182
การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที5 THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN COMPUTER SUBJECT THE LEARNING AREAS OF OCCUPATIONS AND TECHNOLOGY USING PROJECT - BASED LEARNING FOR PRATOMSUKSA FIVE STUDENTS วิทยานิพนธ ของ เรวดี รัตนวิจิตร ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี พฤศจิกายน 2555

THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN COMPUTER SUBJECT

THE LEARNING AREAS OF OCCUPATIONS AND TECHNOLOGY USING PROJECT - BASED LEARNING FOR

PRATOMSUKSA FIVE STUDENTS

วิทยานิพนธ ของ

เรวดี รัตนวิจิตร

ปริญญาครุศาสตรมหาบณัฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

พฤศจิกายน 2555

Page 2: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐาน

สําหรับนักเรยีนชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN COMPUTER SUBJECT

THE LEARNING AREAS OF OCCUPATIONS AND TECHNOLOGY USING PROJECT - BASED LEARNING FOR

PRATOMSUKSA FIVE STUDENTS

วิทยานิพนธ

ของ เรวดี รัตนวิจิตร

เสนอตอมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาครุศาสตรมหาบณัฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี

พฤศจิกายน 2555

Page 3: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา
Page 4: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

เรวดี รัตนวิจิตร. (2555). การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการ เรียนรูแบบ โครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5. วิทยานิพนธ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน). จนัทบุรี : มหาวิทยาลยั ราชภัฏรําไพพรรณี. คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ดร. เยาวเรศ ใจเย็น ปร.ด. (วิทยาศาสตรศึกษา) ประธานกรรมการ

รองศาสตราจารยสุณิสา อ่ิมเอิบ กศ.ม. (จิตวิทยาการแนะแนว) กรรมการ

บทคัดยอ

การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Design) มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาความคิดสร างสรรคของนักเรี ยนชั้ นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ ได รับการจั ดการเรี ยนรู แบบโครงงานเปนฐาน 2) เปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานและ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน กลุมตัวอยาง ที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี จํานวน 48 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย แผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ คารอยละ (p) คาเฉลี่ย ( X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบคาที (t - test) ผลการวิจัยพบวา 1) การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียน 2) นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานมีคะแนนความคิดสรางสรรคเฉลี่ยหลังเร ียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังเร ียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานโดยรวมอยูในระดับมาก ( X = 4.31)

Page 5: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

Rawadi Ruttanawijit. (2012). The Development of Creative Thinking in Computer Subject the Learning Areas of Occupations and Technology Using Project - based Learning for Pratomsuksa Five Students. Thesis. M.Ed. (Curriculum and Instruction). Chantaburi : Rambhai Barni Rajabhat University. Advisory Committee Dr. Yaowares Chaiyen Ph.D. (Science education) Chairmam Associate Professor Sunisa Im - erb M.Ed. (Phychological counseling) Member

Abstract

The purposes of this Quasi - Experimental research were 1) to development of creative thinking for Pratomsuksa five students using Project - based Learning 2) to compare pre and post learning of the creative thinking for Pratomsuksa five students using Project - based Learning 3) to compare pre and post learning of the Academic achievement for Pratomsuksa five students using Project - based Learning 4) to study the satisfaction of Pratomsuksa five students using Project - based Learning. The samples provided of 48 Pratomsuksa five students at Boonsomwittaya School, Chanthaburi Province in the second semester of the academic year 2010. The research instruments were lesson plans using Project - based Learning , development creative thinking test, Achievement test, the satisfaction evaluate. The data were analyzed by using Percentage ,Mean, Standard Deviation and t-test.

The results of the study were as follow : 1)The students who learn with Project - based Learning had development of creative thinking. 2) The students who learn with Project - based Learning had creative thinking post-learning was higher than pre-learning at a significant level of .05 3) The students who learn with Project - based Learning had analyzing Academic achievement post-learning higher than pre-learning at a significant level of .05 4) The students who learn with Project - based Learning had the satisfaction at the high level.

Page 6: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จสมบูรณดวยดี เนื่องจากไดรับความกรุณาใหคําปรึกษาและ คําแนะนําอยางดียิ่งจากรองศาสตราจารยธีรศักดิ์ อินทรมาตย ประธานสอบวิทยานิพนธ ดร.เยาวเรศ ใจเย็น ประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รองศาสตราจารยสุณิสา อ่ิมเอิบ กรรมการ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และรองศาสตราจารยวิมล เอมโอช กรรมการสอบวิทยานิพนธ ชวยใหไดรับแนวทางในการศึกษาคนควาหาความรู และประสบการณอยางกวางขวางในการทําวิจัยคร้ังนี้ ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคณาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ดังปรากฏนามในวิทยานิพนธฉบับนี้ ที่ไดใหความกรุณาและอนุเคราะหในการตรวจเครื่องมือตางๆ ที่ใชในการวิจัย รวมทั้งขอขอบคุณผูบริหารโรงเรียนบุญสมวิทยาที่ใหความรวมมือในการเก็บขอมูลและใหคําแนะนํา ตลอดจนทุกทานที่ไดใหความชวยเหลือและเปนกําลังใจที่สําคัญอยางยิ่งในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้ใหสําเร็จลุลวงดวยดี ประโยชนและคุณคาอันเนื่องมาจากวิทยานิพนธฉบับนี้ ผูวิจัยขอมอบแดคุณบิดามารดา และครูบาอาจารยผูมีพระคุณทุกทาน

เรวดี รัตนวิจติร

Page 7: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

สารบัญ

บทท่ี หนา 1 บทนํา........................................................................................................................ ความเปนมา........................................................................................................ วัตถุประสงคของการวิจยั................................................................................... ประโยชนของการวิจยั........................................................................................ ขอบเขตของการวิจัย........................................................................................... นิยามศัพทเฉพาะ................................................................................................ กรอบแนวคิดในการวิจัย..................................................................................... สมมุติฐานการวจิัย.............................................................................................. 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเก่ียวของ................................................................... หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี...................................................................... สาระการเรียนรู............................................................................................ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5....................................................... ความคิดสรางสรรค............................................................................................ ความหมายของความคิดสรางสรรค............................................................. ความสําคัญของความคิดสรางสรรค............................................................ องคประกอบของความคิดสรางสรรค.......................................................... ลักษณะของผูมีความคิดสรางสรรค............................................................. แนวทางการสงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค....................................

การวัดความคิดสรางสรรค.......................................................................... ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน...................................................................................... ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน..................................................... แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน....................................................            ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน.................................

1 1 3 4 4 4 6 7

8

9 9

10 12 12 13 14 16 18 21 24 24 25 26

Page 8: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี หนา 2 (ตอ) ความพึงพอใจ..................................................................................................... ความหมายของความพึงพอใจ..................................................................... การสรางความพึงพอใจในการเรยีน............................................................ การจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐาน............................................................. ความหมายของโครงงานเปนฐาน................................................................ หลักการของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน................................. ขั้นตอนการจดัการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน......................................... ประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน............................... งานวิจยัที่เกีย่วของ.............................................................................................. งานวิจยัตางประเทศ..................................................................................... งานวิจยัในประเทศ...................................................................................... 3 วิธีดําเนินการวิจัย...................................................................................................... การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง......................................................................... การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย......................................................................

การเก็บรวบรวมขอมูล....................................................................................... การวิเคราะหขอมูล............................................................................................. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล.......................................................................... 4 ผลการวิเคราะหขอมูล............................................................................................... สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล................................................................. การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล.................................................................... ผลการวิเคราะหขอมูล........................................................................................

27 27 28 29 29 30 31 37 38 38 39

41 41 41 48 49 49

51 51 51 52

Page 9: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี หนา 5 สรุปผล อภปิรายผล และขอเสนอแนะ.....................................................................

วัตถุประสงคของการวิจยั................................................................................................ วิธีดําเนนิการวิจัย................................................................................................

สรุปผลการวิจัย.................................................................................................. อภิปรายผลการวิจัย............................................................................................ ขอเสนอแนะ......................................................................................................

  บรรณานุกรม................................................................................................................ ภาคผนวก...................................................................................................................... ภาคผนวก ก รายนามผูทรงคุณวุฒิ.................................................................... ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล............................................ ภาคผนวก ค คุณภาพของเครื่องมือ.................................................................. ภาคผนวก ง คะแนนความคิดสรางสรรคในองคประกอบตางๆ ของนักเรียน ภาคผนวก จ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.................................................. ภาคผนวก ฉ คะแนนความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรยีนรูแบบ โครงงานเปนฐาน......................................................................... ประวัติยอผูวิจัย..............................................................................................................

56 56 56 57 58 61

62

67 68 70

126 141 149

159

168

 

Page 10: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

สารบัญตาราง ตาราง หนา

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

แสดงตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การสรางแผนการจัดการเรยีนรู................................................................................... จํานวนขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน................................................................. การพัฒนาการของความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ............................................................... การเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค วิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน........................................................... การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน................................. ความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐาน.......................................................................... การสรางแผนการจัดการเรยีนรู................................................................................... คาความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู.............................................................. คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ดานความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค  การเรียนรู............................................................................................................ แสดงคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ดานความสอดคลองของเกณฑการใหคะแนน ความคิดสรางสรรค............................................................................................. คาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคเปนรายขอ คาความเชื่อมัน่ของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค............................................ ความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ดานความสอดคลองของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์   ทางการเรียนเปนรายขอกับตัวช้ีวัด....................................................................... คาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนรายขอ............................................................................................................

11 43 46

52

53

53

54 71

127

128

129 129 130

133

134

Page 11: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

สารบัญตาราง (ตอ) ตาราง หนา

16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

คาความเชื่อมัน่ของแบบวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน................................................... คาความเหมาะสมของแบบประเมินความพงึพอใจของผูเชี่ยวชาญ............................. ผลคะแนนความคิดสรางสรรคกอนเรียนในแตละองคประกอบ................................. ผลคะแนนความคิดสรางสรรคหลังเรียนในแตละองคประกอบ................................. ผลคะแนนความคิดสรางสรรคกอนเรียนเปรียบเทียบกบัหลังเรียน............................ ผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน............................................................. ผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน.............................................................. ผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนเปรียบเทยีบกับหลังเรียน...................... ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน................ ความพึงพอใจของนกัเรยีนทีม่ีตอการจดัการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานเฉลี่ยแตละดาน

135 140 142 145 148 150 154 158 160 166

Page 12: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมา สถานการณปจจุบัน ตางประเทศใชประเทศไทยเปนฐานการผลิตสินคาหลายประเภท ไมวาจะเปนเสื้อผา กระเปา รองเทา ช้ินสวนรถยนต เมื่อผลิตในประเทศไทยเรียบรอยแลวก็จะติดเครื่องหมายการคาซึ่งเปนบริษัทของตางประเทศ จึงอาจกลาวไดวาสถานะของประเทศไทย ที่ผานมาเปนนักผลิตมากกวาเปนนักสรางสรรค ซ่ึงไมใชรากฐานแหงการพัฒนาที่ เขมแข็ง อยางแทจริง ในหลายประเทศที่พัฒนาแลวจะใหความสําคัญกับความคิดสรางสรรค หากใคร คิดสรางสรรคไมไดยอมตกเปนผูตามตลอดเวลา ความคิดสรางสรรคจึงเปนคุณสมบัติที่พึงปรารถนาในทุกหนวยงานและสังคม เพราะผูมีความคิดสรางสรรคยอมไมหยุดนิ่งหรือพึงพอใจกับสภาพการทํางานหากแตจะพยายามหาหนทางที่ดีกวา เหมาะสมกวาและมีประสิทธิภาพมากกวามาประยุกตใช (ชาญณรงค พรรุงโรจน. 2546 : 33 - 34) ความคิดสรางสรรคมีความสําคัญตอตนเองและสังคม ชวยสรางลักษณะนิสัยที่ดีใหกับเด็ก ชวยผอนคลายอารมณ ทั้งยังชวยใหเด็กไดพัฒนาทั้งทางดานรางกายและสติปญญา เปนการสงเสริมใหเด็กไดสํารวจ คนควา ทดลองเพื่อสรางสรรคส่ิงแปลกใหมเพื่อนําไปใชแกปญหาใหเกิดประโยชนกับตนเองและนําไปใชพัฒนาสังคมใหกาวหนาตอไป ความคิดสรางสรรค จึงเปนลักษณะที่สําคัญควรไดรับการสงเสริมและปลูกฝงใหกับเด็ก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกําหนดใหสถานศึกษาวางแนวทาง การจัดกระบวนการเรียนรูโดยเนนพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผูเรียน 5 ประการ หนึ่งในสมรรถนะสําคัญนั้น คือ ความสามารถในการคิดไดแก คิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ คิดสรางสรรค (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 3) และกําหนดตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ไววา นักเรียนคนหา รวบรวมขอมูล ที่สนใจและเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตาง ๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค รวมทั้งสรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ โดยที่การสรางชิ้นงานตองมี การวางแผน ออกแบบอยางสรางสรรค (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 33 - 34) นอกจากนี้โรงเรียนทุกโรงเรียนตองไดรับการประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (2548 : 16 - 17) ซ่ึงทางสํานักงานจะประเมิน 14 มาตรฐาน53 ตัวบงชี้ มีมาตรฐานสําคัญที่เกี่ยวของกับผูเรียน คือ มาตรฐานที่4 และ ตัวบงชี้ที่ 4.3 โดยมีสาระสําคัญ คือ ผูเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค คิดไตรตรอง

Page 13: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

2

และมีวิสัยทัศน การพัฒนาผูเรียนใหเปนผูที่มีความคิดสรางสรรคจึงนับไดวาเปนสิ่งสําคัญในการจัดการศึกษาโดยโรงเรียนนับวามีบทบาทสําคัญในการสงเสริมความคิดสรางสรรคใหกับผูเรียน ในระบบการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทยในขณะนี้ กําลังประสบปญหาในเรือ่งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ไมไดเนนใหนักเรียนไดฝกทักษะการคิดอยางสม่ําเสมอ สวนใหญมักจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนความรูในเนื้อหาวิชา ไมคอยไดเนนการพัฒนาทักษะการคิดเทาที่ควร ซ่ึงจะเห็นไดจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกสังกัดในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จําแนกเปนรายมาตรฐานโดยรวมของประเทศพบวามาตรฐานดานผูเรียน สถานศึกษาที่ไดรับการประเมินใหอยูในระดับพอใชมีจํานวนมากกวาครึ่งหนึ่งของจํานวนสถานศึกษาทั้งหมด เมื่อพิจารณาในมาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค คิดไตรตรองและมีวิสัยทัศน พบวาสถานศึกษาที่มีผลการประเมิน อยูในระดับควรปรับปรุง รอยละ 11 และระดับพอใช รอยละ 78 (วิเชียร เกตุสิงห. 2548 : 2 - 6) ทําใหนักเรียนไมสามารถนําขอมูลความรูที่ไดรับจากการเรียนการสอนไปคิดสรางสรรคส่ิงแปลกใหม ที่แตกตางจากการเรียนรูภายในหองเรียนได จากการรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบ 2 (พ.ศ. 2549 - 2553) ของโรงเรียนบุญสมวิทยา ในมาตรฐานที่ 4 ผูเรียนมีความสามารถคิดวิเคราะห สังเคราะห มีวิจารณญาณ คิดสรางสรรค คิดไตรตรองและมีวิสัยทัศน มีผลการประเมินอยูในระดับที่นอยกวามาตรฐานอื่น สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจึงไดเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาสถานศึกษาในมาตรฐานที่ 4 วาควรพัฒนาผูเรียนโดยบูรณาการการเรียนการสอนในหองเรียนที่สอดแทรกทักษะการคิดใหแกผูเรียนอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งปรับปรุงหรือเพิ่มกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนรูจักคิดวิเคราะห สังเคราะห และคิดสรางสรรค และจะตองสอดแทรกใหมีทุกกลุมสาระดวยการจัดกิจกรรมเสริมความรู จัดกิจกรรมโครงงานอยางจริงจัง (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. 2550 : 1 - 2 )

การที่ผูเรียนจะเกิดความคิดสรางสรรคนั้น ในการเรียนการสอนตองสอนใหผูเรียนรูจักคิด คิดเปน คิดหลาย ๆ แงมุม ปลอยใหผูเรียนคิดอยางอิสระ กระตุนใหผูเรียนกลาที่จะแสดงความคิดเห็นในทางที่สรางสรรค เปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรู ศึกษาคนควาดวยตนเองอยูเสมอ ครูเปนเพียงผูคอยใหคําแนะนํา สรางแรงจูงใจและใหโอกาสผูเรียนแสดงความคิดเห็น(ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล. 2542 : 48) ซ่ึงจากการศึกษาผลการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2549 พบวา แนวคิดและทฤษฎีที่สงเสริมความคิดสรางสรรคที่นิยมใชในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ในวงการศึกษาในชวงป 2535 - 2548 คือ ทฤษฎีการสรางความรูดวยตนเองโดย การสรางสรรคช้ินงาน (Constructionism) ( ทิศนา แขมมณี. 2551 : 96 - 98) วิธีจัดการเรียนการสอน

Page 14: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

3

วิธีหนึ่งที่สอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูขางตน คือ การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน (Project - Based Learning) ซ่ึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงานเปนฐานจะเนน การเรียนรูที่จะชวยใหผูเรียนเรียนรูตามความสนใจของตนเอง สามารถพัฒนาความคิดสรางสรรค ชวยสรางความรับผิดชอบ ความเพียรพยายาม ความอดทน และระเบียบวินัยในตนเองที่จะดําเนินการ ตามแผนงานที่วางไว อันเปนกระบวนการที่เนน การคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน และฝกใหผูเรียนไดเรียนรูวิธีการศึกษาคนควา แกปญหา รวมทั้งสามารถนําความรูที่ไดไปใชประโยชน สวนครูจะเปนผูใหคําปรึกษา คอยชวยเหลือ ซ่ึงสอดคลองกับผลการวิจัยของบุรัช แกวแสนเมือง (2544 : 60) ไดศึกษาผลการสอนโดยใชโครงงานคณิตศาสตร เร่ือง สถิติที่มีผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ือง สถิติและความคิดสรางสรรคสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสุดใจ เกตุเดชา (2547 : 75) ไดศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดและการแกปญหาโดยการสอนแบบโครงงานพบวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มุงเนนกระบวนการกลุม เร่ือง การผลิตสารชีวภาพเพื่อการเกษตร ทําใหผูเรียนที่ผานเกณฑประเมินทักษะการคิดและแกไขปญหาโดยไมตองซอมเสริม จากขอมูลดังกลาวขางตน แสดงใหเห็นวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เปนวิธีการจัดการเรียนรูวิธีหนึ่งที่ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรคของผูเรียน ดังนั้นผูวิจัยในฐานะ ที่เปนครูผูสอนในโรงเรียนบุญสมวิทยา จึงมีความสนใจที่จะนําวิธีการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานมาใชในการจัดการเรียนรู รายวิชาคอมพิวเตอร เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนโรงเรียนบุญสมวิทยา โดยทําการวิจัย เร่ือง การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี เพื่อนําผลการศึกษาไปเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการ จัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

Page 15: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

4

ประโยชนของการวิจัย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ไดพัฒนาความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานรวมทั้งครูผูสอนไดแนวทางการจัดการเรียนรูที่ใชพัฒนาความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชาคอมพิวเตอร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ท่ีใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้เปนนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี รวม 55 คน ซ่ึงจัดแบบคละความสามารถ เกง ปานกลาง และออน 2. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใช คือ นักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี ไดมาจากการเปดตาราง (Krejcle and Morgan)ไดกลุมตัวอยาง จํานวน 48 คน คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมอยางงาย นักเรียนสวนที่เหลือ 7 คนเรียนรวมกับกลุมตัวอยางแตไมนํามาใชในการ เก็บรวบรวมขอมูล ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรตน ไดแก การจดัการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 2. ตัวแปรตาม ไดแก 2.1 ความคิดสรางสรรค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 รายวิชาคอมพิวเตอร 2.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2.3 ความพึงพอใจของนกัเรียน นิยามศัพทเฉพาะ การพัฒนา หมายถึง คะแนนการทําแบบทดสอบของนักเรียนที่เปลี่ยนแปลงไปจากสภาพเดิมไปสูสภาพใหมที่มีความกาวหนาหรือเปนไปในเชิงบวก โดยใชวิธีการหรือกระบวนการที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ซ่ึงคํานวณไดจาก ผลตางของคะแนนหลังเรียนกับคะแนนกอนเรียน ความคิดสรางสรรค หมายถึง ความสามารถของนักเรียนในการผสมผสานความรูจินตนาการและประสบการณ ซ่ึงทําใหนักเรียนมีลักษณะที่สามารถคิดไดแปลกใหม แตกตางไปจาก

Page 16: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

5

ความคิดของบุคคลอื่น สามารถคิดไดรวดเร็วและถูกตอง รวมทั้งสามารถคิดหาคําตอบไดหลายประเภท ซ่ึงในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยแบงเปน 4 องคประกอบ คือ 1. ความคิดคลองแคลว หมายถึง ความสามารถในการคิดหาคําตอบใหไดจํานวนมากและอยางรวดเร็วในเวลาที่จํากัดใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนคําตอบที่ตอบถูกตามเงื่อนไขของขอสอบโดยใหคําตอบละ 1 คะแนน 2. ความคิดยืดหยุน หมายถึง ความสามารถคิดหาคําตอบไดหลายรูปแบบ หลายลักษณะ หรือหลายประเภท ที่หลากหลายแตกตางกัน ใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนกลุมหรือจํานวนทิศทางของคําตอบ โดยการนําคําตอบที่เปนทิศทางเดียวกัน หรือความหมายอยางเดียวกันจัดเขาเปนกลุมเดียวกันเมื่อจัดแลวใหนับจํานวนกลุมโดยใหคะแนนกลุมละ 1 คะแนน 3. ความคิดริเร่ิม หมายถึง ความสามารถในการคิดสิ่งแปลกใหมไปจากบุคคลอื่นและไมซํ้ากับคนสวนใหญใหคะแนนตามสัดสวนของความถี่ของคําตอบ คําตอบใดที่ตอบซ้ํากันมากๆ ก็ใหคะแนนนอยหรือไมไดเลย ถาคําตอบยิ่งซ้ํากับคนอื่นนอย หรือไมซํ้า คนอื่นเลย ก็จะไดคะแนนมากข้ึน 4. ความคิดละเอียดลออ หมายถึง ความสามารถในการอธิบายใหเห็นภาพพจนไดอยางชัดเจน ใหคะแนนตามความสามารถในการคิด คําตอบใดที่เขียนอธิบายเรื่องราว ลําดับเหตุการณไดตอเนื่องและใชภาษาเหมาะสม ชัดเจน ก็จะไดคะแนนมาก การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง วิธีการสอนที่เนนใหนักเรียนใชเทคโนโลยีในการผลิตชิ้นงาน นําเสนอผลงาน และปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการเทคโนโลยีเขากับการเรียนรู โดยมีเปาหมายในการเรียนทักษะทางคอมพิวเตอร ซ่ึงในขั้นกระบวนการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดจัดกิจกรรมการเรียนรูเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นวางแผน 2. ขั้นปฏิบัติ

3. ขั้นแสดงผล 4 . ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี หมายถึง กลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิตและรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใชประโยชนในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรค มีสาระการเรียนรูอยู 4 สาระ ประกอบดวย สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี

Page 17: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

6

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาระที่ 4 การอาชีพ รายวิชาคอมพิวเตอร หมายถึง รายวิชาที่อยูในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สอนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 ประกอบดวยเนื้อหา 5 เร่ือง คือ เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลผลคํา การทําบัตรอวยพร การทําใบปลิว การทําแผนพับ และการใช Ms Word สรางงานอยางอิสระ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนที่ไดจากความรู ความสามารถของนักเรียน ที่ไดรับจากการจัดการเรียนรู รายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึก ทัศนคติหรือระดับความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ในรายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบดวย 3 ดาน คือ ดานการสรางบรรยากาศในชั้นเรียน ดานการเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน และดานความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรู ของครู จากแบบประเมินความพึงพอใจ ซ่ึงไดแบงระดับความพึงพอใจออกเปน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด โดยมีเกณฑการแบงระดับความพึงพอใจ ดังนี้ ระดับคุณภาพ คาเฉลี่ย 4.51- 5.00 อยูในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51- 4.50 อยูในระดับ มาก คาเฉลี่ย 2.51- 3.50 อยูในระดับ ปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51- 2.50 อยูในระดับ นอย คาเฉลี่ยนอยกวา หรือเทากับ 1.50 อยูในระดับ นอยที่สุด นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 กรอบแนวคิดในการวิจัย ในการวิจัยคร้ังนี้ ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังภาพประกอบ 1

Page 18: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

7

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

สมมุติฐานในการวิจัย 1. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีคะแนนความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียน 2. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน

การจัดการเรยีนรู แบบโครงงานเปนฐาน

1. ความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี รายวิชาคอมพิวเตอร ในองคประกอบ 4 ดาน คือ

1.1 ความคิดคลองแคลว 1.2 ความคิดยืดหยุน 1.3 ความคิดริเร่ิม 1.4 ความคิดละเอียดลออ

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ความพึงพอใจของนักเรียน

Page 19: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

การวิจัย เร่ือง การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอตอไปนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี

1.1 สาระการเรียนรู 1.2 ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 2. ความคิดสรางสรรค 2.1 ความหมายของความคิดสรางสรรค 2.2 ความสําคัญของความคิดสรางสรรค 2.3 องคประกอบของความคิดสรางสรรค 2.4 ลักษณะของผูมีความคิดสรางสรรค 2.5 แนวทางการสงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค 2.6 การวัดความคิดสรางสรรค 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.1 ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. ความพึงพอใจ 4.1 ความหมายของความพึงพอใจ 4.2 การสรางความพึงพอใจในการเรียน 5. การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 5.1 ความหมายของโครงงานเปนฐาน 5.2 หลักการของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 5.3 ขั้นตอนการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 5.4 ประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

Page 20: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

9

6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 6.1 งานวิจัยตางประเทศ 6.2 งานวิจัยในประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ไดกําหนดสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สรุปไดดังนี้ (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 1- 2) สาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีกําหนดสาระการเรียนรูจํานวน 4 สาระการเรียนรู และแตละสาระการเรียนรูไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรู ไวดังนี้ สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว เปนสาระเกี่ยวกับการทํางานตางๆในชีวิตประจําวัน ชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจและภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพื่อใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง มีมาตรฐานการเรียนรู 1 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ กระบวนการแกปญหา การทํางานรวมกันและทักษะ การแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี เปนสาระการเรียนรูเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถ ของมนุษยอยางสรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี สรางสิ่งของ เครื่องใช วิธีการหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต มีมาตรฐานการเรียนรู 1 มาตรฐาน คือ มาตรฐานง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยี ในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม ส่ิงแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดตอส่ือสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือ การสรางงาน คุณคาและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีมาตรฐานการเรียนรู 1 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 21: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

10

ในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม สาระที่ 4 การอาชีพ เปนสาระที่เกี่ยวของกับทักษะที่จําเปนตออาชีพ เห็นความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีตออาชีพ ใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม เห็นคุณคาของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ มีมาตรฐานการเรียนรู 1 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ สามารถใชเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ สรุปไดวา กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีเปนกลุมสาระการเรียนรู ที่ชวยพัฒนาใหผูเรียน มีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยี มาใชประโยชนในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรค และแขงขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ รักการทํางานและมีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียงและมีความสุข มีสาระการเรียนรูอยู 4 สาระการเรียนรู รายวิชาคอมพิวเตอรอยูในสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีมาตรฐานการเรียนรู 1 ขอ คือ มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคาและใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูนั้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดกําหนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลางเพื่อเปนแนวทางจัดการเรียนรู โดยตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยมีรายละเอียดดังแสดงในตาราง 1

Page 22: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

11

ตาราง 1 แสดงตัวช้ีวดัและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3 มาตรฐานง 3.1ช้ันประถมศึกษาปที่ 5

ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ป. 5

1. คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค

การดํ า เนินการ เพื่ อใหไดขอมูลตามวัตถุประสงค มีข้ันตอนดังนี้

1. กําหนดวัตถุประสงคและความตองการ ของสิ่งที่สนใจเพื่อกําหนดขอมูลที่ตองการ คนหา 2. วางแผนและพจิารณาเลือกแหลงขอมูล ที่มีความนาเชือ่ถือ 3. กําหนดหัวขอของขอมูลที่ตองการคนหา เตรียมอุปกรณที่ตองใชในการคนหา บันทึก และเกบ็ขอมูล 4. คนหาและรวบรวมขอมูล 5. พิจารณา เปรียบเทียบ ตัดสินใจ 6. สรุปผลและจัดทํารายงานโดยมีการ อางอิงแหลงขอมูล

7. เก็บรักษาขอมูลใหพรอมใชงานตอไป

2. สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ

การสรางชิ้นงานตองมีการวางแผนงานและการออกแบบอยางสรางสรรค 1. การใชซอฟตแวรประมวลคําพื้นฐาน เชน การสรางเอกสารใหม การตกแตงเอกสารการบันทึกงานเอกสาร

2. การสรางงานเอกสาร เชน บัตรอวยพร ใบประกาศ รายงานมีการอางอิงแหลงขอมูล ใชคําสุภาพและไมกอใหเกิดความเสียหายตอผูอ่ืน

ที่มา : สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 33-34

Page 23: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

12

กลาวโดยสรุป จากตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบุญสมวิทยานํามาจัดสรางรายวิชาคอมพิวเตอร เกี่ยวของกับตัวช้ีวัดที่ 1 เนนใหนักเรียนคนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจและเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตาง ๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค และตัวช้ีวัดที่ 2 สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ ในการจัดการเรียนรู รายวิชา คอมพิวเตอร ผูวิจัยพัฒนาผูเรียนโดยบูรณาการการพัฒนาความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคิดสรางสรรค ความหมายของความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมองของมนุษยที่สามารถคิดคนและผลิตสิ่งแปลกใหมที่มีคุณคา มีนักการศึกษาหลายทานไดมองเห็นคุณคาของความคิดสรางสรรค และ ไดใหความหมายของความคิดสรางสรรคไวในแงมุมตางๆ ดังนี้ กิลฟอรด (Guilford. 1967 : 389 ; อางถึงใน กนิษฐา ชูขันธ. 2541 : 7) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนความคิดแบบอเนกนัย คือ ความคิดหลายทิศทาง หลายแง หลายมุม คิดไดกวางไกล ลักษณะความคิดเชนนี้ จะนําไปสูการประดิษฐส่ิงแปลกใหม ทอแรนซ (Torrance. 1962 : 16 ; อางถึงใน สุเมตตา คงสง. 2543 : 8) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนกระบวนการของความรูสึกที่มีตอปญหา ส่ิงที่ขาดหายไปหรือส่ิงที่ยังไมประสานกัน แลวเกิดความพยายามที่จะสรางแนวคิด ตั้งสมมุติฐาน ทดสอบสมมุติฐาน นําเสนอผลที่ไดใหผูอ่ืนไดรับรูและเขาใจ อันเปนแนวทางคนพบสิ่งใหมตอไป สมศักดิ์ ภูวิภาดาวรรธน (2544 : 2) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนเรื่องที่สลับซับซอนยากที่จะใหคําจํากัดความที่แนนอนตายตัว ถาพิจารณาความคิดสรางสรรคในเชิงผลงาน ผลงานนั้นตองเปนงานที่แปลกใหมและมีคุณคา อารี พันธมณี (2545 : 56) ใหความหมายของความคิดสรางสรรควาเปนกระบวนการทางสมองที่คิดในลักษณะอเนกนัย อันนําไปสูการคิดที่คนพบสิ่งแปลกใหมดวยการคิดดัดแปลง ปรุงแตงความคิดเดิมผสมผสานกันใหเกิดสิ่งใหม ๆ ซ่ึงรวมถึงการประดิษฐ คนพบสิ่งตาง ๆ ตลอดจนวิธีการคิด ทฤษฎี หลักการไดสําเร็จ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ (2545 : 2) กลาววา ความคิดสรางสรรค หมายถึง การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยูสูความคิดใหม ๆ ที่ไมเคยมีมากอน เพื่อคนหาคําตอบที่ดีที่สุดใหกับปญหาที่เกิดขึ้น

Page 24: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

13

ชาญณรงค พรรุงโรจน (2546 : 7) กลาววา ความคิดสรางสรรคหมายถึง ความสามารถของสมองที่คิดไดกวางไกล หลายแงมุม เรียกวา ความคิดแบบอเนกนัย ซ่ึงทําใหเกิดความคิด แปลกใหมแตกตางไปจากเดิมเปนความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธของสิ่งตาง ๆ รวมตัวเกิดการเรียนรู เขาใจจนเกิดปฏิกิริยาตอบสนองใหเกิดความคิดเชิงจินตนาการ ซ่ึงเปนลักษณะสําคัญของความคิดสรางสรรคอันจะนําไปสูการประดิษฐ หรือคิดคนสิ่งแปลกใหม หรือเพื่อการแกไขปญหา ซ่ึงจะตองอาศัยการบูรณาการจากประสบการณและความรูทั้งหมดที่ผานมา วิทยากร เชียงกูล (2551 : 11) ความคิดสรางสรรค หมายถึง ความคิดที่แปลกแตกตาง เปนสิ่งใหมและเปนประโยชนตอมนุษยชาติ แพง ชินพงศ (2551 : 7) ความคิดสรางสรรค หมายถึง ความสามารถในการคิดไดหลายทิศทาง การคิดริเร่ิม การใชจินตนาการในการคิดประดิษฐส่ิงใหมๆที่ไมเคยมีมากอน ตลอดจนการคิดปรับปรุงดัดแปลงสิ่งที่มีอยูแลวใหกลายเปนสิ่งใหมที่ไมซํ้ากับใคร สุภาวดี หาญเมธี (2551 : 8) ความคิดสรางสรรค หมายถึง กระบวนการคิดของสมองมนุษยซ่ึงมีความสามารถในการคิดไดหลากหลายและแปลกใหมจากเดิมโดยสามารถนําไปประยุกตทฤษฎี หรือหลักการไดอยางรอบคอบและมีความถูกตอง จนนําไปสูการคิดคนตอยอดจากความคิดเดิมและสรางสิ่งประดิษฐที่แปลกใหมหรือรูปแบบความคิดใหม สรุป จากความหมายของความคิดสรางสรรคในมุมมองของนักการศึกษา ความคิดสรางสรรคสามารถพิจารณาได 2 ลักษณะ คือ 1) ดานกระบวนการ เปนการพิจารณาเกี่ยวกับวิธีการแกปญหา การพยายามสรางแนวคิด นําเสนอผลงานใหผูอ่ืนเขาใจ 2) ดานผลงาน เปนการพิจารณาผลงาน ที่เปนงานแปลกใหมและมีคุณคา

ความสําคัญของความคดิสรางสรรค นักการศึกษาหลายทานไดกลาวถึงความสําคัญของความคิดสรางสรรค ดังนี ้

