190
สารประกอบอินทรียระเหยงาย (Volatile Organic Compounds) ความหมายของสารประกอบอินทรียระเหยงาย หรือที่เรียกกันทั่วไปวาสาร VOCs มาจากคําวา Volatile organic Compounds หมายถึงกลุมสารประกอบอินทรียที่ระเหยเปนไอไดงาย กระจายตัวไปในอากาศไดในอุณหภูมิและความดัน ปกติ ซึ่งมีองคประกอบหลักของสาร ไดแก อะตอมของธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และมีองคประกอบอื่น ไดแก ออกซิเจน ฟลูออไรด คลอไรด โบรไมด ซัลเฟอร และไนโตรเจน สารประกอบอินทรียระเหย งาย (VOCs) ในบรรยากาศจัดเปนอากาศพิษ (Toxic Air) ซึ่งในชีวิตประจําวันเราไดรับ สาร ชนิดนี้จากผลิตภัณฑหลายอยาง เชน สีทาบาน ควันบุหรีน้ํายาฟอกสี สารตัวทําละลายในการพิมพ อูพนสี รถยนต โรงงานอุตสาหกรรม น้ํายาซักแหง น้ํายาสําหรับยอมผม และดัดผม สารกําจัดศัตรูพืช สารที่เกิดจากการเผา ไหม และปนเปอนในอากาศ น้ําดื่ม อาหาร และเครื่องดื่ม การแบงกลุมสาร VOCs สามารถแบงไดเปน 2 กลุใหญ ตามลักษณะของโมเลกุลของสาร คือ 1. กลุNon-chlorinated VOCs หรือ Non-halogenated Hydrocarbons ไดแก กลุมไฮโดรคารบอนระเหยที่ไมมี อะตอมของธาตุคลอรีนในโมเลกุล สารกลุมนี้มาจากสิ่งแวดลอม การเผาไหมกองขยะ พลาสติก วัสดุ สารตัวทําละลาย สีทาวัสดุ ซึ่งทําใหมีผลเสียตอสุขภาพของผูไดรับคือทําใหปวยเปนโรคทางเดินหายใจ ตัวอยางกลุมสารนี้ไดแก - กลุมสาร Aliphatic Hydrocarbons เชน Fuel oils, Industrial Sovents, Propane, 1,3-Butadiene, Gasoline, Hexane - กลุมสาร Alcohols, Aldehyde, Ketone เชน Ethyl Alcohol, Methyl Alcohol, Formaldehyde - กลุมสาร Aromatic Hydrocarbons เชน Toluene, Xylene, Benzene, Naphthalene, Styrene, Phenol 2. กลุChlorinated VOCs หรือ Halogenated Hydrocarbons ไดแก กลุมไฮโดรคารบอนระเหยที่มี อะตอมของธาตุคลอรีนในโมเลกุล ไดแก สารเคมีที่ใชสังเคราะหในอุตสาหกรรม สารกลุมนี้มีความเปนพิษ มากกวา และเสถียรในสิ่งแวดลอมมากกวาสารในกลุมสาร Non-chlorinated VOCs นั่นคือ สลายตัวไดยากใน ธรรมชาติ และในทางเคมีจะมีความคงตัวสูง สะสมไดนาน รบกวนการทํางานของสารพันธุกรรม ยับยั้ง ปฏิกิริยาชีวเคมีในเซลล มีฤทธิ์ในการกอมะเร็ง หรือกระตุนการเกิดมะเร็งได สารในกลุมนี้มีรายชื่อดังตอไปนีตัวอยางของสารประกอบอินทรียระเหยงาย ชนิด Halogenated VOCs - 1,1,1,2- Tetrachloroethane - Bromoform - Glycerol trichlorohydrin - 1,1,1-Trichloroethane - Bromomethane - Hexachlorobutadiene - 1,1,2,2,-Tetrachloroethane - Carbon tetrachloride - Hexachlorocyclopentadiene - 1,1,2-Tetrachloroethane - Chlorodibromomethane - Hexachloroethane - 1,1-Dichloroethane - Chloroethane - Methylene chloride - 1,1-Dichloroethylene - Chloroform - Neoprene - 1,2,2-Trifluoroethane (Freon 113) - Chloromethane - Pentachloroethane

VOCs

  • Upload
    nay-den

  • View
    143

  • Download
    12

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: VOCs

สารประกอบอินทรียระเหยงาย (Volatile Organic Compounds) ความหมายของสารประกอบอินทรียระเหยงาย หรือที่เรียกกันทั่วไปวาสาร VOCs มาจากคําวา Volatile organic Compounds หมายถึงกลุมสารประกอบอินทรียที่ระเหยเปนไอไดงาย กระจายตัวไปในอากาศไดในอุณหภูมแิละความดันปกติ ซ่ึงมีองคประกอบหลักของสาร ไดแก อะตอมของธาตุคารบอน ไฮโดรเจน และมีองคประกอบอื่น ๆ ไดแก ออกซิเจน ฟลูออไรด คลอไรด โบรไมด ซัลเฟอร และไนโตรเจน สารประกอบอินทรียระเหย งาย(VOCs) ในบรรยากาศจัดเปนอากาศพิษ (Toxic Air) ซ่ึงในชีวิตประจําวันเราไดรับสาร ชนิดนี้จากผลิตภัณฑหลายอยาง เชน สีทาบาน ควันบุหร่ี น้ํายาฟอกสี สารตัวทําละลายในการพิมพ อูพนสีรถยนต โรงงานอุตสาหกรรม น้ํายาซักแหง น้ํายาสําหรับยอมผม และดัดผม สารกําจัดศัตรูพืช สารที่เกิดจากการเผาไหม และปนเปอนในอากาศ น้ําดื่ม อาหาร และเครื่องดื่ม การแบงกลุมสาร VOCs สามารถแบงไดเปน 2 กลุม ใหญ ๆ ตามลักษณะของโมเลกุลของสาร คือ

