปที่ 2.

รูปที่ 2. - คาความสูญเสียทางฉนวนที่ยอมรับได ใหพิจารณาเปรยีบเทียบระหวางผลทดสอบในคราวเดียวกันหรือจากขอมูลเดิม โดยทั่วไปควรมีคาไมเกิน 0.10 Watt

บน

กลาง ลาง

Page 124: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DISCONNECTING SWITCH

QI11-09-R0-01/05/50 1/2

การทดสอบ DISCONNECTING SWITCH การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) 3. การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION )

- กอนที่จะทําการทดสอบ DISCONNECTING SWITCH ดวยวิธีทางไฟฟา ใหสํารวจดู สภาพภายนอกโดยทัว่ไปวามี ส่ิงผิดปกติหรือไม เชน Porcelain แตก บิ่น หรือไม รวมทั้งสภาพภายใน Terminal box วามีสาย Wiring หลุดหลวม หรือ Terminal มีรอยแตก หรือไม

2.1 การวัดคาความตานทานทางฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 1.

- ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง MEGGER โดยใชแรงดันในการทดสอบ 2,500

VDC. ทดสอบเปนเวลา 1 นาที - วิธีการทดสอบโดย Energize ที่ตัวใบมีด เทียบกับGround - บันทึกคาที่ทดสอบไดลงในตารางทดสอบ

MEGGER

Page 125: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DISCONNECTING SWITCH

QI11-09-R0-01/05/50 2/2

การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) รูปที่ 2. - ตอวงจรตามรปูที่ 2. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบประกอบดวย DC. Voltmeter , DC. Ammeter , DC. Power

supply หรือจะใชเครื่องมือทดสอบ Micro ohmmeter - วิธีการทดสอบการวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส DS. ดวยวิธี Drop of potential โดย

การปอนกระแส 100 Amp. DC. แลววัดคา Volt นํามาคํานวณหาคาความตาน โดยใชสูตร R = V I - วิธีการทดสอบโดยใชเครื่อง Micro ohmmeter วัดคาโดยตรง โดยทําการปอนกระแส 100

Amp. DC. แลวอานคาความตานทานจากเครื่องทดสอบไดเลย - บันทึกคาที่ทดสอบไดลงในตารางดังนี ้

Measuring point Phase 1 - 2 3 - 4 1 - 4

A B C

- คาที่ทดสอบได ตองใกลเคียงกับคา Factory test

MICRO OHM

Page 126: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 1/7

การทดสอบ GROUNDING SYSTEM การวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน ( GROUNDING RESISTANCE MEASUREMENT ) แบงลําดับขั้นตอนการทดสอบไดดังนี ้1. หาระยะของเสนทะแยงมุมที่ยาวที่สุดของพื้นที ่Grounding System ที่จะทําการวดั เชน ตามรูปที่ 1.

ระยะของเสนทะแยงมุมที่ยาวที่สุดก็คือระยะ AD 2. พิจารณาหาแนวของระยะ Current electrode ที่จะสามารถดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบ

ตอลงดินดวย Fall of potential method ตามวิธีการในขอ 6. ถาไมสามารถดําเนินการตามวิธีดังกลาว ใหดําเนินการดวย Slope method ตามวิธีการในขอ 7.

3. การวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน ใหดําเนินการโดยใชวิธี Ammeter – Voltmeter กลาวคือ ทําการจายกระแสที่ทราบคา ( ซ่ึงอานจาก Ammeter ) จากแหลงจายไฟที่จัดเตรียมขึน้ ลงดินผานทาง Current electrode แลววดัคาแรงดันที ่Potential electrode ตามตัวอยางวงจรดังรูปที่ 2.

รูปที่ 2.

PE

Ground mesh

CE

AC. Supply

D / T Switch S

C

B

E

รูปที่ 1.

D

O OO O

O O

A V

1 2

Variac & Current transformer

Page 127: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 2/7

วิธีการทดสอบ ซ่ึงมีขั้นตอนในการดําเนนิการทดสอบ เพื่อหาคาความตานทานของระบบตอลงดิน ดังนี ้- สับ Double throw switch อยูที่ตําแหนง “ 1 ” และบันทึกคาแรงดันที่ปรากฏที่ Voltmeter ( V0 ) - สับ Switch “ S” และปรับ Variable Voltage ใหอานคากระแสทดสอบในวงจรจาก Ammeter ไม

นอยกวา 10 Amp. อานคาแรงดัน ( V1 ) แลวลด Variable Voltage ลงมาที่ “ 0 ” จึงทําการปลด Switch “ S ”

- สับ Double throw switch อยูที่ตําแหนง “ 2 ” และบันทึกคาแรงดันที่ปรากฏที่ Voltmeter ( V0 ) - สับ Switch “ S ” และปรับ Variable Voltage ใหอานคากระแสทดสอบในวงจรจาก Ammeter ไม

นอยกวา 10 Amp. อานคาแรงดัน ( V2 ) แลวลด Variable Voltage ลงมาที่ “ 0 ” จึงทําการปลด Switch “ S ”

- นําคาที่ทดสอบไดมาคํานวณดังนี ้ VT = V1 + V2 + V0 2 R = VT I

• หมายเหต ุ; ในกรณีเติมพกิัดของแหลงจายไฟ อาจชวยเพิม่กระแสทดสอบ ไดโดย / ปก Current electrode ใหลึกเพิ่มขึ้น / เทน้ํารอบ Current electrode / ปก electrode เพิ่มขึ้น และตอใหถึงกับ Current electrode เดิม

4. จุดอางอิง แทนระบบตอลงดิน ที่จะทําการวัด ( จุด E ) ใหใชจดุตอลงดนิของรั้วรอบสถานีไฟฟานัน้ จุดใดจุดหนึ่ง โดยตองทดสอบจุดอางอิงนัน้กอนวา มีความตอเนื่องถึงกันกับระบบตอลงดินที่จะทาํการวัดนั้น

5. การปก Current electrode และ Potential electrode ตองลึกลงไปในดนิ ไมนอยกวา 50 cm. และตองไมปกลงในบริเวณที่มีความชื้นในดนิสูง เชน ริมสระน้ํา รวมทั้งแนวของระยะ Rod ที่ปกตองตั้งฉาก กับแนวของสายสงไฟฟา ที่ตอเชื่อมสถานีไฟฟา (แตถาไมสามารถปฏิบัติได ใหเบี่ยงเบนไปจากแนวนี้ได แตตองไมทับไปตามแนวของสายสงไฟฟา )

6. วิธีการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินดวย Fall of potential method มีรายละเอียดดังนี ้6.1 ปก Current electrode หางจดุ E เปนระยะทางประมาณ 4 เทา ของความยาวของเสนทะแยงมุมที่

ยาวที่สุด ของพื้นที่ของระบบตอลงดินที่จะทําการวดั 6.2 ปก Potential electrode หางจากจุด E เปนระยะทาง 61.8 % ของระยะทางตามขอ 6.1 โดยใหอยู

ระหวางจุด E และ Current electrode และอยูในแนวเสนตรงเดียวกันตามรูปที่ 3.

Page 128: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 3/7

รูปที่ 3. 6.3 ดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินตามวธีิการในขอที่ 3. 6.4 หลังจากนัน้ยาย Potential electrode ไปปกในทิศทางตรงกนัขามกับแนวระยะ EC โดยหางจาก

จุด E เปนระยะทางตามขอที่ 6.2 แตถาไมสามารถปก Potential electrode ไดในแนวดงักลาว ใหเบี่ยงเบนไปจากแนวดังกลาวไดไมเกนิ 90 o ตามรูปที่ 4.

P * * * * C รูปที่ 4. 6.5 ดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินตามวธีิการในขอที่ 3. อีกครั้ง เพื่อเก็บเปน

ขอมูล ประกอบการอางอิง

E P *

E P C 61.8 %

4 เทา

Station grid

Potential electrode Current electrode

61.8 % 4 เทา Potential electrode Current electrode Station grid

แนวเบี่ยงเบนไมเกิน 90 o

Page 129: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 4/7

6.6 คาความตานทานของระบบตอลงดินที่ทําการวัด มีคาเทากับคาของความตานทานของระบบ ตอลงดินที่วัดได ตามขอที่ 6.3

7. วิธีการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดินดวย Slope method มีรายละเอียดดังนี ้

รูปที่ 5. 7.1 ปกCurrent electrode หางจากจุด E เปนระยะทางประมาณ 2 – 3 เทา ของความยาวของดานที่

ยาวที่สุดของพื้นที่ของระบบ ตอลงดินที่จะทําการวดั 7.2 ปก Potential electrode หางจากจุด E เปนระยะทางเทากบั 0.2 , 0.4 , 0.6 ของระยะทางตามขอที่

7.1 7.3 ดําเนินการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน ตามวิธีการในขอที ่3. ของแตละ ระยะ

Potential electrode โดยให R1 คือ ความตานทานของระบบตอลงดินที่ Potential electrode 0.2 EC R2 คือ ความตานทานของระบบตอลงดินที่ Potential electrode 0.4 EC R3 คือ ความตานทานของระบบตอลงดินที่ Potential electrode 0.6 EC 7.4 คํานวณหาคา µ (Change of Slope of the resistance / Distance curve ) จากขอมูลในขอที ่7.3โดย µ = R3 – R2 R2 – R1

Current electrode PPotential electrode Station grid

E

2 –3 เทา 0.6 EC

0.4 EC

0.2 EC

P P P C

Page 130: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 5/7

7.5 จากคา µ ที่คํานวณไดตามขอที่ 7.4 ใหนําไปหาคาความสัมพันธของระยะ Potential electrode ที่แทจิรง ( PT ) กับระยะหางของ Current electrode ( C ) จากตาราง เนื่องจากทราบระยะ C ดังนั้นยอมสามารถหาระยะ PT ได

Values of PT / C for various values of µ PT / C µ PT / C µ PT / C µ PT / C µ PT / C