เจอรซิล (Jersild. 1972 : 153-158) กลาววา ความคิดสรางสรรคมีสวนชวยในการสงเสริมเด็กในดานตาง ๆ คือ สงเสริมสุนทรียภาพ , ผอนคลายอารมณ , สรางนิสัยในการทํางานที่ดี การพัฒนากลามเนื้อมือ , เปดโอกาสใหเด็กไดสํารวจ คนควา ทดลอง เฮอรลอค (Hurlock. 1972 : 319) กลาววา ความคิดสรางสรรคใหความสนุก ความสุขและ ความพอใจแกเด็กและมีอิทธิพลตอบุคลิกภาพของเด็กมาก ไมมีอะไรที่จะทําใหเด็กรูสึกหดหูไดเทากับงานสรางสรรคของเขาถูกตําหนิ ถูกดูถูก หรือถูกวาสิ่งที่เขาสรางนั้นไมเหมือนของจริง

ผุสดี กุฎอินทร ( 2537 : 73) ไดกลาวถึงความสําคัญของความคิดสรางสรรควาเปนสิ่ง ที่มีคุณคาตอตนเองและสังคม กลาวคือความสามารถในการสรางสรรคนั้น มีคุณคาตอบุคคลที่มี

Page 25: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

14

ความคิดสรางสรรคเองเพราะการสรางผลงานชิ้นใดขึ้นมา ทําใหผูที่สรางสรรคมีความพึงพอใจและมีความสุข ซ่ึงมีผลไปถึงแบบแผนบุคลิกภาพ และคุณคาของความคิดสรางสรรคที่มีตอสังคมนั้น สุรางค โควตระกูล (2545 : 143) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนพฤติกรรมที่มีคุณคาและมีความสําคัญเปนอยางยิ่งสําหรับการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพราะคนที่มีความคิดสรางสรรคมักจะเปนผูที่มีบทบาท ที่จะนําความเจริญกาวหนามาสูประเทศชาติ โดยเปน ผูริเร่ิมสรางสรรค คิดคนสิ่งประดิษฐใหมๆ บุคคลที่มีความคิดสรางสรรคจึงมีบทบาทสําคัญและเปนที่ตองการของสังคมปจจุบัน แพง ชินพงศ (2551 : 7) กลาววา ความคิดสรางสรรคทําใหเด็กเปนคนที่กลาคิด กลาทํา กลาสรางสรรคผลงานที่แปลกใหม ซ่ึงหากเด็ก ๆ มีความคิดสรางสรรคในทางที่ดีแลวผลงานที่พวกเขาสรางสรรคก็สามารถทําประโยชนใหกับสังคมไดตอไป สุภาวดี หาญเมธี (2551 : 8) กลาววา ความคิดสรางสรรคทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลง ทําใหเกิดแนวทางใหมๆในการดําเนินชีวิตและการแกปญหาชีวิตและการทํางาน การฝกการคิดหรือพยายามคิดเรื่องที่แปลกใหม ทําใหมีแนวทางในการคิดแกปญหาเพิ่มขึ้น สรางความเชื่อมั่น ความนานับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา นอกจากนี้ความคิดสรางสรรคยังชวยยกระดับความสามารถ ความอดทนและความคิดริเร่ิมของผูนําใหเพิ่มมากขึ้นและยังเปนการพัฒนาความสนใจในงาน พัฒนาการใช เวลาวางใหเปนประโยชน สรุป ความสําคัญของความคิดสรางสรรคในมุมมองของนักการศึกษา ความสําคัญของความคิดสรางสรรคนั้นสามารถพิจารณาได 2 ลักษณะ ไดแก ความสําคัญตอตนเองและสังคม นั่นคือความคิดสรางสรรคจะชวยสรางนิสัยที่ดีใหกับเด็ก ชวยผอนคลายอารมณ ทั้งยังชวยใหเด็กไดพัฒนา ทั้งทางดานรางกายและสติปญญา เปนการสงเสริมใหเด็กไดสํารวจคนควาทดลองเพื่อสรางสรรคส่ิงแปลกใหม และชวยใหบุคคลนั้นมีจินตนาในการคิดสรางสรรคส่ิงใหมๆ นําไปใชในการแกปญหาใหเกิดประโยชนกับตนเองและนําไปสูการคิดคนสิ่งประดิษฐใหมๆ เพื่อประโยชนและความกาวหนาของสังคม องคประกอบของความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมองที่ไมสามารถมองเห็นไดอยางชัดเจน นักจิตวิทยาและนักการศึกษาจึงไดอธิบายลักษณะการแสดงออกของแตละบุคคล มาจัดเปนองคประกอบของความคิดสรางสรรค นักจิตวิทยาและนักการศึกษาไดกลาวถึงองคประกอบของความคิดสรางสรรค ดังนี้ กิลฟอรด (Guilford. 1969 : 145 - 151) กลาววาความคิดสรางสรรคเปนลักษณะการคิด แบบอเนกนัย ซ่ึงประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คือ

Page 26: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

15

1. ความคิดคลองแคลว (Fluency) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคําตอบไดอยางคลองแคลว รวดเร็ว และมีปริมาณที่มากในเวลาที่จํากัด แบงเปนความคิดคลองแคลวทางดานถอยคํา เปนความสามารถในการใชถอยคําอยางคลองแคลว , ความคิดคลองแคลวทางการแสดงออก เปนความสามารถในการใชวลี หรือประโยค และนําคํามาเรียงกันอยางรวดเร็วเพื่อใหไดประโยคที่ตองการ และ ความคิดคลองแคลวในการคิด เปนความสามารถที่จะคิดในสิ่งที่ตองการภายในเวลาที่กําหนด 2. ความคิดยืดหยุน (Flexibility) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหาคําตอบ ไดหลายประเภทและหลายทิศทาง แบงออกเปน ความคิดยืดหยุนที่เกิดขึ้นทันที เปนความสามารถที่จะคิดไดหลายอยางอยางอิสระ และความคิดยืดหยุนทางดานการดัดแปลง เปนความสามารถที่จะคิดไดหลากหลายและสามารถคิดดัดแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเปนหลายสิ่งได ซ่ึงคนที่มีความคิดยืดหยุนจะคิดไดไมซํ้ากัน 3. ความคิดริเร่ิม (Originality) หมายถึง ลักษณะความคิดที่แปลกใหมและแตกตางไปจากความคิดธรรมดา เปนความคิดที่เปนประโยชนตอตนเองและสังคม ความคิดริเร่ิมอาจเกิดจากการนําเอาความรูเดิมมาคิด ดัดแปลงประยุกตใหเกิดเปนสิ่งใหมข้ึน 4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความคิดในรายละเอียดเพื่อตกแตงหรือขยายความคิดหลักใหไดความหมายสมบูรณยิ่งขึ้น ความคิดละเอียดลออเปนคุณลักษณะ ที่จําเปนอยางยิ่งในการสรางผลงานที่มีความแปลกใหมใหสําเร็จ ทอแรนซ (Torrance. 1973 : 91 - 95) ไดศึกษาเกี่ยวกับความคิดสรางสรรคของนักเรียนใน 3 องคประกอบ ดังนี้ 1. ความคิดคลอง เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบไดอยางหลากหลายเพื่อตอบคําถามปลายเปดและคําถามอื่น ๆ ไมวาจะเปนความคิดทางภาษาหรือทาทาง 2. ความคิดยืดหยุน เปนความสามารถในการแกปญหาไดหลากหลาย คิดไดหลายแงมุม และสามารถผสมผสานความรูและประสบการณใหเกิดประโยชนไดหลายดาน 3. ความคิดริเร่ิม เปนความคิดที่แปลกใหม แตกตางไปจากความคิดเดิมเปนความคิดที่แตกตางจากคนอื่นเปนการรวมกันของความคิดที่ไมมีความสัมพันธกันมากอนทั้งในดานความคิดหรือการกระทํา อารี พันธมณี (2546 : 35-43) กลาววา ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถทางสมอง ที่คิดไดกวางไกลหลายทิศทางหรือเรียกวาลักษณะการคิดอเนกนัยหรือการคิดแบบกระจาย ประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คือ 1. ความคิดคลองแคลว(fluency) หมายถึง ปริมาณความคิดที่ไมซํ้ากันในเรื่องเดียวกัน

Page 27: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

16

2. ความคิดริเร่ิม (originality) หมายถึง ลักษณะความคิดแปลกใหมแตกตางจากความคิดธรรมดาหรือความคิดงาย ๆ 3. ความคิดยืดหยุนหรือความยืดหยุนในการคิด (flexbility) หมายถึง ประเภทหรือแบบของความคิด 4. ความคิดละเอียดลออ (elaboration) หมายถึง ความคิดในรายละเอียดเปนขั้นตอนสามารถอธิบายใหเห็นภาพชัดเจนหรือเปนแผนงานที่สมบูรณข้ึน แพง ชินพงศ (2551 : 7) กลาววา ความคิดสรางสรรค ประกอบดวยองคประกอบ 4 ประการ คือ 1. ความคลองตัวในการคิด หมายถึง ความสามารถในการคิดที่คลองตัว เรียนรูเร่ืองตางๆ ไดรวดเร็ว ฉับไว และเมื่อมีปญหาก็สามารถคิดหาทางออกหรือแกไขปญหาไดอยางรวดเร็ว 2. ความคิดยืดหยุน หมายถึง ความสามารถในการปรับรูปแบบในการคิดที่ไมตายตัว สามารถคิดไดหลายประเภท หลายทาง และ หลายแงหลายมุม 3. ความคิดริเ ร่ิม หมายถึง ความคิดที่แปลกใหมไม ซํ้ากับความคิดของคนอื่น 4. ความคิดตกแตงละเอียดลออ หมายถึงสามารถคิดในรายละเอียด หรือคิดไดละเอียดลออชัดเจนขึ้น ปจจัยสําคัญที่มีผลตอความคิดสรางสรรคของเด็กคือ

จากแนวคิดของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาที่กลาวมาขางตน จะเห็นวาองคประกอบหลักของความคิดสรางสรรคที่นักการศึกษามีแนวคิดในลักษณะเดียวกันมี 4 องคประกอบ นั่นคือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ ลักษณะของผูมีความคิดสรางสรรค นักการศึกษาไดกลาวถึงลักษณะของผูที่มีความคิดสรางสรรค ดังนี้ ฟรอมม (Fromm, 1963) กลาวถึง ลักษณะของผูมีความคิดสรางสรรค จะสนใจในสิ่งที่เกิดขึ้นใหม มีสมาธิสูง ยอมรับสิ่งที่ไมแนนอนและเปนสิ่งที่เปนขอขัดแยงและความตึงเครียดได มีความเต็มใจที่จะทําสิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นใหมทุกวันและมีความกลาหาญและศรัทธาที่จะผจญตอส่ิงที่แปลกใหม อมรากุล อินโอชานนท (2548 : 25) ไดกลาวถึงลักษณะของผูมีความคิดสรางสรรคไว 10 ลักษณะ ดังนี้ 1. มีพลังในการทํางานอยางสม่ําเสมอ 2. เปนคนงาย ๆ ที่ไมยึดติดในพิธีรีตอง 3. เปนคนที่มีความรับผิดชอบสูง มีวินัยสูง 4. เปนคนชางฝน มีจินตนาการ ผลงานที่ออกมาจึงดูแปลกแหวกแนว

Page 28: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

17

5. เปนคนที่เก็บตัว และสังคมควบคูกันไป 6. มีลักษณะถอมตัว 7. มีลักษณะตรงกันขามไปจากเพศของตนเอง เชน ผูหญิงก็จะมีอํานาจในตัวเองในขณะที่ผูชายก็จะไมกาวราว ดูออนไหว 8. เปนทั้งกบฏตอตานสังคมและอนุรักษ 9. คล่ังไคลในผลงานของตนเอง 10. มีลักษณะที่เปดเผยและออนไหวในอารมณ นอกจากนี้ อารี รังสินันท (2528 : 61) กลาววา ลักษณะของผูที่มีความคิดสรางสรรคมี 16 ลักษณะ ไดแก 1. มีความสามารถในการคิดพลิกแพลง แกปญหาตาง ๆ ใหลุลวงดวยดี 2. ไมชอบทําตามผูอ่ืนโดยไมมีเหตุผล 3. มีจิตใจจดจอและผูกพันกับงาน มีความอดทนอยางทรหด 4. ไมยอมเลิกลมอะไรงาย ๆ หรือเปนนักสูที่ดี 5. มีความคิดคํานึง หรือจินตนาการสูง 6. มีลักษณะความเปนผูนํา 7. มีลักษณะขี้เลน ราเริง 8. ชอบประสบการณใหม ๆ 9. นับถือตนเอง และเชื่อมั่นในตนเองสูง 10. มีความคิดอิสระและยืดหยุน 11. ยอมรับและสนใจสิ่งแปลก 12. มีความซับซอนในการรับรู 13. กลาหาญ กลาเผชิญความจริง 14. ไมคอยเครงครัดกับระเบียบแบบแผน 15. ไมยึดมั่น ในสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนเกินไป 16. มีอารมณขัน สุภาวดี หาญเมธี (2551 : 10) กลาววา ผูที่มีความคิดสรางสรรคมี 6 ลักษณะ ไดแก

1. พยายามถามคาํถามและหาคาํตอบใหม ๆ ที่กระตุนความคิดตลอดเวลา 2. พยายามคดิโดยการอุปมาเปรียบเทียบ 3. พยายามคดิในรูปแบบของความเปนไปได

4. เรียนรูจากการอานอยางสรางสรรค

Page 29: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

18

5. เต็มใจรับ โดยไมคาดหวัง 6. ไมคิดวามีคําตอบที่ถูกตองเพยีงคําตอบเดยีวเทานัน้ สรุปไดวาลักษณะของผูที่มีความคิดสรางสรรคนั้นสามารถพิจารณาได 2 ลักษณะ ไดแก ดานความคิดและบุคลิกภาพ นั่นคือ ดานความคิด ผูมีความคิดสรางสรรคจะมีความสามารถดานการคิดพลิกแพลง แกปญหาตาง ๆ มีความคิดอิสระ มีจินตนาการ คิดในรูปแบบของความเปนไปไดและดานบุคลิกภาพ ผูที่มีความคิดสรางสรรคจะมีความมั่นใจในตนเอง เปนผูนํา รับผิดชอบ มีวินัย มีสมาธิสูง กลาแสดงออก เปดเผย ออนไหวและมีอารมณขัน ราเริง

แนวทางการสงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค ความคิดสรางสรรคเปนความสามารถที่มีอยูในตัวบุคคลทุกคน สามารถสอน แนะนํา สงเสริม และพัฒนาใหเกิดความคิดสรางสรรคในระดับที่สูงขึ้นได มีนักการศึกษาไดใหแนวคิดเกี่ยวกับแนวทางการสงเสริมและการพัฒนาความคิดสรางสรรคไวดังนี้ ทอแรนซ (Torrance. 1969 : 7 - 9) ไดเสนอกิจกรรมที่สงเสริมความคิดสรางสรรคไว 3 ลักษณะ โดยเชื่อวาเปนพื้นฐานที่จะกระตุนและจูงใจใหเกิดกระบวนการเรียนรู คือ 1. ลักษณะความไมสมบูรณ การเปดกวาง เปนลักษณะพื้นฐานแรกที่สุดในกิจกรรมกระบวนการเรียนรูโดยวิธีการสรางสรรคและการแกปญหาคือความไมสมบูรณความไมเปดกวาง มีเทคนิควิธีสอนหลายวิธีที่จะกอใหเกิดความคิดสรางสรรคโดยอาศัยความไมสมบูรณไปกระตุนการเรียนรูใหเกิดความอยากรูเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. ลักษณะการสรางและผลิตบางสิ่งบางอยางขึ้นมา วิธีหนึ่งที่ทอแรนซ (Torrance) เสนอแนะกระบวนการเรียนรูอยางสรางสรรคและการแกปญหา คือ การใหผูเรียนสรางหรือผลิตงานบางอยางขึ้นใหเปนประโยชน 3. ลักษณะใชคําถามของเด็ก ความอยากรูอยากเห็นของเด็ก ทําใหเขาถามคําถามตางๆ มากมาย ดังนั้น ครูควรเปดโอกาสใหเด็กไดถามคําถามและหาคําตอบเองจากแหลงที่เด็กสามารถคนหาคําตอบไดดวยตัวของเขาเอง เปนอีกวิธีการหนึ่งที่เด็กจะพอใจและเรียนรูอยางสรางสรรค ฮอลลแมน (Hallman. 1971 : 45 ; อางถึงใน สายสุนีย กล่ินสุคนธ. 2545 : 17-18) ไดใหขอเสนอ ในการพัฒนาความคิดสรางสรรคแกนักเรยีน 12 ประการ ดังนี ้ 1. ใหนักเรียนไดมีโอกาสเรียนรูดวยความคิดริเร่ิมของตัวเอง ซ่ึงจะเปนการกระตุน ใหอยากเปนผูคนพบและอยากทดลอง 2. จัดบรรยากาศในการเรียนรูแบบเสรี ใหนักเรียนมีอิสระในการคิดและการแสดงออก ที่มีอิสระในการศึกษาคนควาในกรอบของความสนใจ และความสามารถของเขา

Page 30: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

19

3. สนับสนุนใหนักเรียนเรียนรูเพิ่มขึ้น โดยการใหขอมูลขาวสารที่กระตุนใหนกัเรียนเกิดความสนใจที่จะเรยีนรูเพิม่ขึ้นดวยตนเอง 4. สงเสริมกระบวนการคิดสรางสรรค โดยใหนักเรียนคิดหาความสัมพันธระหวางขอมูลในรูปแบบที่แปลกใหมกวาเดิม สงเสริมการคิดจินตนาการ สงเสริมใหนักเรียนคิดวิธีการแกปญหาแปลก ๆ ใหม ๆ ตลอดจนสงเสริมใหนักเรียนมีความกลาเสี่ยงทางสติปญญา 5. ไมเขมงวดกับผลหรือคําตอบหรือขอสรุปที่ไดจากการคนพบของนักเรียนมากจนเกินไป ครูตองไมใหความสําคัญของความคลาดเคลื่อนจนเกินไปนัก ตองยอมรับวาความคลาดเคลื่อนและความผิดพลาดนั้น เปนเรื่องปกติที่เกิดขึ้นได 6. สงเสริมใหนักเรียนมีความยืดหยุนทางสติปญญาโดยยั่วยุใหนักเรียนคิดหาคําตอบ หรือแกปญหาหลายๆวิธี ดวยการพยายามคิดหาความหมายใหม โดยใชประสบการณเดิมในบริบทใหม ไมใหยึดมั่นกับประสบการณเดิมอยางมั่นคงเพียงดานเดียว 7. สนับสนุนใหนักเรียนรูจักประเมินผลสัมฤทธิ์ และความกาวหนาของตนดวยตนเอง ใหนักเรียนเกิดความกระตือรือรนดวยตนเอง มีความรับผิดชอบและรูจักประเมินตนเอง พยายามหลีกเลี่ยงการใชเกณฑมาตรฐานหรือขอสอบมาตรฐาน 8. สงเสริมใหนักเรียนเปนผูวองไวตอการรับรูในสิ่งเรา ทั้งในดานความรูสึกและปญหาดานสังคมและบุคคล 9. สงเสริมใหนักเรียนตอบปญหาประเภทปลายเปดที่มีความหมายและไมมีคําตอบ ที่เปนจริงที่แนนอนตายตัว คําถามประเภทนี้จะสนับสนุนใหนักเรียนคนควาหาขอมูลเพิ่มเติม 10. เปดโอกาสใหนักเรียนเปนผูเตรียมวัสดุอุปกรณความคิดและเครื่องมือแกไขปญหาดวยตนเอง ซ่ึงจะเปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดเขาใจกระบวนการโดยตลอด 11. ฝกใหนักเรียนตอสูความลมเหลวและความคับของใจ ผูที่มีความคิดสรางสรรคจะตองมีความสามารถที่จะอยูในสถานการณที่คลุมเครือและสามารถจัดการกับสถานการณเหลานั้นไดอยางเหมาะสม 12. ฝกใหนักเรียนพิจารณาปญหาในภาพรวมมากกวาจะพิจารณาปญหายอยๆ ใหรูจักบูรณาการปญหาและเขาใจปญหาเหลานั้น สุวิทย มูลคํา (2547 : 30 - 31) ไดเสนอแนวทางการสงเสริมการคิดสรางสรรคไว 10 ประการ ดังนี้ 1. กระบวนการคิด เปนการสอนที่เพิ่มทักษะความคิดดานตาง ๆ เชน ความคิดจินตนาการ ความคิดเอกนัย ความคิดอเนกนัย ความคิดวิจารณญาณ ความคิดวิเคราะห ความคิดสังเคราะห

Page 31: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

20

ความคิดแปลกใหม ความคิดหลากหลาย ความคิดยืดหยุน ความคิดเห็นที่แตกตางและการประเมินผล 2. ผลิตผล เปนสิ่งที่ช้ีใหเราเห็นหลายสิ่งหลายอยางของการคิด เชน วิธีคิด ประสิทธิภาพ ทางความคิด การนําความรูไปสูการนําไปใช จุดสําคัญในการสอนวาจะพิจารณาเกณฑของผลผลิตอยางไรนั้น ควรจะกําหนดใหเด็กรูจักระบุจุดประสงคของการทํางาน รูจักประเมินการทํางานของตนเองอยางใชเหตุผล มีความพยายามและสามารถนําไปปรับใชไดในชีวิตจริง 3. องคความรูพื้นฐาน เปนการใหโอกาสเด็กไดรับความรูผานสื่อและทักษะหลายดานโดยใชประสาทสัมผัสหรือความรูที่มาจากประสบการณที่หลากหลาย และมีแหลงขอมูลที่ตางกันทั้งจากหนังสือ ผูเชี่ยวชาญ การลงมือปฏิบัติดวยตนเองและที่สําคัญคือใหเด็กไดสรางความรูจากตัวของเขาเอง 4. ส่ิงที่ทาทาย การหางานที่สรางสรรคและมีมาตรฐานใหเด็กไดทํา 5. บรรยากาศในชั้นเรียน การใหอิสระเสรี ความยุติธรรม ความเคารพในความคิดเห็น ของเด็ก ใหเด็กมั่นใจวาจะไมถูกลงโทษหากมีความคิดที่แตกตางจากครู หรือคิดวาครูไมถูกตอง ยอมใหเด็กลมเหลวหรือผิดพลาด (โดยไมเกิดอันตราย) แตตองฝกใหเรียนรูจากขอผิดพลาดที่ผานมา 6. ตัวเด็ก การสนับสนุนใหเด็กมีความเชื่อมั่นตนเอง ความในเคารพตนเอง ความกระหาย ใครรู 7. การใชคําถาม สนับสนุนใหเด็กถามคําถามของเขาหรือครูผูสอนใชคําถามนํากระตุน ใหเด็กคิด 8. การประเมินผล หลีกเลี่ยงการประเมินที่ซ้ําซากหรือเปนทางการอยูตลอด สนับสนุน ใหเด็กประเมินการเรียนรูดวยตนเองและประเมินรวมกับครู 9. การสอนและการจัดหลักสูตร การผสมผสานกับวิชาการตาง ๆ เพราะสามารถใชไดกับทุกวิชา ลองใหเด็กเรียนรูในสิ่งที่ไมมีคําตอบที่ดีที่สุด หรือคําตอบที่ตายแลว คําตอบที่คลุมเครือหรือเปลี่ยนแปลงไดงายๆ ครูเปนผูใหการสนับสนุนและชวยเหลือเด็กไมใชเปนผูส่ังการ 10. การจัดระบบในชั้นเรียน ใหเด็กไดคนควาความรูดวยตนเองใหมากขึ้น ปรับระบบตารางเรียนใหยืดหยุนเพื่อตอบสนองความตองการและความสามารถที่หลากหลาย จัดกลุมการสอนหลายๆ แบบ เชน จับคู กลุมเล็ก กลุมใหญและสอนแบบเดี่ยว นอกจากนี้ ควรจัดหองเรียนใหแตกตางกันไปในแตละเวลา สถานที่ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550 : 37) ไดเสนอกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค ดังนี้ 1. กิจกรรมดานศิลปะ เปนกิจกรรมที่สงเสริมความคิดสรางสรรคและชวยฝกประสาทสัมผัสระหวางมือกับตา การรูจักใชความคิดของตนในการแสดงออกทางความคิดหลาย ๆ ดาน

Page 32: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

21

2. กิจกรรมดานภาษา ไดแก การเลานิทาน การเลนละคร การเลนบทบาทสมมุติ กิจกรรมเขาจังหวะ และการแสดงออกทางดานจินตนาการ วิทยากร เชียงกูล (2551 : 15) ไดเสนอแนวทางการสงเสริมความคิดสรางสรรค ดังนี้ 1. ทฤษฎีกระดาษเปลา (Blank paper theory) หมายถึงการไมตีกรอบความคิดผูอ่ืน ไมคิดถึงปญหา อุปสรรค ขีดจํากัดหรือ ความเปนไปไมได 2. การตั้งคําถาม (Inquiry) - ถามเหตุผล วา.........ทําไม - ถามสมมุติ ........ ถาเปนอยางนี้แลวจะทําอยางไร - ถามเปรียบเทียบเชิงพัฒนา เชน - อะไรที่คนอื่นทําแลวแตเรายังไมไดทํา - เราทําไดไหมและจะตองรีบทําอะไร - อะไรที่เราทําแลวแตคนอื่นทําดีกวา - ถามตอเนื่อง เชน ........ทําอะไร ทําไดไหม ทําอยางไร จะตองเปลี่ยนแปลงอะไร 3. การเลียนแบบ (Synetics) คือ การทําใหแตกตาง กาวหนา ดีกวาเดิมแลวกระโดดไปสูส่ิงใหม จากแนวคิดที่กลาวมาขางตน สรุปไดวาแนวทางการสงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค ควรมีการจัดการเรียนรูที่สงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค มีการใชคําถามยั่วยุใหเด็กคิดหาคําตอบดวยตนเอง สงเสริมใหนักเรียนตอบปญหาประเภทปลายเปด จัดบรรยากาศการเรียนรูแบบเสรี ใหผูเรียนสรางหรือผลิตงานบางอยางเพื่อเปนประโยชน เปดโอกาสใหผูเรียนไดคนควาความรูดวยตนเองมากขึ้น การวัดความคิดสรางสรรค นักจิตวิทยาและนักการศึกษาไดใหความสนใจทําการศึกษาการวัดความคิดสรางสรรคในลักษณะตางๆ ดังนี้ ฮอพกินส และ สแตนเลย (Hopkins and Stanlay. 1981 : 376) กลาวถึง การวัดความคิดสรางสรรค สรุปไววา การวัดความคิดสรางสรรคมีหลายวิธี วิธีหนึ่งที่นิยมใช ไดแก การทดสอบ และแบบทดสอบ ที่นิยมใช ไดแก แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของทอแรนซ และแบบทดสอบของวอลลาชและโคแกน แบบทดสอบทั้ง 2 ฉบับนี้มีทั้งสวนที่เปนแบบเขียนตอบและใชภาพ การวัดความคิดสรางสรรค จะมุงพิจารณาผลผลิตมากกวากระบวนการคิด การสรางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคจึงตองใชคําถามที่เปดกวาง ผูตอบสามารถคิดหาคําตอบที่ถูกตองไดหลายคําตอบจากคําถามเดียวกัน นอกจากนี้ อารี พันธมณี (2546 : 209 - 218) ไดกลาวถึงการประเมินความคิดสรางสรรค พอสรุปได ดังนี้ 1. การสังเกต หมายถึง วิธีการวัดวิธีหนึ่งในหลายวิธี โดยการสังเกตพฤติกรรม ของบุคคลที่แสดงออก เชิงสรางสรรค การเลียนแบบการทดลอง การปรับปรุงและตกแตงสิ่งตางๆ

Page 33: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

22

การแสดงละคร การใชคําอธิบาย และบรรยายใหเกิดภาพพจนชัดเจน ตลอดจนการเลานิทาน การแตงเรื่องใหม การเลนเกม รวมถึงพฤติกรรมที่ รู สึกซาบซึ้งตอความสวยงาม เปนตน อยางไรก็ตาม ไมมีวิ ธีทดสอบใดเพียงวิธีเดียวจะวัดความคิดสรางสรรคของเด็กไดทุกวัย ทุกระดับชั้น ยกตัวอยางเชน เด็กโตมักสนใจทําการบานนอยกวาและทําคะแนนไดนอยกวาเด็กเล็ก เพราะเด็กเล็กมีความสนใจและมีจินตนาการมากกวา ในขณะที่เด็กโตจะสนใจกับความเปนจริง ความเปนไปได และความมีเหตุมีผลมากกวา 2. การวาดภาพ หมายถึง การใหเด็กวาดภาพจากสิ่งเราที่กําหนด เปนการถายทอดความคิดเชิงสรางสรรคออกมาเปนรูปธรรม และสามารถสื่อความหมายได ส่ิงเราที่กําหนดใหเด็กอาจเปนวงกลม ส่ีเหล่ียม แลวใหเด็กวาดภาพตอเติมใหเปนภาพ เชน ใชจุดวงกลมเล็ก ๆ40 จุด จํานวน 50 ชุด เปนสิ่งเราใหเด็กวาดภาพแลวพิจารณาความคิดคลองแคลว ความคิดริเร่ิม ความคิดยืดหยุน จากภาพที่เด็กวาด หรือใหเด็กตกแตงภาพพรอมกับอธิบายประกอบภาพที่กําลังวาด และพิจารณาในแงของความแปลกใหม ไมซํ้าแบบใคร และความละเอียดลออในการตกแตงภาพ เปนตน 3. การหยดหมึก (Inkblots) หมายถึง การใหเด็กดูภาพรอยหยดหมึกแลวคิดตอบ จากภาพที่เด็กเห็นมักใชกับเด็กวัยประถมศึกษา เพราะเด็กสามารถอธิบายไดดี เชน ใชรอยหยดหมึก โดยใหเด็กดูภาพแลวตอบโดยอิสระ สวนคําสั่งก็เปนคําสั่งสั้นๆไมเฉพาะเจาะจง และสิ่งเรา รอยหยดหมึกก็เปนแบบคลุมเครือไมชัดเจน คําตอบของเด็กจะไดรับการพิจารณาจากความสามารถในการคิดประดิษฐ ลักษณะการจินตนาการ ความรู สึกและความสามารถในการรับรูที่ดี ตอรอยหยดหมึก 4. การเขียนเรียงความและงานศิลปะ หมายถึง การใหเด็กเขียนเรียงความจากหัวขอ ที่กําหนด และการประเมินจากงานศิลปะของนักเรียน นักจิตวิทยามีความเห็นสอดคลองกันวา เด็กในวัยประถมศึกษามีความสําคัญยิ่ง หรือจัดเปนชวงวิกฤติของการพัฒนาความคิดเชิงสรางสรรค เด็กมีความสนใจในการเขียนสรางสรรคและแสดงออกเชิงสรางสรรคในงานศิลปะ 5. การทดสอบ หมายถึง การใหเด็กทําแบบทดสอบความคิดสรางสรรคมาตรฐาน ซ่ึงเปนผลมาจากการวิจัยเกี่ยวกับธรรมชาติของความคิดสรางสรรค แบบทดสอบความคิดสรางสรรคมีทั้งใชภาษาเปนสื่อและที่ใชภาพเปนสื่อ เพื่อเราใหเด็กแสดงออกเชิงความคิดสรางสรรค ซ่ึงมีการกําหนด เวลาดวย ปจจุบันก็เปนที่นิยมใชมากขึ้น

5.1 แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของทอแรนซ ทอแรนซไดสรางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคขึ้นมีช่ือวา แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของทอแรนซ (Torrance Tests of Creative) โดยทอแรนซเรียกแบบทดสอบยอยวา กิจกรรม โดยคําชี้แจงในแบบทดสอบจะเนนใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานกับการทํากิจกรรม สรางความรูสึกอุนใจปราศจากความหวาดกลัวใน

Page 34: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

23

การทํากิจกรรม แบบทดสอบนี้ใชไดตั้งแตระดับอนุบาลจนถึงระดับอุดมศึกษา แบบทดสอบนี้ประกอบดวย แบบทดสอบความคิดสรางสรรคทางดานภาษา และแบบทดสอบความคิดสรางสรรคทางดานรูปภาพ 5.2 แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของวอลลาชและโคแกน แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของวอลลาชและโคแกน ประกอบดวยแบบทดสอบยอย ซ่ึงใชเวลา 55 นาที ดังนี้ ฉบับที่ 1 “พวกเดียวกัน” มี 4 ขอ เชนพยายามนึกหาคําตอบที่แปลกใหมไมเหมือนใครมาใหมากที่สุดจากสิ่งเราที่กําหนดให เชน จากสี่เหล่ียม เปนตน , ฉบับที่ 2 “ประโยชนของสิ่งของ” มี 8 ขอ เชน ใหบอกประโยชนของกระดาษหนังสือพิมพที่อานแลวมาใหมากที่สุด , ฉบับที่ 3 “ความเหมือน” มี 10 ขอ เชน เกาอี้กับโตะ มีอะไรคลายกันบาง , ฉบับที่ 4 “ความหมายของภาพเสน” มี 8 ขอ เชน ใหบอกมาใหมากที่สุดวาเมื่อดูภาพแลวนึกถึงอะไรบาง และฉบับที่ 5 “ความหมายของเสน” มี 8 ขอ เชน ใหดูภาพที่เปนเสน แลวบอกวาเปนอะไรไดบาง บอกมาใหมากที่สุด 5.3 แบบทดสอบความคลองแคลวของกิลฟอรด แบบทดสอบนี้ กิลฟอรดและคณะแหงมหาวิทยาลัยเซาทเทิรนแคลิฟอรเนีย คิดขึ้นเพื่อวัดความกระจาย (Divergent Thinking) โดยมุงวัดตัวประกอบในแตละเซลลตามโครงสรางสมรรถภาพ ทางสมองซึ่งมี 3 มิติ คือ เนื้อหา วิธีการคิด และผลผลิต แบบทดสอบความคิดสรางสรรคตามแนวคิดของกิลฟอรด จะมีข้ันตอนสําคัญพอสรุปไดดังนี้ 5.3.1 กําหนดจุดมุงหมายการวัดความคิดสรางสรรคของเด็ก ความคิดสรางสรรคของเด็ก หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการคิดหลายแง หลายมุม เกิดจากการเชื่อมโยงสิ่งที่มีความสัมพันธกันโดยมีส่ิงเราเปนตัวกระตุนทําใหเกิดความคิดแปลกใหมที่ตอเนื่องกัน สามารถนําไปแกปญหาและประยุกตใชได 5.3.2 กําหนดกรอบของการวัดความคิดสรางสรรคของเด็ก ความคิดสรางสรรคของเด็กมี 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเร่ิม ความคิดละเอียดลออ 5.3.3 การสรางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค โดยกําหนดสถานการณ หรือคําถามที่เปนรูปภาพ แลวใหคิดพิจารณารูปภาพวามีอะไรบางและตอบออกมาเปนคําตอบที่แสดงถึงความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ 5.3.4 การนําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคไปทดลองใชกับกลุมตัวอยาง นําแบบวัดที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญและผูทรงคุณวุฒิ ตรวจพิจารณาแกไขใหคําแนะนํา เพื่อตรวจสอบแลวนําไปทดสอบกับเด็กที่เปนกลุมตัวอยาง

Page 35: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

24

5.3.5 นําแบบทดสอบไปใชจริง เมื่อวิ เคราะหคุณภาพของแบบทดสอบ วัดความคิดสรางสรรความีคุณภาพตามเกณฑที่ตองการ จึงนําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคไปใชกับกลุมเปาหมายจริง เกณฑการใหคะแนน แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของกิลฟอรดมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