1. กลุม Non-chlorinated VOCs หรือ Non-halogenated Hydrocarbons ไดแก กลุมไฮโดรคารบอนระเหยที่ไมมีอะตอมของธาตุคลอรีนในโมเลกุล สารกลุมนี้มาจากสิ่งแวดลอม การเผาไหมกองขยะ พลาสติก วัสดุ สารตัวทําละลาย สีทาวัสดุ ซ่ึงทําใหมีผลเสียตอสุขภาพของผูไดรับคือทําใหปวยเปนโรคทางเดินหายใจ ตัวอยางกลุมสารนี้ไดแก

- กลุมสาร Aliphatic Hydrocarbons เชน Fuel oils, Industrial Sovents, Propane, 1,3-Butadiene, Gasoline, Hexane - กลุมสาร Alcohols, Aldehyde, Ketone เชน Ethyl Alcohol, Methyl Alcohol, Formaldehyde - กลุมสาร Aromatic Hydrocarbons เชน Toluene, Xylene, Benzene, Naphthalene, Styrene, Phenol

2. กลุม Chlorinated VOCs หรือ Halogenated Hydrocarbons ไดแก กลุมไฮโดรคารบอนระเหยที่มีอะตอมของธาตุคลอรีนในโมเลกุล ไดแก สารเคมีที่ใชสังเคราะหในอุตสาหกรรม สารกลุมนี้มีความเปนพษิมากกวา และเสถียรในสิ่งแวดลอมมากกวาสารในกลุมสาร Non-chlorinated VOCs นั่นคือ สลายตัวไดยากในธรรมชาติ และในทางเคมีจะมีความคงตวัสูง สะสมไดนาน รบกวนการทํางานของสารพันธุกรรม ยับยั้งปฏิกิริยาชีวเคมีในเซลล มีฤทธิ์ในการกอมะเร็ง หรือกระตุนการเกดิมะเร็งได สารในกลุมนี้มีรายช่ือดังตอไปนี ้

ตัวอยางของสารประกอบอินทรียระเหยงาย ชนิด Halogenated VOCs

- 1,1,1,2- Tetrachloroethane - Bromoform - Glycerol trichlorohydrin - 1,1,1-Trichloroethane - Bromomethane - Hexachlorobutadiene - 1,1,2,2,-Tetrachloroethane - Carbon tetrachloride - Hexachlorocyclopentadiene - 1,1,2-Tetrachloroethane - Chlorodibromomethane - Hexachloroethane - 1,1-Dichloroethane - Chloroethane - Methylene chloride - 1,1-Dichloroethylene - Chloroform - Neoprene - 1,2,2-Trifluoroethane (Freon 113)

- Chloromethane - Pentachloroethane

Page 2: VOCs

2

- 1,2-Dichloroethane - Chloropropane - Perchloroethylene - 1,2-Dichloropropane - Cis-1,2-dichloroethylene - Propylene dichloride - 1,2-Trans-Dichloroethylene - Cis-1,3-dichloropropane - Trichlorotrifluoroethane - 1,3-cis-dichlor-1-propane - Dibromochloropropane - Monochlorobenzene - 1-Chloro-2-propene - Dibromomethane - Tetrachloroethylene - 2-butylene dichloride - Dichlorobromomethane - Trichloroethylene(TCE) - Acetylene tetrachloride - Dichloromethane(DCM) - Vinyl chloride - Bromodichloromethane - Ethylene dibromide - Vinyl trichloride - 1,3-trans-dichlopropene - Fluorotrichloromethane(Freon11) - Vinylidene chloride

ผลกระทบของสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ตอสิ่งแวดลอม สาร VOCs มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมคอืมีผลตอช้ันของโอโซนของโลก โดยปกตโิอโซนจะอยูในชั้นบรรยากาศสูง ทําหนาที่กรองแสงอุตราไวโอเลต (UV) แตสาร VOCs มีผลทําใหโอโซนบนชั้นบรรยากาศสูงเขามาอยูในชัน้บรรยากาศใกลโลก และโอโซนนี้จะทําใหเกิดอันตรายตอมนุษย เชน ทําใหเจ็บไข ไมสบาย เจ็บคอ หายใจไมสะดวก ระคายเคืองตา แกวตา จมูก คอ ทรวงอก ไอ ปวดศีรษะ นอกจากนี้โอโซนยังเปนตัวทําใหส่ิงกอสรางชํารุด ผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํา ผลของสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ท่ีมีตอสุขภาพ สาร VOCs สามารถเขาสูรางกายได 3 ทางคือ

1. การหายใจ 2. การกิน-ดื่มทางปาก 3. การสัมผัสทางผิวหนัง เมื่อสาร VOCs เขาสูรางกายแลวจะผานเขาสูตับ ซ่ึงจะมีเอนไซมและวิถีทางเมตะบอลิสม