0.40 0.643 0.64 0.607 0.88 0.566 1.12 0.514 1.36 0.445 0.41 0.642 0.65 0.606 0.89 0.564 1.13 0.512 1.37 0.441 0.42 0.640 0.66 0.604 0.90 0.562 1.14 0.509 1.38 0.438 0.43 0.639 0.67 0.602 0.91 0.560 1.15 0.507 1.39 0.434 0.44 0.637 0.68 0.601 0.92 0.558 1.16 0.504 1.40 0.431 0.45 0.636 0.69 0.599 0.93 0.556 1.17 0.502 1.41 0.427 0.46 0.635 0.70 0.597 0.94 0.554 1.18 0.499 1.42 0.423 0.47 0.633 0.71 0.596 0.95 0.552 1.19 0.497 1.43 0.418 0.48 0.632 0.72 0.594 0.96 0.550 1.20 0.494 1.44 0.414 0.49 0.630 0.73 0.592 0.97 0.548 1.21 0.491 1.45 0.410 0.50 0.629 0.74 0.591 0.98 0.546 1.22 0.488 1.46 0.406 0.51 0.627 0.75 0.589 0.99 0.544 1.23 0.486 1.47 0.401 0.52 0.626 0.76 0.587 1.00 0.542 1.24 0.483 1.48 0.397 0.53 0.624 0.77 0.585 1.01 0.539 1.25 0.480 1.49 0.393 0.54 0.623 0.78 0.584 1.02 0.537 1.26 0.477 1.50 0.389 0.55 0.621 0.79 0.582 1.03 0.535 1.27 0.474 1.51 0.384 0.56 0.620 0.80 0.580 1.04 0.533 1.28 0.471 1.52 0.379 0.57 0.618 0.81 0.579 1.05 0.531 1.29 0.468 1.53 0.374 0.58 0.617 0.82 0.577 1.06 0.528 1.30 0.465 1.54 0.369 0.59 0.615 0.83 0.575 1.07 0.526 1.31 0.462 1.55 0.364 0.60 0.614 0.84 0.573 1.08 0.524 1.32 0.458 1.56 0.358 0.61 0.612 0.85 0.571 1.09 0.522 1.33 0.455 1.57 0.352

Page 131: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 6/7

0.62 0.610 0.86 0.569 1.10 0.519 1.34 0.452 1.58 0.347 0.63 0.609 0.87 0.567 1.11 0.517 1.35 0.448 1.59 0.341

7.6 ในกรณทีี่คา µ ที่คํานวณไดตามขอที่ 7.4 มีคามากกวาที่ระบุในตาราง ใหเพิ่มระยะของ Current electrode แลวดําเนนิการหาคา µ ใหม ตามวิธีการในขอที่ 7.2 ถึง 7.4 7.7 ใหปก Potential electrode ที่ระยะ PT แลวดําเนนิการวัดคาความตานทานของระบบตอ ลงดิน ตามวิธีการในขอที่ 3. อีกครั้ง 7.8 ดําเนินการตามรายละเอียดในขอที ่7.1 ถึง 7.7 โดยเพิ่มระยะของ Current electrode จาก ระยะแรกที่ กําหนดขึน้ จนทําใหคาความตานทานของระบบตอลงดินที่ไดตามขอที่ 7.7 ไมลดลง เมื่อเพิ่มระยะของ Current electrode ซ่ึงคาความตานทานของระบบตอลงดินที่ ไดก็คือความตานทานจิรงของระบบตอลงดิน ที่ทําการวัด 7.8.1 บันทึกคาอุณหภูม ิและความชื้นสัมพัทธ ของอากาศ ตลอดจนสภาพดิน และผัง แสดงตําแหนงของบริเวณทีท่ําการวัดคาความตานทานของระบบตอลงดิน 7.8.2 คาความตานทานของระบบตอลงดินที่วัดได ควรมีคาไมเกิน 1 ohm.

Page 132: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ GROUNDING SYSTEM

QI11-10-R0-01/05/50 7/7

Page 133: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบGROUNDING CONNECTION RESISTANCE

QI11-11-R0-01/05/50 1/1

การวัดคา GROUNDING CONNECTION RESISTANCE รูปที่ 1. - ตอวงจรตามรปูที่ 1. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบประกอบดวย DC. Voltmeter , DC. Ammeter , DC. Power

supply หรือจะใชเครื่องมือทดสอบ Micro ohmmeter - วิธีการทดสอบการวัดคาความตานทานของ Grounding Connection ดวยวิธี Drop of

potential โดยการปอนกระแส 100 Amp. DC. แลววัดคา Volt นํามาคํานวณหาคาความตาน โดยใชสูตร R = V I - วิธีการทดสอบโดยใชเครื่อง Micro ohmmeter วัดคาโดยตรง โดยทําการปอนกระแส 100

Amp. DC. แลวอานคาความตานทานจากเครื่องทดสอบไดเลย - บันทึกคาที่ทดสอบไดลงในตาราง - คาที่สามารถยอมรับได โดยคํานวณไดดังนี้ P = I²R

โดยให P = 100 W I = Rated Current ของอุปกรณไฟฟา

MICRO OHM

Page 134: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER

QI11-12-R0-01/05/50 1/3

การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER ( MCB ) การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอนการทดสอบดังนี้ 1. การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) 2. การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) 3. การวัดคาชวงเวลาเปด ( TIME TRIP ) 4. การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTANCE MEASUREMENT ) 1.1 การสํารวจดูสภาพภายนอก ( VISUAL INSPECTION ) เปนการสาํรวจดูสภาพ ภายนอก

โดยทั่วไป วามีส่ิงผิดปกติหรือไม 2.1 การวัดคาความตานทานฉนวนกระแสตรง ( INSULATION RESISTANCE

MEASUREMENT ) - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ คือ เครื่อง Megger ใชแรงดัน 500 VDC. โดยทําการวัด ขั้ว

เทียบกับ ขัว้ และ ขั้วเทียบกบั CASE ใชเวลา 1 นาท ี- คาที่ทดสอบได ตองมากกวา 5 Mag. Ohm

3.1 การวัดคาชวงเวลาเปด ( TIME TRIP ) แบงขั้นตอนการทดสอบออกไดดังนี ้ 3.1.1 การทดสอบ Time Trip ที่ 200 % ของ Rated Current 3.1.2 การทดสอบ Time ที่ 100 % ของ Rated Current • การทดสอบ Time Trip ท่ี 200 % ของ Rated Current

รูปที่ 1. - ตอวงจรตามรปูที่ 1. - ทําการ ON MCB. ปอนกระแส ที่ 200 %ของ Rated Current แลวจับเวลาที่ Trip ของ

MCB. โดยทําการทดสอบทีละ pole - เมื่อ MCB. pole ที่ทดสอบ Trip รอใหเย็นกอน แลจึงทําการทดสอบ pole ที่เหลือตอไป - คาที่ทดสอบไดใหนํามาเทียบกับ Time curve ของบริษัทผูผลิต

Variac & Current transformer

A

TIME

MCB

AC. Power Supply

Page 135: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER

QI11-12-R0-01/05/50 2/3

- ถาไมมีคา Time curve ใหใชคาตามตารางดังนี้

Rated Current ( Amp ) Time Trip / pole ( min. ) 0 – 30 2 31 – 50 4 51 – 100 6 101 – 225 8 226 – 400 10 401 – 600 12

• การทดสอบ Time ท่ี 100 % ของ Rated Current รูปที่ 2. - ตอวงจรตามรปูที่ 2. - ทําการ ON MCB. ปอนกระแสที่ Rated Current ของอุปกรณ แชทิ้งไว เปนเวลา 2 ช่ัวโมง

MCB. จะตองไม Trip 4.1 การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส ( CONTACT RESISTACT

MEASUREMENT ) - ตอวงจรตามรปูที่ 3. - เครื่องมือที่ใชในการทดสอบ ประกอบดวย DC. Ammeter ; DC. Voltmeter ; DC. Power

Supply - โดยการปอนกระแส DC. แลววดัคา Vlot นํามาคํานวณหาคาความตานทาน R = V I

Variac & Current transformer

A MCB

AC. Power Supply

Page 136: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ MOLDE CASE CIRCUIT BREAKER

QI11-12-R0-01/05/50 3/3

A

V DC. Power Supply

MBC.

รูปที่ 3.

Page 137: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 1/4

การทดสอบ DISTANCE RELAY (21) การทดสอบแบงออกเปนขัน้ตอน การทดสอบไดดังนี ้1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวา ไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC. Supply ของ Relay ที่สงมาวา

ตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual , Maintenance

manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพยีงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Zone characteristic ทุกชนิด และทกุ Zone ที่มีในตวั Relay เชน Zone 1, 2 , 3 ,4 , starting โดยแตละ Zone ให

ทดสอบตามขอกําหนดตอไปนี้ 9.1 Test ตั้งแตมุม 0 – 360 º ทุกๆ 15 º 9.2 Test single line to ground fault AG , BG , CG 9.3 Test phase to phase fault AB , BC , CA 9.4 Test three phase fault ABC 9.5 Test คา Operating time ของแตละ Zone โดยปอน Fault impedance ใหอยูที่ 50% ของ Zone ที่ Test และ

จะตอง Test ที่คา Setting time delay ตางๆกัน โดย set ที่ Minimum , Medium และ Maximum setting range ของตัว Relay 9.5.1 ถา Relay สามารถ set time ใน Zone Instantaneous ไดเชน Zone 1 ตองตรวจสอบวา time ที่ set จะไม

มีผลตอ time delay ของ Zone อ่ืนๆ หรือ Function อ่ืนๆ เชน ใน Relay LFZR พบวา เมื่อ set tz1 จะมีผลทําให trip time ใน Function อ่ืนๆมี Delay time เพิ่มขึน้ ตามคาของ tz1 ไปดวย

9.5.2 ในการ Test operating time ของ Relay จะตองตรวจสอบดวยวาถูกตองตาม Specification 1002 และ 1005 ในหวัขอ 1002-34 สําหรับระบบ 115 KV หัวขอ 1002-29 สําหรับระบบ 230 KV และหัวขอ 1005-20 สําหรับระบบ 500 KV

โดยในหัวขอ 1002-34.1 ระบุวา “ Operating time ของ Distance Relay จะขึ้นอยูกับ ตําแหนงที่เกิด Fault ในกรณทีี่ คา SIR < 20 และ ตําแหนงที่เกิด Fault อยู 50% ของRelay setting Reach คา Operating time ของ Relay จะตองมีคาไมเกนิ 30 ms.” ( 115 KV )

Page 138: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 2/4

หัวขอ 1002-29.1.1.1 ระบุวา “ Operating time ของ Distance Relay จะขึ้นอยูกับ ตําแหนงที่เกิด Fault ในกรณทีี่ คา SIR < 10 และ ตําแหนงที่เกิด Fault อยู 50% ของRelay setting Reach คา Operating time ของ Relay จะตองมีคาไมเกนิ 25 ms.” ( 230 KV ) หัวขอ 1005-20.1.1 ระบุวา “ Operating time ของ Distance Relay จะตองไมเกิน 20 ms.