1) คะแนนความคิดคลองแคลว ใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนคําตอบ ที่ตอบถูกตามเงื่อนไขของขอสอบแตละขอโดยใหคําตอบละ 1 คะแนน โดยไมตองคํานึง วาคําตอบเหลานั้นจะซ้ํากับคําตอบของคนอื่นหรือไม ถานักเรียนตอบได 5 คําตอบก็จะไดคะแนน 5 คะแนน ตอบได 10 คําตอบ ก็ได 10 คะแนน

2) คะแนนความคิดยืดหยุน ใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนกลุมหรือจํานวนทิศทางของคําตอบ โดยการนําคําตอบที่เปนทิศทางเดียวกัน หรือความหมายอยางเดียวกันโดยจัดเขาเปนกลุมเดียวกันเมื่อจัดแลวใหนับจํานวนกลุมโดยใหคะแนนกลุมละ 1 คะแนน

3) คะแนนความคิดริเร่ิม ใหคะแนนตามสัดสวนของความถี่ของคําตอบ คําตอบใดที่ตอบซ้ํากันมาก ๆ ก็ใหคะแนนนอยหรือไมไดเลย ถาคําตอบยิ่งซ้ํากับคนอื่นนอย หรือไมซํ้า คนอื่นเลย ก็จะไดคะแนนมากขึ้น เกณฑการใหคะแนนยึดหลักดังนี้

4) คะแนนความคิดละเอียดลออใหคะแนนจากความสามารถในการคิดรายละเอียด สามารถอธิบายใหเห็นภาพพจนไดอยางชัดเจน สรุปไดวา การวัดความคิดสรางสรรคมีหลายวิธี ไดแก การสังเกต การวาดภาพ การหยดหมึก การเขียนเรียงความ การทดสอบ วิธีการวัดวิธีหนึ่งที่นิยมใช คือ การทดสอบโดยใชแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค ในประเทศไทยไดแนวคิดของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาของตางประเทศ มาดัดแปลงในเรื่องคําสั่ง คําชี้แจง และดัดแปลงสิ่งเราที่กําหนด โดยกําหนดสถานการณที่เปนคําถามหรือรูปภาพ การสรางแบบทดสอบควรใชคําถามที่เปดกวาง ผูตอบสามารถคิดหาคําตอบที่ถูกตองไดหลายคําตอบจากคําถามเดียวกัน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีนักการศึกษาไดกลาวถึงความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไวดังนี้ บุญชม ศรีสะอาด (2535 : 50) กลาววา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ ของบุคคลในดานวิชาการ ซ่ึงเปนผลมาจากการเรียนรูในเนื้อหาสาระและตามจุดประสงคของวิชาหรือเนื้อหาสาระของวิชาตาง ๆ

Page 36: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

25

ไพศาล หวังพานิฐ (2536 : 139) กลาววา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอน เปนผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณการเรียนรูที่เกิดจากการอบรมหรือการสั่งสอน วรรณี โสมประยูร (2537 : 262) กลาววา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือพฤติกรรมของนักเรียนที่เกิดจากการเรียนรู ซ่ึงพัฒนาขึ้นหลังจากไดรับการอบรมสั่งสอนและฝกฝนโดยตรง ทิศนา แขมมณี (2540 : 10) กลาววา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง การเขาถึงความรู การพัฒนาทักษะในการเรียน ซ่ึงอาจพิจารณาจากคะแนนสอบที่กําหนดให ธานี นงนุช (2543 : 14) กลาววา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการที่จะพยายามเขาถึงความรู ซ่ึงเกิดจากการทํางานที่ประสานกัน สรุปไดวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูความสามารถหรือพฤติกรรมของนักเรียนที่เกิดจากการเรียนรูในเนื้อหาสาระวิชาตาง ๆ อาจพิจารณาไดจากคะแนนสอบที่กําหนดให แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีนักการศึกษาไดกลาวถึงแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไวดังนี้ ประกิจ รัตนสุวรรณ (2525 : 55) กลาววา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเปนแบบทดสอบที่มุงวัดพฤติกรรมและประสบการณทางการเรียนรูของผูเรียนแบบทดสอบประเภทนี้จึงมุงวัดคุณลักษณะ ความรู ความคิด ในการที่จะเรียนลักษณะการวัดผลสัมฤทธิ์จะขึ้นอยูกับลักษณะธรรมชาติของรายวิชาที่มีกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น ๆ โดยอาจจะเปนการวัดผลสัมฤทธิ์ในแงเนื้อหาวิชาโดยตรงหรืออาจจะวัดผลสัมฤทธิ์ในเชิงลงมือปฏิบัติ หนาที่สําคัญของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์คือ มุงตรวจสอบความสามารถในการเรียนของบุคคล ทั้งในสวนที่เกี่ยวกับระดับความสามารถในการเรียน ความกาวหนา หรือพัฒนาการในการเรียน นิภา เมธธาวิชัย (2533 : 25) กลาววา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ แบบทดสอบที่วัดความรูทักษะและ สมรรถภาพทางสมองดานตางๆ ของนักเรียนที่เรียนรูมา สมนึก ภัททิยธนี และคณะ (2541 : 73 - 98) กลาววา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่วัดสมรรถภาพทางสมองดานตางๆที่นักเรียนไดรับการเรียนรูผานมาแลว ดังนั้นพอสรุปไดวา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่นักการศึกษามีความเห็นสอดคลองกัน นั่นคือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเปนแบบทดสอบที่มุงวัดความรู และสมรรถภาพทางสมองดานตางๆที่นักเรียนไดรับการเรียนรูผานมาแลว

Page 37: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

26

ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักการศึกษาไดกลาวถึงประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้ ประกิจ รัตนสุวรรณ (2525 : 55) กลาววา รูปแบบของการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประกอบดวย 2 รูปแบบ คือ แบบอัตนัย หรือเรียงความ คือแบบทดสอบที่กําหนดปญหา ที่กําหนดใหผูตอบเขียนตอบยาว ๆ หรือแบบเปนการเรียงความเปนการทดสอบถึงความคิดภาษาและอารมณ และแบบปรนัย หรือตอบแบบสั้น ๆ คือ แบบทดสอบที่กําหนดใหตอบแบบสั้นหรือกําหนดใหเลือกตอบ อาจเปนจับคู เติมคํา หรือแบบเลือกตอบ นิภา เมธธาวิชัย (2533 : 25) กลาววา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบงเปน 2 ชนิด คือ แบบทดสอบอัตนัย คือแบบทดสอบที่ใหผูตอบบรรยายคําตอบจากความรูความเขาใจของตนเอง แบงออกเปน 2 แบบ คือ แบบความเรียง และแบบทดสอบปรนัย คือแบบทดสอบที่ใหผูตอบเลือกคําตอบที่ถูกจากคําตอบ หรือตัวเลือกที่กําหนดให แบงเปน 3 แบบ คือ แบบถูกผิด แบบจับคู และแบบเลือกตอบ สมนึก ภัททิยธนี และคณะ (2541 : 73 - 98) กลาววา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีหลายรูปแบบ แตที่นิยมใชมี 6 รูปแบบ ไดแก 1. ขอสอบแบบอัตนัยหรือความเรียง (Subjective or Essay Test) เปนขอสอบที่มีเฉพาะคําถาม แลวใหนักเรียนเขียนตอบแบบเสรี เขียนบรรยายตามความรูและขอคิดเห็นของแตละคน 2. ขอสอบแบบกาถูก - ผิด (True – False Test) คือขอสอบแบบเลือกตอบที่มี 2 ตัวเลือก แตตัวเลือกดังกลาวเปนแบบคงที่มีความหมายตรงกันขาม เชน ถูก - ผิด , ใช - ไมใช , จริง - ไมจริง เหมือนกัน - ตางกัน เปนตน 3. ขอสอบแบบเติมคํา (Completion Test) เปนขอสอบที่ประกอบดวยประโยคหรือ ขอความที่ยังไมสมบูรณแลวใหผูตอบเติมคํา หรือประโยค หรือขอความลงในชองวางที่เวนไวนั้น เพื่อใหมีใจความสมบูรณและถูกตอง 4. ขอทดสอบแบบตอบสั้นๆ (Short Answer Test) ขอทดสอบประเภทนี้คลายกับขอสดสอบแบบเติมคํา แตแตกตางกันที่ขอสอบแบบตอบสั้นๆเขียนเปนประโยคคําถามสมบูรณ (ขอสอบเติมคําเปนประโยคหรือขอความที่ยังไมสมบูรณ) แลวใหผูตอบเปนคนเขียนตอบ คําตอบที่ตองการจะสั้นและกะทัดรัดไดใจความสมบูรณ ไมใชเปนการบรรยายแบบขอสอบอัตนัยหรือความเรียง 5. ขอสอบแบบจับคู (Matching Test) เปนขอสอบเลือกตอบชนิดหนึ่งโดยมีคําหรือขอความแยกออกจากกันเปน 2 ชุด แลวใหผูตอบเลือกจับคูวาแตละขอความในชุดหนึ่ง (ตัวยืน) จะคู

Page 38: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

27

กับคําหรือขอความใดในอีกชุดหนึ่ง (ตัวเลือก) ซ่ึงมีความสัมพันธกันอยางใดอยางหนึ่งตามที่ ผูออกขอสอบกําหนดไว 6. ขอสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice-Test) คําถามแบบเลือกตอบโดยทั่วไปประกอบดวย 2 ตอน คือ ตอนนํา หรือตอนถาม (Stem) กับตอนเลือก (Choice) ในตอนเลือกจะประกอบดวยตัวเลือกที่เปนคําตอบถูก และตัวเลือกที่เปนตัวลวง ปกติจะมีคําถามที่กําหนดใหนักเรียนพิจารณา แลวหาตัวเลือกที่ถูกตองมากที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวจากตัวเลือกอื่นๆ และคําถามแบบเลือก ตอบที่ดี นิยมใชตัวเลือกที่ใกลเคียงกัน ดูเผินๆ จะเห็นวาตัวเลือกถูกหมด แตความจริงมีน้ําหนักถูกมากนอยตางกัน สรุป ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่นักการศึกษามีความเห็นสอดคลองกัน แบงได 2 รูปแบบ คือ แบบอัตนัย แบบทดสอบลักษณะนี้จะใหผูเรียนเขียนบรรยายคําตอบ ตามความรูและความคิดเห็น และแบบปรนัย จะเปนแบบทดสอบที่ใหผูตอบเลือกคําตอบ ที่ถูกจากคําตอบหรือตัวเลือกที่กําหนดให ซ่ึงในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยเลือกใชแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ มาทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน ความพึงพอใจ ความหมายของความพงึพอใจ ความพึงพอใจเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่มีผลตอการเรียนรูและความสําเร็จของการศึกษาที่สงผลใหบรรลุตามเปาหมายที่วางไวอยางมีประสิทธิภาพซึ่งนักการศึกษาไดใหความหมายไวดังนี้ หลุยส จําปาเทศ (2533 : 35) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความตองการไดบรรลุเปาหมาย พฤติกรรมที่แสดงออกมาก็จะมีความสุข สังเกตไดจากสายตา คําพูดและการแสดงออก ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 6) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ ประภาส เกตุแกว (2546 : 12) กลาววา ความพึงพอใจ คือ ความรูสึกของมนุษยที่เกี่ยวของ กับอารมณ จากการไดรับการตอบสนองความตองการซึ่งแสดงออกมาทางพฤติกรรมซึ่งสังเกตไดจากสายตา คําพูดและการแสดงออกทางพฤติกรรม สรุป จากความหมายของความพึงพอใจนักการศึกษามีความเห็นสอดคลองกัน นั่นคือ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกพอใจ ชอบใจ เกี่ยวของกับอารมณ แสดงออกมาทางพฤติกรรม สังเกตไดจากสายตา คําพูดและการแสดงออก

Page 39: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

28

การสรางความพึงพอใจในการเรียน มีนักการศึกษาไดใหแนวคิดเกี่ยวกับการสรางความพึงพอใจในการเรียน ดังนี้ สมพงศ เกษมสิน (2522 : 28) กลาววา บุคคลจะเกิดความพึงพอใจไดนั้นจะตองมีการจูงใจ โดยมีมูลเหตุความตองการ 2 ประการ คือ ความตองการทางรางกายและความตองการทางจิตใจ จรูญ ทองถาวร (2530 : 12) กลาวถึงความตองการพื้นฐานของมนุษย โดยไดสรุปเนื้อความ มาจากแนวคิดของมาสโลว (Maslow) สรุปไดวา ความตองการพื้นฐานของมนุษยแบงไดเปน 5 ระดับ ดังนี้ 1. ความตองการทางรางกาย เปนความตองการพื้นฐาน ไดแก ความตองการอาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค 2. ความตองการทางดานความมั่นคง ปลอดภัย ไดแก ความตองการมีความเปนอยูอยางมั่นคง มีความปลอดภัยในดานรางกายและทรัพยสิน มีความมั่นคงในการทํางานและมีชีวิต อยูอยางมั่นคงในสังคม 3. ความตองการทางสังคม ไดแก ความตองการความรัก ความตองการเปนสวนหนึ่งของสังคม 4. ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง ไดแก ความภูมิใจ การไดรับความยกยองจากบุคคลอ่ืน 5. ความตองการความสําเร็จแหงตน เปนความตองการระดับสูงสุด เปนความตองการระดับสูง เปนความตองการที่อยากจะใหเกิดความสําเร็จทุกอยางตามแนวคิดของตนเอง อุบลรัตน เพ็งสถิต (2545 : 163) ไดสรุปการสรางความพึงพอใจในการเรียนไว 6 ประการ ดังนี้ 1. เมื่อผูเรียนมีความพรอมที่จะเรียน และมีการลงมือเรียนแลว จะทําใหผูเรียนเกิดความพึงพอใจ และมักจะไมเปลี่ยนการกระทํานั้น 2. เมื่อผูเรียนมีความพรอมที่จะเรียน แตไมมีโอกาสไดเรียน ไดแสดงความคิดเห็น ยอมทําใหเกิดความไมพึงพอใจได 3. เมื่อผูเรียนมีความไมพรอมที่จะเรียน แตถูกบังคับใหเรียน ยอมกอใหเกิดความไมพึงพอใจไดเชนกัน 4. ผูเรียนจะเรียนรูไดดี ถาการเรียนนั้นทําใหผูเรียนมีความพอใจ เพราะผูเรียนมีการตอบสนองตอส่ิงที่ตนมีความพึงพอใจ 5. ผูเรียนจะแยลง ถาผลการเรียนนั้นทําใหผูเรียนไมพอใจ เพราะผูเรียนมักจะไมยอมเรียนรูในสิ่งที่ตนไมพอใจ หรือผูเรียนจะพยายามหลีกหนีตอส่ิงที่ทําใหเกิดความไมพอใจ

Page 40: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

29

6. เมื่อตองเผชิญกับเหตุการณที่ทําใหผูเรียนเกิดความพอใจ หรือกลาวไดอีกลักษณะวาไดรับรางวัล จะทําใหผูเรียนอยูในสภาพพอใจจะไมมีการหลีกเลี่ยง แตเมื่อตองเผชิญกับสภาพการณที่ทําใหตนไมพอใจหรือไดรับการลงโทษ มีความรําคาญใจ จะทําใหผูเรียนไมปรารถนาที่จะคงสภาพนั้นไว อาจจะพยายามกระทําใหสภาพดังกลาวสิ้นสุดโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําได สรุป การที่จะทําใหผูเรียนเกิดความพึงพอใจในการเรียนนั้น จะตองมีความตองการ 2 ประการ คือ ความตองการทางดานรางกายและจิตใจ ส่ิงที่สําคัญที่สุดประการหนึ่ง คือ เสรีภาพในการที่นักเรียน มีโอกาส มีอิสระที่จะเลือกเรียนดวยตนเอง เพราะถาเกิดความพึงพอใจก็จะทําใหนักเรียนมีการพัฒนาตนเองไดอยางเหมาะสม การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน (Project-Based Learning) ความหมายของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน นักการศึกษาไดใหความหมายเกีย่วกับโครงงานเปนฐานไว ดังนี ้ ธีระชัย ปูรณโชติ (2531 : 1) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง การศึกษา ที่เนนกิจกรรมใหผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติคนควาดวยตนเองภายใตคําแนะนําของครูหรือผูเชี่ยวชาญ ใหความสําคัญกับผูเรียนสรางผลผลิต ช้ินงานที่มีคุณภาพจากการปฏิบัติจริงโดยใชเวลาอยางสรางสรรค ประนอม เดชชัย (2531 : 50) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง การจัดการเรียนรูที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติและดําเนินการใหสําเร็จตามจุดมุงหมายดวยตนเองโดยครูเปนผูคอยใหคําปรึกษา สุรชาติ วงศสุวรรณ (2542 : 5) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง การจัดการเรียนรูที่เนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติจริงดวยตนเอง โดยครูเปนผูกระตุน แนะนํา และใหคําปรึกษา สนอง อินละคร (2544 : 218) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง งาน ที่ผูเรียนจะตองทําเพื่อการเรียนรู ซ่ึงเปนกิจกรรมที่ทําผลงานหรือช้ินงานออกมาในรูปแบบตาง ๆตามกลุมสาระการเรียนรูหรือตามความสนใจ โดยจะตองทําดวยตนเอง เร่ิมจากการวางแผน การศึกษาคนควา หาขอมูล การจัดทําผลงานจนสําเร็จ และ การนําเสนอผลงาน ยุทธ ไกยวรรณ กลาววา (2546 : 14) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง กิจกรรมที่ เนนกระบวนการ โดยใหผู เรียนเปนผูคิดคน วางแผนและลงมือปฏิบัติตามแผน ที่วางเอาไว โดยอาศัยส่ือ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณในการปฏิบัติเพื่อใหงานสําเร็จภายใตคําแนะนําจากครูหรือผูเชี่ยวชาญ

Page 41: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

30

ชัยวัฒน สุทธิรัตน ( 2553 : 117) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง การจัดการเรียนรูที่เปดโอกาสใหผูเรียนมีโอกาสไดลงมือปฏิบัติจริงในทุกขั้นตอน มีโอกาสเลือกวางแผนและดําเนินการดวยตนเอง ครูเปนผูคอยใหความชวยเหลือ เปนที่ปรึกษา สรุป การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หมายถึง การจัดการเรียนรูที่เปดโอกาสใหนักเรียนลงมือปฏิบัติจริงในทุกขั้นตอน เร่ิมตนจากการวางแผน การศึกษาคนควาหาขอมูล จัดทําผลงาน นําเสนอขอมูล โดยอาศัยส่ือ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณในการปฏิบัติเพื่อใหงานสําเร็จภายใตคําแนะนําจากครูหรือผูเชี่ยวชาญ หลักการของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สถาบันการศึกษาและนักการศึกษา กลาวถึง หลักการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ดังนี้ ธีระชัย ปูรณโชติ ( 2531 : 1) กลาววา หลักการสําคัญของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานไววา เนนการแสวงหาความรูดวยตนเอง เปดโอกาสใหนักเรียนริเร่ิมวางแผนและดําเนินการศึกษาดวยตนเองโดยมีอาจารยเปนผูช้ีแนะและใหคําปรึกษา , เนนกระบวนการในการแสวงหาความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เนนการคิดเปน ทําเปน แกปญหาดวยตนเอง และการทํากิจกรรมมุงฝกใหนักเรียนรูวิธีการศึกษาคนควาและแกปญหาดวยตนเอง สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2542 : 3) กลาววา หลักการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานเปนกระบวนการจัดกิจกรรมที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ซ่ึงผูเรียนเปนผูลงมือปฏิบัติดวยตนเอง กลาวคือ ผูเรียนไดศึกษาคนควาดวยตนเอง สรุปองคความรูดวยตนเอง ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอ่ืน และผูเรียนไดนําความรูไปใชจริง บุปผชาติ ทัฬหิกรณ (ออนไลน. 2549) กลาววาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่จัดทําบนพื้นฐานของความรูและทักษะที่จําเปนของผูเรียน เนนสภาพแวดลอมที่กระตุนใหเกิดโอกาสในการเรียนรูอยางเต็มที่ นักเรียนเขามีสวนคนควาแกปญหาและปฏิบัติภาระงานตางๆ และประยุกตการเรียนรูเขากับเทคโนโลยี ซ่ึงเปนทักษะที่ตองการในปจจุบัน นอกจากนี้ ทิศนา แขมมณี (2551 : 138 - 139) กลาววาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานเปนกิจกรรมการเรียนรูที่เชื่อมโยงกับบริบทจริง สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดเขาสูกระบวนการสืบสอบ (Process of Inquiry) ซ่ึงเปนการใชกระบวนการคิดขั้นสูง ชวยใหผูเรียนไดผลิตงานที่เปนรูปธรรมออกมา การแสดงผลงานตอสาธารณชน สามารถสรางแรงจูงใจในการเรียนรูและการทํางานใหแกผูเรียนและสามารถชวยดึงศักยภาพตางๆ ที่มีอยูในตัวของผูเรียนออกมาใชประโยชน สรุป จากหลักการของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานนักการศึกษามีความเห็นสอดคลองกันวา เปนกระบวนการจัดกิจกรรมที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ในดานกระบวนการนั้นผูเรียน

Page 42: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

31

ตองรูจักคิดคน วางแผนงาน ลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เปดโอกาสใหผูเรียนไดใชความคิดผลิตและสรางชิ้นงานที่เปนรูปธรรมออกมาแลวแสดงผลงานตอสาธารณชน โดยประยุกตการเรียนรูเขากับเทคโนโลยี ขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สุรชาติ วงศสุวรรณ (2542 : 15) ไดเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ดังนี้ 1. ขั้นวางแผน หมายถึง ขั้นที่ผูเรียนรวมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารือขอสรุปของกลุม เพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ 2. ขั้นปฏิบัติ หมายถึง ขั้นที่ผูเรียนปฏิบัติกิจกรรม เขียนสรุปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการวางแผนรวมกัน 3. ขั้นประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยใหบรรลุจุดประสงคการเรียนรูที่กําหนดไวในแผนการจัดการเรียนรู โดยมีผูสอน ผูเรียน และเพื่อนรวมกันประเมิน โรงเรียนเทศบาล4 เชียงราย (ออนไลน. 2551) ไดเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐาน 4 ข้ันตอน ซ่ึงแตละขั้นตอนมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

1. ขั้นการวางแผนการเรียนรู ในการวางแผนการจัดการเรียนรู ครูและนักเรียนตาง มีบทบาทในการวางแผนการจัดการเรียนรูและเตรียมทรัพยากรที่สําคัญสําหรับการจัดกิจกรรม การเรียนรู ไดแก 1.1 การกําหนดระยะเวลาการเรียนรู ในขั้นตอนแรกนี้ครูเปนผูมีบทบาทสําคัญในการกําหนดระยะเวลาในการเรียนรูโครงงาน เพื่อสรางขอบเขตระยะเวลาสําหรับการดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยคํานึงถึงความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรูที่จะจัดขึ้น โดยปกติ ใชระยะเวลา 6 - 8 สัปดาหตอการเรียนรู 1 โครงงาน ทั้งนี้อาจจัดโครงงานตอเนื่องกันตอไปไดอีกเพื่อใหเกิดความลุมลึกในการเรียนรูหัวขอเร่ืองนั้นๆ ตอไป หากจัดระยะเวลานอยไป อาจทําให การดําเนินงานตาง ๆ ไมเสร็จทันเวลา หากจัดระยะเวลามากเกินไปผูเรียนอาจเกิดความเบื่อหนาย ไมอยากที่จะเรียนรูในหัวขอเร่ืองเดียวกันนั้นตอไปไดอีก

1.2 การแบงกลุมผูเรียน หลักการสําคัญของการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานไมไดมุงเนนการเรียนรูดวยตนเองเพียงอยางเดียวเทานั้น กระบวนการกลุมเปนกระบวนการเรียนรู ที่สําคัญของการเผชิญการทํางานในชีวิตจริง ระบบกลุมจะทําใหผูเรียนชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนมีบทบาททั้งการเปนผูนําและผูตาม พรอมกับการทํางานเปนทีม ในอนาคต ในการเลือกกลุม ผูเรียนเลือกสมาชิกภายในกลุมดวยตนเอง จะทําใหการทํางานราบรื่นไปดวยดี ความขัดแยงเกิดขึ้นนอยเพราะ ผูเรียนมีความพึงพอใจ ไมไดถูกบังคับใหรวมกลุมโดยครู

Page 43: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

32

1.3 การสรางขอตกลงรวมกัน เปนขั้นตอนของการจัดการเพื่อใหผูเรียน เรียนรูในการอยูรวมกันในสังคม โดยมีการตราขอบัญญัติหรือขอปฏิบัติรวมกัน เพื่อใหสมาชิกทุกคนปฏิบัติ ตามขอตกลง สรางความรูสึกมีสวนรวมไมไดถูกครูบังคับ เปนการปลูกฝงวินัยและการยอมรับ ซ่ึงกันและกันอีกทางหนึ่ง 1.4 การเลือกหัวขอเร่ืองที่จะเรียนรู สําหรับผูเรียนที่ไมคุนเคย หรือไมเคยเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐานมากอน การเลือกหัวขอเร่ืองที่จะเรียนรูนาจะเปนปญหาสําคัญ เพราะ ไมทราบวาตนเองตองการเรียนรูในเรื่องใด จะมีวิธีการเรียนรูอยางไรบาง ครูตองเสนอแนะวิธีการเลือกหัวขอเร่ืองที่จะเรียนรูใหกับผูเรียน โดยแนะนําวาหัวขอเร่ืองที่ผูเรียนเลือก ควรเปนความสนใจของตนเองจริงๆ จากนั้นนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับหัวขอเร่ืองนั้น ๆ โดยใชหลัก 5W 1H ไดแก Who What Where When Why และ How เพื่อตรวจสอบวาหัวขอเร่ืองที่เลือกขึ้นมานั้น มีประเด็นคําถามที่อยากจะทราบเกี่ยวกับเรื่องนั้นมากนอยเพียงใด ถาคําถามมีนอยแสดงวาหัวขอเร่ืองนั้นใชเวลาเพียงเล็กนอยในการหาคําตอบและเชื่อมโยงไปสูหัวขอการเรียนรูอ่ืนๆไดในวงแคบสําหรับหัวขอเร่ืองใดที่มีคําถามมาก แสดงวาหัวขอเร่ืองนั้นสามารถเชื่อมโยงไปสูหัวขอเร่ืองยอยอ่ืนๆที่เกี่ยวของไดมากขึ้นตามลําดับ เมื่อผูเรียนเลือกหัวขอเร่ืองโครงงานที่ตนเองจะเรียนรูไดแลว ครูเปดโอกาสใหผูเรียนแตละคน หรือแตละกลุมในหองเรียน นําเสนอหัวขอเร่ืองโครงงานที่ตนเลือกใหกับเพื่อนๆในหองรับฟงเพื่อพิจารณารวมกันวาจะเลือกหัวขอเร่ืองใดเรียนรูรวมกัน เปนการเปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการยอมรับเสียงสวนใหญ เปนการปลูกฝงระบบประชาธิปไตยอยางแนบเนียน เมื่อทุกคนไดรับฟงการนําเสนอเหตุผลของการเลือกหัวขอเร่ืองโครงงานแตละหัว ขอแลว สมาชิกทั้งหมดคือผูเรียนทุกคนจะคัดเลือกหัวขอเร่ืองที่นาสนใจที่สุดและตกลงเปนมติคัดเลือกหัวขอเร่ืองนั้นเปนหัวขอเร่ืองหลักในการเรียนรู จากนั้นจะรวมกันเขียนแผนผังความคิดเพื่อเชื่อมโยงความคิดจากประเด็นคําถามตาง ๆ เปนหัวขอเร่ืองยอย เพื่อใชในการวาง แผนกิจกรรมการเรียนรู

1.5 การวางแผนกิจกรรมการเรียนรู เมื่อรวมกันเขียนแผนผังความคิดแตละหัวขอเร่ืองยอยจะใชเวลาใหสอดคลองกับระยะเวลาที่กําหนด โดยการทําปฏิทินกําหนดกิจกรรม การเรียนรู ทําใหการเรียนรูดําเนินไปตามระยะเวลาอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการกําหนดวาแตละหัวขอเรื่องยอยจะมีวิธีการเรียนรูอยางไรบาง เชน การสืบคนขอมูล การทดลอง การเรียนรูนอกสถานที่ การลงมือปฏิบัติจริง เปนตน 1.6 การเตรียมทรัพยากร เมื่อผูเรียนเลือกหัวขอเร่ืองโครงงาน เขียนแผนผังความคิด วางแผนกิจกรรมการเรียนรูหัวขอยอยตามระยะเวลาที่กําหนดเรียบรอยแลว ครูจัดเตรียมทรัพยากร ที่ใชในการเรียนรู ที่สามารถเตรียมไดกอนลวงหนา เชน วัสดุส้ินเปลืองตาง ๆการเตรียมงบประมาณ

Page 44: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

33

ดําเนินงาน เครื่องมือส่ือหรืออุปกรณสําหรับการเรียนรู รวมถึงการติดตอประสานงานกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของ เชน การติดตอประสานงานกับแหลงเรียนรูนอกสถานที่ เปนตน สําหรับทรัพยากรอื่น ๆที่ตองใชงบประมาณเปนคาใชจาย ควรกันไวสวนหนึ่ง เพราะกิจกรรมการเรียนรูบางกิจกรรมอาจเกิดขึ้นจากผูเรียนมีความสนใจหรือเปนประเด็นคําถามขึ้นมาใหมขณะที่เรียนรูสวนผูเรียนมีการจัดเตรียมความพรอมดานทรัพยากรของตนเองเชนเดียวกัน 2. ข้ันปฏิบัติการเรียนรู เมื่อดําเนินขั้นการวางแผนเรียนรูเรียบรอยแลวสูขั้นตอนปฏิบัติการเรียนรูตามปฏิทินกิจกรรมการเรียนรูที่ไดวางแผนไว โดยแตละวันผูเรียนจะมีการปฏิบัติ การเรียนรูคือ

2.1 การวางแผนการเรียนรูประจําวัน โดยการเขียนตารางการปฏิบัติงาน เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของตนเองแตละวันวาดําเนินการไดสําเร็จหรือไมเกิดปญหาหรืออุปสรรคใดเพื่อไมใหปญหาเกิดซ้ําๆ รวมถึงการหาวิธีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นดวย 2.2 การเรียนรูดวยวิธีการตาง ๆในแตละหัวขอเร่ืองยอย จะมีวิธีการเรียนรูที่แตกตางกันซึ่งอาจมีลักษณะดังตอไปนี้

2.2.1 การสืบคนขอมูล (Searching) วิธีการสืบคนขอมูลของผูเรียน เนนการสืบคนขอมูลดวยตนเอง จากแหลงขอมูลตางๆ เชน หนังสือในหองสมุด ระบบอินเทอรเน็ต เปนตน 2.2.2 การบันทึกขอมูล (Recording)หลังจากสืบคนขอมูลแลวผูเรียนคิดวิเคราะห คัดเลือกขอมูลที่ถูกตองมาบันทึกไว โดยเนนการจดบันทึกขอมูลดวยตนเอง ไมคัดลอกจากแหลงขอมูลเดิม เพื่อใหผูเรียนไดทบทวนความรูไปทีละนอยและคิดตามสิ่งที่เขียน ซึมซับคุณธรรมของการใหเกียรติแกเจาของขอมูลเดิม โดยการเขียนอางอิง

2.2.3 การเรียนรูกับผูเชี่ยวชาญ (Learning with Expert) หรือคุณครูบางหัวขอเร่ืองอาจเรียนรูกับผูเชี่ยวชาญหรือคุณครูที่มีความรูความสามารถในหัวขอเร่ืองนั้นๆ ผูเรียนจะไดรับประสบการณตรงจากผูที่มีความเชี่ยวชาญ มีความชํานาญหรือมีความรอบรูเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ 2.2.4 การเรียนรูนอกสถานที่ (Field Trip) การออกไปเรียนรูนอกสถานที่ที่มีความสอดคลองกับหัวขอเร่ืองโครงงาน ทําใหผูเรียนสัมผัสกับบรรยากาศของสภาพแวดลอมจริง ทําใหผูเรียนไมเบื่อหนายที่จะเรียนรู มีความกระตือรือรนที่จะเรียนรูตอไป

2.2.5 การทดลอง (Experimenting) หัวขอเร่ืองบางเรื่องอาจมีการทดลอง โดยผูเรียนเปนผูออกแบบการทดลองดวยตนเอง โดยใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หรือกระบวนการเรียนรูอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหไดขอเท็จจริงตามสมมุติฐาน

2.2.6 การลงมือปฏิบัติ (Doing) การลงมือสรางผลงานบางสิ่งบางอยางออกมาใหสอดคลองกับหัวขอเร่ืองที่กําลังเรียนรูอยู ทําใหผูเรียนมีประสบการณตรงกับสิ่งที่กําลังปฏิบัติ

Page 45: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

34

เมื่อผูเรียนลงมือปฏิบัติไดฝกการคิด โดยเฉพาะอยางยิ่งดานความคิดสรางสรรค ทําใหผูเรียน เกิดความรูอยางแทจริง และจดจําไดดีกวาการทองจํา

2.2.7 การสรุปขอมูล (Summarizing) เมื่อไดขอมูลจากหลาย ๆ แหลงแลว ผูเรียนจะคัดเลือกขอมูลนํามาเขียนสรุปเปนความรูของตนเอง และจัดทําสื่อในการนําเสนอขอมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูตอไป ส่ือในการสรุปขอมูลเพื่อประกอบการนําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู เชน การจัดทําแผนผังความคิด การจัดทําสไลดคอมพิวเตอร การจัดทําวีดิทัศน การจัดทําแผนภาพนําเสนองาน การจัดทําสมุดเลมเล็ก เปนตน

2.2.8 การแลกเปลี่ยนเรียนรู (Show and Share) ข้ันตอนนี้เกิดขึ้นทุกขณะ การเรียนรู เพราะการเรียนรูเปนกลุมหรือเปนทีม ผูเรียนจะมีการแลกเปลี่ยนประสบการณการเรียนรูดวยกันเอง สอดคลองกับสภาพการทํางานจริง ที่จะตองมีการเรียนรูรวมกันตลอดเวลา ผูเรียนคนพบส่ิงใดใหมๆ ผูเรียนคนอื่นๆ ก็จะรับทราบไปพรอมๆ กัน หากขอมูลที่สรุปมาไมตรงกัน ก็จะมี การอภิปราย วิพากษ ฝกการเปดใจยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน นอกจากผูเรียนไดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนรวมโครงงานตนเองแลว ครูควรเปดโอกาสใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อน ตางโครงงานโดยการกําหนดวันเวลาที่แนนอน เพื่อใหผูเรียนมองเห็นวิธีการทํางานของแตละโครงงานซึ่งอาจมีความแตกตางกันและสามารถนํามาปรับใชกับการเรียนรูของตนเองได และทําใหไดรับความรูอ่ืนนอกเหนือจากความรูโครงงานของตนเองอีกดวย

2.2.9 การประเมินตนเอง (Self Evaluation) ฝกการออกแบบประเมินดวยตนเอง โดยผูเรียนจะรวมกันตั้งประเด็นหัวขอที่จะประเมินตนเอง ตรวจสอบตนเองและบอกไดวาจะตองปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนาตนเองใหดีข้ึนในดานใดบาง สวนใดที่ดีแลวมีเหตุผลอยางไร เปนการยอมรับที่จะมองเห็นถึงจุดบกพรองของตนเองไดเพื่อใหเกิดการพัฒนาตอไป ซ่ึงอาจมีการประเมินตนเองทุกสัปดาหหลังจากกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูแลว

2.3 การเขียนบันทึกประจําวัน (Writing Journal) เพื่อเปนการทบทวนการเรียนรูในแตละวันวาไดเรียนรูอะไรไปบาง มีการเขียนความรูสึก รวมทั้งการเขียนแสดงความคิดเห็น เปนการสะทอนความคิดของตนเอง (Reflection) เพื่อการปรับปรุงพัฒนาตอไป ผูเรียนไดฝกฝนทักษะดานการเขียนบันทึก การเขียนเลาเรื่อง การเขียนแสดงความรูสึก โดยใชภาษาไทยและภาษาอ่ืนๆ ตามความถนัดอีกดวย

จากบทบาทของผูเรียนในขั้นตอนการปฏิบัติการเรียนรู ครูมีบทบาทในการเปน ผูช้ีแนะ ระหวางการเรียนรูโดยลดบทบาทจากเปนผูบอกใหทํา เปนผูช้ีแนะ ซ่ึงการใชคําถามกระตุนผูเรียนใหเกิดแนวความคิดในการปฏิบัติงานตางๆ เปนทักษะของครูที่จะตองใชบอยข้ึนมาก และ

Page 46: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

35

จะตองมีความอดทนกับแรงกดดันที่บางครั้งผูเรียนอาจคิดไมไดตามที่ใจครูตองการ ครูจะตองเปลี่ยนคําถามหรือใชวิธีการใหมเพื่อใหผูเรียนแสดงศักยภาพในการเรียนรูของตนเองออกมา 3. ขั้นแสดงผลการเรียนรู

เมื่อผู เ รียนเรียนรูครบตามหัวขอเ ร่ืองยอยที่ไดกําหนดไวตั้งแตตอนตนแลว ชวงสัปดาหสุดทายของโครงงาน จะมีการจัดนิทรรศการเพื่อแสดงผลการเรียนรูตลอดระยะเวลา ที่ผานมา โดยนําเอาผลงานในรูปแบบตางๆ ที่ไดจัดทําขึ้น มาจัดแสดงในรูปแบบนิทรรศการ เพื่อเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรูใหกับบุคคลทั่วไป การจัดนิทรรศการนั้นผูเรียนจะมีการวางแผนการจัดนิทรรศการ มีการแบงหนาที่การทํางาน มีการวางแผนปฏิบัติงาน และการวางแผนงบประมาณ คลายคลึงกับสภาพการทํางานจริง ๆ ในอนาคต

4. ขั้นสรุปประเมินผลและตอยอดการเรียนรู

นอกเหนือจากการประเมินตนเองของผูเรียนระหวางการเรียนรูแลว เมื่อผูเรียน ผานกระบวนการเรียนรูครบตามขั้นตอนตาง ๆ แลว ครูจะตรวจสอบประเมินการเรียนรู จากแฟมสะสมงานของนักเรียนที่จัดทําขึ้นในรูปแบบตาง ๆเชน แฟมเอกสาร ไฟลสไลดคอมพิวเตอร ไฟลวีดิทัศน ช้ินงานตาง ๆ เปนตน

นอกจากนี้โรงเรียนดรุณสิกขาลัย (ออนไลน. 2551) ไดเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 8 ขั้นตอน ดังนี้

1. เร่ิมตนจากสิ่งที่เด็ก ๆ สนใจ โดยกอนเปดเทอมเด็ก ๆ จะมารวมกันคิดจัดทําโครงงาน

2. ครูจะบูรณาการวิชาการที่เด็กสนใจพรอมกับเตรียมขอมูลเชื่อมโยงระหวางความรูที่เกี่ยวของ ในโครงงาน อาทิ วิทยาศาสตร ศิลป คณิต สังคม ภาษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ฯลฯ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการลงในโครงงานโดยใชเทคโนโลยีเปนสื่อ 3. ครูและเด็กวางแผนรวมกัน ครูและเด็กตองวางแผนรวมกันวาจะจัดใหมีกิจกรรมใดบางในแตละวัน ตลอดระยะเวลาโครงงาน ทําใหเด็กๆ มีภาพแผนงานของตัวเองและกลุม ตั้งแตตนจนจบโครงงาน (ดรุณสิกขาลัยแบงภาคเรียนเปน 3 ภาค ภาคเรียนละ 1 โครงงาน) คุณครูในฐานะผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู (Facilitator) นําเสนอสิ่งที่ผูเรียนนาจะไดเรียนรูและสอบถามสิ่งที่นักเรียนอยากเรียนรูเพิ่มเติม พรอมทั้งเชื่อมโยงความรูตางๆ ใหนักเรียนเห็นภาพรวมทั้งหมดดวยตนเอง แลวใหนักเรียนเขียนภาพความคิด และวางแผนการเรียนรูในแตละหัวขอและจัดทําตารางเวลาเรียนรูแตละเรื่องเปนแผนการทํางาน ทําใหผูเรียนมีความเปนเจาของโครงงานและมีความกระตือรือรนที่จะทํางานนั้นใหบรรลุผลสําเร็จ

4. เรียนรูดวยการลงมือทําจริง ทั้งการหาขอมูล การทดลอง การสรางชิ้นงาน หรือการพบปะเรียนรูจากผูเชี่ยวชาญและสถานที่จริงนักเรียนจะไดสัมผัสและเขาใจกับสิ่งตางๆ ไดอยางลึกซึ้ง มิใช

Page 47: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

36

เพียงการเรียนรูตามทฤษฏีเทานั้น หลักจากนั้นนักเรียนจะนําองคความรูที่ไดสรางขึ้นมานําเสนอ เพื่อเขาสูกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเพื่อนๆ ในกลุม อีกทั้งคุณครูยังไดตรวจสอบไดวาถูกตองและครบถวนหรือไม ถายังไมถูกตองหรือครบถวน ตองใหผูเรียนยอนกลับไปเริ่มตน หาขอมูลใหมหรือเพิ่มเติมอีกครั้ง จนกวาจะสมบูรณ จึงจะไปสูข้ันตอนที่ 5 ได 5. สรุปความรูและเก็บบันทึกผลงาน ในรูปแบบของบทความ สมุด รวบรวมผลงาน (Portfolio) และแผนภาพความคิด ซ่ึงเปนการใหนักเรียนสามารถสรางองคความรูข้ึนไดดวยตนเอง 6. จัดเตรียมนิทรรศการเพื่อผลงานจากการเรียนรูเพื่อนําเสนอใหผูปกครองและผูสนใจเขาชม ซ่ึงจะมีทุก ๆส้ินโครงงานโดยขั้นตอนนี้ นักเรียนจะเปนผูคิดวิธีการนําเสนอ วางแผน และดําเนินการดวยตนเอง 7. วิเคราะหและประเมินผล คือ การประเมินดานความรู ทักษะ และพฤติกรรม ผานชิ้นงาน กิจกรรม แฟมผลงาน แบบบันทึกพฤติกรรมโดยคุณครู 8. การตอยอดองคความรู (Modification) หมายถึงการนําเอาสิ่งที่ไดเรียนรูจากการทําโครงงานนั้นมาใชเพื่อพัฒนาตนเองไปสูการทําโครงงานถัดไปที่ใหญขึ้น ลึกขึ้น หรือแมกระทั่งเร่ืองใหมๆ วงจรการเรียนรูก็จะเริ่มจากตนจนจบกระบวนการแบบนี้ไปเรื่อยๆ และจะพัฒนาเปนนิสัยการเรียนรูติดตัวนักเรียนไปตลอดชีวิต การเรียนรูแบบโครงงานผูเรียนจะไดรับการสนับสนุนใหเลือกโครงงานที่สนใจที่สุด และพัฒนาโครงงานของเขาเองและกลุม ดวยความเชื่อวาพลังการเรียนรูที่มีความกระตือรือรนของผูเรียนจะนํามาซึ่งความพอใจในสิ่งที่ทําความมุมานะบากบั่น ความมีสมาธิจดจอ และการแกไขปรับปรุงสิ่งที่ผิดพลาดอยางไมรูจักเหน็ดเหนื่อยเปนการบมเพาะนิสัยในการรวมกันทํางานเปนทีมอยางเปนกัลยาณมิตร นอกจากนี้ ชัยวัฒน สุทธิรัตน (2553 : 119 - 120) ไดเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ไว 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นนําเสนอ เปนขั้นที่ครูเสนอเหตุการณหรือสถานการณใหนักเรียนเกิดความตองการที่จะวางแผนในการแกปญหาใดปญหาหนึ่ง 2. ขั้นกําหนดจุดมุงหมาย เปนขั้นที่นักเรียนทําการเลือกปญหาและตั้งจุดมุงหมาย ในการศึกษา โดยการทํางานเปนกลุม 3. ขั้นวางแผน เปนขั้นที่นักเรียนภายในกลุมชวยกันวางแผนวาจะดําเนินการอยางไรจึงจะสามารถบรรลุจุดมุงหมายที่วางไว 4. ขั้นการดําเนินงาน เปนขั้นที่ทําตามแผนที่วางไวของแตละกลุม

Page 48: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

37

5. ขั้นประเมินผล เปนขั้นที่นักเรียนเปนผูประเมินวางานที่นักเรียนทํานั้นบรรลุจุดมุงหมายหรือไม และงานที่ทํานั้นมีประโยชนอยางไร 6. ขั้นติดตามผล เปนขั้นการติดตามผลของโครงงานตอไปเพื่อพัฒนาใหดียิ่งขึ้น

จากแนวคิดที่กลาวมาขางตนจะเห็นวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานที่นักการศึกษาและสถาบันการศึกษา มีแนวคิดในลักษณะเดียวกันกันมี 3 ข้ันตอน คือ ขั้นวางแผน,ข้ันปฏิบัติ,ข้ันประเมินผลและตอยอดการเรียนรู แมวานักการศึกษาทั้ง 2 ทานจะมีแนวคิดที่แตกตางจากทั้ง 2 โรงเรียนในขั้นตอนของการแสดงผลการเรียนรูแตผูวิจัยพิจารณาเห็นวา การที่นักเรียนออกมานําเสนอและแสดงผลงานนั้นเปนสวนสําคัญที่จะพัฒนาใหนักเรียนกลาคิด กลาแสดงออกและสามารถอธิบายรายละเอียดขั้นตอนของ การทํางานไดชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้นผูวิจัยจึงสรุปขั้นตอนของโครงงานเปนฐาน 4 ขั้นตอน คือ ข้ันวางแผน ขั้นปฏิบัติ , ขั้นแสดงผล , ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู ประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน นักการศึกษากลาวถึงประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ดังนี ้ ชาตรี เกิดธรรม (2547 : 5 - 6) กลาววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานมีประโยชน ตอผูเรียน 4 ประการ ดังตอไปนี้ 1. ผูเรียนไดพัฒนาการเรียนรู เกิดการเรียนรูและสรางองคความรูไดดวยตนเอง 2. สงเสริมกระบวนการคิดไดแสดงออกถึงความคิดริเร่ิมสรางสรรค ลงมือปฏิบัติจริง สามารถสรางผลงานและแกปญหาตางๆไดดวยตนเอง 3. ผูเรียนสามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนได พรอมฝกภาวะความเปนผูนําและผูตามที่ดีได 4. เปนการบูรณาการความรู ความคิด ทําใหสามารถแกปญหาในชีวิตประจําวันได บุปผชาติ ทัฬหิกรณ (ออนไลน. 2549) กลาวถึงประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 10 ประการ ดังตอไปนี้ 1. ผูเรียนมีโอกาสไดพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดแกปญหา คิดริเร่ิม 2. ผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิชานั้นๆ 3. ผูเรียนไดแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง ทําใหเกิดความเชื่อมั่น 4. ผูเรียนมีโอกาสไดเรียนรูในเรื่องที่ตนสนใจ ไดลึกซึ้งมากกวาเรียนตามหลักสูตร 5. ผูเรียนไดพัฒนาความรับผิดชอบ และสรางวินัยใหเกิดขึ้นกับตนเอง 6. ผูเรียนไดใชเวลาวางใหเกิดประโยชนและมีคุณคาไดอยางสรางสรรค 7. ผูเรียนเปนผูที่มีเหตุและผล ไมเปนคนหลงเชื่องมงาย 8. สรางความสัมพันธอันดี ระหวางครูกับนักเรียน โรงเรียนกับชุมชน 9. ในการเรียนรูผูเรียนจะเรียนรูในบรรยากาศที่ทุกคนเรียนรูซ่ึงกันและกันตลอดเวลาโดยใช

Page 49: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

38

เทคโนโลยีเปนสื่อในการเรียนรูในการสื่อสารแลกเปลี่ยนประสบการณระหวางกัน 10. เปนการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น เสนอแนะ ติชม อยางสรางสรรค ผูเรียนยังไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและนําไปสูการปฏิบัติจริง นอกจากนี้ ชัยวัฒน สุทธิรัตน (2553 : 119) กลาวถึงประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 4 ประการ ดังตอไปนี้ 1. เปนการสงเสริมใหผูเรียนฝกทักษะในการปฏิบัติงาน 2. ทําใหผูเรียนรูจักวิธีการทํางานอยางมีระบบและแผนงานที่ดี 3. ผูเรียนมีโอกาสไดฝกฝนกระบวนการในการคนหาความรู 4. ผูเรียนเกิดความคิดสรางสรรคและสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตจริงในแงของวิธีการทํางานอยางเปนระบบและผลผลิตที่ไดจากโครงงาน จากประโยชนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สามารถพิจารณาได 2 ดาน ไดแก ประโยชนตอตนเอง และ ประโยชนในดานการทํางานรวมกับผูอ่ืน กลาวคือ การจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐานจะชวยพัฒนาความรู สงเสริมกระบวนการคิดสรางสรรค อีกทั้งยังชวยสงเสริมความสัมพันธอันดี ระหวางครูกับนักเรียน โรงเรียนกับชุมชนอีกดวย งานวิจัยท่ีเก่ียวของ งานวิจัยตางประเทศ ซิลเดรส (Childress. 1983 : Abstract) ศึกษาผลจากการทําโครงงานตอพัฒนาการของเด็กวัยรุน กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่เลือกเรียนวิชาเคมี จํานวน 73 คน จาก 12 เขตการศึกษา ทําการ ศึกษาโดยแบงกลุมตัวอยางเปน 3 กลุม ดังนี้ กลุมที่ 1 นักเรียนตองทําโครงงาน กลุมที่ 2 นักเรียนเลือกที่จะทําหรือไมทําโครงงานก็ได และกลุมที่ 3 นักเรียนไมตองทําโครงงาน ผลจากการวิจัยพบวา นักเรียนทั้งสามกลุมหลังจากผานการทดลองนาน 9 สัปดาห มีพัฒนาการทางสติปญญาของเพียเจต ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และพบวากิจกรรมที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวม นักเรียนที่อยูกลุมที่ 1 คือกลุมที่ตองทําโครงงานมักเขาไปมีสวนรวมมากที่สุด นอกจากนี้การวัดดวยแบบทดสอบการคิดเชิงตรรกศาสตร พบวานักเรียนที่อยูกลุมที่ 1 คือกลุมที่ตองทําโครงงานมีระดับพัฒนาการทางสติปญญา ตามขั้นตอนการเรียนรูตามทฤษฎีของเพียเจตสูงจากเดิมมากที่สุด ราบิทที (Rabitti. 1992 : Abstract ; อางถึงใน จิรภรณ วสุวัต. 2540 : 72 )ไดทําการวิจัยเกี่ยวกับบทบาทของครูกับการสอนดวยวิธีการสอนแบบโครงงานของโรงเรียนอนุบาลที่ La Villetta ประเทศอิตาลี พบวา บทบาทครูมีความสําคัญอยางมากในการสงเสริมการเรียนรูของเด็ก กลาวคือครูตองแสดงใหเด็กเห็นวาครูยอมรับความคิดเห็นของเด็ก ครูตองคอยสนับสนุน ชวยเหลือรวมทั้ง

Page 50: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

39

ใหคําแนะนํา กระตุนใหเด็กไดพัฒนาความคิดโดยใชคําถาม เพื่อใหเด็กสามารถพัฒนาความคิด ใหเด็กไดใชความสามารถในการทํากิจกรรมตางๆไดดวยตนเองและครูควรสงเสริมบรรยากาศการเรียนรูแบบรวมมือและพึ่งพาตนเองใหแกเด็ก งานวิจัยในประเทศ บุรัช แกวแสนเมือง (2544 : 60) ไดศึกษาผลการสอนโดยใชโครงงานคณิตศาสตร เร่ือง สถิติที่มีผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ือง สถิติและความคิดสรางสรรคสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนและเกณฑรอยละ 70 ของคะแนนทั้งหมด ไมแตกตางกัน นาฎนภางค สังฆานาคิน (2545 : บทคัดยอ)ไดเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค ความพึงพอใจตอวิธีการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานกับการสอนปกติ ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลองที่ไดรับการสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานและกลุมควบคุมที่ไดรับการสอนแบบปกติ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กลุมทดลองมีคาเฉลี่ยคะแนน ผลการพัฒนาสูงกวากลุมควบคุม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนที่ไดรับ การสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน มีความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แตความพึงพอใจตอวิธีสอนไมแตกตางกัน สุดใจ เกตุเดชา (2547 : 75) ไดศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดและการแกปญหาโดยการสอนแบบโครงงานพบวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มุงเนนกระบวนการกลุม เร่ือง การผลิตสารชีวภาพเพื่อการเกษตร วิชาสารชีวภาพในงานผลิตพืช ทําใหผูเรียนที่ผานเกณฑประเมินทักษะการคิดและแกไขปญหาโดยไมตองซอมเสริม คิดเปนรอยละ 97.27 ทําใหผูเรียนสามารถจัดทําผลิตภัณฑสารชีวภาพเพื่อการเกษตรไดอยางมีคุณภาพที่มีความหลากหลายตามความสนใจและความถนัดของกลุม รอยละ 100 มีการสงงานมอบหมายงานกลุม การทํางานรวมกัน มีการซักถามในระหวางการทํากิจกรรม รอยละ 100 มีทักษะการแกไขปญหา รอยละ 91.82 และมีความคิดสรางสรรค รอยละ 86.36 ตามลําดับ สงผลทําใหผูเรียนคิดเปน ทําเปน และแกปญหาเปน รวมทั้งมีความสุขในการทํากิจกรรม สามารถนําทักษะ ประสบการณไปใชในชีวิตประจําไดเปนอยางดีโดยที่ผูเรียนมีความ พึงพอใจในวิธีเรียนแบบโครงงานที่มุงเนนกระบวนการกลุมสัมพันธ รอยละ100 วัสดุฝกเพียงพอ

Page 51: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

40

รอยละ 86.36 ส่ือ อุปกรณ การเรียนการสอนเพียงพอ รอยละ 100 การมอบหมายงาน ผูเรียนพอใจ รอยละ 86.36 และ สภาพแวดลอมและความอํานวยความสะดวกในการเรียน ผูเรียนพอใจ รอยละ 100 สิริพร ศรีสมวงษ (2549 : 54) ไดศึกษาผลการจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มีตอการพัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษและคุณลักษณะอันพึงประสงค 5 ดาน คือ ทักษะการคิด ทักษะการแสวงหาความรู คุณลักษณะความรับผิดชอบ คุณลักษณะความรวมมือสามัคคี คุณลักษณะกลาแสดงออก ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 จํานวน 50 คน ซ่ึงไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัย พบวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถพัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถมสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 และการจัดการเรียนรูแบบโครงงานสามารถพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน อันไดแก ทักษะการคิด ทักษะการแสวงหาความรูคุณลักษณะความรับผิดชอบ คุณลักษณะความรวมมือสามัคคี คุณลักษณะการกลาแสดงออก เดนศักดิ์ มั่นคง (2549 : 83) ไดศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โดยใชกิจกรรมโครงงาน ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีคะแนนจากการทําแบบทดสอบวัดทักษะการคิด เฉลี่ยรอยละ 65.00 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไว รอยละ 70 และมีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑ รอยละ 65.00 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑที่กําหนด รอยละ 70 นักเรียนมีคะแนนจากการประเมินทักษะ การคิด โดยใชเกณฑการใหคะแนน เฉลี่ยรอยละ 69.83 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑที่กําหนด รอยละ 70 และมีจํานวนนักเรียนที่ผานเกณฑเฉลี่ยรอยละ 25 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑ รอยละ 70 นักเรียนมีคะแนนจากการประเมินโครงงานวิทยาศาสตร เฉลี่ยรอยละ 67.50 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑที่กําหนด รอยละ 70 และมีจํานวนนักเรียนผานเกณฑเฉลี่ยรอยละ 50 ซ่ึงต่ํากวาเกณฑที่กําหนด รอยละ 70 นักเรียนมีคะแนนจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร เฉลี่ยรอยละ 73.25 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนด รอยละ 70 และมีจํานวนนักเรียนผานเกณฑเฉลี่ยรอยละ 75.00 ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่กําหนด รอยละ 70 จากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของจะเห็นไดวา โครงงานเปนกิจกรรมที่สงเสริมทักษะทางการคิดสรางสรรคของนักเรียนเปนสําคัญ โดยใหนักเรียนไดเรียนรูและสรางองคความรูดวยตนเอง มีการใชทักษะกระบวนการในการปฏิบัติกิจกรรมการศึกษา คนควาหาความรูและใชความคิดสรางสรรคผลงานดวยตนเอง รวมท้ังยังทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะนําหลักการของโครงงานมาประยุกตใชในการจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐานการเรียนรูรวมกับการใช เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ในรายวิชาคอมพิวเตอร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5

Page 52: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 มีขั้นตอนในการดําเนินการ ดังตอไปนี้

1. การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง 2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรท่ีใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้เปนนักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี รวม 55 คนซ่ึงจัดแบบคละความสามารถ เกง ปานกลาง และออน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางที่ใช คือ นักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี ไดมาจากการเปดตาราง (Krejcle and Morgan)ไดกลุมตัวอยาง จํานวน 48 คน คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมอยางงาย นักเรียนสวนที่เหลือ 7 คนเรียนรวมกับกลุมตัวอยางแตไมนํามาใชในการเก็บรวบรวมขอมูล การสรางเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก แผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 1. การสรางแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 1.1 ศึกษาเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของกับความคิดสรางสรรคและการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน และ มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัดชั้นป กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551

Page 53: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

42

1.2 สรางแผนการจัดการเรียนรู รายวิชาคอมพิวเตอร โดยใชการจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐาน เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเ ร่ิม และความคิดละเอียดลออ จํานวน 5 แผน ซ่ึงแตละแผนประกอบดวยหัวขอตอไปนี้ 1.2.1 แผนการจัดการเรียนรู (วิชา/เร่ือง/ระดับชั้น/เวลา/ภาคเรียน/ปการศึกษา) 1.2.2 มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด 1.2.3 จุดประสงคการเรียนรู 1.2.4 สาระสําคัญ 1.2.5 สาระการเรียนรู 1.2.6 กิจกรรมการเรียนรู (ออกแบบโดยใชการจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐาน 4 ขั้นตอน) 1.2.7 ส่ือการเรียนรู 1.2.8 การวัดผลประเมินผล 1.2.9 ความเห็นของผูบริหาร 1.2.10 บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู ผูวิจัยไดสรางตารางแผนการจัดการเรียนรู 5 แผน โดยมรีายละเอียด ดงัตาราง 2 ตาราง 2 แสดงการสรางแผนการจัดการเรยีนรู

สัปดาหท่ี แผนการจัดการเรียนรู ชิ้นงาน เวลาเรียน

1 - 2 1.เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word)

ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 เครื่องมือและคําสั่งในเครื่องคอมพิวเตอร

2 ช่ัวโมง

3 - 4 2.การทําบัตรอวยพร ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 บัตรอวยพรในเครื่องคอมพิวเตอร

2 ช่ัวโมง

Page 54: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

43

ตาราง 2 (ตอ)

สัปดาหท่ี แผนการจัดการเรียนรู ชิ้นงาน เวลาเรียน

5 - 7 3.การทําใบปลิว ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 - 3 ใบปลิวในเครื่องคอมพิวเตอร

3 ช่ัวโมง

8 - 10 4.การทําแผนพับ ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 - 3 แผนพับในเครื่องคอมพิวเตอร

3 ช่ัวโมง

11 - 13 5.การใชMs Word สรางงานอยางอิสระ

ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 - 3 ช้ินงานในเครื่องคอมพิวเตอร

3 ช่ัวโมง

2. การหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 2.1 นําแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้น เสนอตอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตอง 2.2 นําแผนการจัดการเรียนรูที่ผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธเสนอผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน (ภาคผนวก ก) เพื่อตรวจพิจารณาความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรูตามแบบประเมิน ซ่ึงแบบประเมินมีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมนอย และเหมาะสมนอยที่สุด ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรูไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.68 (ภาคผนวก ค) ซ่ึงอยูในเกณฑเหมาะสมมากที่สุดแสดงวานําแผนการจัดการเรียนรูไปใชได 2.3 ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรู ตามคําแนะนําและขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ คือ ในขั้นของการจัดกิจกรรมการเรียนรูควรกําหนดเวลาในแตละขั้นตอนของการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานใหชัดเจน

2.4 นําแผนการจัดการเรียนรู ไปทดลองสอนกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อนํามาปรับปรุงแกไขอีกครั้ง กอนนําแผนการจัดการเรียนรูไปจัดพิมพใหถูกตองและทดลองใชจริงกับกลุมตัวอยาง

Page 55: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

44

แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค งานวิจัยนี้นําแนวคิดในการพัฒนาแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคของกิลฟอรด มาเปนกรอบแนวคิดในการพัฒนาแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยการสรางและหาคุณภาพเครื่องมือของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค ผูวิจัยดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การสรางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค 1.1 กําหนดจุดมุงหมายการวัดความคิดสรางสรรค โดยศึกษาเอกสาร คูมือครู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 มาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัดชั้นป กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 1.2 กําหนดกรอบของการวัดความคิดสรางสรรค โดยวัดความคิดสรางสรรคทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว , ความคิดยืดหยุน , ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ 1.3 สรางแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค โดยแบบทดสอบเปนแบบทดสอบอัตนัย จํานวน 4 ขอ ซ่ึงครอบคลุมการวัดความคิดสรางสรรคขอละ 1 ดาน คือ ขอ 1 วัดความคิดคลองแคลว ขอ 2 วัดความคิดยืดหยุน ขอ 3 วัดความคิดริเร่ิม ขอ 4 วัดความคิดละเอียดลออ เพื่อใชในการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 1.4 ผูวิจัยสรางเกณฑในการตรวจใหคะแนนแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ 1.4.1 คะแนนความคิดคลองแคลว ใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนคําตอบ ที่ตอบถูกตาม เงื่อนไขของขอสอบ โดยไมตองคํานึงวาคําตอบเหลานั้นจะซํ้ากับคําตอบของคนอื่นหรือไม 1.4.2 คะแนนความคิดยืดหยุน ใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนกลุมหรือจํานวนทิศทางของคําตอบ โดยการนําคําตอบที่เปนทิศทางเดียวกัน หรือความหมายอยางเดียวกันโดยจัดเขาเปนกลุมเดียวกันเมื่อจัดแลวใหนับจํานวนกลุมคําตอบ 1.4.3 คะแนนความคิดริเร่ิม ใหคะแนนตามสัดสวนของความถี่ของคําตอบ คําตอบใดที่ตอบซ้ํากันมาก ๆ ก็ใหคะแนนนอยหรือไมไดเลย ถาคําตอบยิ่งซ้ํากับคนอื่นนอย หรือไมซํ้าคนอื่นก็จะไดคะแนนมากขึ้น 1.4.4 คะแนนความคิดละเอียดลออ ใหคะแนนจากความสามารถในการคิดในรายละเอียด สามารถอธิบายใหเห็นภาพพจนไดอยางชัดเจน

Page 56: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

45

2. การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค 2.1 นําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคที่สรางขึ้นเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษา

วิทยานิพนธตรวจสอบความเหมาะสม และความถูกตอง 2.2 นําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค ที่ผานการตรวจสอบของคณะกรรมการ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เสนอผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน (ภาคผนวก ก) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหา โดยใชดัชนีความสอดคลอง IOC กําหนดคะแนนเปน +1,0,-1 (พรรณี ลีกิจวัฒนะ. 2549 : 106) เมื่อ +1 หมายถึง แนใจวารายการตรวจสอบคุณภาพนั้นเปนจริง

0 หมายถึง ไมแนใจวารายการตรวจสอบคุณภาพนัน้เปนจริง -1 หมายถึง แนใจวารายการตรวจสอบคุณภาพนั้นไมเปนจริง

แลวนําคะแนนที่ไดจากการลงความเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้ง 5 ทาน มาหาคาดัชนีความสอดคลอง ไดคาดัชนีความสอดคลอง IOC ของแบบทดสอบ 0.9 แสดงวานําไปใชได 2.3 ผูวิจัยนําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค ที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ มาพิจารณาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ คือ ขอคําถามควรกําหนดขอคําถามแตละคําถามใหชัดเจน

2.4 นําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค ที่ไดรับการปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญไปทดลองสอนกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบโดยนําขอมูลมาวิเคราะหขอสอบรายขอ หาคาความยาก-งาย คาอํานาจจําแนก โดยใชเทคนิค 25 % และคาความเชื่อมั่นโดยใชวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543 : 126 – 130) ปรากฏวาแบบทดสอบมีคาคุณภาพ ดังนี้ คาความยากงาย มีคาระหวาง 0.58 - 0.75 คาอํานาจจําแนกมีคาระหวาง 0.30 - 0.37 และคาความเชื่อมั่นทั้งฉบับมีคา 0.91

2.5 นําแบบทดสอบฉบับสมบูรณไปใชเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนบุญสมวิทยา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสรางและการหาคุณภาพเครื่องมือของแผนการจัดการเรียนรู ดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

1.1 ศึกษาหลักการ ทฤษฎี เอกสาร คูมือครู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ที่เกี่ยวของกับการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อใชเปนแนวทางในการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

Page 57: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

46

1.2 กําหนดกรอบเกี่ยวกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคอมพิวเตอรโดยมีตัวช้ีวัดที่เกี่ยวของ 2 ตัวช้ีวัด คือ คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจและเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค และสรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ เพื่อกําหนดสัดสวนของขอทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังตาราง 3 ตาราง 3 แสดงจํานวนขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ตัวช้ีวดั จํานวนขอสอบกอนคัดเลือก

จํานวนขอสอบที่คัดเลือก

ขอสอบขอที่ คัดเลือก

1. คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค

15 10 1,2,4,7,8 9,11,12,14,15

2. สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ

15 10 16,18,20,21,22 24,25,27,29,30

รวม 30 20 20

1.3 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบทดสอบปรนัยแบบ

เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวนทั้งสิ้น 30 ขอ 2. การหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.1 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สรางขึ้นเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธตรวจสอบความเหมาะสม และความถูกตอง 2.2 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ผานการตรวจสอบของคณะกรรมการ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เสนอผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน (ภาคผนวก ก) ตรวจสอบความเหมาะสมของสัดสวนจํานวนขอในแบบทดสอบ ความถูกตองของแบบทดสอบ คําถามและตัวเลือกที่เปนคําตอบถูก ตัวลวง ความเหมาะสมของภาษาที่ใชในขอคําถามและตัวเลือกของแบบทดสอบ เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง โดยกําหนดคะแนนเปน +1,0,-1 (พรรณี ลีกิจวัฒนะ. 2549 : 106)

เมื่อ +1 หมายถึง แนใจวารายการตรวจสอบคุณภาพนั้นเปนจริง 0 หมายถึง ไมแนใจวารายการตรวจสอบคุณภาพนัน้เปนจริง -1 หมายถึง แนใจวารายการตรวจสอบคุณภาพนั้นไมเปนจริง

Page 58: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

47

แลวนําคะแนนที่ไดจากการลงความเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้ง 5 ทาน มาหาคาดัชนีความสอดคลอง ไดคาดัชนีความสอดคลอง IOC ของแบบทดสอบ 0.93 2.3 ผูวิจัยนําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ มาพิจารณาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ

2.4 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ไดรับการปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญ ไปทดลองใชกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง ถาตอบถูก ได 1 ถาตอบผิดหรือไมตอบ หรือตอบเกิน 1 คําตอบ ได 0

2.5 นําผลคะแนนที่ไดเปนรายขอหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยหาคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนก โดยใชเทคนิค 25 % (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543 : 129 – 130) พบวา ขอคําถามจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จํานวน 30 ขอ มีขอคําถาม 20 ขอ ที่มีคาความยาก-งาย ระหวาง 0.20-0.80 และคาอํานาจจําแนกสูงกวา 0.20 จึงตัดขอคําถามที่ไมอยูในเกณฑดังกลาวออกไป 10 ขอ ผูวิจัยไดคัดเลือกขอคําถามของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจํานวน 20 ขอ ไปใชกับกลุมตัวอยางเพื่อทดสอบหลังเรียน

2.6 นําแบบทดสอบจํานวน 20 ขอ ที่คัดเลือกไวไปหาคาความเชื่อมั่น โดยใชสูตร KR20 ของคูเดอรริชารดสัน (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543 : 125) มีคาความเชื่อมั่น 0.87 แสดงวาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีความเหมาะสมสามารถนําไปใชได แบบประเมินความพึงพอใจ การสรางและการหาคุณภาพของแบบประเมินความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ผูวิจัยไดดําเนินการตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ 1. การสรางแบบประเมินความพึงพอใจ 1.1 ศึกษาเอกสาร แนวการสราง และการหาคุณภาพของแบบประเมินความพึงพอใจ

1.2 สรางแบบประเมินความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ โดยดัดแปลงมาจากการสรางแบบวัดเจตคติตามวิธีของลิเคอรท (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2543 : 118) จํานวน 18 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับคุณภาพ 5 หมายถึง เห็นดวยอยางยิ่ง 4 หมายถึง เห็นดวย 3 หมายถึง ไมแนใจ 2 หมายถึง ไมเห็นดวย 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

Page 59: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

48

นําคาที่ไดมากําหนดความหมายตามเกณฑของคาเฉลี่ย (สุวิมล วองวาณิช. 2545 : 293)ดังนี้ คาเฉลี่ย 4.51- 5.00 อยูในระดับ มากที่สุด คาเฉลี่ย 3.51- 4.50 อยูในระดับ มาก คาเฉลี่ย 2.51- 3.50 อยูในระดับ ปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51- 2.50 อยูในระดับ นอย คาเฉลี่ยนอยกวา หรือเทากับ 1.50 อยูในระดับ นอยที่สุด 2. การหาคุณภาพของแบบประเมินความพึงพอใจ 2.1 นําแบบประเมินความพึงพอใจที่สรางขึ้น เสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตอง 2.2 นําแบบประเมินความพึงพอใจที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ที่ผานการตรวจสอบของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 ทาน(ภาคผนวก ก) ตรวจสอบความเหมาะสมของแบบประเมินความพึงพอใจ ไดคาความเหมาะสมเฉลี่ย 4.46 เมื่อนําคาเฉลี่ยไปเทียบกับเกณฑอยูระหวาง 3.51 – 4.50 แสดงวาแบบประเมินมีความเหมาะสมมาก 2.3 นําแบบประเมินความพึงพอใจที่ผานการตรวจสอบจากผูเชี่ยวชาญ มาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา 2.4 นําแบบประเมินความพึงพอใจที่แกไขแลวไปทดลองใชกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อหาผลการทดลองของแบบประเมินความพึงพอใจ จากนั้นนําผลที่ไดมาปรับปรุงใหสมบูรณ การเก็บรวบรวมขอมูล แบบแผนการทดลอง การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจยักึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) แบบ One Group Pretest - Posttest Design (พรรณี ลีกิจวัฒนะ. 2549 : 158) ซ่ึงมีแบบแผนการทดลอง ดังนี ้