(metabolism)หลากหลายแตกตางกัน สารพิษถูกเปลี่ยนแปลงทางเมตะบอลิสมในตบัในระยะแรก โดยอาศัยเอนไซมในระบบ ชนิดของเอนไซมที่จะใชแตกตางกันแลวแตชนดิของสาร VOCs ที่ไดรับ และในขั้นตอนสุดทายจะถูกขับทิ้งทางปสสาวะในรูปของกรด เชน สารไตรคลอโรเอทธิลลีน เมื่อถูกขับออกมาในขั้นตอนสุดทาย จะออกมาในรูปของ กรดไตรคลอโรอะซีติก ซ่ึงความเปนพษิตอรางกายจะมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับปจจัยดังตอไปนี้

1. ชวงครึ่งชีวติของสาร VOCs ในรางกาย ถามีการตรวจวัดสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ในเลือดสามารถบอกประวตัิการไดรับ หรือการสัมผัส VOCs ในประชากรได

2. สภาวะความสมบูรณของรางกาย ปฏิกิริยาชีวเคมีทางเมตาบอลิสมในตับและเนื้อเยื่อแปรสภาพไปเปนพิษมากขึ้นหรือนอยลงได และปริมาณอัลกอฮอลหรือสารเคมีอ่ืนในกระแสเลือดและเนื้อเยื่อดวย เชน การดื่มเหลาหรือเครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอลจะเพิ่มการดูดซึมและเพิ่มระดับของสาร 2-butamone และ acetone ในเลือดของนักดื่มเหลา

Page 3: VOCs

3

3. ระบบการขับถายของเสีย การขับถายสารพิษทิ้ง สารVOCs ถูกขับโดยตรงผานไตออกมาทางปสสาวะ ทางลมหายใจ และโดยทางออมผานตับ และน้ําดี ถาสารนั้นถูกขับออกไดงาย ความเปนพิษจะนอยลงกวาสารเคมีที่ถูกขับออกทิ้งไดยาก ผลกระทบของสารประกอบอินทรียระเหยงายตอระบบตาง ๆ มีดังนี ้

1. ผลกระทบตอดานภูมิคุมกนั สารประกอบอินทรียระเหยงายหลายชนิดทําใหระบบภูมิคุมกันถูกรบกวนหรือทําลาย ศักยภาพการ

ปองกันโรคการติดเชื้อจะลดลง เชน จากการศึกษาประชากรโดยการตรวจเลือด และผิวหนังในคนที่อยูใกลที่ทิ้งขยะสารเคมีมีพิษ (pesticide dump sites) พบวามีสาร Dichloroethane (DCE) ในเลือดมากกวาผูที่อยูหางไกลกวา ยิ่งอยูในบริเวณนั้นนาน ๆ ยิ่งไดรับมากขึ้นแตกตางกันอยางชัดเจน นอกจากนี้เม็ดเลือดขาวของประชากรที่อยูใกลขยะมีพิษมากกวาจะมีเม็ดเลือดขาวต่ํากวาในกลุมประชากรที่อยูหางไกลออกไป

2. ผลกระทบตอระบบประสาท การไดรับสารประกอบอินทรียระเหยงายจะทําใหเกิดอาการทางการกดประสาทหลายอยาง เชน การงวงนอน

วิงเวยีนศีรษะ ซึมเศรา หรือหมดสติได ยิ่งไดรับนาน ๆ จะยิ่งทําใหมีผลมากขึ้น 3. ผลกระทบเสียหายตอสุขภาพดานอื่น ๆ

สารประกอบอินทรียระเหยงาย อาจมีผลกระทบตอสุขภาพระบบอื่น ๆ ไดแก ระบบพันธุกรรม ระบบฮอรโมน ระบบสืบพันธุ อาจทําใหเกิดโรคมะเร็งบางชนิดได และโรคทางระบบสืบพันธุ เชนเปนหมนั ความพกิารของเด็กมีการกลายเพศ เปนตน การปองกันและการแกไขสารประกอบอินทรียระเหยงาย สารประกอบอินทรียระเหยงาย มีผลตอสุขภาพมากหรือนอยนั้นขึ้นอยูกับคุณสมบัติของสารเคมี ปริมาณที่ไดรับ สภาวะทางชีวภาพของรางกาย และปจจัยอ่ืน ๆ สาร VOCs บางชนิดหากไดรับในปริมาณมากจะทําใหเกิดการทําลายระบบประสาทสวนกลาง คือไปกดประสาทสวนกลางโดยอาจจะเกิดอาการทนัท ี ทาํใหหมดสติได และในกรณีที่ไดรับสาร VOCs ปริมาณนอย เปนเวลานานก็จะทําใหเกิดปญหาเรื้อรัง อาจทําใหเกิดมะเร็ง และเกิดการเสื่อมของเนื้อเยื่ออวัยวะภายในไดดวย การเกิดพิษของสาร VOCs มีกลไกมาจากคุณสมบัติทางเคมีของสารที่ทนทานตอการสลายตัวทางชีวภาพ และสามารถรวมตัวกับสารชีวโมเลกุล ดีเอ็นเอ โปรตีน ไขมันได ทําใหปฏิกิริยาทางชีวเคมีในเซลลถูกรบกวน และหยุดชะงัก ซ่ึงในการแกไขปญหาสารประกอบอินทรียระเหยงายอาจทําไดโดยการทําลายสาร VOCs เชน ทางเคมีโดยการใชกาซโอโซน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด และสารออกซิไดซอ่ืน ๆ หรือในทางชีวภาพใหใชจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการยอยสลายได สําหรับการรักษาผูปวยนั้นมีความลําบากยุงยากมาก ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือการปองกันและควบคุม

Page 4: VOCs

4

กลุมตัวอยางสารประกอบอนิทรียระเหย งาย(VOCs)ท่ีตรวจพบในพื้นท่ีมาบตาพดุมีรายชือ่ดังตอไปนี ้

ลําดับ

สารประกอบอินทรียระเหยงาย(VOCs)

เกณฑมาตรฐานความปลอดภัยของสหรัฐอเมริกา (ACGIH) สวนในลานสวน (ppm)

เกณฑมาตรฐานตามประกาศกระทรวงมหาดไทย สวนในลานสวน (ppm)

1 Dichlorodifluoromethane(Freon12) 1,000 - 2 Chloromethane 50 - 3 Vinyl chloride 1 1 4 1,3-Butadiene 2 - 5 Bromomethane 1 - 6 Chloroethane - - 7 Trichlorofluoromethane (Freon 11) C 1,000 - 8 trichlorofluoroethane(Freon113) 1,000 - 9 3-Chloropropene 1 - 10 Dichloromethane 50 500 11 1,1-Dichloroethane 100 - 12 Cis-1,2-Dichloroethylene 200 - 13 Chloroform 10 50 14 1,1,1-Trichloroethane 350 - 15 Benzene 0.5 10 16 Acrylonitrile 2 - 17 1,2-Dichloroethane - - 18 Carbon tetrachloride 5 10 19 Trichloroethylene 50 100 20 1,2-Dichloropropane 75 - 21 Cis-1,3 –Dichloropropene 1 - 22 Toluene 50 200 23 1,1,2-Trichloroethane 350 - 24 Tetrachloroethylene 50 100 25 1,2-Dibromoethane - - 26 Chlorobenzene 10 - 27 Ethylbenzene 100 - 28 o,p,m-Xylene 100 100 29 Styrene 20 200 30 1,1,2,2-tetrachloroethane 1 - 31 1,3,5-Trimethylbenzene 25 -

Page 5: VOCs

5

32 1,2,4-Trimethylbenzene 25 - 33 Benzyl Chloride 1 - 34 1,4-Dichlorobenzene 75 - 35 1,2-Dichlorobenzene 25 - 36 Hexachloro-1,3-butadiene - - 37 1,3-Dichlorobenzene - - 38 1,2,4-Trichlorobenzene C5 - 39 1-Ethyl-4-methylbenzene - - 40 Freon 114 - - 41 1,1-Dichloroethylene C 5 - 42 Trans-1,3-Dichloropropene - -

ตัวอยางสารประกอบอินทรียระเหยงาย (VOCs) ท่ีเปนสารกอมะเร็ง (Carcinogen) และสารสงเสริมการเกิดเนื้องอก (tumor promoter) และชนิดของมะเร็งท่ีพบ

สารเคมี ชนิดของมะเร็งที่พบ Benzene Acute myeloblastic leukemia Carbon Tetrachloride hepatoma 1,2-Dichloropropane - Ethylbenzene - 1,2-Dichloroethane - Pentachloropheno - Toluene - Trichloroethylene - Dichloromethane - Vinyl Chloride - Hexachlorobenzene - Dibromochloropropane - Ethylene Dibromide - Trihalomethanes - Trichloroacetylene Lung cancer Halo acetic Acid -

Page 6: VOCs

6

สารไดคลอโรไดฟลูออโรมีเทน (ฟรีออน 12) 1. รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภณัฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : Freon 12 ช่ือทางเคมี: ไดคลอโรไดฟลูออโรมีเทน1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : CFC-12 , Freon-12 , Halon 122 ,

Halocarbon -12 , Refrigerant 12 , Refrigerant R12,Difluorodichloromethane

Arcton 12 , Frigen 12 ,Genetron 12 , Halon , Isotron 2 , R12 , Algofrene type 2

Arcton 6 , Electrp-cf 12 , F12 , FC 12 , Eskimon 12 , Freon f-12 , Ledon 12 ,

Propellent 12. สูตรทางเคมี : CCl2F2

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใช เปนสารทําความเย็น ใช เปนสาร- Blowing agent ใชในการขับเคลื่อน เปนตัวทําละลาย เปนสารลางไขมัน ใชเปนสารโมโนเมอรในการผลิตเรซิน และใชในการทําใหสารแข็งตัว

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1028

2.2 CAS No. :75-71-8 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : ฟลูออโรคารบอน -12 เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภยั(TLV) :1,000 ppm คา LD50 : - mg/ kg 4. ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : -29.8 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -158 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 250 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้าํ(Solubility in water) : 0.028 กรัม/100 มิลลิลิตร ที่ 25 ํซ 4.5 ความถวงจาํเพาะ(Specific Gravity) : 1.452 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : -

Page 7: VOCs

7

4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :ใส ไมมีสี เปนกาซและอาจเปนของเหลวได ภายใตความดัน กล่ินฉุน

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : - 4.9 อ่ืน ๆ : ละลายไดในแอลกอฮอล อีเธอร กรดอะซีติก

5. ขอมูลดานอคัคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :ไมเผาไหม 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -

5.4 การเกิดปฏกิิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้มีความเสถียร 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ เชน โซเดียม โพแทสเซียม

อะลูมิเนียม แมงกานีส สังกะสี ทําใหเกิดการระเบิด ได นอกจากนี้ยังมีพลาสติก สารเคลือบผิว และสารที่มีอุณหภูมิสูงกวา 260 ํซ