9.6 ตองตรวจสอบวา Zone แตละ Zone ในตัว Relay ทํางานเปนอิสระตอกัน กลาวคือ ถา Zone 1 ไมทํางาน Zone 2 , Zone 3 ยังคงทํางานตาม Characteristic และคา Operating time ที่ได set ไว การตรวจสอบในหัวขอนี้ เนื่องจากมกีารพบใน Relay MICOM P442 เมื่อ On ทุก Zone แลวทดลองปอน Fault ใน Zone 1 พบวา Zone 2 และ Zone 3 จะถูก Block และเมื่อปอน Fault ใน Zone 2 พบวา Zone 3 จะถูก Block

9.7 ตรวจสอบดูวาผลการ Test อยูใน accuracy ที่ บริษัทผูผลิตระบุมา และเปนคาที่ยอมรบัได 9.8 จะตองมีการตรวจสอบวา ถามี Fault ทุกชนดินอก Zone Relay จะตองไมทํางาน สามารถทําการทดสอบไดโดย

On ทุก Zone เขาใชงานแลวทดลองปอน Fault ที่ประมาณ 110-200% ของ Zone ที่ใหญที่สุด โดยให Test เร่ิมจาก 110% แลวเพิ่มขึ้น Step ละ 10% จนถึง 200% แลวตรวจสอบวา Relay จะตองไมทาํงานดวย Zone การ Test ใหหวัขอนี้เพื่อปองกันไมให Relay ทํางาน Trip ผิดแบบที่เคยเกดิใน Relay LFZR ที่ทํางานผิดโดย Trip Zone 1 เมื่อเกดิ Fault นอก Zone (ประมาณ 130-150% ของ Zone นอกสุด)

9.9 ตรวจสอบดูวาถามี Harmonic current ที่ 3 , 5 เขามาเปนสวนประกอบประมาณ 10% ของ Fundamental (50 Hz) Relay ยังคงทํางานถูกตอง โดยเมื่อเกดิ Fault ใน Zone Relay ตองทํางานได และเมื่อเกิด Fault นอก Zone Relay ตองไมทํางาน การ Test หัวขอนี้เพือ่ปองกันไมให Relay ทํางาน Trip ผิดจาก Harmonic current แบบที่เกิดใน Relay ของ Hitachi ที่ทํางาน Trip นอก Zone เมื่อมี Harmonic current

10. การ Test power swing 10.1 ตองทําการ Test แบบ 3 Phase หรือ Phase to Phase ตาม Manual เพื่อตรวจสอบ Characteristic ของ Power swing 10.2 Zone หรือ ขอบของ power swing 10.3 Test time ในการ detect power swing 10.4 Test function ในการ Block ของ Power swing ทุก Function setting ( ตรวจสอบการ Block หรือ ไม Block ตาม setting 10.5 ตรวจสอบดูการ Block วาจะ Block จนกวา Impedance ของ Power swing จะเคลื่อนที่ออกนอก Zone หรือมีการ Block เทากับ time ที่อยูใน Logic หรือ Time ตามคา Setting 10.6 สําหรับ Power swing ที่ Set ใหมกีาร Detect โดยใชขอบของ Power swing รวมกับ Zone ตองตรวจสอบ วา Relay สามารถตรวจจับ Power swing ไดทุกทิศทาง ( ทั้ง 4 Quadrant )

11. การ Test function switch on to fault ( Line pick up , close in to fault ) 11.1ตองทําการตรวจสอบการทํางานของ Switch on to Fault ทุก Function เชน Level Detector , Zone Comparator , Manual close , Breaker auxiliary contact และ Line dead 11.2 ตรวจสอบการทํางานของ Switch on to fault รวมกบั Level detector และ Zone และ Manual

Page 139: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 3/4

11.3 ตรวจสอบ Output ตางๆที่ออกมาจาก Function Switch on to fault เชน Trip , Block recloser , Initate recloser 11.4 Test time ใน function นี้ - Operation time - Enable time และ Reset time ของ Function

12. การ Test trip on recluse ในกรณีที่ Relay มี Function นี้แยกกับ Switch on to fault นี้ ตองทดสอบการทํางาน ของ Function ตาม Logic ดวย 12. Test Distance scheme logic ตองทําการ Test ทุก scheme logic ที่มี ดังตอไปนี ้

13.1 Extension scheme มีหวัขอที่ตอง Test ดังตอไปนี้ - Trip time - การยืด Zone และ การ Reset ของ Zone Extension 13.2 Loss of Load Accelerated scheme มีหัวขอที่ตอง Test ดังตอไปนี ้ - Trip time - Test หาคาของ Current Level Detector ที่ทํางานรวมกับ Loss of Load - Test Function การทํางานตาม Scheme Logic 13.3 Permissive Under reach Transfer Trip (PUTT) หัวขอที่ตอง Test ดังนี ้ - Trip time - การสง Carrier และการ Trip จาก การรับ Carrier - Time delay drop – off ของ Carrier receive - Test ผลของการ Off carrier ซ่ึงจะทําใหมี Function การ Trip แบบ Basic scheme 13.4 Permissive Overreach Transfer Trip (POTT) - Trip time - การสง Carrier และการ Trip จาก การรับ Carrier - Test time delay pickup (TP) และ Time delay drop – off (TD) ที่ใชใน Function Current Reversal Guard

- Test ผลของการ Off carrier ซ่ึงจะทําใหม ีFunction การ Trip แบบ Basic scheme - Test function breaker open echo scheme - Test function weak infeed (WEI) โดยในการ Test ใหตรวจสอบคาของ Under voltage ที่นํามาใชใน Function นี้ดวย 13.5 Blocking scheme

- Trip time - การสง Carrier และการ Block Trip จาก การรับ Carrier - Time delay drop - off (TD) ที่ใชใน Current Reversal Guard

Page 140: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบDISTANCE RELAY(21)

QI11-13-R0-01/05/50 4/4

- Test ผลของการ Off carrier ซ่ึงจะทําให Relay มี Function การ Trip แบบ Basic scheme 14. Test Directional Earth Fault (DEF) - Test directional angle (Polarize) ของ Function นี้ - Trip time - Test การทํางานของ DEF scheme logic แบบ POR พรอมทั้ง Current Reversal Guard ดวย - Test การทํางานของ DEF scheme logic แบบ Blocking พรอมทั้ง Current Reversal Guard ดวย - Test การทํางานวาเมื่อมีการ off carrier DEF จะตองทํางานแบบ DEF delay โดยมี Delay time ตามที่ set 15. Test Function Voltage Transformer Supervision (VTS) - Voltage หาย 1 Phase โดยตรวจสอบคาของ Vo > , Io < หรือ Vph < ที่ทําใหเกดิ V-fail - Voltage หาย 3 Phase ตรวจสอบระดับของ Voltage 3 Phase ที่ทําใหเกิด V-fail (ในกรณทีี่ Relay สามารถตรวจสอบ V-fail แบบ 3 Phase ได)

- Test delay ในการ Alarm และ Block ของ Function นี ้- ตรวจสอบ Function ในการ Block ของ V-fail วาสามารถทําการ Block ไดตามที่ manual ระบุ

16. Line Fault locator ทําการทดสอบไดโดย - Test ทุก Phase และ ทุก Fault type - Test โดยปอน Fault ที่ 80% และ 100% ของ Line Impedance หมายเหต ุ

- สําหรับการ Test Fault Location สําหรับ Fault แบบ Single Line to Ground (SLG) Fault ใหทําการ Test ผลของ Manual Compensation (Zmo) ดวย - ผลการ Test ตองอยูใน accuracy ที่ระบุใน manual ของ Relay

17. Disturbance recorder - ตรวจสอบคา Time หรือ Cycle ของ Pre Fault , Fault และ Post fault วาตรงตามคาที่ Set ไว - ตรวจสอบการ Trig จาก External และ Internal - ตรวจสอบการแสดงผลของ Voltage , Current และ Angle วามีคาถูกตองตามคาที่ปอน 18. Function Test - Test Function การ Trip จาก Function ตางๆ ในตัว Relay ทุก Function เชน Zone 1, Zone 2, Zone 3 PUTT , POTT, Blocking , Zone Extension , Switch on to fault , DEF และอื่นๆ - Test การทํางานรวมกับ Recloser เชน การ Trip – reclose , การ Trip – Reclose - Lockout

Page 141: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LINE CURRENT DIFFERENTIAL RELAY(87L)

QI11-14-R0-01/05/50 1/2

การทดสอบ Line Current Differential Relay (87L) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. สําหรับ Line Current Differential Relay การสง Relay ให กฟผ. ทดสอบจะตองสง Relay อยางนอย 2 ตัว

พรอมอุปกรณเชื่อมตอระบบสื่อสาร เชน Fiber Optic เพื่อที่ กฟผ. จะสามารถทําการทดสอบ Relay ใหเหมือนสภาพใชงานจริงได

10. ในคูมือการ Test ตองแสดงวิธีการ Test Slope ของ Relay ดวย 11. การ Test Minimum pickup current ตองทําการ Test ทุก Phase และใหทดลองปอน 2nd Harmonic ผสมเขาไป

ดวยแลวตรวจสอบดูวา Pickup Current (Fundamental Current) ยังคงเทาเดิม 12. การ Test Slope ใหทําการ Test ทุก Phase ที่คา Maximum , Minimum และ Medium Setting range ในกรณีที่

Relay มี Slope หลายชวงใหทําการ Test ชวงละ 2 จุด 13. Loop Test (ใช Relay 2 ตัว สงสัญญาณรับ- สงกันเหมือนสภาพใชงานจริง) 14. ปอน Current แบบ External Fault ที่คา Rated current ของ Relay โดยใช Current source ชุดเดยีวปอน Relay