T1 X T2 ความหมายของสัญลักษณ T1 หมายถึง การทดสอบวัดความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน(Pretest)

Page 60: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

49

X หมายถึง การจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐาน (Project - Based Learning) T2 หมายถึง การทดสอบวัดความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน(Posttest) วิธีดําเนินการทดลอง 1. ผูวิจัย อธิบายวัตถุประสงค ความสําคัญ และขั้นตอนของการสอนซึ่งเปนสวนหนึ่งของการวิจัย 2. ทําการทดสอบวัดความคิดสรางสรรคและทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนการเรียน โดยใชแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ดําเนินการทดลอง คือ ทําการสอนตามแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น ซ่ึงมีเนื้อหาสาระทั้งหมด 5 เร่ือง ใชเวลาในการทดลองสอน 1 ภาคเรียนโดยผูวิจัยเปนผูดําเนินการสอนเอง 4. เมื่อเสร็จสิ้นการทดลองทําการทดสอบวัดความคิดสรางสรรค วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังการเรียน โดยใชแบบทดสอบชุดเดียวกันกับกอนทดลองและประเมินความพึงพอใจ โดยใชแบบประเมินความพึงพอใจ 5. ตรวจแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการทดลอง และตรวจแบบประเมินความพึงพอใจ แลวนําคะแนนที่ไดมาวิเคราะหโดยวิธีการทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1. นําคะแนนของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคหลังเรียนเปรียบเทียบกับกอนเรียนโดยใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคาที(t – test Dependent)

2. นําคะแนนของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเปรียบเทียบกับกอนเรียนโดยใชคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคาที(t – test Dependent)

3. นําคะแนนของแบบประเมินความพึงพอใจมาคํานวณหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระบุระดับความพึงพอใจของนักเรียน สถติิท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล สถิติพื้นฐาน 1. รอยละ (p)

2. คาเฉลี่ย X 3. คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)

Page 61: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

50

สถิติท่ีใชตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. คาความเที่ยงตรง โดยวิธีการหาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับจุดประสงค

(IOC) 2. คาความยาก-งาย โดยใชเทคนิค 25% ในการแบงกลุมสูง-กลุมต่ํา 3. คาอํานาจจําแนกโดยใชเทคนิค 25% ในการแบงกลุมสูง-กลุมต่ํา 4. คาความเชื่อมั่น โดยใชวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (α-Coefficient) 5. คาความเชื่อมั่น สูตรของคูเดอร ริชารดสัน KR20 สถิติท่ีใชในการทดสอบสมมุติฐาน สถิติที่ใชสําหรับทดสอบสมมุติฐาน คือ การทดสอบคาที (t – test Dependent)

Page 62: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมลู

การวิจัย เร่ือง การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5 ผูวิจัยขอเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลําดับ ดังนี้ สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหคร้ังนี้ ผูวิจยัใชสัญลักษณในการวิเคราะหขอมูล ดังนี ้

N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง X แทน คาคะแนนเฉลี่ย

p แทน ความนาจะเปนของคาสถิติ S.D แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

t แทน คาสถิติที่ใชในการแจกแจงแบบที ( t – dependent Sample) ∗ แทน ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 % แทน คารอยละ การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

ในการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลคร้ังนี้ ผูวิจยัขอเสนอเปน 4 ตอน ดังนี ้ ตอนที่ 1 การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ

และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในแตละองคประกอบ

ตอนท่ี 2 การเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน

ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน ตอนที่ 4 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

Page 63: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

52

ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 1 การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ

และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ในแตละองคประกอบ

ตาราง 4 แสดงการพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5

องคประกอบของความคิดสรางสรรค

คะแนนความคิดสรางสรรค คะแนนพัฒนาการ

รอยละของคะแนน

พัฒนาการ (%)

กอนเรียน N = 48

หลังเรียน N = 48

X S.D. X S.D. 1. ความคิดคลองแคลว 2.56 0.82 3.94 0.88 1.38 27.60 2. ความคิดยืดหยุน 2.08 0.74 2.96 0.94 0.88 17.60 3. ความคิดริเร่ิม 2.12 0.70 3.38 1.06 1.26 25.20 4. ความคิดละเอียดลออ 2.02 0.91 3.77 0.81 1.75 35.00

รวมเฉลี่ย 4 ดาน 8.78 0.79 14.05 0.92 5.27 26.35

จากตาราง 4 แสดงวา นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานมีคะแนน

พัฒนาการเพิ่มขึ้นทุกองคประกอบ โดยคะแนนพัฒนาการรวมเฉลี่ยเทากับ 5.27 คะแนน คิดเปนรอยละ26.35 เมื่อพิจารณาองคประกอบของความคิดสรางสรรครายดาน พบวาความคิดละเอียดลออมีคะแนนพัฒนาการมากที่สุดเทากับ 1.75 คะแนน คิดเปนรอยละ 35.00 รองลงมา คือ ความคิดคลองแคลวเทากับ 1.38 คะแนน คิดเปนรอยละ 27.60 ความคิดริเร่ิมเทากับ 1.26 คะแนน คิดเปนรอยละ 25.20 และองคประกอบของความคิดสรางสรรคที่มีคะแนนพัฒนาการนอยที่สุด คือ ความคิดยืดหยุน เทากับ0.88 คะแนน คิดเปนรอยละ 17.60

Page 64: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

53

ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน

ตาราง 5 แสดงการเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน

ความคิดสรางสรรค N X S.D. t p กอนเรียน 48 8.78 0.79

-17.16* .000 หลังเรียน 48 14.05 0.92

*p < .05

จากตาราง 5 แสดงวา นักเรียนมีความคิดสรางสรรค เฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 8.78 คะแนน ( X = 8.78) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.79 (S.D. = 0.79) คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 14.05 คะแนน ( X = 14.05) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.92 (S.D.= 0.92) คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตอนท่ี 3 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยีโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน

ตาราง 6 แสดงการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 กอนและหลังเรียน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N X S.D. t p กอนเรียน 48 10.98 0.49

-16.26* .000 หลังเรียน 48 15.10 0.43

*p < .05

Page 65: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

54

จากตาราง 6 แสดงวา นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยกอนเรียนเทากับ 10.98 คะแนน ( X = 10.98) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.49 (S.D.=0.49) และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 15.10 ( X = 15.10) คะแนน มีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.43 (S.D.=0.43) ซ่ึงคะแนนหลังเรียน สูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตอนท่ี 4 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอ การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ตาราง 7 แสดงความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐาน

ขอคําถาม คะแนนความพึงพอใจของนักเรียน

X S.D. แปลความหมาย

1

การสรางบรรยากาศในชั้นเรียน สภาพหองเรียนเอื้อตอการจดัการเรียนรู

3.47

0.58

ปานกลาง

2 ครูมีบุคลิกดี ยิ้มแยมแจมใส 4.39 0.49 มาก 3 ครูมีความยุติธรรมตอนักเรียน 4.41 0.54 มาก 4 ครูรับฟงความคิดเห็นของนกัเรียน 4.37 0.48 มาก 5 ครูดูแลเอาใจใส และชวยเหลือนักเรียนอยางทั่วถึง 4.72 0.44 มากที่สุด

รวมเฉลี่ย 4.28 0.50 มาก 6

การเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หัวขอที่ใชประกอบการจดัการเรียนรูเหมาะสม

4.37

0.63

มาก

7 ฝกการวางแผนงานภายในกลุม 4.35 0.56 มาก 8 ฝกการลงมือปฏิบัติงาน 4.25 0.48 มาก 9 ฝกใหนกัเรียนกลาแสดงออก 4.20 0.54 มาก 10 การฝกฝนความคิดสรางสรรค 4.75 0.43 มากที่สุด 11 มีการประเมินผลงาน 4.35 0.48 มาก

Page 66: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

55

ตาราง 7 (ตอ)

ขอคําถาม

คะแนนความพึงพอใจของนักเรียน

X S.D. แปลความหมาย

รวมเฉลี่ย 4.38 0.52 มาก

12 ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูของครู กิจกรรมการเรยีนรูนาสนใจ

4.16

0.37

มาก

13 มีสวนรวมในกิจกรรมการเรยีนรู 4.25 0.60 มาก 14 การนําความรูที่ไดรับจากการจัดการเรียนรูไปใชใน

ชีวิตประจําวัน 4.06 0.47 มาก

15 ส่ือและแหลงเรียนรูนาสนใจ 4.18 0.70 มาก 16 วิธีการวัดและประเมินผลเหมาะสม 4.43 0.58 มาก 17 การจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐานในภาพรวม 4.45 0.50 มาก

รวมเฉลี่ย 4.26 0.54 มาก รวมเฉลี่ย 3 ดาน 4.31 0.52 มาก

จากตาราง 7 แสดงวา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ดานการสรางบรรยากาศในชั้นเรียนอยูในระดับมาก ( X = 4.28 , S.D. = 0.50) ดานการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน อยูในระดับมาก ( X = 4.38 , S.D. = 0.52) และดานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูของครู อยูในระดับมาก ( X = 4.26 , S.D. = 0.54 ) เมื่อพิจารณารายดานพบวาทุกดานมีคาเฉลี่ยความพึงพอใจอยูในระดับมาก เมื่อรวม 3 ดาน ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรู แบบโครงงานเปนฐาน อยูในระดับมาก(X = 4.31 , S.D.= 0.52) เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานมีคาเฉลี่ยความพึงพอใจอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอพบวา ขอ 10 ฝกฝนความคิดสรางสรรค คาเฉลี่ยสูงสุดอยูในระดับมากที่สุด (X = 4.75 , S.D. = 0.43) และขอ 1 สภาพหองเรียนเอื้อตอการจัดการเรียนรู มีคาเฉลี่ยนอยสุดอยูในระดับปานกลาง( X =3.47 , S.D. = 0.58)

Page 67: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

บทที่ 5 สรุปผล อภปิรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 สรุปสาระสําคัญได ดังนี้ 1. วัตถุประสงคของการวิจยั 2. วิธีการดําเนนิการวิจยั 3. สรุปผลการวิจัย 4. การอภิปรายผลการวิจัย

5. ขอเสนอแนะ

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปที่ 5 กอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน วิธีดําเนินการวิจัย การกําหนดประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ที่ใชในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ คือ นักเรียนที่กําลังศึกษาอยู ในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี รวม 55 คน ซ่ึงจัดแบบคละความสามารถ เกง ปานกลาง และออน 2. กลุมตัวอยางที่ใช คือ นักเรียนที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุรี ไดมาจากการเปดตาราง (Krejcle and Morgan) ไดกลุมตัวอยาง จํานวน 48 คน คัดเลือกกลุมตัวอยางโดยใชวิธีการสุมอยางงาย นักเรียนสวนที่เหลือ 7 คน เรียนรวมกับกลุมตัวอยางแตไมนํามาใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

Page 68: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

57

เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

2. แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพื้นฐาน 1.1 รอยละ (p) 1.2 คาเฉลี่ย X 1.3 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) 2. สถิติที่ใชในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 2.1 คาความเที่ยงตรง โดยวิธีการหาดัชนีความสอดคลองของขอคําถามกับจุดประสงค (IOC) 2.2 คาความยาก - งาย โดยใชเทคนิค 25% ในการแบงกลุมสูง - กลุมต่ํา 2.3 คาอํานาจจําแนก โดยใชเทคนิค 25% ในการแบงกลุมสูง - กลุมต่ํา 2.4 คาความเชื่อมั่น โดยใชวิธีหาสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 2.5 คาความเชื่อมั่นโดยใชสูตรคูเดอร ริชารดสัน KR 20 3. สถิติที่ใชในการทดสอบสมมุติฐาน สถิติที่ใชสําหรับทดสอบสมมุติฐาน คือ การทดสอบคาที (t – test Dependent) สรุปผลการวิจัย จากการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ปรากฏผลดังตอไปนี้

1. การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียน โดยมีคะแนนพัฒนาการรวมเฉลี่ยเทากับ 5.27 คะแนน คิดเปนรอยละ26.35 เมื่อพิจารณาองคประกอบของความคิดสรางสรรครายดาน พบวาความคิดละเอียดลออมีคะแนนพัฒนาการมากที่สุดเทากับ 1.75 คะแนน คิดเปนรอยละ 35.00 รองลงมา คือ ความคิดคลองแคลวเทากับ 1.38 คะแนน คิดเปนรอยละ 27.60 ความคิดริเร่ิมเทากับ 1.26 คะแนน คิดเปนรอยละ 25.20 และองคประกอบของความคิดสรางสรรคที่มีคะแนนพัฒนาการนอยที่สุด คือ ความคิดยืดหยุน เทากับ0.88 คะแนน คิดเปนรอยละ 17.60

Page 69: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

58

2. นักเรียนที่ได รับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีคะแนนความคิดสรางสรรคเฉลี่ยกอนเรียน 8.78 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 14.05 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน แสดงวา นักเรียนไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว 3. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยกอนเรียน 10.98 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 15.10 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน แสดงวา นักเรียนไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว 4. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน อยูในระดับมาก อภิปรายผลการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้ผูวิจัยไดทดลองสอนโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบประเด็นที่ควรนํามาอภิปรายผล ดังนี้ 1. การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานสามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียน โดยความคิดละเอียดลออมีคะแนนพัฒนาการมากที่สุด รองลงมา คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดริเร่ิมและนอยที่สุด คือ ความคิดยืดหยุน ที่เปนดังนี้เพราะการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานเปนการจัดการเรียนรูที่มี 4 ขั้นตอน ข้ันตอนที่ 1 ขั้นวางแผน เปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดตั้งคําถามและรวมกันตอบคําถามที่ตั้งไว เพื่อแสดงออกถึงความคิดที่หลากหลาย รวมทั้งใหนักเรียนรวมกันคิดเรื่องที่ตนเองสนใจ ภายใตหัวขอที่ครูกําหนด โดยตองไมซํ้ากับกลุมอื่น เปนการฝกความคิดคลองแคลว และความคิดยืดหยุน และความคิดละเอียดลออ ขั้นตอนที่ 2 ข้ันปฏิบัติ เปนขั้นที่ใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติในการทําชิ้นงาน แสดงออกถึงจินตนาการและสามารถถายทอดความคิดออกมาในรูปแบบของชิ้นงานที่แปลกใหม เปนการฝกความคิดริ เร่ิมและความคิดละเอียดลออ ข้ันตอนที่ 3 ข้ันแสดงผล เปนขั้นที่ใหนักเรียนแตละกลุมไดออกมานําเสนอชิ้นงานหนาชั้นเรียน โดยที่นักเรียนแตละกลุมอธิบายขั้นตอนของการทําชิ้นงานของกลุมตนเองตั้งแตขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดทาย ในขั้นนี้จะเปนการฝกความคิดละเอียดลออ และขั้นตอนที่ 4 ข้ันประเมินผลและตอยอดการเรียนรู เปนขั้นที่ครูและนักเรียนรวมกันประเมินชิ้นงาน ประเมินการเรียนรูเปนกลุมของนักเรียนแตละกลุม รวมถึงการตอยอด

Page 70: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

59

การเรียนรูที่นักเรียนรวมกันคิดหัวขอเร่ืองใหมๆที่จะเรียนรูรวมกันในครั้งหนา เปนการฝกความคิดคลองแคลว การที่นักเรียนไดรับการฝกแบบซ้ํา ๆกับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานทั้ง 4 ขั้นตอน 5 แผนการจัดการจัดเรียนรูนี้ จะทําใหนักเรียนพัฒนาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ ซ่ึงจะเห็นไดวาความคิดละเอียดลออมีพัฒนาการมากที่สุด เนื่องจากนักเรียนไดคิดอยางเปนขั้นตอนในขั้นของการวางแผน ปฏิบัติ แสดงผล สวนความคิดยืดหยุนนั้นแทรกอยูในขั้นตอนที่ 1 คือ การวางแผนซึ่งไมไดมีการพัฒนาความคิดหลายกลุม หลายทิศทางอยางชัดเจนทําใหนักเรียนมีพัฒนาการทางดานนี้นอยกวา ดานอื่น 2. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีความคิดสรางสรรคหลังเรียนสูงกวากอนเรียน ที่เปนดังนี้เพราะการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานเปนการจัดการเรียนรูที่ฝก ใหนักเรียนมีความคิดสรางสรรค จากการทําผลงานหรือช้ินงานออกมาในรูปแบบตางๆ โดยที่นักเรียนไดมีโอกาสลงมือปฏิบัติดวยตนเองอยางเปนระบบ ซ่ึงมี 4 ข้ันตอน โดยเริ่มตั้งแตข้ันแรก ขั้นวางแผน เปนการเปดโอกาสใหนักเรียนไดตั้งคําถามและรวมกันตอบคําถามที่ตั้งไว เพื่อแสดงออกถึงความคิดที่หลากหลาย รวมทั้งใหนักเรียนรวมกันคิดเรื่องที่ตนเองสนใจ ภายใตหัวขอ ที่ครูกําหนด โดยตองไมซํ้ากับกลุมอื่น เปนการฝกความคิดคลองแคลว และความคิดยืดหยุน และความคิดละเอียดลออ ข้ันตอนที่ 2 ขั้นปฏิบัติ เปนขั้นที่ใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติในการทําชิ้นงาน แสดงออกถึงจินตนาการและสามารถถายทอดความคิดออกมาในรูปแบบของชิ้นงานที่แปลกใหม เปนการฝกความคิดริเร่ิมและความคิดละเอียดลออ ข้ันตอนที่ 3 ข้ันแสดงผล เปนขั้นที่ใหนักเรียนแตละกลุมไดออกมานําเสนอชิ้นงานหนาชั้นเรียน โดยที่นักเรียนแตละกลุมอธิบายขั้นตอนของการทําช้ินงานของกลุมตนเองตั้งแตขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดทาย ในขั้นนี้จะเปนการฝกความคิดละเอียดลออ และขั้นตอนที่ 4 ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู เปนขั้นที่ครูและนักเรียนรวมกันประเมินชิ้นงาน ประเมินการเรียนรูเปนกลุมของนักเรียนแตละกลุม รวมถึงการตอยอดการเรียนรูที่นักเรียนรวมกันคิดหัวขอเร่ืองใหมๆที่จะเรียนรูรวมกันในครั้งหนา เปนการฝกความคิดคลองแคลว จึงนับไดวาการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เปนการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ นักเรียนไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมการเรียนรูในทุกขั้นตอนและทุกกิจกรรมอยางทั่วถึง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน ทําใหเกิดความคิดกวางขวาง ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน รูจักการแกไขปญหา รวมทั้งมีโอกาสไดแสดงความคิดเห็นในการทําชิ้นงานอยางสรางสรรค ซ่ึงสอดคลองกับความเห็นของ ชาตรี เกิดธรรม (2547 : 5-6) ที่กลาวโดยสรุปไววา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานชวยสงเสริกระบวนการคิด ไดแสดงออกถึงความคิดริเร่ิมสรางสรรค ลงมือปฏิบัติจริง สามารถสรางผลงานและแกปญหาตางๆไดดวยตนเอง เปนการสรางความรูที่นักเรียนสามารถนําไปประยุกตใชไดจริงในชีวิตประจําวัน ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน จึงเปนการจัดกิจกรรมการเรียนรู

Page 71: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

60

ที่เอื้อตอการพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนไดเปนอยางดี ดังจะเห็นไดจากคาเฉลี่ยของคะแนนความคิดสรางสรรคหลังไดรับการจัดการเรียนรูสูงกวากอนไดรับการจัดการเรียนรูซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ บุรัช แกวแสนเมือง (2544 : 60) ที่ไดศึกษาผลการใชโครงงานคณิตศาสตร เร่ือง สถิติที่มีผลตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสรางสรรคสูงขึ้น อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนที่เปนดังนี้เพราะการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐานเปนการจัดการเรียนรูที่ฝกใหนักเรียนรูจักคิดจากการวางแผนและลงมือปฏิบัติในการสรางสรรคช้ินงานหรือผลงานตางๆ โดยฝกใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติซํ้าๆ ตามขั้นตอนทั้ง 4 ข้ันตอน ซ่ึงแตละขั้นตอนนักเรียนจะมีโอกาสไดเขารวมกิจกรรมและลงมือปฏิบัติในการทําชิ้นงานดวยตนเองจึงทําใหนักเรียนเกิดการเรียนรู อยางแทจริงและจดจําไดดีกวาการทองจํา จึงสงผลใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีขึ้น ดังจะเห็นไดจากคาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังไดรับการจัดการเรียนรูสูงกวากอนไดรับการจัดการเรียนรู ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของนาฎนภางค สังฆานาคิน(2545 : บทคัดยอ)ที่ไดเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค ความพึงพอใจตอวิธีการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานกับการสอนปกติ ผลการวิจัยพบวา กลุมทดลองที่ไดรับการสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงาน มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคะแนนเฉลี่ยความคิดสรางสรรคสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ระดับมาก ที่เปนดังนี้เพราะ กิจกรรมและบรรยากาศในการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เปนบรรยากาศที่ดูแปลกใหม ไมเครงเครียด เปนกันเอง สนุกสนาน ครูยิ้มแยมแจมใส เอาใจใสชวยเหลือนักเรียนอยางทั่วถึง นักเรียนไดทํากิจกรรมเปนกลุม ทําใหนักเรียนไดมีโอกาสทํางานกลุมรวมกัน มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณซ่ึงกันและกัน มีอิสระในการคิดสรางสรรคช้ินงาน ทําใหนักเรียนมีความสนใจกระตือรือรนตอการเรียนรูในขั้นตอนตางๆ ไดแก ข้ันตอนการวางแผน ซ่ึงเปนกิจกรรมการเรียนรูที่กระตุนในนักเรียนฝกการคิดรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในกลุม กระตุนใหนักเรียนออกแบบชิ้นงานอยางสรางสรรคแปลกใหมไมเหมือนกลุมอื่นๆ ขั้นนี้นักเรียน จะชวยกันระดมความคิดดวยบรรยากาศที่กระตือรือรนและสนุกสนาน ขั้นปฏิบัติ คือนักเรียน ในแตละกลุมจะลงมือปฏิบัติงานตามแผนที่ไดวางไว ข้ันนี้จะเปนขั้นที่ใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง ข้ันที่สามขั้นแสดงผล ในขั้นนี้นักเรียนจะไดออกมานําเสนอชิ้นงานหรือผลงานที่ไดลงมือปฏิบัติ ซ่ึงนักเรียนแตละกลุมตองมีวิธีการนําเสนอผลงานที่จะดึงดูดความสนใจของเพื่อนกลุมอื่นๆ ดวย

Page 72: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

61

บรรยากาศที่สนุกสนานและเปนกันเอง ข้ันสุดทายคือขั้นประเมินผล ขั้นนี้นักเรียนจะไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกลุมตนเองกับกลุมอื่นๆ ซ่ึงนักเรียนจะไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสริมสรางความสามัคคีกันในชั้นเรียน ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของสุดใจ เกตุเดชา (2547 : 75) ที่ไดศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดและการแกปญหาโดยการสอนแบบโครงงาน พบวา การจัดการเรียนรูแบบโครงงานที่มุงเนนกระบวนการกลุม ทําใหผูเรียนมีทักษะการคิดและแกไขปญหาสามารถทําชิ้นงานไดอยางมีคุณภาพที่มีความหลากหลายตามความสนใจและความถนัดของกลุม สงเสริมการทํางานรวมกัน มีการซักถามในระหวางการทํากิจกรรม มีทักษะการแกไขปญหา สงผลใหผูเรียนมีความสุขและความพึงพอใจในการทํากิจกรรม สามารถนําทักษะ ประสบการณไปใชในชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะทั่วไป การพัฒนาความคิดสรางสรรค รายวิชาคอมพิวเตอร กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ผูวิจัยไดสรุปขอเสนอแนะโดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การพัฒนาความคิดสรางสรรค โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน ครูผูสอนควรกระตุนความคิดใหผูเรียนคิดคําตอบใหไดหลากหลายโดยใชคําถามปลายเปด ใหผูเรียนเชื่อมโยงความคิดและสรุปผล รวมทั้งหาคําตอบดวยตนเอง 2. ครูผูสอนควรพัฒนาความคิดสรางสรรค โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน โดยเนนใหผูเรียนปฏิบัตบิอยๆ กับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนๆ 3. ครูผูสอนควรเพิ่มเวลาในขั้นตอนของการปฏิบัติงานใหมากขึ้น 4. ครูผูสอนควรลดจํานวนสมาชิกในกลุมลงเพื่อใหไดหัวขอที่หลากหลายมากขึ้น ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอไป 1. ควรมีการวิจัยการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค กับกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน ๆ 2. ควรมีการวิจัยการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรค กับนักเรียนระดับชั้นอื่น ๆ 3. ควรมีการวิจัยโดยใชเครื่องมือวัดที่หลากหลาย

Page 73: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

บรรณานุกรม

Page 74: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

63

บรรณานุกรม

กนิษฐา ชูขันธ. (2541). ผลการจัดกิจกรรมการสอนแบบธรรมชาติโดยใชแกนนําในหนวยการสอน ท่ีมีตอความคดิสรางสรรคของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร. กระทรวงศกึษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย . เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศศักดิ.์ (2545 ). การคดิสรางสรรค. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย. จรูญ ทองถาวร. (2530). จิตวิทยาพฒันาการ. ธนบุรี : วิทยาลัยครูธนบุรี. จิรภรณ วสุวตั. (2540). การพัฒนาโปรแกรมการสงเสริมจริยธรรมทางสังคมของเด็กวัยอนุบาล ตามแนวคดิคอนสตรัคติวิสต โดยใชประสบการณแบบโครงงาน. ปริญญานิพนธ ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย). บณัฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชัยวัฒน สุทธิรัตน. (2553). การจัดการเรยีนรูแนวใหม. นนทบุรี : สหมิตรพร้ินติ้งแอนดพับลิสชิ่ง. ชัยศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล. (2542). ชุดกิจกรรมคายณติศาสตรเพื่อพัฒนาการจัดคายคณติศาสตร. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรกรุป แมเนจเมนท. ชาญณรงค พรรุงโรจน. (2546). ความคดิสรางสรรค. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ชาตรี เกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. เดนศักดิ ์ มั่นคง. (2549). การพัฒนาทกัษะการคิดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โดยใชกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร. ปริญญานิพนธ ศษ.ม. (การประถมศึกษา). ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน. ทิศนา แขมมณ.ี (2540). การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. _______. (2551). ศาสตรการสอน : องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพ. พิมพคร้ังที่ 5 .กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย. ธานี นงนุช. (2543). การประเมินผลการเรียนรู. อุบลราชธานี : ภาควิชาทดสอบและวิจยัการศึกษา คณะครุศาสตร วิทยาลัยครูอุบลราชธานี. ธีระชัย ปูรณโชติ. (2531). การสอนกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. นาฎนภางค สังฆานาคิน. (2545). การเปรียบเทียบความคิดสรางสรรค ความพึงพอใจตอวิธีการสอน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 2 ท่ีไดรับการสอนดวยกิจกรรมการเรียนรูแบบโครงงานกบัการสอนปกต.ิ (ออนไลน). แหลงที่มา : http://sendbooks/booksfile/doc. 19 พฤศจิกายน 2552.

Page 75: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

64

นิภา เมธธาวชัิย. (2533). การประเมินผลและการสรางแบบทดสอบ. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครูธนบุรี. บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ . (2549). การบูรณาการไอซีทีในการจัดการเรียนรูดวยโครงงาน. (ออนไลน). แหลงที่มา : wiki.nectec.or.th/princessit/PBLProject/Activity01. 22 ธันวาคม 2552. บุรัช แกวแสนเมือง. ( 2544 ). ผลการสอนโดยใชโครงงานคณติศาสตร เร่ือง สถิติ ท่ีมีผลตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสรางสรรค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3. ปริญญานิพนธ ศษ.ม. (การประถมศึกษา). ขอนแกน : สํานักงานเลขาธิการการศึกษา. (ออนไลน). แหลงที่มา : ฐานขอมูลการวิจยั สํานักงานเลขาธิการการศกึษา. 22 ธันวาคม 2552. ประกิจ รัตนสวุรรณ. (2525). การวดัผลการศกึษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ประนอม เดชชยั. (2531). แนวการเรยีนการสอนและแนวปฏบิัติสงัคมศกึษา. เชียงใหม : คณะศกึษาศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม. ประภาส เกตแุกว. (2546). ความพงึพอใจของผูมาใชบรกิารที่มีตอการใหบริการของฝายทะเบยีนรถ สํานักงานขนสง จังหวดัประจวบคีรีขนัธ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิรฒประสานมิตร. ผุสดี กุฏอินทร. (2537). เดก็กับการพัฒนาความคิดสรางสรรค. กรุงเทพฯ : สาขาวชิาศึกษาศาสตร. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พรรณี ลีกิจวฒันะ. (2549). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. พวงรัตน ทวีรัตน. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. พิมพคร้ังที่ 8 . กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. แพง ชินพงศ. (8 ธันวาคม 2551). “ความคิดสรางสรรค,” ผูจัดการออนไลน. หนา 7. ไพศาล หวังพานิช. (2536). การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ยุทธ ไกยวรรณ. (2546). เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวชิาโครงงาน. กรุงเทพฯ : ศูนยส่ือเสริมกรุงเทพ. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส. โรงเรียนดรุณสิกขาลัย. (2551). การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน.

(ออนไลน). แหลงที่มา : http://e-school.kmutt.ac.th/learn_crative.php. 24 ธันวาคม 2552. โรงเรียนเทศบาล4 เชียงราย. (2551). การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐานการเรียนรู. (ออนไลน). แหลงที่มา : http://www.ms4lp.ac.th. 24 ธันวาคม 2552.

Page 76: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

65

ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2543). การวัดดานจิตพิสัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. วรรณี โสมประยูร. (2537). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. วิทยากร เชยีงกลู. (2551). จิตวิทยา ความฉลาด และความคดิสรางสรรค. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ยเูคชัน่. วิเชียร เกตุสิงห. (2548). ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. สนอง อินละคร. (2544). เทคนิควิธีการและนวัตกรรมท่ีใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

ท่ีเนนนักเรียนเปนศูนยกลาง. อุบลราชธานี : อุบลกิจออฟเซทการพิมพ.

สมนึก ภัททิยธนี และคณะ. (2541). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาการวิจัยและ พัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวทิยาลัยมหาสารคาม.

สมพงษ เกษมสิน. (2522). การบริหาร. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช สมศักดิ ์ภูวิภาดาวรรธน. (2544). เทคนคิการสงเสรมิความคิดสรางสรรค. กรุงเทพฯ : ไทยวฒันาพานชิ. สายสุนีย กล่ินสุคนธ. (2545). ผลของการใชเทคนิคการเรียนแบบรวมแรงรวมใจที่มีตอความคิดสรางสรรค ทางคณติศาสตรของนักเรียนชั้น ม. 2 โรงเรียนปอมนาคราชสวาทยานนท อําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ. สารนิพนธ กศ.ม. (จิตวิทยาการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. สิริพร ศรีสมวงษ. (2549). การจัดการเรียนรูแบบโครงงานเพื่อพฒันาความสามารถในการใช ภาษาองักฤษ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 โรงเรียนอัสสมัชัญแผนกประถม. สารนิพนธ กศ.ม. (การประถมศึกษา) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. (2542). แนวคิดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพ : หนวยศึกษานิเทศก สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ. สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2550). รายงานการประเมินคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน รอบ 2 (พ.ศ. 2549-2553). กรุงเทพฯ : สํานักงานฯ. _______. (2548). มาตรฐานการศึกษา ตัวบงชี ้และเกณฑการพิจารณาเพื่อการประเมินคุณภาพ ภายนอก : ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ : สํานักงานฯ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรูแบบสงเสริมความคดิสรางสรรค. กรุงเทพฯ : พิมพลักษณ. สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรยีนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย.