5.6 สารอันตรายที่เกดิจากการสลายตัว : ไมมี (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ จมูก คอ ทําใหปวดศีรษะ ส่ัน ทํ าใหหั วใจ เตน เร็ ว เนื่องจากหัวใจลมเหลว อาจทําใหเสียชีวิต :การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหปวด- ศีรษะ หมดสติ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกิดอาการชา [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เนื่องจากความเย็น

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา มีอาการชาเหมือนน้ําแข็งกัด : สารนี้ทําใหเลือดจับตัวเปนกอน ทําลายระบบหายใจ

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure, Short – term)

Page 8: VOCs

8

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure, Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภยั ( TLV) :1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภยั (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information) 7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : - 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ให เ ลือกอุปกรณที่ เหมาะสมกับช ว ง

(Respiratory Protection Type) เขมขน เชน สารที่มีชวงความเขมขนไมเกิน 10,000 ppm ใหใชอุปกรณสงอากาศ- สําหรับหายใจ (Supplied-air respirator) โดยมีคาAPFเทากับ 10

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ที่เปนของเหลว ใหเคลื่อนยายผูปวยออกจากบริเวณที่มีสารเคมี ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 20 นาที หรือจนกวาสารจะออกหมด อยาถูบริเวณที่ เปอนสารเคมี พรอมถอดรองเทา และเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหเคลื่อนยายผูปวยออกจากบริเวณที่มีสารเคมี ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากๆอยางนอย 20 นาที หรือจนกวาสารจะออกหมด นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : - 8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด เมื่อไมไดใชงาน - เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีการระบายอากาศ

Page 9: VOCs

9

เพียงพอ หางจากแหลงติดไฟ หรือแหลงความรอน - เก็บใหหางจากสารที่เขากันไมได และแยกจากบริเวณการทํางาน - ทําความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี - ติดปายเตือนอันตราย และติดฉลากที่ภาชนะ - เก็บภาชนะบรรจุไวในระดับความสูงที่เหมาะสมกับการเคลื่อนยาย - ภาชนะบรรจุ สารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได -มีอุปกรณดับเพลิง แ ละทําความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี - ติดปายหามสูบบุหร่ี - อยาใชรวมกับสารที่เขากันไมได - ตอภาชนะบรรจุลงดิน

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก -อยาเขาไปในบริเวณเพลิงไหมจนกวาจะทํา (Spill and Leak Procedures) ความสะอาด เสร็จ

- ทําความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชํานาญ - มีอุปกรณดบัเพลิง หรือยายแหลงจุดติดไฟออกไป - ระบายอากาศเมื่อมีสารหกรั่วไหลเพื่อไมใหกาซ แพรกระจาย - ใหหยุดการรั่ วไหล ถ าสามารถทํ าได โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

- ปองกันไมใหสารเคมีหกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอ่ืน ๆ

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด (Disposal Methods) 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชสารดับเพลิง / วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับ

สภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

*********************************************

Page 10: VOCs

10

สารคลอโรมีเทน (Chloromethane) หรือ เมทธิล คลอไรด (Methyl chloride) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี: คลอโรมีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :Monochloromethane , Artic , R-40,

Refrigerant R40. สูตรทางเคมี : CH3Cl 1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวกลางในการทําซิลิโคน เปน

ตัวเรงในการละลายยาง การเกษตร การผลิตเมทธิลเซลลูโลส

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1063

2.2 CAS No. :74-87-3 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : คลอโรมีเทน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm คา LD50 : 1,800 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : -24 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -98 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 3,722 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.74 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.92 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนกาซเหลว ไมมีสี ไมมีกล่ิน 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -46 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 8.1 % - คาสูงสุด (UEL) : 17.4 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 632 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : -

Page 11: VOCs

11

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ เอมีน เอไมด อะลูมิเนียม แมกนีเซียม โซเดียม และโลหะอัลคาไลด

สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง :เปลวไฟ หรือบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงจะกระตุนใหสารเคมีนี้สลายตัวเนื่องจากความรอน

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน ไฮโดรเจนคลอไรด (Hazardous Decomposition Products) 5.7 อ่ืน ๆ : สารนี้เปนสารไวไฟ ไอระเหยของสารนี้

หนักกวาอากาศ และสามารถแพรกระจายไปยังแหลงจุดไฟ ทําใหเกิดประกายไฟยอนกลับได

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป ถาสัมผัสสารนี้ เปนเวลานานจะทําใหตายได แตถาสัมผัสสารในปริมาณมากเกินไป จะมีผลทําใหระบบประสาทสวนกลางถูกกด ทําลายสมอง อารมณแปรปรวน กระหายน้ํา เวียนศีรษะ งวงนอน คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง ชักกระตุก และตายได :การกลืนหรือกินเข าไป ไมนาจะเปนอันตรายเนื่องจากคุณสมบัติทางกายภาพ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง กาซนี้ไมเปน- [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] อันตรายตอผิวหนัง แตถาสัมผัสสารนี้ที่

เปนของเหลว จะทําใหผิวหนังเปนแผลไหม เนื่องจากความเย็น และสารนี้ไมดูดซึมผานผิวหนังเนื่องจากคุณสมบัติทางกายภาพ :การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้จะกอใหเกิดการระคายเ คือง ถาสัมผัสสารนี้ที่เปนของเหลวจะทําใหตาเปนแผลไหมเนื่องจากความเย็น หรือฟรอสไบท

Page 12: VOCs

12

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงเปลวไฟ หรือบริเวณที่มี (Fire and Explosion Prevention) อุณหภูมิสูง