ทั้ง 2 ตัว ตรวจสอบวา Relay จะตองไมทํางาน 15. ปอน Current แบบ Internal Fault ตรวจสอบดูวา Relay ทํางาน 16. ทดลองปลดสายสื่อสารระหวาง Relay แลวตรวจสอบวา Relay Block Trip ไดหรือไม 17. Test Operating Time ของ Relay ที่คา 120% และ 150% ของ pickup current (ทั้งแบบมี Bias และ ไมมี Bias)

โดยการ Test นี้ใหทําการ Test ที่คา Setting ตางๆ ดวย คอื Maximum , Minimum และ Medium Setting range 18. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 142: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ LINE CURRENT DIFFERENTIAL RELAY(87L)

QI11-14-R0-01/05/50 2/2

19. ในกรณีที่ Relay มี Function อ่ืนมาดวย ตองทําการ Test ทุก Function โดยยดึวิธีการ Test ตามขอกําหนดของ Relay แตละชนิด

Page 143: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ TRANSFORMER DIFFERENTIAL RELAY(87K)

QI11-15-R0-01/05/50 1/2

การทดสอบ Transformer Differential Relay (87K) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Minimum Pickup Current ทุก Phase ทุก Winding

หมายเหตุ ระหวางการ Test ใหตรวจสอบดูวาคา Metering ที่ Relay แสดงที่หนาจอดวย (ถามี) 10. การ Test Slope ให Test โดยทําการปอน Fault ทุกชนิด ทุก Phase ที่คา Maximum , Minimum และ

Medium Setting range ในกรณีที่ Relay มี Slope หลายชวง ใหทาํการ Test ชวงละ 2 จุด สําหรับ Vector ที่จะ Set ระหวาง Test คือ Vector Group ที่มี Phase Shift 0 นาฬิกา , 1 นาฬิกา และ 11 นาฬกิา โดยจะตอง Test ทุก Vector Group

11. ทดลองปอน Fault ทุกชนิด ทุก Phase แบบ Through Fault แลวตรวจสอบดูวา Relay จะไมทํางาน 12. การ Test Harmonic Blocking ทั้ง Harmonic ที่ 2 และ 5 ใหทําการ Test หาคา Pickup ของ% Harmonic Blocking

โดยปอน Harmonic Current ผสมกับ Fundamental แลวตรวจสอบดูวา Relay จะ Block เมื่อมี Harmonic Current เปนปริมาณทีม่ากกวาคาที่ Set ไว

ในกรณีที่ Relay มีการ Block Inrush Current โดยการ Check Zero Crossing ก็ใหทดลองปอน Signal ที่มี Zero Crossing นอยกวาคา Zero Crossing Detector ของตัว Relay จะตองไม Block แตถาปอน Signal ที่มี Zero Crossing มากกวาคา Zero Crossing ของตัว Relay ตรวจสอบวา Relay จะสามารถ Block ได 13. Test Operating Time ของ Relay ที่คา 120% และ 150% ของ Pickup Current (ทั้งแบบมี Bias และไมมี

Bias) โดยใหทําการ Test ที่คา Maximum , Minimum และ Medium Setting range ถา Relay มี Instantaneous Unit ก็ใหทําการ Test Operating Time ของ Instantaneous Unit ดวย

Page 144: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ TRANSFORMER DIFFERENTIAL RELAY(87K)

QI11-15-R0-01/05/50 2/2

14. ตรวจสอบ Fault record (ถามี) ดวยวาขอมูลที่แสดงถูกตองหรือไม 15. ในกรณีที่ Relay มี Function อ่ืนดวย ตองทําการ Test ทุก Function โดยยึดวิธีการ Test ตามขอกําหนดของ

Relay แตละชนิด 16. ในกรณีที่ Relay มีการ Set คา Current Transformer Ratio Correction ใหตรวจสอบความถูกตองของ CT. Ratio

Correction ที่คา Maximum , Minimum และ Medium Setting 17. ในกรณีที่ Relay มีการ Set คา KV ใหทดลอง Test Pickup Current ที่คา KV ตางๆ โดยคา KV ที่ Set จะเปนคาที่

สอดคลองกับ Transformer ที่ใชใน กฟผ. คือ 230/115/22 KV , 500/230/22 KV , 115/33 KV , 115/11 KV 18. ตรวจสอบ Function การ Cross Block ระหวาง Phase ตอนเกิด Harmonic Block ดวย

Page 145: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ BUS DIFFERENTIAL RELAY(87B)

QI11-16-R0-01/05/50 1/3

การทดสอบ Bus Differential Relay (87B) High Impedance Bus Differential Relay การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup voltage unit ทุก Phase ที่คา Minimum , Medium และ Maximum setting 10. Test pickup current และตรวจสอบ Burden ของ Relay 11. Test Operating Time ที่คา Medium Setting โดยใหปอนคา Voltage ที่ 120% และ 150% ของคา Setting 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. Test Varistor , Nonlinear resistor หรือ Metrosil โดยปอนคา Voltage และวัด Current แลวเปรียบเทยีบ คาไดกับ

Characteristic Curve โดยจะตองมี Accuracy ตามที่คูมือกําหนด 14. ตรวจสอบวา Relay จะไมทาํงานผิดเมื่อมคีวามถี่อ่ืนผสมเขามา โดยเฉพาะ Harmonic ที่ 3 15. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 146: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ BUS DIFFERENTIAL RELAY(87B)

QI11-16-R0-01/05/50 2/3

Low Impedance Bus Differential Relay

การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ของทุก Unit เชน I start , I diff (Relay บางชนิดมี Current Unit 2 ชุด คือ Starting Unit และ

Differential Unit) โดย Test ทุก Phase ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ

10. Test slop ทุก Phase ที่ Minimum , Medium และ Maximum Setting ในกรณีที่ Relay มี Slope หลายชวงใหทําการ Test ชวงละ 2 จุด

11. ทดลองปอน Fault แบบ External fault ทุกชนิดตรวจสอบวา Relay ไมทํางาน 12. Test Status Input ของ Relay เชน DS status , Breaker fail initiate ตรวจสอบวา Relay , มี Function การทํางานที่

ถูกตอง ตาม Status Input 13. ตรวจสอบวงจร Input – Output ของ Current เชน การ Switching Current จะตองถูกตองตาม Status ของ DS

และไม Trip ผิดระหวาง Switching 14. Test Operating Time โดยปอน Current ที่คา 120% และ 150% ของ Pickup current (ในกรณีที่ Operating Time

สามารถ Set ไดใหทําการ Test ที่ Medium setting range ของ time delay) 15. Test Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 16. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 147: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ BUS DIFFERENTIAL RELAY(87B)

QI11-16-R0-01/05/50 3/3

Page 148: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OVER CURRENT RELAY(50/51)

QI11-17-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Over Current Relay (50/51) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Time Characteristic Curve ทุก Phase ทุก Characteristic โดย Test Dial (หรือ TMS) ที่คา Minimum ,

Medium และ Maximum และ Test curve ละ 3 จุด ที่คา 2 เทา และ 4 เทา ของ pickup current 11. Test pickup current ของ Instantaneous Unit ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม 14. ในกรณีที่ Relay ระบุวาสามารถ Set ใหทํางานเฉพาะที่ Fundamental current (50 Hz) เทานั้น ใหตรวจสอบ

คุณสมบัตินี้ดวย

Page 149: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DIRECTIONAL GROUND OVER CURRENT RELAT (67N)

QI11-18-R0-01/05/51 1/2

การทดสอบ Directional Ground Over current Relay (67N) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Time Characteristic Curve ทุก Phase ทุก Characteristic โดย Test Dial (หรือ TMS) ที่คา Minimum ,

Medium และ Maximum และ Test curve ละ 3 จุด ที่คา 2 เทา และ 4 เทา ของ pickup current 11. Test pickup current ของ Instantaneous Unit ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม 14. ในกรณีที่ Relay ระบุวาสามารถ Set ใหทํางานเฉพาะที่ Fundamental current (50 Hz) เทานั้น ใหตรวจสอบ

คุณสมบัตินี้ดวย 15. Test Directional Unit

15.1 ตรวจสอบวา Relay มี Polarize แบบ Zero Sequence Voltage , Negative Sequence Voltage หรือ Current Polarize

15.2 Test pickup sensitivity ของ polarize วาตรงตามคาที่ setting หรือ ตามที่ manual ระบุ 15.3 Test หาคา Operating angle และ Maximum torque angle โดยการปอน polarize และปอน Operating

current ที่ 1.5 เทา ของ pickup current แลวกวาดมุมหาคา Operating angle 16. ในกรณีที่เปน Direction Earth fault ที่มี Scheme Teleprotection ใหทําการ test function ของ scheme ดวย

Page 150: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ DIRECTIONAL GROUND OVER CURRENT RELAT (67N)

QI11-18-R0-01/05/51 2/2

16.1 Test trip time 16.2 การสง Carrier และการ trip จากการรับ Carrier 16.3 Test time delay pickup และ time delay drop off ที่ใชใน Function current reversal guard

17. Test ผลของการ off carrier ซ่ึงจะทาํให Relay มีการ trip แบบ time delay overcurrent

Page 151: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OVER VOLTAGE RELAY(59) และ UNDER VOLTAGE RELAY (27)

QI11-19-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Over voltage relay (59) และ Under voltage relay (27) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup voltage ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. ในกรณีที่ Relay มีการทํางานเปนแบบ time curve ใหทาํการ Test ทุก Characteristic ทุก Phase โดยตั้งคา time

dial ไวที่คา Minimum , Medium และ Maximum ทําการ test curve ละ 3 จุดที่คา 120% , 130% , 140% ของคา pickup voltage สําหรับ Overvoltage relay และที่คา 80% , 70% , 60% ของ pickup voltage สําหรับ Undervoltage relay

11. ในกรณีที่ Relay มีการทํางานแบบ Definite time ใหทําการ test operating time ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range

12. ตรวจสอบการทํางานของ Relay เมื่อมีความถี่อ่ืนแทรกเขามา โดยเฉพาะ Harmonic ที่ 3 13. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 14. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 152: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงานการทดสอบOVERFREQUENCY RELAY(81)และUNDERFREQUENCY RELAY(81)