Page 77: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

66

สุรชาติ วงศสุวรรณ. (2542). การเรียนรูท่ีผูเรียนเปนผูสรางความรูดวยตนเอง. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ. สุดใจ เกตุเดชา. (2547). การพัฒนาทักษะการคิดและการแกปญหา โดยการสอนแบบโครงงาน ท่ีเนนกระบวนการกลุมสัมพันธในการผลิตสารชีวภาพทางการเกษตร วิชาสารชีวภาพ ในงานผลติพชื. งานวิจยัและพัฒนา. เพชรบูรณ : วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ. สุภาวดี หาญเมธี. (2551). ความคิดสรางสรรค. กรุงเทพฯ : รักลูกแฟมล่ีิกรุป. สุเมตตา คงสง. (2543). การศึกษาความสามารถในการคดิสรางสรรคของเดก็ท่ีมีความสามารถพิเศษ โดย ใชชุดฝกความคิด. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การประถมศึกษา).กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวโิรฒประสานมิตร. สุรชาติ วงศสุวรรณ. (2542). การเรียนรูท่ีผูเรียนเปนผูสรางองคความรูดวยตนเอง. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ. สุรางค โควตระกูล. (2545). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจุฬาลงกรมหาวิทยาลัย. สุวิทย มูลคํา. (2547). กลยุทธการสอนคิดสรางสรรค. กรุงเทพฯ : ดวงกมลสมัย. สุวิมล วองวาณิช. (2545). การประเมนิผลการเรียนรูแนวใหม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. หลุยส จําปาเทศ. (2533). จิตวิทยาสัมพนัธ. กรุงเทพฯ : สามัคคีสาสน. อมรากุล อินโอชานนท. (16 กุมภาพนัธ 2548). “ความคดิสรางสรรคพรสวรรคหรือพรแสวง,” เดลินิวส. หนา 4. อารี พันธมณ.ี (2545). ฝกใหคิดเปน คิดใหสรางสรรค. พิมพคร้ังที ่6. กรุงเทพฯ : ใยไหม ครีเอทฟี. _______. (2546). ฝกเด็กใหคดิเปน คิดใหสรางสรรค. พิมพคร้ังที่ 8. กรุงเทพฯ : ใยไหม เอดดูเคท. อารี รังสินนัท. (2528). ความคิดสรางสรรค. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : แพรพิทยา. อุบลรัตน เพ็งสถิตย. (2545). จิตวิทยาการเรียนรู. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง. Childress, Phillp Norvin. (1983). “The effect Science Project Production on Cogntive Level Transition in Adolescent,” Dissertation Abstracts Internation. 43(10) : 3280-A. Fromm E, Demartino R. (1963). Zen Buddhism and psychoanalysis. New York : Grove Press. Guilford, J.P. (1969). Fundamental statistics in psychology and education. New York : McGraw-Hill. Hopkins and Stanlay. (1981). Creativiyt test. 6 th ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall. Hurlock, E.B. (1972). Child development . 5 th ed. New York : McGraw – Hill. Jersild, Arthur T. (1972). Child Psychology. 6th ed. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall. Torrance, E.P. (1969). Guiding creative talent. New Delhi : Prentice - Hall of India Private. _______. (1973). Encouranging Creative in the Classroom. Iowa : Wm C.Brow

Page 78: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ภาคผนวก

Page 79: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ภาคผนวก ก รายนามผูทรงคุณวุฒิ

Page 80: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

69

รายนามผูทรงคุณวุฒิ

1. รศ. อัมพวัน ประเสริฐภักดิ์ หัวหนาภาควชิาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยัราชภัฏรําไพพรรณี 2. อาจารยวนัดี โชคชวยพฒันากิจ ประธานหลักสูตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี 3. อาจารยปราณี วรุณวานิชบัญชา รองผูอํานวยการฝายวิชาการ โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวดัจันทบุรี 4. อาจารยดาวเรือง ทาหิน รองผูอํานวยการฝายบริหารงานทั่วไป โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวดัจันทบุรี 5. อาจารยพีรายา เจริญศิริ หัวหนากลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวดัจันทบุรี

Page 81: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

70

ภาคผนวก ข เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล

แผนการจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินความพึงพอใจ

Page 82: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

71

ตาราง 8 แสดงการสรางแผนการจัดการเรยีนรู

สัปดาหท่ี แผนการจัดการเรียนรู ชิ้นงาน เวลาเรียน

1 - 2 1.เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word)

ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 เครื่องมือและคําสั่งในเครื่องคอมพิวเตอร

2 ช่ัวโมง

3 - 4 2.การทําบัตรอวยพร ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 บัตรอวยพรในเครื่องคอมพิวเตอร

2 ช่ัวโมง

5 - 7 3.การทําใบปลิว ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 – 3 ใบปลิวในเครื่องคอมพิวเตอร

3 ช่ัวโมง

8 - 10 4.การทําแผนพับ ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 – 3 แผนพับในเครื่องคอมพิวเตอร

3 ช่ัวโมง

11 - 13 5.การใชMs Word สรางงานอยางอิสระ

ชั่วโมงที่ 1 กระดาษที่ออกแบบ ชั่วโมงที่ 2 – 3 ช้ินงานในเครื่องคอมพิวเตอร

3 ช่ัวโมง

Page 83: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

72

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1

หนวยการเรยีนรู เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รายวิชา คอมพิวเตอร เร่ือง เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เวลาเรียน 2 ช่ัวโมง สอนวันที่ 11 , 18 เดือน พฤศจกิายน พ.ศ. 2553 ภาคเรียนที ่2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีวั้ด มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ง. 3.1 ป. 5/1 คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ง. 3.1 ป. 5/2 สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชวีิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบาย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนคนอื่นเกี่ยวกับการใชเครื่องมือและคําสั่งตางๆในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน

2. นักเรียนมีทักษะการใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน 3. นักเรียนพฒันาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคดิยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอยีดลออ สาระสําคัญ คอมพิวเตอรจะสรางชิ้นงานใดๆ ไดตองอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอรเปนองคประกอบสําคัญโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) เปนโปรแกรมประเภทหนึ่งที่สามารถสรางชิ้นงานไดหลายรูปแบบ ซ่ึงการที่นักเรียนจะสรางชิ้นงานไดนั้นจําเปนตองเรียนรูการใชเครื่องมือและคําสั่งตางๆในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) สาระการเรียนรู

ความรู(K) ช่ือและหนาที่ของเครื่องมือและคําสั่งตางๆในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)

Page 84: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

73

ทักษะ กระบวนการ(P) 1. ทักษะกระบวนการทํางาน : ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู 2. กระบวนการคิด : การใหเหตุผล การสรุปความรู คุณลักษณะอันพึงประสงค(A) มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน

กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ 1

ขั้นวางแผน (10 นาที) 1. ครูเปดโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ใหนักเรียนดูและใหนักเรียนรวมกันตั้งคําถามเกี่ยวกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ตัวอยางคําถาม เชน 1.1 โปรแกรมประมวลคําพืน้ฐาน (Ms Word) ใชทําอะไรไดบาง 1.2 เพื่อนๆสังเกตเหน็อะไรบางในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) 1.3 เพื่อนๆ รูสึกอยางไรกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ที่ไดดู 2. นักเรียนรวมกนัตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําตอบบนกระดาน) 3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา การที่นักเรียนจะใชโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) สรางชิ้นงานตางๆ นักเรียนจําเปนตองมีการเรียนรูเกี่ยวกับการใชเครื่องมือและคําสั่งตางๆในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) 4. ครูกําหนดหัวขอ “เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)” และใหนักเรียนแตละกลุมลงมือคนหาขอมูลและนําเสนองานดวยตนเอง โดยกอนจะเริ่มทํา ครูไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมคนหาเครื่องมือและคําสั่ง ในโปรแกรม ประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) มาใหไดมากที่สุด ขั้นปฏิบัติ (เวลา 20 นาที) 5. นักเรียนแตละกลุมทําการคนหาขอมูลในในหัวขอ “เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน” โดยเขียนเครื่องมือและคําสั่งลงในกระดาษที่ครูแจกให(ครูคอยแนะนํานักเรียน)

Page 85: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

74

ขั้นแสดงผล ( 20 นาที ) 6. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานในหัวขอ“เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรม

ประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)” ที่กลุมตนเองศึกษา พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา) ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู ( 10 นาที ) 7. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุมของนักเรียนกลุมที่นําเสนองาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น และในครั้งหนาครูจะใหนักเรียนแตละกลุมนําเครื่องมือและคําสั่งที่ออกแบบไว มาปฏิบัติจริงลงในเครื่องคอมพิวเตอร ชั่วโมงที่ 2 ขั้นวางแผน (10 นาที)

1. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําเครื่องมือและคําสั่งของกลุมตนเองที่ออกแบบไวมาพิจารณารวมกันภายในกลุม พรอมทั้งใหแตละกลุมรวมกันคิดวางแผนวาจะใหใครรับผิดชอบ ทําหนาที่ใด เพื่อจะใหงานสําเร็จภายในเวลาที่กําหนด (ใหเขียนรายชื่อและหนาที่รับผิดชอบของนักเรียนแตละคน ลงในกระดาษ) ขั้นปฏิบัติ (20 นาที) 2. นักเรียนแตละกลุม ลงมือทําเครื่องมือและคําสั่งที่ไดออกแบบไวในกระดาษลงในเครื่องคอมพิวเตอร โดยแตละกลุมสามารถตกแตงชิ้นงานของตนเองใหนาสนใจได และใชเทคโนโลยี มาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน) ขั้นแสดงผล (เวลา 20 นาที)

3. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลงานในหัวขอ “คําสั่งในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)” ที่กลุมตนเองศึกษา พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู ( 5 นาที ) 4. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินผลงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนองาน

และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น 5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน จากกิจกรรม “เครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรม

ประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)”

Page 86: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

75

สื่อการเรียนรู 1. โปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)

2. คอมพิวเตอร 3. เครื่อง LCD การวัดผลและประเมินผล

แบบประเมินชิ้นงานแบบรบูริคส (ครูและนักเรียนรวมกันสราง) วิธีการวัด 1. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุมหลังจากการนําเสนองานของนักเรียนแตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินการเรียนรูเปนกลุมแบบรูบริคส 2. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินชิ้นงานหลังจากการนําเสนองานของนักเรียนแตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินชิ้นงานแบบรูบริคส

Page 87: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

76

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2

หนวยการเรยีนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ รายวิชา คอมพิวเตอร เร่ือง บัตรอวยพร ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เวลาเรียน 2 ช่ัวโมง สอนวันที่ 25 , 2 เดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2553 ภาคเรียนที ่2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีวั้ด มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ง. 3.1 ป. 5/1 คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ง. 3.1 ป. 5/2 สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชวีิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบาย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนคนอื่นเกี่ยวกับการทําบัตรอวยพร

2. นักเรียนมีทักษะในการใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บขอมูลอยางงาย และมีทักษะการใชเครื่องมือในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 3. นักเรียนออกแบบและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอชิ้นงานการทําบัตรอวยพรในเร่ืองที่ตนเองสนใจ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อชวยในการนําเสนอรวมกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 4. นักเรียนพัฒนาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ สาระสําคัญ ในการแสดงความคิดความรูสึกตางๆ แกผูอ่ืน เราสามารถทําไดหลายวิธี และวิธีหนึ่งที่ประหยัด แตสรางความประทับใจใหกับผูรับ เราสามารถทําไดโดยใช บัตรอวยพร เนื่องจากเราสามารถ จัดสรางเองไดงาย ๆ โดยสรางไดหลายวิธีและวิธีหนึ่งที่เราสามารถสรางได คือการใช

Page 88: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

77

คอมพิวเตอรเขามาชวย ซ่ึงรูปแบบของบัตรอวยพรจะประกอบไปดวย หัวขอหลักวันสําคัญหรือโอกาสตางๆ , ขอความแสดงความรูสึกของผูใหถึงผูรับ , คํากลอนที่เกี่ยวของกับโอกาสนั้นๆ , รูปภาพ ในการสงบัตรอวยพรเราตองคํานึงถึงความเหมาะสมและกาลเทศะของบัตรอวยพรที่จะ สงใหผูรับ รวมทั้งภาพที่จะตกแตงในบัตรอวยพรควรมีความสัมพันธกับหัวขออวยพรนั้นๆ ดวย สาระการเรียนรู

ความรู(K) 1. บัตรอวยพรที่ใชในวันสําคัญตางๆ 2. สวนประกอบตางๆของบัตรอวยพร

ทักษะ กระบวนการ(P) 1. ทักษะกระบวนการทํางาน : ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู

2. กระบวนการคิด : การใหเหตุผล การสรุปความรู คุณลักษณะอันพึงประสงค(A) มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน

กิจกรรมการเรียนรู ชั่วโมงที่ 1 ขั้นวางแผน ( 10 นาที) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบบัตรอวยพรที่นิยมใหกันในวันสําคัญตางๆ 2. นักเรียนคิดรวมกันตั้งคําถามเกี่ยวกับบัตรอวยพรและตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําถามและคําตอบบนกระดาน) ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 บัตรอวยพรนิยมใชเนื่องในวันสําคัญใดบาง 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางบัตรอวยพรที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในบัตรอวยพรสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง 2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับบัตรอวยพรฯลฯ

3. จากคําถามและคําตอบ ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําบัตรอวยพรจําเปนตองมีการจัดทําบัตรอวยพรใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับผูรับ และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับบัตรอวยพรที่ใหในวันสําคัญตางๆ

4. ครูกําหนดหัวขอ “บัตรอวยพร” และใหนักเรียนออกแบบบัตรอวยพรดวยตนเอง โดยกอนจะออกแบบบัตรอวยพร ครูไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้

Page 89: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

78

4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง 4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําบัตรอวยพร โดยเลือกวันสําคัญที่จะทําบัตรอวยพรตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได ใหแตละกลุมออกแบบบัตรอวยพรพรอมเขียนขั้นตอนในการสรางบัตรอวยพรลงในกระดาษที่ครูแจกให (ครูแจกกระดาษใหนักเรียนแตละกลุมเมื่อนักเรียนเลือกกลุมเรียบรอยแลว)

ขั้นปฏิบัติ (20 นาที) 5. นักเรียนแตละกลุมทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําบัตรอวยพร พรอมทั้งออกแบบบัตรอวยพรและเขียนขั้นตอนในการสรางบัตรอวยพรลงในกระดาษที่ครูแจกให ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน) ขั้นแสดงผล (20 นาที) 6. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอบัตรอวยพรที่กลุมรวมกันออกแบบและนําเสนอขั้นตอนการทําบัตรอวยพรของกลุมตนเอง พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา) ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู (10 นาที) 7. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินการเรียนรูเปนกลุมของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้นและในครั้งหนาครูจะใหนักเรียนแตละกลุมนําบัตรอวยพรที่ออกแบบไวมาปฏิบัติจริงลงในเครื่องคอมพิวเตอร ชั่วโมงที่ 2 ขั้นวางแผน (5 นาที)

1. ครูใหนักเรียนแตละกลุมนําบัตรอวยพรที่ตนเองไดออกแบบไวมาพิจารณารวมกันภายในกลุม พรอมทั้งใหแตละกลุมรวมกันคิดวางแผนวาจะใหใครรับผิดชอบ ทําหนาที่ใด เพื่อจะใหงานสําเร็จภายในเวลาที่กําหนด (ใหเขียนรายช่ือและหนาที่รับผิดชอบของนักเรียนแตละคนลงในกระดาษ) ขั้นปฏิบัติ (30 นาที) 2. นักเรียนแตละกลุม ลงมือทําบัตรอวยพรตามที่ไดออกแบบไวลงในเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน)

Page 90: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

79

ขั้นแสดงผล ( 20 นาที ) 3. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอบัตรอวยพรที่ตนเองศึกษา พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่น ๆ(ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

ขั้นประเมินผลและตอยอดการเรียนรู ( 5 นาที ) 4. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอช้ินงานและนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น 5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําบัตรอวยพร สื่อการเรียนรู 1. บัตรอวยพรรปูแบบตางๆ 2. คอมพิวเตอร การวัดผลและประเมินผล

แบบประเมินการเรียนรูเปนกลุม แบบรูบริคส(ครูและนักเรียนรวมกันสราง) วิธีการวัด 1. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุมหลังจากการนําเสนองานของนักเรียน แตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินการเรียนรูเปนกลุมแบบรูบริคส 2. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินชิ้นงานหลังจากการนําเสนองานของนักเรียนแตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินชิ้นงานแบบรูบริคส

Page 91: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

80

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 3

หนวยการเรยีนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ รายวิชา คอมพิวเตอร เร่ือง ใบปลิว ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เวลาเรียน 3 ช่ัวโมง สอนวันที่ 9 , 16 , 23 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2553 ภาคเรียนที ่2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีวั้ด มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ง. 3.1 ป. 5/1 คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ง. 3.1 ป. 5/2 สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชวีิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบาย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนคนอื่นเกี่ยวกับการทําใบปลิว

2. นักเรียนมีทักษะในการใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บขอมูลอยางงาย และมีทักษะการใชเครื่องมือในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 3. นักเรียนออกแบบและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอชิ้นงานการทําใบปลิวในเรื่องที่ตนเองสนใจ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อชวยในการนําเสนอรวมกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 4. นักเรียนพัฒนาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ สาระสําคัญ ใบปลิวเปนสิ่งพิมพเฉพาะกิจที่มีเนื้อหาสาระเรื่องใดเพียงเรื่องเดียวไดแก คําแถลง ประกาศ ช้ีแจง แจงความโดยขอความเหลานั้นมักจะเปนการใหขอมูล เพื่อแจกจายไปยังกลุมเปาหมายเฉพาะ อาจมีวัตถุประสงคเพื่อการโฆษณา หรือเพื่อการเผยแพรประชาสัมพันธก็ได ตัวอยางใบปลิว เชน ใบปลิวแนะนําสินคา ใบปลิวลดราคาสินคา ใบปลิวแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ

Page 92: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

81

ลักษณะเดนของใบปลิว คือ มีขนาดเล็ก หยิบถือไดสะดวก สามารถเก็บรวบรวมขอมูลไดมาก คาใชจายในการผลิตนอยเมื่อเทียบกับ ส่ิงพิมพอ่ืนๆหากมีออกแบบใบปลิวที่นาสนใจจะกอใหเกิดภาพพจนที่ดีตอสินคา หรือบริการนั้น ๆ สาระการเรียนรู ความรู(K) 1. ใบปลิวที่ใชในกรณีตางๆ

2. สวนประกอบตางๆของใบปลิว ทักษะ กระบวนการ(P)

1. ทักษะกระบวนการทํางาน : ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู 2. กระบวนการคิด : การใหเหตุผล การสรุปความรู คุณลักษณะอันพึงประสงค(A) มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมงที่ 1 ขั้นวางแผน ( 25 นาที) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของใบปลิวที่นยิมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกนัถามเกี่ยวกับใบปลิวและตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 ใบปลิวนิยมใชในกรณีใดบาง เชน ใบปลิวแนะนําสินคา ใบปลิวลดราคาสินคา ใบปลิวแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางใบปลิวที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในใบปลิวสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง 2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับใบปลิว ฯลฯ

3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําใบปลิวจําเปนตองมีการจัดทําใบปลิวใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับใบปลิวที่ใหในกรณีตางๆ

4. ครูกําหนดหัวขอ “ใบปลิวแนะนําสถานที่ทองเที่ยว” และใหนักเรียนลงมือทําใบปลิวดวยตนเอง โดยกอนจะทําใบปลิวครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้

Page 93: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

82

4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําใบปลิวในหัวขอ “ใบปลิวแนะนําสถานที่ทองเที่ยว” โดยเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่จะทําใบปลิวตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางใบปลิวลงในกระดาษ ( 15 นาที ) ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําใบปลิว โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน) 6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การทําใบปลิวลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอใบปลิวและขั้นตอนการทําใบปลิวที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

ขั้นประเมินผล (5 นาที) 8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ

ช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําใบปลิว ชั่วโมงที่ 2 ขั้นวางแผน ( 25 นาที) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของใบปลิวที่นิยมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกันถามเกี่ยวกับใบปลิวและตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 ใบปลิวนิยมใชในกรณีใดบาง เชน ใบปลิวแนะนําสินคา ใบปลิวลดราคาสินคา ใบปลิวแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางใบปลิวที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในใบปลิวสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง

Page 94: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

83

2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับใบปลิว ฯลฯ 3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําใบปลิว

จําเปนตองมีการจัดทําใบปลิวใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับใบปลิวที่ใหในกรณีตางๆ

4. ครูกําหนดหัวขอ “ใบปลิวแนะนําสินคา” และใหนักเรียนลงมือทําใบปลิวดวยตนเอง โดยกอนจะทําใบปลิวครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําใบปลิวในหัวขอ “ใบปลิวแนะนําสินคา” โดยเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่จะทําใบปลิวตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางใบปลิวลงในกระดาษ ( 15 นาที )

ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําใบปลิว โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน) 6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การทําใบปลิวลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอใบปลิวและขั้นตอนการทําใบปลิวที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

ขั้นประเมินผล (5 นาที) 8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ

ช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําใบปลิว ชั่วโมงที่ 3

ขั้นวางแผน ( 25 นาที ) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของใบปลิวที่นิยมใชในกรณีตางๆ

Page 95: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

84

2. นักเรียนชวยกันถามเกี่ยวกับใบปลิวและตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 ใบปลิวนิยมใชในกรณีใดบาง เชน ใบปลิวแนะนําสินคา ใบปลิวลดราคาสินคา ใบปลิวแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางใบปลิวที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในใบปลิวสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง 2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับใบปลิว ฯลฯ

3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําใบปลิวจําเปนตองมีการจัดทําใบปลิวใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับใบปลิวที่ใหในกรณีตางๆ ( 10 นาที)

4. ครูกําหนดหัวขอ “ใบปลิวแจงขาวสาร” และใหนักเรียนลงมือทําใบปลิวดวยตนเอง โดยกอนจะทําใบปลิวครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําใบปลิวในหัวขอ “ใบปลิวแจงขาวสาร”โดยเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่จะทําใบปลิวตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางใบปลิวลงในกระดาษ ( 15 นาที )

ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําใบปลิว โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน)

6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การทําใบปลิวลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอใบปลิวและขั้นตอนการทําใบปลิวที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

Page 96: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

85

ขั้นประเมินผล (5 นาที) 8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ

ช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น 9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําใบปลิว สื่อการเรียนรู 1. ใบปลิวรูปแบบตางๆ 2. คอมพิวเตอร การวัดผลและประเมินผล

แบบประเมินการเรียนรูเปนกลุม แบบรูบริคส(ครูและนักเรียนรวมกันสราง) วิธีการวัด 1. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุมหลังจากการนําเสนองานของนักเรียน แตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินการเรียนรูเปนกลุมแบบรูบริคส 2. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินชิ้นงานหลังจากการนําเสนองานของนักเรียนแตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินชิ้นงานแบบรูบริคส

Page 97: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

86

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4

หนวยการเรยีนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ รายวิชา คอมพิวเตอร เร่ือง แผนพับ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เวลาเรียน 3 ช่ัวโมง สอนวันที่ 6 , 13 , 20 เดือน มกราคม พ.ศ. 2554 ภาคเรียนที ่2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีวั้ด มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ง. 3.1 ป. 5/1 คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ง. 3.1 ป. 5/2 สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชวีิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบาย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนคนอื่นเกี่ยวกับการทําบัตรอวยพร 2. นักเรียนมีทักษะในการใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บขอมูลอยางงาย และมีทักษะการใชเครื่องมือในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 3. นักเรียนออกแบบและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอชิ้นงานการทําบัตรอวยพรในเร่ืองที่ตนเองสนใจ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อชวยในการนําเสนอรวมกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 4. นักเรียนพัฒนาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ สาระสําคัญ แผนพับ คือ ส่ิงพิมพใด ๆ มีการพับเขาหรือกางออกขณะที่ใชงาน ไมวาแผนพับนั้นจะมีวัตถุประสงคเพื่อการโฆษณา ประชาสัมพันธ หรือคูมือสินคา ตัวอยางแผนพับ เชน แผนพับแนะนําสินคา แผนพับแนะนําบริการ แผนพับสงเสริมการขาย แผนพับแนะนําองคกร แผนพับแนะนําสถานที่สําคัญ แผนพับแนะนําสถานศึกษา แผนพับแนะนําสถานที่เที่ยว แผนพับแจงขาวสาร แผนพับ

Page 98: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

87

แนะนํารานคา แผนพับรับสมัครสมาชิก แผนพับคูมือสินคา แผนพับคูมือการใชบริการ แผนพับแผนที่ ฯลฯ ลักษณะเดนของแผนพับ คือ มีขนาดเล็ก หยิบถือไดสะดวก สามารถเก็บรวบรวมขอมูลไดมาก คาใชจายในการผลิตนอยเมื่อเทียบกับ ส่ิงพิมพอ่ืนๆหากออกแบบใหมีลักษณะการพับที่นาสนใจ จะกอใหเกิดภาพพจนที่ดีตอสินคา หรือบริการนั้น ๆ สาระการเรียนรู ความรู(K) 1. แผนพับที่ใชในกรณีตางๆ

2. สวนประกอบตางๆของแผนพับ ทักษะ กระบวนการ(P)

1. ทักษะกระบวนการทํางาน : ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู 2. กระบวนการคิด : การใหเหตุผล การสรุปความรู คุณลักษณะอันพึงประสงค(A) มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมงที่ 1

ขั้นวางแผน ( 10 นาที) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของแผนพับที่นยิมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกนัถามเกีย่วกับแผนพับและตอบคําถามที่ตัง้ขึน้(ครูเขยีนคาํตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 แผนพับนิยมใชในกรณีใดบาง เชน แผนพับแนะนําสินคา แผนพับลดราคาสินคา แผนพับแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางแผนพับที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในแผนพับสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง 2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับแผนพับ ฯลฯ

3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําแผนพับจําเปนตองมีการจัดทําแผนพับใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับแผนพับที่ใหในกรณีตางๆ

4. ครูกําหนดหัวขอ “แผนพับแนะนําสถานที่ทองเที่ยว” และใหนักเรียนลงมือทําแผนพับดวยตนเอง โดยกอนจะทําแผนพับครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้

Page 99: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

88

4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแผนพับในหัวขอ “แผนพับแนะนําสถานที่ทองเที่ยว” โดยเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่จะทําแผนพับตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางแผนพับลงในกระดาษ ( 15 นาที ) ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําแผนพับ โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน) 6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การทําแผนพับลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอแผนพับและขั้นตอนการทําแผนพับที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

ขั้นประเมินผล (5 นาที) 8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ

ช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําแผนพับ ชั่วโมงที่ 2 ขั้นวางแผน ( 25 นาที) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของแผนพับที่นิยมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกันถามเกี่ยวกับแผนพับและตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 แผนพับนิยมใชในกรณีใดบาง เชน แผนพับแนะนําสินคา แผนพับลดราคาสินคา แผนพับแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางแผนพับที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในแผนพับสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง

Page 100: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

89

2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับแผนพับ ฯลฯ 3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําแผนพับ

จําเปนตองมีการจัดทําแผนพับใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับแผนพับที่ใหในกรณีตางๆ

4. ครูกําหนดหัวขอ “แผนพับแนะนําสินคา” และใหนักเรียนลงมือทําแผนพับดวยตนเอง โดยกอนจะทําแผนพับครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแผนพับในหัวขอ “แผนพับแนะนําสินคา”โดยเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่จะทําแผนพับตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางแผนพับลงในกระดาษ ( 15 นาที )

ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําแผนพับ โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน) 6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การทําแผนพับลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอแผนพับและขั้นตอนการทําแผนพับที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

ขั้นประเมินผล (5 นาที) 8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ

ช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําแผนพับ ชั่วโมงที่ 3

ขั้นวางแผน ( 25 นาที ) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของแผนพับที่นิยมใชในกรณีตางๆ

Page 101: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

90

2. นักเรียนชวยกันถามเกี่ยวกับแผนพับและตอบคําถามที่ตั้งขึ้น(ครูเขียนคําตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 แผนพับนิยมใชในกรณีใดบาง เชน แผนพับแนะนําสินคา แผนพับลดราคาสินคา แผนพับแนะนําสถานที่เที่ยว ฯลฯ 2.2 เพื่อนๆสังเกตเห็นอะไรบางในตัวอยางแผนพับที่ไดดู 2.3 ส่ิงที่เห็นในแผนพับสัมพันธเกี่ยวของกันอยางไรบาง 2.4 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับแผนพับ ฯลฯ

3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา ในการศึกษาเกี่ยวกับการทําแผนพับจําเปนตองมีการจัดทําแผนพับใหมีรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และจะตองทําการศึกษาและคนหาขอมูลเกี่ยวกับแผนพับที่ใหในกรณีตางๆ ( 10 นาที)

4. ครูกําหนดหัวขอ “แผนพับแจงขาวสาร” และใหนักเรียนลงมือทําแผนพับดวยตนเอง โดยกอนจะทําแผนพับครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระแตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําแผนพับในหัวขอ “แผนพับแจงขาวสาร” โดยเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่จะทําแผนพับตามความสนใจของกลุมตนเองกลุมละ 1 เร่ือง โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางแผนพับลงในกระดาษ ( 15 นาที )

ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําแผนพับ โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน)

6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การทําแผนพับลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอแผนพับและขั้นตอนการทําแผนพับที่ตนเองศึกษาตาม รูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา)

Page 102: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

91

ขั้นประเมินผล (5 นาที) 8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอ

ช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น 9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการทําแผนพับ สื่อการเรียนรู 1. แผนพับรูปแบบตางๆ 2. คอมพิวเตอร การวัดผลและประเมินผล

แบบประเมินการเรียนรูเปนกลุม แบบรูบริคส(ครูและนักเรียนรวมกันสราง) วิธีการวัด 1. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุมหลังจากการนําเสนองานของนักเรียน แตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินการเรียนรูเปนกลุมแบบรูบริคส 2. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินชิ้นงานหลังจากการนําเสนองานของนักเรียนแตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินชิ้นงานแบบรูบริคส

Page 103: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

92

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5

หนวยการเรยีนรู เทคโนโลยีสารสนเทศ รายวิชา คอมพิวเตอร เร่ือง การใชMs Word สรางงานอยางอิสระ ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 เวลาเรียน 3 ช่ัวโมง สอนวันที่ 27 , 3 , 10 เดือน มกราคม - กุมภาพนัธ พ.ศ. 2554 ภาคเรียนที ่2 ปการศึกษา 2553 โรงเรียนบุญสมวิทยา

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีวั้ด มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด ง. 3.1 ป. 5/1 คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ง. 3.1 ป. 5/2 สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชวีิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนอธิบาย และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนคนอื่นเกี่ยวกับการสรางชิ้นงานรูปแบบตางๆ

2. นักเรียนมีทักษะในการใชคอมพิวเตอรในการคนหาขอมูล เก็บขอมูลอยางงาย และมีทักษะการใชเครื่องมือในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 3. นักเรียนออกแบบและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอชิ้นงานในเรื่องที่ตนเองสนใจ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อชวยในการนําเสนอรวมกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) 4. นักเรียนพัฒนาความคิดสรางสรรค ทั้ง 4 องคประกอบ คือ ความคิดคลองแคลว ความคิดยืดหยุน ความคิดริเร่ิม และความคิดละเอียดลออ สาระสําคัญ โปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) เปนโปรแกรมประเภทหนึ่งที่สามารถสรางช้ินงานไดหลายรูปแบบ ซ่ึงการที่นักเรียนจะสรางชิ้นงานใหสวยงาม ไมซํ้าแบบใครไดนั้นจําเปนตองอาศัยความคิดสรางสรรคในการออกแบบชิ้นงาน

Page 104: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

93

สาระการเรียนรู ความรู(K)

การสรางชิ้นงานดวยโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) ทักษะ กระบวนการ(P)

1. ทักษะกระบวนการทํางาน : ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู 2. กระบวนการคิด : การใหเหตุผล การสรุปความรู คุณลักษณะอันพึงประสงค(A) มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน กิจกรรมการเรียนการสอน ชั่วโมงที่ 1 ขั้นวางแผน ( 25 นาที ) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของแผนพับที่นยิมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกนัถามเกีย่วกับแผนพับและตอบคําถามที่ตัง้ขึน้(ครูเขยีนคาํตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 โปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) สามารถสรางชิ้นงานอะไรไดบาง 2.2 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) 3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา โปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน สามารถสรางชิ้นงานไดหลากหลาย และชิ้นงานที่ไดตองอาศัยความคิดในการสรางสรรคช้ินงาน จึงจะไดช้ินงานที่ออกมาสวยงาม ไมซํ้าแบบใคร ( 10 นาที)

4. ครูกําหนดหัวขอ “วันเด็ก” และใหนักเรียนลงมือทําชิ้นงานดวยโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ช้ินงานที่สรางจะเปนรูปแบบใดก็ได โดยกอนจะทําชิ้นงานครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระ แตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําชิ้นงานในหัวขอ “วันเด็ก” โดยใชเครื่องมือและคําสั่ง ในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางช้ินงานลงในกระดาษ

Page 105: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

94

ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจที่จะนํามาทําแผนพับ โดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน)

6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การใชMs Word สรางงานอยางอิสระ ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอชิ้นงานและขั้นตอนการทําชิ้นงานที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา) ขั้นประเมินผล (5 นาที)

8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอชิ้นงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการใชMs Word สรางงานอยางอิสระ ชั่วโมงที่ 2 ขั้นวางแผน ( 25 นาที ) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของแผนพับที่นยิมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกนัถามเกีย่วกับแผนพับและตอบคําถามที่ตัง้ขึน้(ครูเขยีนคาํตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 โปรแกรมประมวลคําพืน้ฐาน (Ms Word) สามารถสรางชิ้นงานอะไรไดบาง 2.2 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)

3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา โปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) สามารถสรางชิ้นงานไดหลากหลาย และช้ินงานที่ไดตองอาศัยความคิดในการสรางสรรคช้ินงาน จึงจะไดช้ินงานที่ออกมาสวยงาม ไมซํ้าแบบใคร ( 10 นาที)

4. ครูกําหนดหัวขอ “วันวาเลนไทน” และใหนักเรียนลงมือทําชิ้นงานดวยโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ช้ินงานที่สรางจะเปนรูปแบบใดก็ได โดยกอนจะทําชิ้นงานครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้

Page 106: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

95

4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระ แตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําชิ้นงานในหัวขอ “วันวาเลนไทน” โดยใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางชิ้นงานลงในกระดาษ ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลที่จะนํามาทําชิ้นงานโดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน)

6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การใชMs Word สรางงานอยางอิสระ ลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอชิ้นงานและขั้นตอนการทําชิ้นงานที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา) ขั้นประเมินผล (5 นาที)

8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอชิ้นงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการใชMs Word สรางงานอยางอิสระ

ชั่วโมงที่ 3 ขั้นวางแผน ( 25 นาที) 1. ครูใหนักเรียนดูรูปแบบของแผนพับที่นยิมใชในกรณีตางๆ 2. นักเรียนชวยกนัถามเกีย่วกับแผนพับและตอบคําถามที่ตัง้ขึน้(ครูเขยีนคาํตอบบนกระดาน)ตัวอยางคําถาม เชน 2.1 โปรแกรมประมวลคําพืน้ฐาน (Ms Word) สามารถสรางชิ้นงานอะไรไดบาง 2.2 เพื่อนๆรูสึกอยางไรกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word)

3. จากคําถามและคําตอบขางตน ครูช้ีใหนักเรียนเห็นวา โปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน

Page 107: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

96

(Ms Word) สามารถสรางชิ้นงานไดหลากหลาย และชิ้นงานที่ไดตองอาศัยความคิดในการสรางสรรคช้ินงาน จึงจะไดช้ินงานที่ออกมาสวยงาม ไมซํ้าแบบใคร ( 10 นาที)

4. ครูกําหนดหัวขอ “วันวาเลนไทน” และใหนักเรียนลงมือทําชิ้นงานดวยโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน (Ms Word) ช้ินงานที่สรางจะเปนรูปแบบใดก็ได โดยกอนจะทําชิ้นงานครู ไดทําการตกลงชี้แจงกับนักเรียน ดังนี้ 4.1 นักเรียนเลือกสมาชิกกลุมโดยอิสระ แตมีขอตกลงวาแตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 5 คน ที่มีระดับผลการเรียนวิชาคอมพิวเตอรในเทอมที่ผานมาตางกัน และแตละกลุมใหมีทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง

4.2 นักเรียนแตละกลุมเลือกทําชิ้นงานโดยกําหนดหัวขอดวยตนเอง ใชเครื่องมือและคําสั่งในโปรแกรมประมวลคํา (Ms Word) แบบใดก็ได พรอมทั้งใหแตละกลุมออกแบบขั้นตอนในการสรางชิ้นงานลงในกระดาษ ขั้นปฏิบัติ (15 นาที) 5. นักเรียนทําการคนหาขอมูลที่จะนํามาทําชิ้นงานโดยใชเทคโนโลยีมาชวยในการเก็บขอมูล ( ครูคอยแนะนําและชวยเหลือนักเรียน)

6. นักเรียนแตละคนเขียน หรือกลาวสะทอนความรูสึกที่มีตอกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง การใชMs Word สรางงานอยางอิสระ ลงในชิ้นงานที่กลุมนักเรียนสรางขึ้น ขั้นแสดงผล (15 นาที)

7. นักเรียนแตละกลุมนําเสนอชิ้นงานและขั้นตอนการทําชิ้นงานที่ตนเองศึกษาตามรูปแบบการนําเสนอที่ตนเองเลือก พรอมทั้งอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนกลุมอื่นๆ (ครูใหคําแนะนํา และชวยช้ีแนะนักเรียนในการสรุปเนื้อหา) ขั้นประเมินผล (5 นาที)

8. ครู และนักเรียนกลุมที่ไมไดนําเสนอทําการประเมินชิ้นงานของนักเรียนกลุมที่นําเสนอช้ินงาน และนักเรียนกลุมที่นําเสนอประเมินตนเองโดยใชแบบประเมินที่ครูและนักเรียนรวมกันสรางขึ้น

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันสงผลงาน ช้ินงาน จากกิจกรรมการใชMs Word สรางงานอยางอิสระ สื่อการเรียนรู 1. ช้ินงานรูปแบบตางๆ 2. คอมพิวเตอร

Page 108: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

97

การวัดผลและประเมินผล แบบประเมินการเรียนรูเปนกลุม แบบรูบริคส(ครูและนักเรียนรวมกันสราง)

วิธีการวัด 1. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุมหลังจากการนําเสนองานของนักเรียน แตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินการเรียนรูเปนกลุมแบบรูบริคส 2. ครูและนักเรียนทําแบบประเมินชิ้นงานหลังจากการนําเสนองานของนักเรียนแตละกลุม โดยใชเกณฑการประเมินชิ้นงานแบบรูบริคส

Page 109: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

98

ขอเสนอแนะของผูบริหารสถานศึกษา สามารถนําไปใชจัดการเรียนการสอนได

ลงชื่อ ............................................................... (นางปราณี วรุณวานิชบัญชา)

รองผูอํานวยการฝายวิชาการโรงเรียนบุญสมวิทยา 8 / พฤศจิกายน / 2553

Page 110: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

99

บันทึกผลหลงัการจัดการเรียนรู

ผลการจัดการเรียนการสอน นักเรียนมีความสนใจ และกระตือรือรนตอการเรียนรู มีทักษะในการใชคอมพิวเตอร

ในการคนหาขอมูล เก็บขอมูลอยางงาย และมีทักษะการใชเครื่องมือในโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) สามารถออกแบบและสรางสรรครูปแบบการนําเสนอชิ้นงานในเรื่องที่ตนเองสนใจ โดยประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อชวยในการนําเสนอรวมกับโปรแกรมประมวลคําพื้นฐาน(Ms Word) รวมกันทํางานกลุมอยางมีความสุข โดยมีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และวางแผนงานในการทํางานรวมกันเปนอยางดี ปญหาและอุปสรรค นักเรียนที่เรียนออนบางครั้งจะไมยอมออกความคิดเหน็หรือชวยเพื่อนในกลุมวางแผนงาน แนวทางแกไข ผูสอนไดใหคําแนะนําของการทํางานรวมกันเปนกลุม ทุกคนในกลุมควรชวยกันออกความคิดเห็น วางแผนงานตาง ๆ รวมกัน เพื่อใหไดความคิดที่หลากหลาย ซ่ึงจะทําใหงานประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงคที่วางไว

ลงชื่อ.......................................................... ( นางสาวเรวด ี รัตนวิจิตร ) ครูผูสอน 11 / พฤศจิกายน / 2553

Page 111: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

100

อนุทิน ครั้งที่ ......... ......... /.................. / .........