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน

(Respiratory Protection Type) ที่เกินกวาคามาตรฐานที่ NIOSH แนะนํา 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผ าและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : - 8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด - เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการระบายอากาศเพียงพอ - ห าม เ ก็ บ ในภาชนะบรรจุ ที่ ทํ า จ าก อะลูมิเนียม

Page 13: VOCs

13

- หามสูบบุห ร่ีในบริ เวณที่ เก็บและในระหวางการเคลื่อนยาย -ใหลางทําความสะอาดรางกายใหทั่วถึงภายหลังที่มีการเคลื่อนยาย - หามใชความดันอากาศสําหรับเคลื่อนยายสารนี้

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก - ปด/ เคล่ือนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดให (Spill and Leak Procedures) ออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

-ใช โฟม เพื่ อ ระงับการ เกิ ดไอระ เหยจนกระทั่ ง เก็บกวาดสารที่หก ร่ัวไหลเรียบรอยแลว - ปองกันไมใหสารที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา ดิน ผิวน้ํา หรือน้ําใตดิน - ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ(Disposal Methods) กําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ถาเกิดเพลิงไหมเล็กนอย ควรใชน้ําฉีดเปนฝอย ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด โฟม

************************************************

Page 14: VOCs

14

สารไวนิล คลอไรด (Vinyl chloride) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี: สารไวนิล คลอไรด 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :Trovidur , Ethylene monochloride,Vinyl C,

Monochloroethylene, Chloroethylene,VC, VCM,Monochloroethene,Monochloroethylene Ethylene monochloride,

สูตรทางเคมี : C2H3Cl 1.3 การใชประโยชน(Use) : เปนวัตถุดิบใชผลิตพลาสติก สังเคราะห

สารอินทรีย 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1086

2.2 CAS No. :75-01-4 2.3 สารกอมะเร็ง :เปนสารกอมะเร็ง ตามบัญชีรายช่ือของ

OSHA,NTP,และ IARC 3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : สารไวนิล คลอไรด เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm คา LD50 :500 mg/ kg 4. ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : -13 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -154 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 2,515.6 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 21.1 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.3 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.9106 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :ไมมีสี สถานะกาซ กลิ่นหอมหวาน 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-78 ํ ซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) -คาต่ําสุด (LEL) : 3.8 % LFL : 3.6 % -คาสูงสุด (UEL) : 22 % UFL : 33 %

Page 15: VOCs

15

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition.Temperature):472 ํซ 5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :อาจเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอร ควรหลีกเลี่ยง

การสัมผัสกับความรอน แสง อากาศ น้ํา และสารที่เขากันไมได

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะคาไบด โลหะ สารออกซิไดซ เปอรออกไซด

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ฟอสจีน สารประกอบฮาโลเจน (Hazardous Decomposition Products) ออกไซดของคารบอน 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก : การหายใจเขาไป การสัมผัสเปนเวลาสั้น ๆ จะกอใหเกิด การระคายเคือง คล่ืนไส หายใจขัด หัวใจเตนชาผิดปกติ ปวดศีรษะ เซื่องซึม มึนเมา :การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเนื้อเยื่อตาย หรือไดรับอันตราย เนื่องจากความเย็นจัด (Frostbite)

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)]

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสเปนเวลานาน จะทําใหรูสึก (Effects of Over Exposure , Long – term) เมื่อยลา หมดแรง ผิวหนังซีดเปนสีน้ําเงิน ระบบเลือดผิดปกติ ทําลายตับ และทําให

เปนมะเร็ง 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information) 7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : -

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศ

(Respiratory Protection Type) ในตัว(SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มใบหนา

Page 16: VOCs

16

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): - 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง หากรูสึกเย็นบริเวณ

ที่ปนเปอนใหใชน้ําอุนลาง ถาหาไมไดใหใชผาพันปดไว เพื่อใหการไหลเวียนเปนปกติ นําสงแพทยทันที

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริ เวณที่มีอากาศบริ สุทธิ์ ใช ถุงที่มีลักษณะคลายหนากาก หรืออุปกรณชวยหายใจถาตองการ รักษารางกายผูปวยใหอบอุน และอยูนิ่ง นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : - 8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่มิดชิด

- เก็บในบริเวณที่เย็นและแหง และมีการระบาย อากาศเพียงพอ - เก็บหางจากความรอน และแหลงจุดติดไฟทั้งหมด และสารที่เขากันไมได

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) :-ใหปด/เคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟ

ทั้งหมด - กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล และกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของและไมสวมใสอุปกรณปองกัน ใหออกหางจากบริ เวณที่หกร่ัวไหล

- ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

Page 17: VOCs

17

- จัดใหมีการระบายอากาศบริเวณที่สารหกร่ัวไหล

- ใชน้ําฉีดเปนฝอย เพื่อปองกันการฟุงกระจายของไอระเหย

- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด ถาเกิดเพลิงไหมรุนแรงใหใชโฟมที่เหมาะสมน้ําฉีดที่เปนฝอย

********************************************

Page 18: VOCs

18

สาร 1,3 – บิวตะไดอีน (1,3 –Butadiene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี:1,3-บิวตะไดอีน(1,3-Butadiene) 1.2 ช่ือพองอื่นๆ :Vinyl ethylene, Biethylene, Pyrrolylene,Buta-

1,3diene,Bivinyl,Alpha-gamma-butadiene, Erythrene, 1,3-Butadiene various grades.