QI11-20-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Overfrequency relay (81) และ Underfrequency relay (81) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup frequency ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test operating time ที่คา Minimum , Medium และ Maximum setting ของ timer โดยต้ังคา Frequency ที่100% ,

120% , 150% สําหรับ Overfrequency relay และที่คา 100% , 80% , 50% สําหรับ Underfrequency relay 11. Test การทํางานของ Function Undervoltage block ซ่ึงโดยปกติจะตองมใีน Frequency relay 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 153: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ RECLOSER RELAY (79)

QI11-21-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Recloser Relay (79) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Dead time ทั้งแบบ Single pole และ Three pole ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Reclaim time หรือ Reset time ที่คา Minimum , Medium และ Maximum setting range 11. Test timer อ่ืนๆ ที่สามารถทําการ test ไดเชน Closing pulse และ Discriminating time 12. Test Function การทํางานของ Recloser ทุก Function โดยใช mini – breaker จําลองใหเหมือนกับสภาพใชงานจิ

รงใหมากที่สุด 13. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 14. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 154: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบSYNCHRONIZING CHECK RELAY (25)

QI11-22-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Synchronizing check Relay (25) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่

สงมาวาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพยีงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทุก Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting

Configuration ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup current ของ Different Voltage , Different Angle , Slip Frequency และ Under voltage (ใน

Function Sync – check ) ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Time ใน Function Sync – check ที่คา Minimum , Medium และ Maximum 11. Test คา Dead Level และ Hot (Live) Level ของทั้ง Bus และ Line ถา Setting ไดให test ที่คา Minimum ,

Medium และ Maximum Setting range 12. Test การทํางานของ Function voltage check เชน Bus Hot – Line Dead , Bus – Line Hot , Bus Dead –

Line Dead 13. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 14. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 155: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OUT OF STEP RELAY (68)

QI11-23-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Out of Step Relay (68) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test Zone Characteristic ของ Out of Step ที่คา Minimum , Medium และ Maximum Setting range 10. Test Function การทํางานของ Out of Step block ใหตรวจสอบวาสามารถ block แตละ Zone ได ทุก Zone 11. Test Time ในการ block และ time ในการ check วาเปน Power Swing 12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 156: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ OVER FLUXING RELAY (24)

QI11-24-R0-01/05/50 1/1

การทดสอบ Over fluxing Relay (24) การทดสอบแบงออกเปนขั้นตอน การทดสอบดังนี ้

1. ตรวจสอบสภาพภายนอกวาไมมีการชํารุดเสียหาย 2. ตรวจสอบ Model , type , rating current , rating voltage , rating frequency และ DC supply ของ Relay ที่สงมา

วาตรงตามที่ตองการ 3. ตรวจสอบ Software พรอมสาย link วาเปนรุนที่ใชกับ Relay ที่สงมาได 4. ตรวจสอบวาม ีManual ตรงตามรุนของ Relay ที่สงมาใหทดสอบ เชน manual ตอไปนี้ User manual ,

Maintenance manual , Commissioning manual , Software manual , Test manual , Option manual โดยใหเพียงพอตอการศึกษา ใชงานและทดสอบ

5. ตรวจสอบ Form test วาครอบคลุมสําหรับการ Test ในทกุ Function ที่มีในตัว Relay 6. ปอน DC. supply ตาม Rating ของ Relay และตรวจสอบวา Relay อยูในสภาพพรอมใชงาน 7. การทดสอบ Relay จะตองทดสอบที่คา Setting Minimum , Maximum และ ทดสอบที่คา Setting Configuration

ตางๆ กันดวย 8. การทดสอบ จะตองทําการทดสอบในสภาวะที่ เสมือนวา Relay กําลังถูกใชงานจริงๆ ไมไดอยูใน Test mode 9. Test pickup ของ Frequency โดยตั้งคา volt ไวที่ rated และใหทําการ test ที่คา Minimum , Medium และ

Maximum Setting range 10. Test pickup ของ Voltage โดยตั้งคา Frequency ไวที่ 50 Hz และใหทําการ test ที่คา Minimum , Medium และ

Maximum ของ Setting range 11. Test time characteristic ของ V/Hz โดยตั้งคา time dial ไวที่ Minimum , Medium และ Maximum ของSetting

range ในกรณทีี่ Operating characteristic เปนแบบ Definite time หลายๆ Step ให test แตละ Step ที่ Minimum , Medium และ Maximum ของSetting range

12. ตรวจสอบ Alarm Indicator เชน Led , Flag และ Indicator อ่ืนๆ 13. ตรวจสอบ Fault recorder (ถามี) ดวยวาแสดงผลถูกตองหรือไม

Page 157: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 1/17

มาตรฐาน Setting protective relay • Transformer protection • Feeder protection • Bus protection • Breaker failure protection and pole disagreement • Capacitor protection • Reactor protection

หลักการทั่วไปในการ Setting protective relay • อุปกรณระบบปองกัน ที่ใชงานอยูในระบบสงของ กฟผ. มีทั้งที่เปนแบบ Electromechanical solid state

(static) digital และ Numerical relay โดยใชของบริษัทผูผลิตตางๆ คือ ABB (มีทั้ง ASEA , ABB และ WESTINGHOHSE) , ALSTOM , SEIMENS และ GE

• การ Setting relay ทุกชนิดจะตองแสดงตําแหนงของ Relay นั้นๆลงบน Single line diagram • การ Setting relay ทุกชนิดจะตองแสดงตําแหนงของ Relay นั้นๆลงบน Single line diagram หรือ

impedance diagram • การตอ star point ของ CT. ใหตอเขาหาอุปกรณที่จะปองกันเสมอและ star point แตละจุดใหทําการ ตอ

ลง ground ที่ terminal block ภายใน board relay • การ setting จะตองแสดงการคํานวณอยางละเอียดทกุขั้นตอน • ตองแสดงแผนภาพของการ set switch และ link switch ตางๆ บนตัว relay และภายในตัว relay อยาง

ละเอียด สําหรับ switch ที่มีลักษณะสามารถเลือก set ไดหลายคา เชน thumbwheel switch จะตองเขียนคาที่เลือกกํากบัอยางชัดเจน

• ตองแสดงคา CT. ratio ทุกคา และ accuracy class ของ CT. • ตองมีการทบทวน ปรับปรุงคา setting ของ relay ชนิดตางๆ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในระบบ เชน fault

current มีคามากขึ้นหรือนอยลง มีการเพิ่มหรือเปลี่ยนขนาดของหมอแปลง มีการตัดหรือเพิ่ม สายสงใหม เปนตน

1. Transformer protection 1.1 Transformer differential relay

• ใหเลือกคา CT. ratio ที่เหมาะสมทั้ง main CT. และ aux. CT. (ในกรณทีี่ใช) เพื่อไมให secondary current เกินคา rating ของ relay (เลือก main CT. ratio = 150% FOA rating ของ transformer และตรวจวา คา maximum bus fault current นอยกวา 20 เทาของ primary current ของ CT. ratio ที่เลือกใชงาน)

Page 158: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 2/17

• ในกรณีที่ใช aux. CT. จะตองใชทุกๆดานของ relay ที่ตอกับ main CT. และใหแสดง connection ของ tap aux. CT. ที่ใชงานดวย

• การ form vector group ใหตอ main CT. เปนแบบ wye แลว form แกไข vector group ที่ aux. CT. เปนแบบ wye ในดานหมอแปลงที่เปน delta และตอ aux. CT. เปนแบบ delta ในดานหมอแปลงที่เปน wye สวนกรณหีมอแปลงเปนแบบ wye-wye ใหตอ main CT. เปนแบบ wye แลวตอ aux. CT. เปนแบบ delta ทั้งสองดาน เพื่อปองกัน relay ไมใหทํางานผิดพลาดเมื่อเกิด external fault

• ตรวจสอบ CT. performance สําหรับกรณีทีเ่กิด maximum external fault จะตองไมทําให CT. saturated • คา percent mismatch ที่เกิดจากการคํานวณจะตองไมเกิน 5% ที่ normal tap ของ transformer และ คา

total mismatch setting จะตองมากกวาผลรวมของคา percent mismatch ที่คํานวณได คา error ของ CT. และคา maximum or minimum transformer tap changer

• เลือกคา percent slope โดยคํานึงวา relay จะตองไมทํางานในกรณีเกิด maximum external fault • เลือก instantaneous unit โดยเลือกคา setting จาก manual relay และ relay จะตองไมทาํงานเนื่องจาก

inrush current ในการ setting overcurrent relay จะตองแสดง time co-ordination curve โดยใชกระดาษกราฟชนิด semi-log scale 1.2 High side overcurrent relay สําหรับ loading transformer

• เลือก CT. ratio = 150% ของ FOA transformer rating • Minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • Operating time ตองมีคามากกวา operating time ของ low side overcurrent relay โดยมี co-ordination

time interval ประมาณ 0.5 sec. ที่ maximum 3 phase fault current ของ low side bus • ให block การทํางานของ instantaneous unit

1.3 High side overcurrent relay สําหรับ tie transformer (230/115KV) Phase overcurrent relay

• เลือก CT. ratio = 150% ของ FOA transformer rating • Minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • Operating time ประมาณ 2.0 sec.ที่ maximum 3 phase fault current contributed to low side bus (fault

ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

Ground overcurrent relay

Page 159: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 3/17

• minimum pickup current ประมาณ 30% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • Operating time ประมาณ 2.0 sec.ที่ maximum single line to ground fault current contributed to low

side bus (fault ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

1.4 Low side overcurrent relay สําหรับ tie transformer (230/115KV) Phase overcurrent relay

• เลือก CT. ratio = 150% ของ FOA transformer rating • minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • Operating time ประมาณ 1.5 sec.ที่ maximum 3 phase fault current contributed to low side bus (fault

ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

Ground overcurrent relay • minimum pickup current ประมาณ 30% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • Operating time ประมาณ 1.5 sec.ที่ maximum single line to ground fault current contributed to low

side bus (fault ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

1.5 High side overcurrent relay สําหรับ tie transformer (500/230KV) Phase overcurrent relay

• เลือก CT. ratio = 150% ของ FOA transformer rating • minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด very inverse • Operating time ประมาณ 1.5 sec.ที่ maximum 3 phase fault current contributed to low side bus (fault

ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

Ground overcurrent relay • minimum pickup current ประมาณ 30% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด very inverse

Page 160: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 4/17

• Operating time ประมาณ 1.5 sec.ที่ maximum single line to ground fault current contributed to low side bus (fault ที่ low side bus)

• ให block การทํางานของ instantaneous unit 1.6 Low side overcurrent relay สําหรับ tie transformer (500/230KV) Phase overcurrent relay

• เลือก CT. ratio = 150% ของ FOA transformer rating • minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด very inverse • Operating time ประมาณ 1.0 sec.ที่ maximum 3 phase fault current contributed to low side bus (fault

ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

Ground overcurrent relay • minimum pickup current ประมาณ 30% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด very inverse • Operating time ประมาณ 1.0 sec.ที่ maximum single line to ground fault current contributed to low

side bus (fault ที่ low side bus) • ให block การทํางานของ instantaneous unit

1.7 Overcurrent ground backup relay สําหรับ tertiary winding • Minimum pickup current สําหรับ relay ชุดที่ 1 ประมาณ 100% ของ OA rating ของ tertiary winding

สวน relay ชุดที่ 2 ประมาณ 200-300% ของ OA rating tertiary winding (คาที่ใชในการ setting จะเปน 3 เทาของคาที่คํานวณ เนื่องจากใช CT. แตละ phase ตอขนานกันเขา relay)

• Time characteristic ของ relay ชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 ตองต่ํากวา thermal damage curve ของ transformer โดยมี operating time ประมาณ 1.5 sec. ที่ 3 เทาของ maximum circulating current (IOT) และให block การทํางานของ instantaneous unit 1.8 overfluxing relay สําหรับ tie transformer (500/230KV)

• setting curve ของ overfluxing relay ใหต่ํากวา transformer capability curve 1.9 OLTC overcurrent relay

• minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) 2. Feeder protection

Page 161: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 5/17

• จะตองมีการ review คา setting ปละ 1 คร้ัง เพื่อใหสอดคลองกับ fault current ที่เปลี่ยนแปลงไปในการ setting overcurrent relay จะตองแสดง time co-ordination curve โดยใช กระดาษกราฟชนิด semi-log scale 2.1 phase overcurrent relay

• เลือกคา CT. ratio ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Minimum pickup current ประมาณ 150% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) และ ตอง

นอยกวา minimum pickup ของ high side overcurrent relay • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse (ตองพิจารณาวาสามารถ co-ordinate กับ overcurrent

relay ของ PEA ไดดวย) • Operating time ประมาณ 1.5 sec. ที่ maximum 3 phase fault current ของ low side bus • ให block การทํางานของ instantaneous unit

2.2 ground overcurrent relay • Minimum pickup current ประมาณ 30% ของ maximum transformer capacity (FOA rating) • Time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse (ตองพิจารณาวาสามารถ co-ordinate กับ overcurrent

relay ของ PEA ไดดวย) • Operating time ประมาณ 1.5 sec. ที่ maximum single line to ground fault current ของ low side bus • ให block การทํางานของ instantaneous unit 3. Bus protection

3.1 bus differential relay ชนิด high impedance • คา voltage setting ของ relay จะตองมากกวาคา voltage ที่ไดจากการคํานวณประมาณ 120-250%

นอกจากนั้น คา knee point voltage ที่ต่ําที่สุดของ CT. ที่ใชงานจะตองมากกวาหรือเทากับ 2 เทาของ voltage setting ของ relay

• ตองแนบ CT. excitation curve ดวย • สําหรับ MFAC relay (GEC) ใหคํานวณคา shunt resistor (Rp) โดยใชสูตร: Ip = CT. ratio*(IMFAC + IMET + IRP + n*IB) โดยที ่ Ip = primary current sensitivity ใหเลือกใชคา 10% ของ rating CT. ดาน primary current เชน CT. ratio 600/5 ใชคา Ip = 60A. IMFAC = current ที่เขา relay MFAC ตามคา Tap voltage setting (Vs) IMET = current ที่เขา metrosil IRP = current ที่เขา shunt resistor

Page 162: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 6/17

IB = CT. magnetizing current ที่ tap voltage setting (Vs) n = จํานวนชดุ CT. ที่ตอขนานเขาใชงาน ใหคํานวณคา IRP จากสูตรขางตน แลวคํานวณคา Rp = Vs/ IRP เพื่อ set คาของ Rp

3.2 bus differential relay ชนิด low impedance • การเลือก CT. ratio ใหใช full tap และเลือก tap ของ aux. CT. (กรณีที่มีใชงาน) เพื่อใหมี overall ratio

เทากัน • แสดงการ setting ตาม recommendation ของผูผลิตและการคํานวณคา setting ตองแสดงคา CT.

secondary winding resistance และ lead resistance ของทุกชุดดวยเพื่อใชในการตรวจสอบวา relay จะไมทํางานในกรณีที่เกิด maximum external fault 3.3 bus supervision relay

• minimum pickup ประมาณ 25A. (primary) หรือ 10% ของ load bay ที่นอยที่สุด โดยเลือกใชคาที่สูงกวามาคํานวณหาคา volt pickup หรือ set คา volt pickup ประมาณ 10% ของคา voltage setting ของ bus differential relay

• operating time = 3.0-5.0 sec. 4. Line protection

4.1 distance relay • ในการ setting distance relay จะตองแสดง zone characteristic และ ต่ําแหนงของ minimum load

impedance บนกระดาษกราฟชนิด linear scale เมื่อมีการเพิ่ม ตัด line หรือ เปลี่ยน , เพิ่ม transformer ที่ remote substation จะตองมีการ review คา setting zone ตางๆ ของ distance relay คือ zone 1 , 2 , 3 และ starting zone (ถามี) เพื่อไมให relay ทํางานผิดพลาด

• ใช CT. ratio ตามคา thermal limit ของสายสง • สําหรับคา zone1 , zone 2 , zone 3 ควรจะคลุม arc. Resistance ไดอยางนอย 20 ohm primary (per

phase) โดยใชอัตราสวน R/X ตาม recommendation ของผูผลิต • Resistive reach ของ zone นอกสุด (starting zone หรือ zone 3) จะตองไมเกิน 80% minimum load

impedance สําหรับสายสงวงจรเดี่ยว และจะตองไมเกนิ 40% minimum load impedance สําหรับสายสงวงจรคู

• ระบบแรงดัน 115 , 230KV ใช teleprotection scheme เปนแบบ permissive underreach transfer trip • ระบบแรงดัน 500KV ใช teleprotection scheme เปนแบบ permissive underreach transfer trip สําหรับ

primary protection ชุดที่ 1 และใชเปนแบบ permissive overreach transfer trip สําหรับ primary protection ชุดที่ 2

Page 163: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 7/17

• สวนกรณี weak infeed ใหใช permissive overreach transfer trip พรอมทั้งนํา function weak infeed เขาใชงานดวย Zone setting ระบบแรงดัน 115 , 230KV. กรณี Loop line

• zone 1 = 85% line impedance ของ section 1 (protected line) • zone 2 = 100% line impedance ของ section 1+50% line impedance ของ section 2 เลือก line ที่ส้ันที่สุด

ทั้งนี้ตองมากกวา 120% line impedance section 1 ถานอยกวา 120% line impedance ของ section 1 ใหเลือก zone 2 = 120% line impedance ของ section 1

• กรณี line ที่ส้ันที่สุดของ section 2 เปน parallel line เลือก • zone 2 = 100% line impedance ของ section 1+40% line impedance ของ section 2 ที่ส้ันที่สุด ทั้งนี้ตอง

มากกวา 120% line impedance section 1 ถานอยกวา 120% line impedance ของ section 1 ใหเลือก zone 2 = 120% line impedance ของ section 1

• zone 3 forward = 100% line impedance ของ section 1+120% line impedance ของ section 2 ที่ยาวที่สุด สําหรับระบบ 115KV ตองตรวจสอบวาไมเกิน 60% impedance ของ loading transformer ตัวที่มีคานอยสุดที่ remote substation ทั้งนี้คา reach ของ zone 3 ตองคุมเกินอย 100% line impedance ของ section 2

• zone 3 reverse setting (ถามี) • ใชในกรณีที่ teleprotection scheme เปนแบบ permissive overreach with weak infeed , blocking

scheme หรือ scheme อ่ืนๆที่ตองใช zone 3 reverse ในการตรวจจับ fault ที่เกิดขึ้นดานหลัง ตําแหนงของ relay

• Zone 3 reverse = 120% zone 2 reach ของ relay ที่ remote end และจะตอง block timer ของ zone 3 • สวน scheme อ่ืนๆ นอกเหนอืจาก scheme ขางบน ไดแก POTT without weak infeed , PUTT , BASIC ,

etc. ใหเลือก • Zone 3 reverse = 10% zone 1 reach • แตถาความยาวของ protected line นอยกวา 30 กิโลเมตร ใหใช zone 3 reverse = 25% zone 1 reach • Starting zone = 130% zone 3 สําหรับระบบ 115KV ตองตรวจสอบวาไมเกิน 80% impedance ของ

loading transformer ตัวที่มีคานอยสุดที่ remote substation ดวย • Operating time zone 1 = instantaneous แตถามีการใช scheme single pole tripping และ distance relay

ไมสามารถ set ให trip แบบ single pole ไดให operating time zone 1 = 100 msec. • Operating time zone 2 = 350 msec. (230KV) • Operating time zone 2 = 350 msec. (115KV) และกรณทีี่ protected line เปน line ส้ันใหคา operating

time zone 2 = 350 msec.