1. การจัดการเรียนรูในกิจกรรมใดที่นักเรียนชอบและประทับใจที่สุด เพราะเหตใุด ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ส่ิงที่นักเรียนไดรับจากการการจัดการเรยีนรู ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. ส่ิงที่นักเรียนคิดวาควรปรับปรุงแกไขในการจัดกจิกรรมการเรียนรู .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ขอเสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ผูบันทึก .......................................................................... นักเรียนชั้นประถมศกึษาปที่ 5 เลขที่ ............ โรงเรียนบุญสมวิทยา

Page 112: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

101

เกณฑการใหคะแนนชิ้นงาน (รูบริคส)

ประเด็นการประเมิน

ระดับคะแนน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยที่สุด (1)

1. ความคิดคลองแคลว

ทําชิ้นงานไดรวดเรว็เสร็จทันเวลาที่กําหนดเนื้อหามากและเนื้อหาตรงตามหัวขอที่ทํา ชัดเจน

ทําชิ้นงานไดรวดเรว็เสร็จทันเวลาที่กําหนดและเนื้อหามากตรงตามหัวขอที่ทาํ ชัดเจนแตลําดับเนื้อหายังไมชัดเจน

ทําชิ้นงานไดรวดเรว็เสร็จทันเวลาที่กําหนดเนื้อหานอยแตตรงตามหัวขอที่ทําลําดับเนื้อหาสับสน

ทําชิ้นงานเสร็จไมทันเวลาที่กําหนด เนื้อหานอยแตเนื้อหาตรงตามหัวขอที่ทําบางสวน

ทําชิ้นงานเสร็จไมทันเวลาที่กําหนด เนื้อหานอย และเนื้อหาไมตรงตามหัวขอที่ทํา

2. ความคิดยืดหยุน

การตกแตงชิน้งานสวยงาม สะทอนถึงความคิดที่หลากหลาย ชัดเจน

การตกแตงชิน้งานสวยงาม สะทอนถึงความคิดที่หลากหลายแตยังไมชัดเจน

การตกแตงชิน้งานสวยงาม บางสวนสะทอนถึงความคิดที่หลากหลายแตยังไมชัดเจน

การตกแตงชิน้งานไมสวยงามแตสะทอนถึงความคิดที่หลากหลายเพียงบางสวน

การตกแตงชิน้งานไมสวยงามและไมสะทอนถึงความคิดที่หลากหลาย

Page 113: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

102

เกณฑการใหคะแนนชิ้นงาน (รูบริคส) (ตอ)

ประเด็นการประเมิน

ระดับคะแนน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยที่สุด (1)

3. ความคิดริเริ่มและการดึงดูดความสนใจ

ชิ้นงานแสดงความคิดริเริ่มสรางสรรค มีการนําเสนอเนื้อหาและแนวคดิที่นาสนใจและมีเอกลักษณที่ชัดเจน

ชิ้นงานแสดงความคิดริเริ่มสรางสรรค มีการนําเสนอเนื้อหาและแนวคดิที่นาสนใจแตยังไมมีเอกลักษณที่ชัดเจนนัก

ชิ้นงานแสดงความคิดริเริ่มสรางสรรคเล็กนอย มีการนําเสนอเนื้อหาและแนวคดิที่นาสนใจ แตยังไมมีเอกลักษณที่ชัดเจนนัก

ชิ้นงานแสดงความพยายามในการคิดริเริ่มสรางสรรคเล็กนอย มีการนําเสนอเนื้อหาและแนวคิดทีย่ังไมนาสนใจ

ชิ้นงานแสดงความคิดริเริ่มสรางสรรคเล็กนอย การนําเสนอเนื้อหาและแนวคิดยังไมนาสนใจเทาทีค่วร

4. คิดละเอียดลออ การตกแตงชิน้งานสวยงามสอดคลองกับหัวขอการใชภาษาสื่อความชัดเจน ใชภาษาสละสลวย

การตกแตงชิน้งานสวยงามสอดคลองกับหัวขอ การใชภาษาสื่อความชัดเจน แตภาษายังไมสละสลวย

การตกแตงชิน้งานสอดคลองกับหัวขอแตยังไมสวยงาม การใชภาษาสื่อความสอดคลอง กับหัวขอ แตภาษายังไมสละสลวย

มีการตกแตงชิน้งานแตตกแตงไมสอดคลองกับหัวขอ ใชภาษาสอดคลองกับหัวขอแตยังสื่อ ความไมชัดเจน

ไมมีการตกแตงชิ้นงาน ภาษาไมสอดคลองกับหัวขอ การใชภาษาสื่อความยังไมชัดเจน

Page 114: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

103

ระดับคุณภาพ 17 - 20 หมายถึง มากที่สุด 13 - 16 หมายถึง มาก 9 - 12 หมายถึง ปานกลาง 5 - 8 หมายถึง นอย 4 หมายถึง นอยที่สุด

Page 115: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

104

เกณฑการใหคะแนนแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุม (รูบริคส)

ประเด็นการประเมิน

ระดับคะแนน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยที่สุด (1)

1. การระดมความคิด

สมาชิกทุกคนในกลุมรวมกันแสดงความคิดเห็นและชวยกันคดิวางแผนงานดวยเหตุดวยผล

สมาชิกในกลุมไมมีสวนรวม 1 คน

สมาชิกในกลุมไมมีสวนรวม 2 คน

สมาชิกในกลุมไมมีสวนรวม 3 คน

สมาชิกในกลุมไมมีสวนรวม 4 คนขึ้นไป และไมชวยกันคิดวางแผนงาน

2. การนําเสนอผลงาน

สมาชิกในกลุมทุกคนพูดเสียงดังฟงชัดออกเสียงอักขระถูกตอง สื่อความหมายเขาใจ

สมาชิกในกลุมสวนใหญพูดเสียงดังฟงชัดออกเสียงอักขระถกูตองเปนสวนใหญ สื่อความหมายเขาใจ

สมาชิกในกลุมสวนใหญพูดเสียงเบา ออกเสียงอักขระถูกตองเปนสวนใหญ สื่อความหมายพอเขาใจ

สมาชิกในกลุมทุกคนพูดเสียงเบา ออกเสียงอักขระไมถูกตองสวนใหญ สื่อความหมายพอเขาใจ

สมาชิกในกลุมทุกคนพูดเสียงเบา ออกเสียงอักขระไมถูกตอง สื่อความหมายไมเขาใจ

Page 116: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

105

เกณฑการใหคะแนนแบบประเมินการเรียนรูเปนกลุม (รูบริคส)

ประเด็นการประเมิน

ระดับคะแนน

มากที่สุด (5)

มาก (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอยที่สุด (1)

3. กระบวนการกลุม

สมาชิกในกลุมมีบทบาท ชวยเหลือซึ่งกนัและกนัด ี

สมาชิกในกลุม 1 คนขึ้นไป ไมมีบทบาท ไมชวยเหลือซึ่งกนัและกนั

สมาชิกในกลุม 2 คนขึ้นไป ไมมีบทบาท ไมชวยเหลือซึ่งกนัและกนั

สมาชิกในกลุม 3 คนขึ้นไป ไมมีบทบาท ไมชวยเหลือซึ่งกันและกัน

สมาชิกในกลุม 4 คนขึ้นไป ไมมีบทบาท ไมชวยเหลือซึ่งกันและกัน

ระดับคุณภาพ

13 - 15 หมายถึง มากที่สุด 10 - 12 หมายถึง มาก 7 - 9 หมายถึง ปานกลาง 4 - 6 หมายถึง นอย 3 หมายถึง นอยที่สุด

Page 117: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

106

แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรูของผูเชี่ยวชาญ

คําชี้แจง แบบประเมินนี้ใชสําหรับแผนการจัดการเรียนรู รายวิชา คอมพิวเตอร กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เพื่อศึกษาความคิดสรางสรรคสําหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หนวยการเรียนรูที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ แบบประเมินนี้เปนแบบจัดอันดับคุณภาพ แบบมาตราสวนประมาณคา โดยแบงเปน 5 ระดับ ดังนี้ 5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอย 1 หมายถึง นอยที่สุด

ท่ี องคประกอบดานรายการตรวจสอบ ระดับคุณภาพ

5 4 3 2 1 1 จุดประสงคการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู

และตัวช้ีวัด

2 เนื้อหาสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด 3 สาระการเรียนรูถูกตอง ครบถวนเพยีงพอในการสรางขอ

ความรูหรือเกดิพฤติกรรมหรือทักษะที่ตองการวัด

4 กําหนดกิจกรรมการเรียนรูแตละขั้นตอนชดัเจน 5 กิจกรรมการเรยีนรูสอดคลองกับตัวช้ีวัดและจุดประสงค

การเรียนรู

6 กิจกรรมการเรยีนรูตรงตามการสอนแบบโครงงานเปนฐาน 7 จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหนักเรยีนมีสวนรวมในกิจกรรม

การเรียนรู

8 เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรูสามารถพัฒนาความคิด สรางสรรคของนักเรียนได

Page 118: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

107

ท่ี องคประกอบดานรายการตรวจสอบ ระดับคุณภาพ

5 4 3 2 1 9 ส่ือ/แหลงเรียนรู เหมาะสมกับวยั ความสนใจขอผูเรียน 10 ส่ือการเรียนรูสอดคลองกับกิจกรรมการเรยีนรู 11 วิธีการวัดและเครื่องมือการวัดผลประเมินผลสอดคลอง

กับพฤติกรรมที่กําหนดในจดุประสงคการเรียนรู

12 วิธีการวัดและเครื่องมือการวัดผลประเมินผล สอดคลองกับขั้นตอนและกระบวนการเรยีนรู

ลงช่ือ............................................................ผูประเมิน ( )

Page 119: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

108

แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร) ชั้นประถมศึกษาปท่ี 5

โรงเรียนบุญสมวิทยา จังหวัดจันทบุร ี

ชื่อ......................................นามสกุล.......................................เลขที่............ชั้น................ คําชี้แจง 1. นักเรียนอานคําชี้แจงใหเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค 2. แบบทดสอบวดัความคิดสรางสรรค มีทั้งหมด 4 ขอ

3. แบบทดสอบวดัความคิดสรางสรรคชุดนี้ เปนแบบทดสอบที่ใหนกัเรียนเขียนคําตอบไดอยางอิสระเทาที่นักเรียนจะสามารถตอบได

4. เวลาในการทําขอสอบ 60 นาที โดยใหนักเรียนทําขอละ 15 นาที ถาหมดเวลาแลวกรรมการ คุมสอบจะดําเนินการเก็บแบบทดสอบพรอมกับแจกแบบทดสอบขอตอไปใหนักเรียนทํา (ถาเขียนตอบในสวนที่กําหนดใหไมพอใหเขียนตอดานหลัง )

Page 120: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

109

1. บัตรอวยพรสามารถใชในโอกาสสําคัญหรือวันสําคัญใดไดบาง บอกมา 10 คําตอบ ภายในเวลา 15 นาที ( 5 คะแนน )

คําตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Page 121: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

110

ช่ือ..................................................................................................................เลขที่........................

2. ใหนักเรียนบอกชื่อหัวขอแผนพับทีน่ักเรียนเคยพบมาใหไดมากที่สุด ภายในเวลา 15 นาที ( 5 คะแนน ) คําตอบ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Page 122: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

111

3. นักเรียนคิดวาโปรแกรมประมวลผลคํา (Ms Word) สามารถนํามาสรางชิ้นงาน อะไรไดบาง (ตอบไดอยางอิสระ ไมจํากดัคําตอบ) ภายในเวลา 15 นาที ( 5 คะแนน )

คําตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Page 123: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

112

4. จากภาพ นักเรียนจะประยุกตใช โปรแกรมประมวลผลคํา (Ms Word) ทําชิ้นงาน อะไร และตั้งชื่อชิ้นงานของนักเรียน พรอมอธบิายขั้นตอนในการทํา ภายในเวลา 15 นาที ( 5 คะแนน )

ใชโปรแกรมประมวลผลคําประยุกตทํา........................................................................................ ชื่อชิ้นงาน..................................................................................................................................... ขั้นตอนการทํา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Page 124: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

113

เกณฑการใหคะแนนแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดสรางสรรค 1. คะแนนความคิดคลองแคลว ใหคะแนนโดยพิจารณาจากจํานวนคําตอบที่ตอบถูกตาม เงื่อนไขของขอสอบ โดยไมตองคํานึงวาคําตอบเหลานั้นจะซํ้ากับคําตอบของคนอื่นหรือไม โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดงันี้

ถานักเรียนตอบไมไดเลย ได 0 คะแนน ถานักเรียนตอบได 1-2 คําตอบ ได 1 คะแนน ถานักเรียนตอบได 3-4 คําตอบ ได 2 คะแนน

ถานักเรียนตอบได 5-6 คําตอบ ได 3 คะแนน ถานักเรียนตอบได 7-8 คําตอบ ได 4 คะแนน ถานักเรียนตอบได 9 คําตอบขึ้นไป ได 5 คะแนน

คําตอบที่คาดหวัง บัตรอวยพรใชในโอกาสใดไดบาง

1. วันปใหม 2. วันวาเลนไทน 3. วันเกิด 4. วันสงกรานต 5. วันแม 6. วันพอ 7. วันคริสตมาส 8. วันเกดิ 9. ครบรอบเกษียณอายุราชการ 10. วันเด็ก 11. วันตรุษจีน

Page 125: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

114

2. คะแนนความคิดยืดหยุน ใหคะแนนโดยพจิารณาจากจํานวนกลุมหรือจํานวนทิศทางของคําตอบ โดยการนําคําตอบที่เปนทิศทางเดียวกนั หรือความหมายอยางเดยีวกันโดยจัดเขาเปนกลุมเดียวกนัเมื่อจัดแลวใหนับจํานวนกลุมโดยมีเกณฑการใหคะแนนดังนี ้ จัดกลุมคําตอบได 1 กลุม ได 1 คะแนน จัดกลุมคําตอบได 2 กลุม ได 2 คะแนน จัดกลุมคําตอบได 3 กลุม ได 3 คะแนน จัดกลุมคําตอบได 4 กลุม ได 4 คะแนน จัดกลุมคําตอบได 5 กลุมขึน้ไป ได 5 คะแนน คําตอบที่คาดหวัง

ใหนกัเรียนบอกชื่อหัวขอแผนพับที่นักเรียนเคยพบมาใหไดมากที่สุด กลุมคําตอบที่ 1 อาหาร ตัวอยาง ไกทอด , สมตํา กลุมคําตอบที่ 2 เครื่องสําอาง ตัวอยาง ลิปสติก , ครีมตางๆ กลุมคําตอบที่ 3 สถานที่ทองเที่ยว ตัวอยาง น้ําตกพลิ้ว , สวนสนุก

กลุมคําตอบที่ 4 รานอาหาร ตัวอยาง รานคุณแดง , รานปนจิ้ม กลุมคําตอบที่ 5 ที่พัก ตัวอยาง โรงแรมอีสเทิรน คําตอบกลุมอื่นๆ

Page 126: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

115

3. คะแนนความคิดริเร่ิม ใหคะแนนตามสัดสวนของความถี่ของคําตอบ คําตอบใดที่ตอบซํ้ากันมาก ๆ ก็ใหคะแนนนอยหรือไมไดเลย ถาคําตอบยิ่งซ้ํากับคนอื่นนอย หรือไมซํ้า คนอื่นเลย ก็จะไดคะแนนมากขึ้น เกณฑการใหคะแนนยึดหลักดังนี้

จํานวนนักเรียนท่ีตอบซ้ํากัน คะแนนที่ได

ไมตอบเลย 0 ซํ้ากัน 9 คน ขึ้นไป 1 ซํ้ากัน 6-8 2 ซํ้ากัน 3-5 3 ซํ้ากัน 2 4 คําตอบซ้ํากันไมเกิน 1 คน 5 * ยิ่งมีคําตอบที่ซํ้ากับคนอื่นนอยหรือไมซํ้ากับคนอื่นเลยนักเรียนก็จะไดคะแนนมาก

Page 127: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

116

4. คะแนนความคิดละเอียดลออ ใหคะแนนจากความสามารถในการคิดในรายละเอียด สามารถอธิบายใหเห็นภาพพจนไดอยางชัดเจน ดังนี ้

ประเด็นการประเมิน เกณฑการใหคะแนน

3 2 1 1. การคิดหวัขอสัมพันธกับภาพ และการใชภาษา ส่ือความ

เขียนหวัขอสัมพันธกับภาพ เขยีนสื่อความหมาย โดยใชภาษาเหมาะสมและสละสลวย

เขียนหวัขอสัมพันธกับภาพ แตใชภาษาไมเหมาะสม

เขียนหวัขอไมสัมพันธกับภาพ

2. การลําดับเหตุการณ ลําดับขั้นตอนไดตอเนื่อง

ลําดับขั้นตอนสับสน 1 - 3 แหง

ลําดับขั้นตอนสับสนวกวนมากกวา 3 แหง

3. ความสอดคลองของ ขั้นตอนกับหวัขอ

เขียนขั้นตอนสัมพันธกับหัวขอ ข้ันตอนถูกตองครบถวนสมบูรณ

เขียนขั้นตอนสัมพันธกับหัวขอแตขัน้ตอนยังไมสมบูรณ

เขียนขั้นตอนไมสัมพันธกับหัวขอ

นําคะแนนที่ไดจากการรวมคะแนน มีคะแนนเต็ม 9 คะแนน นํามาคิดเปนระดับคะแนนมีเกณฑ การใหคะแนนความคิดละเอียดลออ ดังนี ้ ไมตอบเลย ได 0 คะแนน คะแนน 1-2 ได 1 คะแนน คะแนน 3-4 ได 2 คะแนน คะแนน 5-6 ได 3 คะแนน คะแนน 7-8 ได 4 คะแนน คะแนน 9 ได 5 คะแนน

Page 128: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

117

แบบประเมนิคาดัชนีความสอดคลอง แบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร

คําชี้แจง โปรดพิจารณาแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร และใหคะแนนตามความสอดคลองของแบบทดสอบความคิดสรางสรรค โดยทําเครื่องหมาย ลงในชองคะแนนของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคแตละขอและใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม ระดับความคดิเห็น ดังนี ้ +1 หมายถึง ขอคําถามเหมาะสมกับวัตถุประสงค 0 หมายถึง ไมแนใจวาขอคําถามเหมาะสมกับวัตถุประสงค -1 หมายถึง ขอคําถามไมเหมาะสมกับวตัถุประสงค

วัตถุประสงค ขอคําถาม ระดับความคิดเห็น ขอเสนอแนะ

+1 0 -1 นักเรียนสามารถคิดหาคําตอบไดรวดเร็วภายในเวลาที่จาํกัด

1. บัตรอวยพรสามารถใชในโอกาสสําคัญหรือวันสําคัญใดไดบาง บอกมา 10 คําตอบ ภายในเวลา 15 นาที

นักเรียนสามารถคิดหาคําตอบไดหลายประเภท

2.ใหนกัเรียนบอกชื่อหัวขอแผนพับที่นักเรียนเคยพบมาใหไดมากที่สุด ภายในเวลา 15 นาที

นักเรียนสามารถคิดหาคําตอบที่แปลกใหมไมซํ้าแบบใคร

3.นักเรียนคิดวาโปรแกรมประมวลผลคํา (Ms Word) สามารถนํามาสรางช้ินงานอะไรไดบาง (ตอบไดอยางอิสระ ไมจํากดัคําตอบ) ภายในเวลา 15 นาที

Page 129: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

118

จุดประสงค ขอคําถาม ระดับความคิดเห็น ขอเสนอแนะ

+1 0 -1 นักเรียนสามารถคิดในรายละเอียดเปนขั้นตอนไดชัดเจน

4. จากภาพ นกัเรียนจะประยุกตใช โปรแกรมประมวลผลคํา (Ms Word) ทําอะไร ใหนกัเรียนบอกพรอมอธิบายขั้นตอนในการทํา ภายในเวลา 15 นาที

ลงชื่อ............................................................ผูประเมิน ( )

Page 130: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

119

แบบประเมนิคาดัชนีความสอดคลอง เกณฑการใหคะแนนความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร

คําชี้แจง โปรดพิจารณาเกณฑการใหคะแนนความคิดสรางสรรค รายวิชา คอมพิวเตอร และใหคะแนนตามความสอดคลองของเกณฑการใหความคิดสรางสรรค โดยทําเครื่องหมาย ลงในชองคะแนนของเกณฑการใหคะแนนความคิดสรางสรรคแตละขอและใหขอเสนอแนะเพิ่มเติม ระดับความคดิเห็น ดังนี ้ +1 หมายถึง เกณฑการประเมินเหมาะสม 0 หมายถึง ไมแนใจวาเกณฑการประเมนิเหมาะสม -1 หมายถึง เกณฑการประเมนิไมเหมาะสม

ขอ รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น ขอเสนอแนะ

+1 0 -1 1 เกณฑการใหคะแนนความคดิคลองแคลวมีความ

เหมาะสม

2 เกณฑการใหคะแนนความคดิคลองยืดหยุนมีความเหมาะสม

3 เกณฑการใหคะแนนความคดิริเร่ิมมีความเหมาะสม

4 เกณฑการใหคะแนนความคดิละเอียดลออมีความเหมาะสม

ลงชื่อ............................................................ผูประเมิน ( )

Page 131: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

120

แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนบุญสมวิทยาชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 ปการศึกษา 2553 กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี จํานวน 20 ขอ เวลา 50 นาที

************************************************************** คําชี้แจง ใหนกัเรียนเขยีนเครื่องหมาย ทับตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกตอง 1. ขอมูลลักษณะใดนาเชื่อถือมากที่สุด ก. เปนปจจุบนั ข. ตรวจสอบ กล่ันกรองแลว ค. ส่ือความหมายได ง. ครบถวน สมบูรณ 2. ขอใดคือความหมายของขอมูล ก. ขอมูลที่ผานการประมวลผลแลว ข. สารสนเทศ ค. ขอมูลที่ยังไมผานการประมวลผล ง. ขอมูลที่สามารถนํามาใชงานได 3. ขอใดคือความหมายของสารสนเทศ ก. ขอมูลที่ผานการประมวลผลแลว ข. ขอมูลที่ยังไมผานการประมวลผล ค. ขอมูลดิบ ง. ขอมูลที่ยังไมสามารถนํามาใชงานได 4. ขอใดเปนขัน้ตอนแรกของการคนหาและรวบรวมขอมลูที่สนใจ ก.พิจารณา เปรียบเทียบ ตดัสินใจ ข. กําหนดวัตถุประสงคและความตองการ ค. คนหาและรวบรวมขอมลู ง. เก็บรักษาขอมูล 5. เมื่อเรากําหนดวัตถุประสงคและความตองการแลวข้ันตอนตอไปของการคนหาและรวบรวมขอมูลคือขั้นตอนใด ก. กําหนดวัตถุประสงคและความตองการ ข. คนหาและรวบรวมขอมูล ค. วางแผนและพิจารณาเลือกแหลงขอมูล ง. เก็บรักษาขอมูล 6. ขอใดเปนขัน้ตอนสุดทายของการคนหาและรวบรวมขอมูลที่สนใจ ก. เก็บรักษาขอมูล ข. พิจารณา เปรียบเทียบ ตดัสินใจ ค. คนหาและรวบรวมขอมูล ง. กําหนดวัตถุประสงคและความตองการ

ตัวชี้วัด คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่ เชื่อถือไดตรงตามวตัถุประสงค (มฐ.ง 3.1 ป.5/1)

Page 132: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

121

7. การแจกแบบสอบถามใหแหลงขอมูลประเภทบุคคลชวยตอบตรงกบัขั้นตอนใด ก. สรุปผลและจัดทํารายงาน ข. คนหาและรวบรวมขอมูล ค. เตรียมอุปกรณที่ตองการคนหาขอมูล ง. วางแผนและพิจารณาเลือกแหลงขอมูล 8. ถาตองการคนหาขอมูลใหเปนปจจุบันและหลากหลายจะใชวิธีใด ก. คนหาหนังสือพิมพเกาในหองสมุด ข. แจกแบบสอบถามใหเพื่อนนักเรยีน ค. คนหาขอมูลทางอินเทอรเน็ต ง. สัมภาษณผูสูงอายุในครอบครัว 9. ขอใด ไมใช ประโยชนของการคนหาและรวบรวมขอมลูอยางมีขั้นตอน ก. เพราะจะไดขอมูลตามวัตถุประสงค ข. เพราะจะฝกระเบยีบวินยัในการทํางาน ค. เพราะเพิ่มคาใชจายในการคนหาและรวบรวมขอมูลได ง. เพราะประหยัดเวลาในการคนหาและรวบรวมขอมูลได 10. ขอใด ไมใช ประโยชนของโปรแกรมประมวลผลคํา ก. ลดขั้นตอนการทําซ้ํา ข. เปลืองกระดาษ เอกสาร ค. สรางเอกสารไดสวยงาม ง. การคนหาเอกสารรวดเร็ว

11. ถาตองการสรางงานเอกสารโดยไมใชคําสั่งในแถบคําสั่งจะเลือกใชส่ิงใด ก. แถบสถานะ ข. กระดาษทาํการ ค. เครื่องมือในแถบเครื่องมือ ง. แถบเลื่อน 12. การทําแผนพับควรตั้งคากระดาษลักษณะใด ก. แนวนอน ข. แนวตั้ง ค. แนวเฉยีง ง. แนวทแยง 13. ปุมคําสั่งนี้มีประโยชนอยางไร ก. ตั้งคาหนากระดาษ ข. เปลี่ยนอักษรไทยเปนภาษาอังกฤษ ค. ตรวจสอบการสะกดและไวยากรณ ง. กําหนดรูปแบบตัวอักษร 14. การกําหนดรูปแบบตัวอักษรใชคําสั่งใด ก. File Open ข. Format Font

ตัวชี้วัด สรางงานเอกสารเพือ่ใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรบัผิดชอบ (มฐ.ง 3.1 ป.5/1)

Angsana New

Page 133: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

122

ค. Insert Object ง. File Save As 15. ปุม Esc ทําหนาที่ใด ก. เวนวรรค ข. เล่ือนบรรทัด ค. ยกเลิกคําสัง่ ง. สลับโหมดการพิมพ 16. ปุม Enter ทําหนาที่ใด ก. เวนวรรค ข. เล่ือนบรรทัด ค. สลับโหมดการพิมพ ง. ยกเลิกคําสั่ง 17. ปุม Space bar ทําหนาทีใ่ด ก. สลับโหมดการพิมพ ข. เล่ือนบรรทัด ค. เวนวรรค ง. ยกเลิกคําสั่ง 18. เครื่องมือรูปแผนบันทึก ทําหนาที่ใด ก. ขึ้นหนากระดาษใหม ข. บันทึกขอมูล ค. ตัดขอความ ง. วางขอความ 19. เครื่องมือรูปกรรไกร ทําหนาที่ใด ก. ขึ้นหนากระดาษใหม ข. บันทึกขอมูล ค. ตัดขอความ ง. วางขอความ 20. เครื่องมือรูปกระดาษ ทําหนาที่ใด ก.บันทึกขอมลู ข. ขึ้นหนากระดาษใหม ค. ตัดขอความ ง. วางขอความ

Page 134: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

123

เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชาคอมพวิเตอร กลุมสาระการเรียนรูกรงานอาชีพและเทคโนโลยี

ขอที่ 1 ข ขอที่ 11 ค ขอที่ 2 ค ขอที่ 12 ก ขอที่ 3 ก ขอที่ 13 ง ขอที่ 4 ข ขอที่ 14 ข ขอที่ 5 ค ขอที่ 15 ค ขอที่ 6 ก ขอที่ 16 ข ขอที่ 7 ข ขอที่ 17 ค ขอที่ 8 ค ขอที่ 18 ข ขอที่ 9 ค ขอที่ 19 ค ขอที่ 10 ข ขอที่ 20 ข

Page 135: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

124

แบบประเมนิความพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

เพื่อตองการทราบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน รายวิชาคอมพิวเตอร ในดานการสรางบรรยากาศในการเรียน ดานการเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน และดานการจัดกระบวนการเรียนรูของครู ใหนักเรียนตอบแบบประเมินใหตรงกับความรูสึกใหมากที่สุด เพื่อประโยชนในการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรูใหแกนักเรียนในโอกาสตอไป ผูตอบแบบสอบถามเปน □ นักเรียนชาย □ นักเรียนหญิง ระดับคุณภาพ 5 หมายถึง เห็นดวยอยางยิ่ง 4 หมายถึง เห็นดวย 3 หมายถึง ไมแนใจ 2 หมายถึง ไมเห็นดวย 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

ท่ี รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ

5 4 3 2 1 1

การสรางบรรยากาศในชั้นเรียน สภาพหองเรียนเอื้อตอการจดัการเรียนรู

2 ครูมีบุคลิกดี ยิ้มแยมแจมใส 3 ครูมีความยุติธรรมตอนักเรียน 4 ครูรับฟงความคิดเห็นของนกัเรียน 5 ครูเปดโอกาสใหนกัเรียนไดแสดงออก 6 ครูดูแลเอาใจใส และชวยเหลือนักเรียนอยางทั่วถึง 7

การเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หัวขอที่ใชประกอบการจดัการเรียนรูเหมาะสม

Page 136: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

125

ท่ี รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

5 4 3 2 1 8 ฝกการวางแผนงานภายในกลุม 9 ฝกการลงมือปฏิบัติงาน 10 ฝกใหนกัเรียนกลาแสดงออก 11 การฝกฝนความคิดสรางสรรค 12 มีการประเมินผลงาน

13 ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูของครู กิจกรรมการเรยีนรูนาสนใจ

14 มีสวนรวมในกิจกรรมการเรยีนรู 15 การนําความรูที่ไดรับจากการจัดการเรียนรูไปใชใน

ชีวิตประจําวัน

16 ส่ือและแหลงเรียนรูนาสนใจ 17 วิธีการวัดและประเมินผลเหมาะสม 18 การจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐานใน

ภาพรวม

Page 137: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ภาคผนวก ค คุณภาพของเครื่องมือ

Page 138: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

127

ตาราง 9 แสดงคาความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยีนรู

ที่ องคประกอบดานรายการ

ตรวจสอบ

ระดับคุณภาพ

∑ X X คนที่1

คนที่ 2

คนที่ 3

คนที่ 4

คนที่ 5

1 ตัวช้ีวดัสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู

5 5 5 5 4 24 4.8

2 กําหนดกิจกรรมการเรียนรูแตละขั้นตอนชัดเจน

4 4 5 4 5 22 4.4

3 เนื้อหาสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวดั

4 5 5 4 4 22 4.4

4 สาระการเรียนรูถูกตอง ครบถวนเพียงพอในการสรางขอความรูหรือเกิดพฤติกรรมหรือทักษะที่ตองการวัด

5 5 5 4 5 24 4.8

5 กิจกรรมการเรยีนรูสอดคลองกับตัวช้ีวัดและจุดประสงคการเรียนรู

5 5 4 4 5 23 4.6

6 กิจกรรมการเรยีนรูตรงตามการสอนแบบโครงงานเปนฐาน

5 4 5 4 5 23 4.6

7 จัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใหนักเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู

5 5 5 5 5 25 5.0

8 เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรูสามารถพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนได

5 5 4 4 5 23 4.6

9 ส่ือ/แหลงเรียนรู เหมาะสมกับวัย ความสนใจของผูเรียน

5 5 4 5 5 24 4.8

10 ส่ือการเรียนรูสอดคลองกับกิจกรรมการเรยีนรู

5 5 4 5 5 24 4.8

Page 139: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

128

ตาราง 9 (ตอ)

ที่ องคประกอบดานรายการ

ตรวจสอบ

ระดับคุณภาพ

∑ X X คนที่1

คนที่ 2

คนที่ 3

คนที่ 4

คนที่ 5

11 วิธีการวัดและเครื่องมือการวัดผลประเมิน ผลสอดคลองกับพฤติกรรมที่กําหนดในจุดประสงคการเรียนรู

5 5 5 5 4 24 4.8

12 วิธีการวัดและเครื่องมือการวัดผลประเมินผล สอดคลองกับขั้นตอนและกระบวนการเรยีนรู

5 5 5 4 4 23 4.6

ผลการประเมินคาความเหมาะสมเฉลีย่

4.68

ตาราง 10 แสดงคะแนนความคิดเห็นของผูเชีย่วชาญ ดานความสอดคลองระหวางขอสอบกบัจุดประสงค การเรียนรู

ขอที่ คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่3 คนที่4 คนที่5 ∑ X IOC

1 2 3 4

1 1 0 1

1 0 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

1 1 1 1

5 4 4 5

1 0.8 0.8 1

ผลการประเมินคาดัชนีความสอดคลองเฉลี่ย เหมาะสม 0.9

Page 140: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

129

ตาราง 11 แสดงคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ดานความสอดคลองของเกณฑการใหคะแนน ความคิดสรางสรรค

ขอที่ คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่3 คนที่4 คนที่5 ∑ X IOC