สูตรทางเคมี : C4H6

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชในการผลิตสารเทอรโมพลาสติก ยางไน- ไตรท ผลิตกาว

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1010

2.2 CAS No. :106-99-0 2.3 สารกอมะเร็ง :เปนสารกอมะเร็งในสัตว และสงสัยวาอาจจะ

เปนสารกอมะเร็งในมนุษยได และนอกจากนี้ยังทําใหเกิดเนื้องอก ทําใหประสาทหลอน มีผลตอหลอดเลือด ปอด ทรวงอก ตับ และอวัยวะเพศชาย

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,3 –บิวตะไดอีน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 2 ppm คา LD50 : 5,480 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :- 4 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) :-109 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 3,309 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 38 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : เล็กนอย 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.627 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :ไมมีสี เปนกาซเหลว กล่ินคลายกาซโซลีน

ออน ๆ 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -76 ํซ

Page 19: VOCs

19

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 2 % - คาสูงสุด (UEL) : 12 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 414 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : อาจเกิดอัน ตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอรขึ้นได 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ อะซิตัลดีไฮด เปอรออกไซด

ทองแดง ทองแดงผสมและอากาศ และสภาวะที่ตองหลีกเลี่ยงคือที่อุณหภูมิสูงเกิน 49 องศาเซลเซียส

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเผาไหมจะเกิดกาซคารบอนไดออกไซด (Hazardous Decomposition Products) และสารไฮโดรคารบอน

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อบุจมูก ถามีความเขมขนสูงจะกอใหเกิดอาการไอ เซื่องซึม ออนเพลีย ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ และอาการอื่นที่เกี่ยวกับการผิดปกติของเยื่อบุประสาท เปนไข หนาวสั่น ไอ :การกลืนหรือกินเขาไป อาจเกิดแผลไหม เนื่องจากความเย็นตอเยื่อบุเมือก และระคายเคืองตอกระเพาะอาหาร

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองเล็กนอย ถาเปนกาซเหลวอาจทําใหเกิด

แผลไหมเนื่องจากไอเย็น กอใหเกิดผ่ืนแดง และพุพอง และมีอาการปวด : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองเล็กนอย ถาเปนกาซเหลวอาจทําใหเกิดแผลไหมเนื่องจากความเย็นได กอใหเกิดอาการตาแดง ปวดตา และทําใหสายตาพรามัวได

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term)

Page 20: VOCs

20

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure ,Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 2 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information) 7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : - 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหสวมใสอุปกรณที่เหมาะสมกับสภาพการ

(Respiratory Protection Type) ทํางาน 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหลางผิวหนังทันทีดวยสบูหรือ น้ําปริมาณมาก ๆ 15 นาที อยาถูบริเวณที่สัมผัสสาร เพื่อปองกันเนื้อเยื่อถูกทําลาย ถาเกิดการระคายเคืองใหรีบไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆอยางนอย 15 นาที และกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง ถาเกิดการระคายเคืองใหรีบไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : สําหรับแผลไฟไหมใหรีบลางดวยน้ําอุน

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) : 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ปองกัน

ความเสียหายทางกายภาพ

Page 21: VOCs

21

- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีอากาศถายเทดี ควรมีการตอสายดิน - ควรเก็บใหหางประกายไฟและเปลวไฟ หางจากน้ํา และทอระบายน้ําเสีย - ควรใสชุดปองกันตามขอควรระวังของสารที่ใหมา ลางทําความสะอาดภายหลังจากการเคลื่อนยายทุกครั้ง -ไมควรเจาะถังเก็บ ควรเก็บใหหางจากสารหรือสภาวะที่เขากันไมได

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -ใหอพยพบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ

ออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล - ควรหยุดการรั่ วไหลถ าทํ าได และ

ควบคุมการหกรั่วไหลไว - ปดแหลงของการจุดติดไฟทั้งหมด ดูด

ซับดวยสารที่แหง และเฉื่อยตอปฏิกิริยา เชน ทราย ดิน อ่ืน ๆ

- ปองกันมิใหไหลลงสูแหลงน้ํา ทอระบายน้ํา - เก็บใสในภาชนะบรรจุดวยอุปกรณที่ไม

กอใหเกิดประกายไฟ - ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่

เหมาะสม 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ-

กําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงเคมีแหง โฟม และคารบอนไดออกไซด

*******************************************

Page 22: VOCs

22

สารโบรโมมีเทน (bromomethane) หรือ เมทธิล โบรไมด (Methyl bromide) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี:โบรโมมีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :monobromomethane,Curafume,

Embafume, Haltox, Iscobrome, Terabol, Brom-O-Sol, Brom-O-Gas, Meth-O-Gas, Terr-O-Gas, Brom-O-Gaz, Celfume, Kayafume, MeBr, Halon 1001, Dowfume mc-2, Dowfume mc-33, EDCO, MB, MBX, Metafume, Methogas, Profume, Rotox, Terr-o-gas 100, Zytox , Dowfume

สูตรทางเคมี : CH3Br 1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนยาพนควันเพื่อฆาเชื้อโรคในอาหาร

เชน ผลไมแหง แปง ถ่ัว ในการเก็บรักษาเมล็ดพืช และใชงานไดหลายประเภท

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1062

2.2 CAS No. :74-83-9 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : เมทธิล โบรไมด เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1 ppm คา LD50 : 214 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 3.56 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -93.66 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1,515 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.09 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.72 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนกาซ ไมมีสี กลิ่นหวาน 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