Page 164: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 8/17

• Operating time zone 3 = 1.0 sec. • Operating time starting zone =3.0 sec. Zone setting กรณี radial line (สฟ. ของ EGAT) • zone 1 = 85% line impedance ของ section 1 (protected line) • zone 2 = 100% line impedance ของ section 1+20% transformer impedance ที่ remote end • zone 3 forward = 100% line impedance ของ section 1+40% transformer impedance ที่ remote end • zone 3 reverse = 10% zone 1 reach แตถาความยาวของ protected line นอยกวา 30 กโิลเมตร ใหใช • zone 3 reverse = 25% zone 1 reach • Starting zone = 100% line impedance ของ section 1+80% transformer impedanceที่ remote end • Operating time zone 1 = instantaneous • Operating time zone 2 = 300 msec. • Operating time zone 3 = 600 msec. • Operating time starting zone =3.0 sec. Zone setting กรณี line PEA • zone 1 = 85% line impedance ของ section 1 (ระยะ section 1 คือ จาก สฟ. ของ EGAT ถึง tap หมอ

แปลงตัวแรกของ PEA) • zone 2 = 100% line impedance ของ section 1+20% transformer impedance ที่ remote end • กรณีที่มีการ tap หมอแปลงหลายที่ ให zone 2 = 120% line impedance ทั้งหมด แตตองไมเกิน 80%

transformer impedance ของตัวแรก • zone 3 forward = 100% line impedance ของ section 1+40% transformer impedance ที่ remote end กรณีที่มีการ tap หมอแปลงหลายที่ ให zone 2 = 150% line impedance ทั้งหมด แตตองไมเกนิ 80% transformer impedance ของตัวแรก • zone 3 reverse = 10% zone 1 reach • ถาความยาวของ protected line นอยกวา 30 กิโลเมตร ใหใช • zone 3 reverse = 25% zone 1 reach • Starting zone = 100% line impedance ของ section 1+80% transformer impedanceที่ remote end • Operating time zone 1 = instantaneous , กรณีที่ สายสงระหวาง EGAT กับ PEA มีระยะทางสั้นมากๆ

ให Operating time zone 1 = 150 msec. (สวนของ PEA time zone 1 = instantaneous) • Operating time zone 2 = 300 msec. zone 3 = 600 msec. • Operating time starting zone =3.0 sec.

Page 165: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 9/17

Zone setting ระบบแรงดัน 500KV • zone 1 = 85% line impedance of protected line • zone 2 = 120% line impedance of protected line • zone 3 = 150% line impedance of protected line • Starting zone or zone 4 = 130% of zone 3 • Operating time primary relay zone 1 = imstantaneous • zone 2 = 350 msec. • zone 3 = 1.0 sec. • zone 4 = 2.0 sec. • Operating time backup relay zone 1 = 100 msec. • zone 2 = 350 msec. , zone 3 = 1.0 sec. , zone 4 = 2.0 sec. • Operating time directional earth fault relay (ใชรวมกับ scheme carrier) = 100 msec. • Pulse time ในการสงสัญญาณ direct transfer trip (DTT) ของ breaker = 200 msec. • Time delay สําหรับ direct transfer trip lockout relay (86DTT) = 400 msec. Distance relay power swing blocking function • ใหแสดงการคํานวณคา setting ตาม recommendation ของบริษัทผูผลิตทั้งนี้ขอบเขตของ power swing

blocking วงในใหคลุมคา zone 3 และจะตองไมเกิน 80% minimum load impedance สําหรับสายสงวงจรเดีย่ว และไมเกนิ 40% minimum load impedance สําหรับสายสงวาจรคู

• ให block การทํางานของ pilot zone (phase) และ zone 1 (phase) • Time สําหรับ detect การเกิด power swing เทากับ 50 msec. • Time สําหรับ block trip ตองไมนอยกวา 2 sec. • ให block การทํางานของ distance relay (block trip) สวนสัญญาณ alarm ใหมี time delay อยางนอย 2

sec. • คา setting Vo = 20% Vn , Io = 10% In Directional earth fault relay (ระดับแรงดัน 115, 230KV) • ปกติจะ block การทํางาน ยกเวนบางพืน้ที่ จําเปนตองใชงานเชน ระบบของภาคใต • Minimum pickup current = 20% rated current ทั้งนี้ relay จะตองทํางานที่ 50% maximum neutral

current (3Io) contributed to remote bus เมือ่เกิด single line to ground fault ที่ remote bus ในกรณีที่ relay ไมทํางานที่คาดังกลาว ใหเลือก minimum pick up = 50% maximum neutral current (3Io) contributed to remote bus

Page 166: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 10/17

• กรณีที่ใชรวมกับ scheme carrier ให คา minimum pickup current ทางดาน reverse เทากับ 10% rated current

• Operating time = 2.0 sec. • Relay มี characteristic แบบ minimum definite time ใหเลือก dial ที่ทําให relay มี operating time เทากับ

2.0 sec. ที่คา 50% maximum neutral current (3Io) contributed to remote bus Overcurrent line backup relay (3 phase + 1 ground ใชสําหรับ radial line) Phase overcurrent relay

• pickup current = 120% thermal limit ของสายสง หรือ 120% rating CT. (เลือกคาทีน่อย) และตองมากกวาคาที่ 3 phase fault current ดาน low side ของหมอแปลงที่ remote end

• time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • operating time ประมาณ 0.45 sec. ที่ maximum 3 phase fault current ที่ 115 KV remote end bus

Ground overcurrent relay • minimum pickup current = 30% thermal limit ของสายสง หรือ 30% rating CT. (เลือกคาที่นอย) • time characteristic ใหเปนชนิด normal inverse • operating time ประมาณ 0.45 sec. ที่ maximum single line to ground fault ที่ 115 KV remote end bus • ถาหมอแปลงที่ remote end มี vector group เปนแบบ wye-wye ใหคา setting ของ ground unit เทากบั

ของ phase unit Overcurrent line backup relay (3 phase + 1 ground ใชสําหรับ 115KV line PEA.) Phase overcurrent relay

• minimum pickup current = 120% thermal limit ของสายสง หรือ 120% rating CT. (เลือกคาที่นอย) • time characteristic ใหเปนชนิด definite time

Page 167: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 11/17

• operating time เทากับ 2.0 sec. Ground overcurrent relay

• minimum pickup current = 30% thermal limit ของสายสง หรือ 30% rating CT. (เลือกคาที่นอย) • time characteristic ใหเปนชนิด definite time • operating time เทากับ 2.0 sec. • ถาหมอแปลงที่ remote end มี vector group เปนแบบ wye-wye ใหคา setting ของ ground unit เทากบั

ของ phase unit Overcurrent backup relay (ใชปองกัน line กรณี de-energize remote main bus)

• ใช CT. ratio ตาม thermal rating ของสายสง • pickup current = 150% ของ transformer capacity (FOA rating) ที่ remote bus (กรณี remote bus มี

transformer เพียง 1 ชุด) หรือ 125% ของ total capacity ของ transformer (FOA rating) ที่ remote bus กรณีที่ remote bus มี transformer มากกวา 1 ชุด และทั้ง 2 กรณี จะตองไมเกิน thermal limit ของสายสง

Overcurrent backup relay (ใชปองกัน line กรณี de-energize remote main bus) • time dial ให set operating time เทากันกับ high side overcurrent relay ของ transformer ที่ remote bus

Reclosing relay ท้ังดาน charge line และ loop line • ใช single shot reclosing • Dead time (1 pole reclose) สําหรับ 115 , 230KV = 700 msec. • Dead time (1 pole reclose) สําหรับ 500KV = 1.0 sec. • Dead time (3 pole reclose) สําหรับ 115 , 230KV = 1.0 sec. • Dead time (3 pole reclose) สําหรับ 500KV = 1.0 sec. • Reclaim time = 5-15 sec. (ขึ้นอยูกับคณุสมบัติของ breaker) • กรณีที่ reclosing relay ตําแหนงอยูใกลกบั power plant ใหใช • Dead time = 10.0 sec • Reclaim time = 30.0 sec. • ให pilot และ zone 1 ของ distance relay สามารถสั่ง reclose ได • ให radial line (เฉพาะ line ของ EGAT) zone 1 และ zone 2 ของ distance relay สามารถสั่ง recluse ได

ยกเวนกรณีที่ remote substation มี high speed grounding switch ใหเฉพาะ zone 1 เทานั้นที่ส่ัง recluse ได

Synchro – check relay

Page 168: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 12/17

• แสดงคา PT. ratio ที่ใช และจะตองระบุ function ที่เลือกใชงาน พรอมทั้งระบุการ set switch ตางๆ ของ relay ดวย (ถามี)

• การเลือก function วาเปน charge line หรือ loop line ใหพจิารณาตําแหนงของ relay ที่ใกล power plant มากกวา ใหใช function loop line

Overvoltage หรือ overfulxing relay (สําหรับ line 500KV) • setting curve ของ overfluxing relay ใหต่ํากวา capability curve ของอุปกรณที่ weak ที่สุด (อาจจะเปน

surge arrester หรือ CVT.) Current supervisory relay (ใชสําหรับ line 230KV. Scheme KDAR)

• ใช CT. ratio ตาม thermal rating ของสายสง • Pickup current = 50% ของ maximum 3 phase fault current contributed to remote bus (fault ที่ remote

bus) • AC. Circuit ใชเฉพาะ phase ทั้ง 3 phase • DC. Circuit ใหตัดเฉพาะ phase distance relay ทุก zone และ pilot (เนือ่งจากถามีปญหาให ground relay

ยังคง protect line ได) Breaker failure protection Breaker failure relay สําหรับ line

• current detector ใช A-C-G หรือ A-B-C-G • Pickup phase current = 100% CT. rating โดย relay จะตองทํางานที่ 50% ของ maximum 3 phase fault

current contributed to remote bus (minimum fault) เมื่อเกิด 3 phase fault ที่ remote substation ถา relay ไมทํางานที่คานี้ใหเลือก phase current = 100% minimum fault

• Pickup ground current = 30% CT. rating โดย relay จะตองทํางานที่ 50% ของ maximum single line to ground fault current contributed to remote bus (minimum fault) เมื่อเกดิ single line to ground fault ที่ remote substation ถา relay ไมทํางานที่คานีใ้หเลือก ground current = 100% minimum fault

• Operating time = 200 msec. (230 , 500KV) 300 msec. (115KV) Breaker failure relay สําหรับ transformer

• current detector ใช A-C-G หรือ A-B-C-G • Pickup phase current = 100% rated current ของ transformer โดยที่ relay จะตองทํางานที่ 50% ของ

maximum 3 phase fault current contributed from high voltage side through transformer เมื่อเกิด 3 phase fault ขึ้นที่ low voltage side ถา relay ไมทํางานที่คานี้ใหเลือก phase current = 100% minimum fault

Page 169: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 13/17

• Pickup ground current = 30% rated current ของ transformer โดยที่ relay จะตองทํางานที่ 50% ของ maximum single line to ground fault current contributed from high voltage side to transformer เมื่อเกิด single line to ground fault ขึ้นที่ low voltage side ถา relay ไมทํางานที่คานี้ใหเลือก ground current = 100% minimum fault

• Operating time = 200 msec. (230 , 500KV) 300 msec. (115KV) Breaker failure relay สําหรับ capacitor bank และ shunt reactor

• current detector ใช A-C-G หรือ A-B-C-G • Pickup phase current = 110% rated current ของ C- Bank (หรือ reactor) • Pickup ground current = 30% rated current ของ C- Bank (หรือ reactor) • Operating time = 200 msec. (230 , 500KV) 300 msec. (115KV)

Pole disagreement Operating time of pole disagreement (62PD)

• 3 pole breaker = 150 msec. • 1 pole breaker = 1.0 sec.(230KV) • 1 pole breaker = 2.0 – 3.0 sec. (500KV)

Capacitor protection ตองมีขอมูลตางๆไดแก C-Bank rating , การจัด C-Unit series และ parallel กี่ unit , แตละ C-Unit มีขนาดการจัด series และ parallel อยางไร , เปน external หรือ internal fuse เพื่อใชในการคํานวณคา setting 22 , 33 KV capacitor bank Overvoltage relay (59C)

• voltage pickup = 110% V-rated (ใหระบดุวยวา V-rated เปนชนิด L-L หรือ L-G voltage) operating time = 5.0 sec.