1 2 3 4

0 1 1 1

1 0 1 1

1 1 1 1

1 0 1 1

1 1 1 1

4 3 5 5

0.8 0.6 1 1

ผลการประเมินคาดัชนีความสอดคลองเฉลี่ย เหมาะสม 0.85

ตาราง 12 แสดงคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรคเปน รายขอ

ขอที่ ความยากงาย

(p) อํานาจจําแนก

(r)

1 0.75 0.37

2 0.58 0.30

3 0.67 0.37

4 0.69 0.33

Page 141: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

130

ตาราง 13 แสดงคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดความคิดสรางสรรค

ขอ คนที่

1 2 3 4 Xi Xi2

1 3 3 2 1 9 81 2 4 3 3 1 11 121 3 3 4 3 2 12 144 4 2 4 3 3 12 144 5 4 3 2 2 11 121 6 4 3 3 2 12 144 7 4 2 3 3 12 144 8 3 2 3 2 10 100 9 4 3 3 2 12 144 10 2 3 3 3 11 121 11 4 2 3 2 11 121 12 4 3 3 2 12 144 13 4 3 2 2 11 121 14 4 2 3 1 10 100 15 3 3 1 2 9 81 16 3 3 4 2 12 144 17 3 2 4 2 11 121 18 2 2 2 3 9 81 19 4 3 2 2 11 121 20 3 3 3 2 11 121 21 3 3 3 2 11 121 22 3 3 3 2 11 121 23 3 3 3 3 12 144 24 4 2 2 4 12 144 25 5 3 2 1 11 121

Page 142: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

131

ตาราง 13 (ตอ)

ขอ คนที่

1 2 3 4 Xi Xi2

26 2 3 2 1 8 64 27 2 2 3 2 9 81 28 4 3 2 2 11 121 29 3 3 2 3 11 121 30 5 3 2 2 12 144 31 4 4 2 2 12 144 32 4 3 3 3 13 169 33 4 3 2 3 12 144 34 3 2 3 2 10 100 35 3 3 3 2 11 121 36 3 3 3 2 11 121 37 2 3 3 3 11 121 38 2 3 2 2 9 81 39 2 3 2 3 10 100 40 1 3 2 2 8 64 41 4 3 3 2 12 144 42 3 2 3 3 11 121 43 5 3 3 2 13 169 44 1 3 3 2 9 81 45 2 3 2 2 9 81 46 2 3 2 2 9 81 47 3 3 3 2 11 121 48 2 3 2 3 10 100

∑ Xi 151 137 125 105 518 52,874

∑ Xi2 521 403 343 249

S2i 0.98 0.25 0.37 0.41 2.01

Page 143: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

132

คํานวณโดยใชสูตรของครอนบาค ไดดังนี ้

จากสูตร S2t = 2

22 )(N

XXN∑ ∑−

= )148(48

)518()287,5(48 2

−−

= 6.45

จากสูตร ∝ = 1−k

k⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡− ∑

tsis

2

2

1

= ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ −

− 45.601.21

144

= 0.91

Page 144: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

133

ตาราง 14 แสดงความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ดานความสอดคลองของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนเปนรายขอกับตัวช้ีวัด

ขอที่ คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 ∑ X IOC 1 1 1 1 3 1 2 1 1 1 3 1 3 1 1 1 3 1 4 1 1 1 3 1 5 1 0 1 2 0.67 6 1 1 1 3 1 7 1 1 1 3 1 8 0 1 1 2 0.67 9 1 1 1 3 1 10 1 1 1 3 1 11 1 1 1 3 1 12 1 1 1 3 1 13 1 1 1 3 1 14 0 1 1 2 0.67 15 1 1 1 3 1 16 1 1 1 3 1 17 1 1 1 3 1 18 1 0 1 2 0.67 19 1 1 1 3 1 20 1 1 0 2 1

ผลการประเมินคาดัชนีความสอดคลองเฉลี่ย เหมาะสม 0.93

Page 145: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

134

ตาราง 15 แสดงคาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนรายขอ

ขอที่ ความยากงาย

(p) อํานาจจําแนก

(r)

1 0.72 0.31

2 0.68 0.23

3 0.68 0.23

4 0.60 0.23

5 0.72 0.31

6 0.72 0.46

7 0.76 0.23

8 0.64 0.31

9 0.76 0.23

10 0.72 0.31

11 0.76 0.23

12 0.56 0.31

13 0.68 0.23

14 0.72 0.31

15 0.76 0.38

16 0.76 0.23

17 0.76 0.38

18 0.76 0.23

19 0.60 0.23

20 0.64 0.31

Page 146: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 16 แสดงคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ขอ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 Xi Xi

2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 2 0 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 12 144 3 0 1 0 0 0 0 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 11 121 4 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 5 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 6 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 15 225 7 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 8 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 15 225 9 1 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 0 0 0 1 1 1 0 11 121 10 1 0 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 11 121 11 1 1 1 0 1 0 0 0 0 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 1 11 121 12 0 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 13 169 13 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 14 0 0 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 196 15 1 0 1 1 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 1 13 169

Page 147: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

136

ตาราง 16 (ตอ)

ขอ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 Xi Xi

2 16 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 17 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 18 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 19 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 19 361 20 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 21 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 22 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 19 361 23 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 24 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 25 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 26 0 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 0 0 1 1 1 0 1 1 1 12 144 27 0 1 0 0 0 0 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 11 121 28 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 29 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 30 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 15 225

Page 148: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

137

ตาราง 16 (ตอ)

ขอ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 Xi Xi

2 31 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 32 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 15 225 33 1 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 0 0 0 1 1 1 0 11 121 34 1 0 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 11 121 35 1 1 1 0 1 0 0 0 0 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 1 11 121 36 0 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 13 169 37 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 38 0 0 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 196 39 1 0 1 1 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 0 0 1 1 1 1 13 169 40 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 41 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 42 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 43 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 19 361 44 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 45 0 0 1 0 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 1 13 169

Page 149: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

138

ตาราง 16 (ตอ)

ขอ คนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 Xi Xi

2 46 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400 47 0 0 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 14 196 48 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20 400

∑ 34 35 37 34 39 37 37 40 39 42 41 42 42 42 42 42 42 41 44 44 796 13,872 p 0.71 0.73 0.77 0.71 0.81 0.77 0.77 0.83 0.81 0.88 0.85 0.88 0.88 0.88 0.88 0.88 0.88 0.85 0.92 0.92 q 0.46 0.53 0.30 0.23 0.38 0.31 0.38 0.46 0.38 0.23 0.30 0.30 0.23 0.38 0.46 0.31 0.46 0.30 0.30 0.31 pq 0.33 0.40 0.24 0.17 0.28 0.25 0.29 0.37 0.30 0.16 0.24 0.23 0.17 0.29 0.37 0.22 0.36 0.24 0.23 0.24

∑pq = 5.38 , ∑Xi = 796 , ∑Xi2 = 13,872

Page 150: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

140

คํานวณโดยใชสูตร KR – 20 ของคูเดอร ริชารดสัน ไดดงันี้

∑pq = 5.38 , ∑Xi = 796 , ∑Xi2 = 13,872 N = 48 , n = 20

จากสูตร S2t =

)1()( 22

−∑ ∑NN

XXN

= )148(48

)796()872,13(48 2

−−

= 32.58

จากสูตร rtt = 1−n

n⎥⎥⎦

⎢⎢⎣

⎡− ∑

tspq

21

= ⎥⎦⎤

⎢⎣⎡ −

− 58.3238.51

12020

= 0.87

Page 151: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

141

ตาราง 17 แสดงคาความเหมาะสมของแบบประเมินความพึงพอใจของผูเชี่ยวชาญ

ขอคําถาม ระดับการประเมิน

∑ X

X คนที่ 1

คนที่ 2

คนที่ 3

1

การสรางบรรยากาศในชั้นเรียน สภาพหองเรียนเอื้อตอการจดัการเรียนรู

24 5

23 5

24 5

72 15

4.00 5.00

2 ครูมีบุคลิกดี ยิ้มแยมแจมใส 5 4 5 14 4.67 3 ครูมีความยุติธรรมตอนักเรียน 4 5 4 13 4.33 4 ครูรับฟงความคิดเห็นของนกัเรียน 5 5 5 15 5.00 5 ครูดูแลเอาใจใส และชวยเหลือนักเรียนอยางทั่วถึง 5 4 5 14 4.67 6

การเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน หัวขอที่ใชประกอบการจดัการเรียนรูเหมาะสม

27 5

29 5

29 5

86

15

4.77 5.00

7 ฝกการวางแผนงานภายในกลุม 4 5 5 14 4.67 8 ฝกการลงมือปฏิบัติงาน 5 4 5 14 4.67 9 ฝกใหนกัเรียนกลาแสดงออก 4 5 5 14 4.67 10 การฝกฝนความคิดสรางสรรค 5 5 5 15 5.00 11 มีการประเมินผลงาน 4 5 4 13 4.33

12 ความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูของครู กิจกรรมการเรยีนรูนาสนใจ

26 4

26 4

29 5

83 13

4.61 4.33

13 นักเรียนสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรู 4 4 5 13 4.33 14 การนําความรูที่ไดรับจากการจัดการเรียนรูไปใชใน

ชีวิตประจําวัน 5

5

5

15

5.00

15 ส่ือและแหลงเรียนรูนาสนใจ 4 4 4 12 4.00 16 วิธีการวัดและประเมินผลเหมาะสม 4 4 5 13 4.33 17 การจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐานใน

ภาพรวม 5 5 5 15 5.00

ผลการประเมินคาความเหมาะสมเฉลี่ย 4.46

Page 152: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ภาคผนวก ง คะแนนความคิดสรางสรรคในองคประกอบตางๆ ของนักเรียน

Page 153: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

142

ตาราง 18 แสดงผลคะแนนความคิดสรางสรรคกอนเรียนในแตละองคประกอบ

ขอ / คน

คะแนนกอนเรียน ความคิด

คลองแคลว ความคิดยืดหยุน

ความคิดริเร่ิม ความคิด

ละเอียดลออ ∑

5 5 5 5 20 1 3 2 2 1 8 2 2 1 2 1 6 3 3 2 1 3 9 4 3 2 2 3 10 5 2 3 2 0 7 6 3 3 3 1 10 7 3 1 2 2 8 8 2 2 3 1 8 9 3 2 2 2 9 10 2 3 3 2 10 11 4 3 3 1 11 12 3 2 2 2 9 13 3 1 3 1 8 14 2 1 1 2 6 15 4 3 4 3 14 16 1 2 2 2 7 17 3 1 1 2 7 18 2 3 2 1 8 19 4 2 2 2 10 20 4 2 2 3 11 21 3 4 2 3 12 22 3 2 3 3 11 23 2 2 1 2 7 24 2 2 1 1 6

Page 154: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

143

ตาราง 18 (ตอ)

ขอ/คน

คะแนนกอนเรียน

∑ ความคิดคลองแคลว

ความคิดยืดหยุน

ความคิดริเร่ิม ความคิด

ละเอียดลออ 5 5 5 5 20

25 2 3 2 3 10 26 3 1 2 2 8 27 3 1 2 2 8 28 3 2 2 1 8 29 1 3 3 1 8 30 2 2 2 4 10 31 1 3 2 3 9 32 2 3 1 3 9 33 3 2 3 3 11 34 3 2 3 2 10 35 4 2 2 3 11 36 3 2 2 3 10 37 2 3 1 2 8 38 2 1 2 2 7 39 2 2 3 2 9 40 1 1 2 3 7 41 2 2 1 3 8 42 3 2 2 2 9 43 3 3 1 1 8 44 1 2 2 0 5 45 2 2 3 2 9 46 3 1 3 2 9 47 3 2 3 1 9 48 3 2 2 3 10

Page 155: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

144

ตาราง 18 (ตอ)

ขอ/คน

คะแนนกอนเรียน

∑ ความคิดคลองแคลว

ความคิดยืดหยุน

ความคิดริเร่ิม ความคิด

ละเอียดลออ 5 5 5 5 20

∑ 123 100 102 97 422

X 2.56 2.08 2.12 2.02 8.78 S.D. 0.82 0.74 0.73 0.91 0.79

Page 156: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

145

ตาราง 19 แสดงผลคะแนนความคิดสรางสรรคหลังเรียนในแตละองคประกอบ

ขอ / คน

คะแนนหลังเรยีน ความคิด

คลองแคลว ความคิดยืดหยุน

ความคิดริเร่ิม ความคิด

ละเอียดลออ ∑

5 5 5 5 20 1 4 3 3 5 15 2 4 2 2 4 12 3 4 3 3 5 15 4 4 4 3 4 15 5 3 2 4 4 13 6 5 5 4 3 17 7 4 3 4 3 14 8 4 3 3 3 13 9 4 3 3 4 14 10 4 4 4 4 16 11 4 5 5 5 19 12 5 5 5 5 20 13 4 4 3 4 15 14 3 3 5 4 15 15 5 4 4 3 16 16 2 3 4 3 12 17 4 2 3 3 12 18 5 3 3 3 14 19 5 2 4 5 16 20 5 4 4 5 18 21 4 4 4 3 15 22 5 3 5 4 17 23 4 3 3 3 13 24 3 3 5 4 15

Page 157: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

146

ตาราง 19 (ตอ)

ขอ/คน

คะแนนหลังเรยีน

∑ ความคิดคลองแคลว

ความคิดยืดหยุน

ความคิดริเร่ิม ความคิด

ละเอียดลออ 5 5 5 5 20

25 3 4 4 3 14 26 3 2 3 3 11 27 4 2 2 4 12 28 5 3 5 4 17 29 2 2 4 5 13 30 3 2 3 5 13 31 2 3 3 5 13 32 3 3 2 5 13 33 4 4 4 3 15 34 5 3 3 4 15 35 4 3 3 5 15 36 4 3 4 3 14 37 5 4 4 3 16 38 4 2 2 4 12 39 5 3 3 4 15 40 3 2 2 3 10 41 3 2 2 3 10 42 3 3 4 3 13 43 5 2 4 3 14 44 4 2 1 4 11 45 4 1 1 3 13 46 5 1 1 3 15 47 3 3 4 3 13 48 5 3 4 3 15

Page 158: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

147

ตาราง 19 (ตอ)

ขอ/คน

คะแนนหลังเรยีน

∑ ความคิดคลองแคลว

ความคิดยืดหยุน

ความคิดริเร่ิม ความคิด

ละเอียดลออ 5 5 5 5 20

∑ 189 142 162 181 674

X 3.94 2.96 3.38 3.77 14.05 S.D. 0.88 0.94 1.06 0.81 0.92

Page 159: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

148

ตาราง 20 แสดงผลคะแนนความคิดสรางสรรคกอนเรียนเปรียบเทยีบกับหลังเรียน

คนที่ กอนเรียน หลังเรียน

ผลตาง คนที่ กอนเรียน หลังเรียน

ผลตาง 20 20 20 20

1 8 15 7 27 8 12 4 2 6 12 6 28 8 17 9 3 9 15 6 29 8 13 5 4 10 15 5 30 10 13 3 5 7 13 6 31 9 13 4 6 10 17 7 32 9 13 4 7 8 14 6 33 11 15 4 8 8 13 5 34 10 15 5 9 9 14 5 35 11 15 4 10 10 16 6 36 10 14 4 11 11 19 8 37 8 16 8 12 9 20 11 38 7 12 5 13 8 15 7 39 9 15 6 14 6 15 9 40 7 10 3 15 14 16 2 41 8 10 2 16 7 12 5 42 9 13 4 17 7 12 5 43 8 14 6 18 8 14 6 44 5 11 6 19 10 16 6 45 9 9 0 20 11 18 7 46 9 10 1 21 12 15 3 47 9 13 4 22 11 17 6 48 10 15 5 23 7 13 6 24 6 15 9 25 10 14 4 26 8 11 3

Page 160: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

149

Page 161: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ภาคผนวก จ คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Page 162: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 21 แสดงผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน

ขอ / คน คะแนนกอนเรียน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

1 0 0 0 1 0 0 1 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 11

2 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 1 1 0 1 0 1 9

3 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 1 1 0 1 9

4 1 1 1 0 0 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 0 0 0 0 1 10

5 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 0 1 0 0 0 1 1 0 1 1 13

6 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 14

7 1 1 1 0 1 0 1 1 0 0 1 1 0 0 1 0 0 1 0 1 11

8 0 1 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 0 0 9

9 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 9

10 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 0 0 0 1 0 1 0 1 0 12

11 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 14

12 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 15

13 0 0 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 13

14 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 1 6

Page 163: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 21 (ตอ)

ขอ/คน คะแนนกอนเรียน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

15 1 0 1 1 0 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 15

16 0 0 0 0 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 5

17 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 13

18 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 1 1 10

19 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1 1 0 1 1 0 16

20 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 13

21 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 9

22 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 14

23 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 0 0 1 0 1 0 1 1 1 1 13

24 1 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 15

25 1 1 0 0 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 13

26 0 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 13

27 0 1 1 0 1 0 1 0 0 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 12

28 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 15

29 1 0 1 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 4

Page 164: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 21 (ตอ)

ขอ/คน คะแนนกอนเรียน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

30 0 0 0 1 0 1 0 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 1 8

31 1 0 0 0 1 1 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 1 7

32 1 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 0 1 0 0 0 1 1 5

33 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 1 1 1 0 0 1 13

34 0 1 1 0 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 15

35 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 1 0 0 1 1 13

36 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 0 1 0 13

37 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 0 1 0 13

38 0 1 0 0 0 1 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 7

39 1 0 0 1 0 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 0 0 0 11

40 1 0 0 1 0 1 0 0 1 0 0 0 0 1 1 0 1 0 0 0 7

41 1 0 0 1 0 1 0 1 0 0 0 0 0 1 1 0 1 0 0 1 8

42 1 0 0 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 1 12

43 0 1 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 0 1 0 0 1 13

Page 165: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 21 (ตอ)

ขอ/คน คะแนนกอนเรียน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

44 0 0 0 1 0 1 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 7

45 1 0 0 1 0 1 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 8

46 1 0 0 1 0 1 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 8

47 1 1 1 1 0 1 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 10

48 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 0 1 1 0 1 14

∑ 27 27 23 29 19 32 22 29 26 27 19 21 23 31 29 27 29 23 25 39 527

X 0.6 0.6 0.5 0.6 0.4 0.67 0.5 0.6 0.5 0.6 0.4 0.44 0.48 0.65 0.6 0.56 0.6 0.48 0.52 0.81 10.98

S.D. 0.50 0.50 0.51 0.49 0.49 0.47 0.50 0.49 0.50 0.50 0.48 0.50 0.50 0.48 0.49 0.50 0.49 0.50 0.50 0.41 0.49

Page 166: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 22 แสดงผลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน

ขอ/คน คะแนนหลังเรยีน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 0 0 1 14

2 0 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 15

3 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 17

4 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 16

5 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 17

6 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20

7 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 15

8 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 17

9 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 0 15

10 1 0 1 1 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 15

11 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 19

12 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 19

13 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 16

14 0 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 0 1 0 0 0 0 0 1 10

Page 167: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 22 (ตอ)

ขอ/คน คะแนนหลังเรยีน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

15 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20

16 1 1 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 10

17 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 15

18 1 0 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 15

19 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20

20 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 19

21 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 1 16

22 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 18

23 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 0 0 1 1 1 15

24 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 18

25 1 1 0 1 1 1 0 0 1 1 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 15

26 1 1 1 1 1 0 1 1 0 0 1 1 1 1 0 1 0 1 0 1 14

27 0 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 15

28 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 20

Page 168: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 22 (ตอ)

ขอ/คน คะแนนหลังเรยีน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

29 1 1 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 10

30 1 0 1 0 1 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 0 1 1 1 11

31 1 1 1 0 0 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 0 1 0 0 1 12

32 1 1 1 0 0 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 0 1 0 1 1 10

33 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 0 1 0 0 1 0 0 1 14

34 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 19

35 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 0 1 0 15

36 1 0 0 1 0 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 1 1 0 13

37 0 1 0 1 0 1 1 1 1 1 0 0 1 1 0 1 1 1 1 1 14

38 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 0 0 0 1 0 1 1 0 1 0 10

39 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 0 0 15

40 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 0 0 0 1 1 0 1 0 0 0 11

41 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 1 1 1 1 0 1 0 0 1 12

42 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 1 1 0 1 1 0 1 1 0 1 15

Page 169: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 22 (ตอ)

ขอ/คน คะแนนหลังเรยีน

∑ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

43 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 1 1 18

44 0 0 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 0 1 0 1 1 0 1 11

45 1 0 0 1 0 1 0 0 1 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 12

46 1 0 0 1 0 1 1 1 1 0 0 1 1 1 1 1 1 0 0 1 13

47 1 1 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 0 1 0 1 1 16

48 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 19

∑ 41 38 38 39 33 39 35 34 38 32 32 38 33 37 35 35 37 35 35 41 725

X 0.9 0.8 0.8 0.8 0.7 0.81 0.7 0.7 0.8 0.7 0.67 0.79 0.69 0.77 0.73 0.73 0.77 0.73 0.73 0.85 15.10

S.D. 0.35 0.42 0.43 0.41 0.46 0.39 0.45 0.45 0.41 0.47 0.47 0.41 0.46 0.42 0.44 0.44 0.42 0.44 0.45 0.36 0.43

Page 170: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ตาราง 23 แสดงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนเปรียบเทยีบกับหลังเรียน

คนที่ กอนเรียน หลังเรียน

ผลตาง คนที่ กอนเรียน หลังเรียน

ผลตาง 20 20 20 20

1 11 14 3 27 12 15 3

2 9 15 6 28 15 20 5

3 9 17 8 29 4 10 6

4 10 16 6 30 8 11 3

5 13 17 6 31 7 12 5

6 14 20 6 32 5 10 5

7 11 15 4 33 13 14 1

8 9 17 8 34 15 19 4

9 9 15 6 35 13 15 2

10 12 15 3 36 13 13 0

11 14 19 5 37 13 14 1

12 15 19 4 38 7 10 3

13 13 16 3 39 11 15 4

14 6 10 4 40 7 11 4

15 15 20 5 41 8 12 4

16 5 10 5 42 12 15 3

17 13 15 2 43 13 18 5

18 10 15 5 44 7 11 4

19 16 20 4 45 8 12 4

20 13 19 6 46 8 13 5

21 9 16 7 47 10 16 6

22 14 18 4 48 14 19 5

23 13 15 2

24 15 18 3

25 13 15 2

26 13 14 1

Page 171: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา
Page 172: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ภาคผนวก ฉ คะแนนความพึงพอใจของนักเรียน

ท่ีมีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

Page 173: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

160

ตาราง 24 แสดงคะแนนความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐาน

คนที่ ดานการสรางบรรยากาศในชั้นเรียน

ขอ1 ขอ2 ขอ3 ขอ4 ขอ5 ∑ X 1 4 4 4 4 5 21 4.2 2 3 4 5 5 5 22 4.4 3 3 4 5 5 5 22 4.4 4 4 4 4 5 4 21 4.2 5 3 4 4 5 4 20 4.0 6 3 4 4 5 4 20 4.0 7 3 4 4 4 5 20 4.0 8 2 5 4 4 5 20 4.0 9 4 5 5 4 5 23 4.6 10 3 5 5 4 5 22 4.4 11 3 4 5 4 5 21 4.2 12 3 5 5 5 5 23 4.6 13 4 5 5 5 5 24 4.8 14 4 5 5 5 5 24 4.8 15 4 5 5 5 5 24 4.8 16 3 4 5 5 5 22 4.4 17 3 4 4 4 4 19 3.8 18 3 4 4 4 4 19 3.8 19 3 4 4 4 4 19 3.8 20 4 4 4 4 5 21 4.2 21 4 4 4 5 5 22 4.4 22 4 5 4 4 4 21 4.2 23 4 4 5 4 5 22 4.4 24 4 4 5 4 5 22 4.4 25 4 4 4 4 5 21 4.2 26 2 4 4 4 5 19 3.8

Page 174: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

161

ตาราง 24 (ตอ)

คนที่ ดานการสรางบรรยากาศในชั้นเรียน

ขอ1 ขอ2 ขอ3 ขอ4 ขอ5 ∑ X 27 3 4 5 4 5 21 4.20 28 4 4 4 4 5 21 4.20 29 4 4 5 4 5 22 4.40 30 4 4 4 4 5 21 4.20 31 3 5 4 4 5 21 4.20 32 4 5 4 4 5 22 4.40 33 4 5 5 5 5 24 4.80 34 4 4 5 5 5 23 4.60 35 4 4 5 5 5 23 4.60 36 3 5 4 5 5 22 4.40 37 4 5 5 5 4 23 4.60 38 4 4 3 4 5 20 4.00 39 4 5 4 4 4 21 4.20 40 3 4 5 4 4 20 4.00 41 3 5 4 4 5 21 4.20 42 3 4 4 4 5 20 4.00 43 4 5 4 4 5 22 4.40 44 4 4 5 5 4 22 4.40 45 3 4 4 5 5 21 4.20 46 4 5 4 4 5 22 4.40 47 3 5 4 4 4 20 4.00 48 3 5 5 4 4 21 4.20

∑ 167 211 212 210 227 1,027

X 3.47 4.39 4.41 4.37 4.72 4.28 S.D. 0.58 0.49 0.54 0.48 0.44 0.50

Page 175: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

162

ตาราง 24 (ตอ)

คนที่ ดานการเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

ขอ6 ขอ7 ขอ8 ขอ9 ขอ10 ขอ 11 ∑ X 1 5 4 4 4 5 5 27 4.50 2 5 3 4 3 5 4 24 4.00 3 5 4 4 3 5 4 25 4.16 4 5 4 4 4 5 4 26 4.33 5 5 4 4 4 5 4 26 4.3 6 5 4 4 4 5 4 26 4.33 7 5 4 4 4 5 4 26 4.33 8 5 5 4 4 4 4 26 4.33 9 5 5 4 5 5 4 28 4.66 10 5 5 4 5 4 4 27 4.50 11 5 5 4 4 5 4 27 4.50 12 4 5 5 4 4 4 26 4.33 13 4 5 5 4 4 4 26 4.33 14 3 5 5 4 5 4 26 4.33 15 4 5 5 4 5 5 28 4.66 16 4 4 3 4 4 5 24 4.00 17 4 4 4 4 5 5 26 4.33 18 3 4 4 4 5 5 25 4.16 19 4 4 4 4 4 4 24 4.00 20 5 4 4 4 5 4 26 4.33 21 4 4 4 4 5 4 25 4.16 22 3 4 5 4 5 4 25 4.16 23 4 4 5 4 5 5 27 4.50 24 4 4 4 4 5 5 26 4.33 25 4 3 4 4 4 5 24 4.00

Page 176: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

163

ตาราง 24 (ตอ)

คนที่ ดานการเรียนรูโดยใชการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน

ขอ6 ขอ7 ขอ8 ขอ9 ขอ10 ขอ 11 ∑ X 26 4 4 4 4 4 5 25 4.16 27 4 4 4 4 4 4 24 4.00 28 3 5 4 4 5 4 25 4.16 29 4 4 4 3 5 4 24 4.00 30 4 5 4 4 4 4 25 4.16 31 4 5 4 5 4 4 26 4.33 32 5 4 5 5 4 4 27 4.50 33 5 4 5 5 5 4 28 4.66 34 5 4 5 4 5 5 28 4.66 35 4 4 5 4 5 5 27 4.50 36 4 4 5 4 5 5 27 4.50 37 5 5 5 4 5 5 29 4.83 38 4 5 5 5 5 5 29 4.83 39 4 5 4 5 5 5 28 4.66 40 4 5 4 5 5 5 28 4.66 41 4 5 4 5 5 5 28 4.66 42 4 5 4 5 5 4 27 4.50 43 5 4 4 5 5 4 27 4.50 44 5 4 4 5 5 4 27 4.50 45 5 4 4 5 5 4 27 4.50 46 5 4 4 4 5 4 26 4.33 47 5 5 4 4 5 4 27 4.50 48 5 5 4 4 5 4 27 4.50

∑ 210 209 204 202 228 209 1,262

X 4.37 4.35 4.25 4.20 4.75 4.35 4.38 S.D. 0.63 0.56 0.48 0.54 0.43 0.48 0.52

Page 177: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

164

ตาราง 24 (ตอ)

คนที่ ดานความพึงพอใจตอการจดัการเรียนรูของครู

ขอ12 ขอ13 ขอ14 ขอ15 ขอ16 ขอ 17 ∑ X 1 5 5 5 4 5 5 29 4.83 2 5 5 4 4 5 4 27 4.50 3 5 4 4 4 4 5 26 4.33 4 4 4 4 4 4 5 25 4.16 5 4 4 4 5 4 5 26 4.33 6 4 4 4 4 4 5 25 4.16 7 4 4 4 4 4 5 25 4.16 8 4 4 4 4 4 4 24 4.00 9 4 4 3 4 4 4 23 3.83 10 4 4 3 4 4 4 23 3.83 11 4 4 4 4 5 4 25 4.16 12 4 5 4 4 5 4 26 4.33 13 4 5 4 4 5 4 26 4.33 14 4 5 4 4 5 4 26 4.33 15 4 3 4 3 5 5 24 4.00 16 4 3 4 3 5 5 24 4.00 17 4 5 5 3 5 5 27 4.50 18 4 4 4 4 5 5 26 4.33 19 4 4 4 4 5 5 26 4.33 20 4 4 4 4 5 5 26 4.33 21 4 3 4 4 5 4 24 4.00 22 5 3 4 5 5 5 27 4.50 23 5 4 4 5 5 5 28 4.66 24 5 4 4 4 5 5 27 4.50 25 5 4 5 4 4 5 27 4.50

Page 178: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

165

ตาราง 24 (ตอ)

คนที่ ดานความพึงพอใจตอการจดัการเรียนรูของครู

ขอ12 ขอ13 ขอ14 ขอ15 ขอ16 ขอ 17 ∑ X 26 4 4 5 4 4 4 25 4.16 27 4 4 5 4 4 4 25 4.16 28 4 4 5 4 4 4 25 4.16 29 4 4 5 4 4 4 25 4.16 30 4 4 4 4 4 4 24 4.00 31 4 5 4 2 4 4 23 3.83 32 4 5 4 3 4 5 25 4.16 33 4 4 4 3 4 5 24 4.00 34 4 4 4 4 4 5 25 4.16 35 4 4 3 5 3 5 24 4.00 36 5 4 3 5 3 5 25 4.16 37 4 4 4 5 4 5 26 4.33 38 4 4 4 5 4 4 25 4.16 39 4 4 4 5 4 4 25 4.16 40 4 4 4 5 4 4 25 4.16 41 4 5 4 5 4 4 26 4.33 42 4 5 4 5 5 4 27 4.50 43 4 5 4 4 5 4 26 4.33 44 4 5 4 5 5 4 27 4.50 45 4 5 4 5 5 4 27 4.50 46 4 5 4 5 5 4 27 4.50 47 4 5 4 5 5 4 27 4.50 48 4 5 4 5 5 4 27 4.50

∑ 200 204 195 201 213 214 1,227

X 4.16 4.25 4.06 4.18 4.43 4.45 4.26 S.D. 0.37 0.60 0.47 0.70 0.58 0.50 0.54

Page 179: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

166

ตาราง 25 แสดงคะแนนความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการจัดการเรียนรูแบบโครงงานเปนฐาน เฉลี่ยแตละดาน

คนที่ ดานการสรางบรรยากาศในช้ันเรียน

ดานการเรียนรูโดยใชการจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐาน

ดานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู

ของครู

∑ X

1 4.20 4.50 4.83 13.53 4.51 2 4.40 4.00 4.50 12.90 4.30 3 4.40 4.16 4.33 12.89 4.29 4 4.20 4.33 4.16 12.69 4.23 5 4.00 4.30 4.33 12.63 4.21 6 4.00 4.33 4.16 12.49 4.16 7 4.00 4.33 4.16 12.49 4.16 8 4.00 4.33 4.00 12.33 4.11 9 4.60 4.66 3.83 13.09 4.36 10 4.40 4.50 3.83 12.73 4.24 11 4.20 4.50 4.16 12.86 4.28 12 4.60 4.33 4.33 13.26 4.42 13 4.80 4.33 4.33 13.46 4.48 14 4.80 4.33 4.33 13.46 4.48 15 4.80 4.66 4.00 13.46 4.48 16 4.40 4.00 4.00 12.40 4.13 17 3.80 4.33 4.50 12.63 4.21 18 3.80 4.16 4.33 12.29 4.09 19 3.80 4.00 4.33 12.13 4.04 20 4.20 4.33 4.33 12.86 4.28 21 4.40 4.16 4.00 12.56 4.18 22 4.20 4.16 4.50 12.86 4.28 23 4.40 4.50 4.66 13.56 4.52 24 4.40 4.33 4.50 13.23 4.41

Page 180: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

167

ตาราง 25 (ตอ)

คนที่ ดานการสรางบรรยากาศในช้ันเรียน

ดานการเรียนรูโดยใชการจัดการเรยีนรูแบบโครงงานเปนฐาน

ดานความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู

ของครู

∑ X

25 4.20 4.00 4.50 12.70 4.23 26 3.80 4.16 4.16 12.12 4.04 27 4.20 4.00 4.16 12.36 4.12 28 4.20 4.16 4.16 12.52 4.17 29 4.40 4.00 4.16 12.56 4.18 30 4.20 4.16 4.00 12.36 4.12 31 4.20 4.33 3.83 12.36 4.12 32 4.40 4.50 4.16 13.06 4.35 33 4.80 4.66 4.00 13.46 4.48 34 4.60 4.66 4.16 13.42 4.47 35 4.60 4.50 4.00 13.10 4.36 36 4.40 4.50 4.16 13.06 4.35 37 4.60 4.83 4.33 13.76 4.58 38 4.00 4.83 4.16 12.99 4.33 39 4.20 4.66 4.16 13.02 4.34 40 4.00 4.66 4.16 12.82 4.27 41 4.20 4.66 4.33 13.19 4.39 42 4.00 4.50 4.50 13.00 4.33 43 4.40 4.50 4.33 13.23 4.41 44 4.40 4.50 4.50 13.40 4.46 45 4.20 4.50 4.50 13.20 4.40 46 4.40 4.33 4.50 13.23 4.41 47 4.00 4.50 4.50 13.00 4.33 48 4.20 4.50 4.50 13.20 4.40

Page 181: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

ประวัติยอผูวิจัย

Page 182: THE DEVELOPMENT OF CREATIVE THINKING IN ......เรวด ร ตนว จ ตร. (2555). การพ ฒนาความค ดสร างสรรค รายว ชา

169

ประวัติยอผูวิจัย

ชื่อ – ชื่อสกุล นางสาวเรวดี รัตนวิจิตร วัน เดือน ปเกิด 20 พฤศจิกายน 2528 สถานที่เกิด อําเภอแกลง จงัหวัดระยอง สถานที่อยูปจจุบัน 18/3 หมู 2 ตําบลแกงหางแมว อําเภอแกงหางแมว จังหวัดจนัทบุรี 22160 ตําแหนงหนาท่ีการงานในปจจุบัน ครูผูชวย โรงเรียนบานซับนอยเหนือ อําเภอมวกเหล็ก จังหวดัสระบุรี ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2542 มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนแกงหางแมวพิทยาคาร

จังหวดัจันทบรีุ พ.ศ. 2545 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแกงหางแมวพิทยาคาร

จังหวดัจันทบรีุ พ.ศ. 2549 บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.)

มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จังหวัดจนัทบุรี พ.ศ. 2550 ประกาศนยีบตัรบัณฑิต วิชาชีพครู

มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จังหวัดจนัทบุรี พ.ศ. 2555 ครุศาสตรมหาบัณฑิต ค.ม. (หลักสูตรและการสอน)

มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี จังหวัดจนัทบุรี