• transformer หรือ bus เดียวกนัที่มี C-Bank ติดตั้งใชงานหลาย step ให set time แตละ step เร่ิมจาก step 1 ,2 ,3 ,4 ,5 ,6 ,7 เปน 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10 , 11 sec. ตามลําดับ (step time = 1.0 sec.) ถา step ของ C-Bank เกิน step ที่ 7 ใหเร่ิม setting time ของ step ที่ 8 , 9 , 10 …. เปน 5 , 6 , 7 sec. ตามลําดับใหม

• เมื่อ tap setting ไมตรงกับคา 110% V-rated ให set tap ถัดไปแตจะตองอยูระหวาง 110-115% V-rated หรือ calibrate ใหเร่ิมทํางานที่คา 110% V-rated (กรณีที่เปน electromechanical relay)

• ถา relay เปน inverse time curve ให set คา pickup = 110% V-rated และคา dial ใหมีเวลาทํางานเทากับ 5.0 sec. ที่ voltage 1.1 เทาของ minimum pickup

22 , 33 KV capacitor bank

Page 170: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 14/17

Unbalance sensing relay (60C) • PT. ratio ( 22 or 33KV/3)/110V • Step alarm คา setting voltage ต่ํากวา step trip 1 volt , operating time = 5.0 sec. • Step trip operating time = 5.0 sec. • การตั้งคา voltage step trip ให setting ใช criteria ดังนี้ คือ

C- unit overvoltage < 110% rated C-unit C-element overvoltage < 150- 180% rated C-element คามาจากการคํานวณโดยใช program (ที่ set time delay ถึง 5.0 sec. เนื่องจากตองรอให MEA , PEA clear fault กอน)

• 60CH (input เปน AC. Voltage จาก PT. 22KV/ 110V. 3 phase ตอแบบ open delta) operating time = 100 msec.

• 60CL (input เปน AC. Voltage จาก Neutral PT. 22KV/ 110V). operating time = 300 msec. • การตั้งคา voltage ของ 60CH และ 60CL .ใหใช criteria ดังนี้ คือ

C- unit overvoltage < 110% rated C-unit C-element overvoltage < 150- 180% rated C-element

คามาจากการคํานวณโดยใช program 69-115KV capacitor bank

• overvoltage relay (59C) ใช criteria เดียวกับ overvoltage relay สําหรับ 22-33KV C-Bank protection • overcurrent relay (51C) ใช CT. ratio 150% ของ C-Bank capacity โดยที่ maximum fault current ที่ bus

นอยกวา 20 เทาของ CT. ratio ที่เลือก (เพือ่ปองกัน CT. saturated) Overcurrent relay (51C) time delay unit

• pickup current = 130% rated current ของ C-Bank • time curve ใชชนิด very inverse ใหเลือก time dial ที่ คา current 15 เทา ของ rated current โดยให relay

ทํางาน < 0.3 sec. (จุดประสงคให overcurrent relay ทํางานไดเร็วกวา remote backup protection และ relay ตองไมทาํงานผิดพลาด เนื่องจาก inrush current เมื่อมีการ energize C-Bank หรือ back-to-back discharge ของ C-Bank)

Overcurrent relay (51C) instantaneous unit • pickup current = 50% ของ maximum fault current ที่ bus (กรณีที่ 50% ของ maximum fault current มี

คานอยกวา 15 เทาของ rated current ของ C-Bank ให Sst current ของ instantaneous unit = 15 เทาของ rated current ของ C-Bank)

Page 171: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 15/17

Unblance sensing relay (60C) กรณี C-Bank ตอเปนชนิด double-wye-unground

• step alarm operating time = 1.0 sec. • step trip operating time = 0.3 sec. • การตั้งคา current step trip ให setting ใช criteria ดังนี้คือ

C- unit overvoltage < 110% rated C-unit C-element overvoltage < 150- 180% rated C-element คามาจากการคํานวณโดยใช program สวนคา current step alarm ให set คร่ึงหนึ่งของ step trip และคา unbalance current ที่วัดไดที่ normal condition ตอง < 10% ของ tripping value setting ของ 60C

Unblance sensing relay (60C) กรณี C-Bank ตอเปนชนิด wye high impedance ground

• step trip operating time = 5.0 sec. • การตั้งคา voltage step trip ให setting ใช criteria ดังนี้คือ

C- unit overvoltage < 110% rated C-unit C-element overvoltage < 150- 180% rated C-element

คามาจากการคํานวณโดยใช program หมายเหตุ

• กรณี HV. C-Bank ตอกับ bus ที่เปน radial line จะตองมี undervoltage release relay คา voltage setting = 20% rated voltage , operating time 500 msec. เพื่อปองกันการ recluse และเกิด short circuit เพราะ capacitor terminal จะมี residual voltage ดังนั้น line protection ที่ตนทางจะตองมี dead time ของ reclosing relay = 1.0 sec.

• กรณีที่มีการตอแบบ bridge wye unground 1.1 Overvoltage relay (59C)

- ใช criteria เดียวกันกับ overvoltage relay สําหรับ 22-33 KV. C-Bank protection 1.2 Overcurrent relay (51C)

- ใช criteria เดียวกันกับ overcurrent relay สําหรับ 69-115 KV. C-Bank protection 1.3 Overcurrent ground relay (51GC)

Time delay unit - minimum pickup = 30% rated current ของ C-Bank - time characteristic ใช very inverse

Page 172: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 16/17

- time dial = ต่ําสุด (แตตองไมทํางานผิดพลาด เนื่องจาก inrush current เมื่อมีการ energize C-Bank หรือ back-to-back discharge ของ C-Bank)

instantaneous unit - pickup current = 50% ของ maximum single line to ground fault current ที่ bus (เหตุผล

เดียวกันกับ overcurrent relay สําหรับ HV. C-Bank) 1.4 Unblance sensing relay (60C)

- CT. ratio 1/1 class 1.0 burden 4 VA - Step alarm setting = 350 mA , operating time = 1.0 sec. - Step trip setting = 450 mA , operating time = 0.3 sec.

• กรณีที่มีการตอแบบ bridge wye-high impedance ground 1.1 Protection ที่มี function เหมอืนชนิด bridge wye unground ใหใชหลักการเดียวกนักบัที่กลาวมาแลว

ใน bridge wye unground ยกเวน unbalance sensing relay 1.2 Overcurrent ground relay (51GC-1,2 ……)

Time delay unit - minimum pickup = 30% rated current ของ C-Bank - time characteristic ใช very inverse dial = ต่ําสุด (criteria เดียวกันกับ 51GC) Instantaneous unit - ใช criteria เดียวกันกับ overcurrent relay HV. C-Bank

1.3 Unbalance sensing relay (60C) - step trip setting = 0.5 A (primary) (จะทํางานเมื่อ fuse element ขาด 5 EA) - Unbalance sensing relay ESTA SYMX. เปน relay ชนิด voltage type มี resistor ตอครอม คา

resistor = 0.2 Ohm. - Alarm setting = 0.25 x 0.2 = 0.05 V. , operating time = 0.5 sec. - Trip setting = 0.5 x 0.2 = 0.10 V. , operating time = 0.5 sec.

Reactor protection Phase reactor differential relay

• ใชหลักการ setting เหมือนกบั bus differential relay ชนิด high impedance และถาไมสามารถเลือกใช CT. ratio full tap ได จะตองตรวจสอบ คา voltage ที่เกิดขึ้นเนื่องจาก autotransformer effect ไมทําให insulation ของอุปกรณตางๆเสียหาย

Reactor restricted earth fault relay • ใชหลักการ setting เหมือนกบั phase reactor differential relay

Page 173: Test Procedure 1

คูมือปฏิบัติงาน การทดสอบ SETTING PROTECTIVE RELAY

QI11-25-R0-01/05/50 17/17

Reactor overcurrent relay • ใช CT. ratio 150% ของ reactor capacity โดยที่ maximum fault current ที่ bus นอยกวา 20 เทาของ CT.

ratio ที่เลือก (เพื่อปองกัน CT. saturated) Phase overcurrent relay

• pickup current = 130% rated current ของ reactor • time characteristic ชนิด very inverse ใหเลือก time dial ที่คา แพพะ 15 เทา ของ rated current โดยให

relay ทํางานดวยเวลานอยกวา 0.3 sec. • instantaneous pickup current = 50% ของ maximum fault current ที่ bus (กรณีที่ 50% ของ maximum

fault current มีคานอยกวา 15 เทาของ rated current ของ reactor ให set current ของ instantaneous unit = 15 เทาของ rated current ของ reactor)

Ground overcurrent relay (สําหรับ 500KV) • minimum pickup current = 30% rated current ของ reactor

time characteristic ชนิด very inverse (VI) ใหเลือก time dial คาที่ให relay นี้ไมทํางานเมื่อ