Page 23: VOCs

23

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 13.5 % - คาสูงสุด (UEL) : 14.5 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :537 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้สามารถเกิดปฏิกิริยากับอะลูมิเนียม และอัลลอยด เกิด เปนสารประกอบอะลูมินัมเมทธิลเลท ซ่ึงสามารถลุกติดไฟไดเองเมื่อสัมผัสกับอากาศ

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะผสมของอะลูมิเนียม อะลูมิเนียม ยาง และพลาสติก และสภาวะที่อุณหภูมิสูง

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ไฮโดรเจนโบรไมด คารบอนิลโบรไมด (Hazardous Decomposition Products) และคารบอนมอนนอกไซด

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง

: การหายใจเขาไป การหายใจเอาสารที่มีความเขมขนต่ําเขาไป จะกอใหเกิดอาการเวียนศีรษะ งวงนอน ปวดศีรษะ สูญเสียก า ร ท ร ง ตั ว ก ล า ม เ นื้ อ ทํ า ง า น ไ มประสานกัน โรคลมบาหมู สายตาพรามัว สับสน ทําลายปอด และไต

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกตา ทําใหตาแดง และอาจทําให[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เกิดการมองไมเห็นชั่วคราว นอกจากนี้

สารนี้ยังมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง โรคปอดอักเสบ ทําลายไต เปนอันตราย

ตอทารกในครรภ บุคคลที่มีโรคหัวใจ ตับ ไมควรทํางานหรือใชสารเคมีนี้

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น :มีน้ําในปอด กลามเนื้อออนลา และ (Effects of Over Exposure ,Short – term) เจ็บปวด การทํางานไมประสานกัน มอง

ไม ชัด เจน อุณหภูมิ ในร างกายลดลง

Page 24: VOCs

24

อาการโคมา ระบบประสาทสวนกลางถูกกด สัมผัสถูกผิวหนังและตาจะทําใหเปนสีแดง เจ็บ และเกิดการไหมอยางรุนแรง สามารถถูกดูดซึมผานผิวหนัง หากความดันลดผานวาลวและทอ อาจทําใหเกิดความเย็นจัด กัดผิวหนังที่สัมผัสได

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :ระบบประสาทสวนกลางถูกกด จะมี- (Effects of Over Exposure , Long – term) อาการปวดเมื่อย ระคายเคือง นอนไมหลับ

เนื้อเยื่อสมองเสื่อม งุนงง ทําใหลําบากในการทรงตัว ออนเพลีย ประสาทอักเสบ ผิวหนังอักเสบ

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่ทําปฏิกิริยาดวย เชน (Fire and Explosion Prevention) อะลูมิเนียม และอัลลอยด เพราะจะเกิด

เปนสารประกอบอะลูมินัมเมทธิลเลท ซ่ึงสามารถลุกติดไฟได เองเมื่อสัมผัสกับอากาศ

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน

(Respiratory Protection Type) ตามที่NIOSH แนะนํา 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : สวมใสแวนตานิรภัย ติดตั้ง

ฝกบัว และที่ลางตาฉุกเฉิน 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที โดยใชนิ้วถางแยกเปลือกตาออก

Page 25: VOCs

25

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ใหพักผอนอยางนอย 48 ช่ัวโมง ใหแพทยสังเกตการเกิดน้ําทวมปอด และความผิดปกติของไต และใหการรักษาตามอาการ สําหรับคนที่หมดสติใหชวยผายปอด และใหออกซิเจน

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนกินสารนี้เขาไป ใหนําสงแพทยทันที ถาผูปวยหมดสติ อยาใหอะไรเขาปากผูปวย ถาผูปวยที่มีสติเกิดการอาเจียนควรใหกมศีรษะต่ํากวาสะโพก เพื่อชวยปองกันการหายใจ แตถาผูปวยหมดสติใหหันศีรษะไปดานขาง ถากลืนหรือกินใหแจงแพทยใหทําการลางทอง

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

-ใชอุปกรณลดความดันเมื่อทําการตอถังที่มีความดันต่ํา ( < 100 psig) - เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการระบายอากาศเพียงพอ - เก็บหางจากบริเวณทางเดิน และทางออกฉุกเฉิน - อยาเก็บสารไวที่อุณหภูมิเกิน 52 องศาเซลเซียส - ปองกันการทําลายทางกายภาพ - ภาชนะบรรจุควรวางอยางมั่นคง และตั้งตรง เพื่ อป อ งกันการหลนห รือการกระแทก - ภาชนะบรรจุที่เต็ม และวางเปลา ควรวางแยกจากกัน - ใชระบบ “first in – first out”เพื่อปองกันสารหมดอายุ - ต ิดป าย “หามส ูบบ ุห รี ่หร ือจ ุดไฟ ” ในบริเวรที่เก็บสารเคมี

Page 26: VOCs

26

- อยาใหความรอนภาชนะบรรจุ เพราะจะเปนการเพิ่มอัตราการเกิดประจุ - ตรวจวาลวเพื่อปองกันอันตรายของสาร - ปดวาลวเมื่อใชงานเสร็จแลว และภาชนะที่วางเปลา - อยาลากหรือหมุนถังกาซ ใหใชรถลากที่เหมาะสม

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures)-ใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่มีการ

หกร่ัวไหล - ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย

- ถาสารหกเลอะอุปกรณที่ใช ใหฉีดลางดวยกาซเฉื่อยกอนนําไปซอมแซม - ถาภาชนะบรรจุ เกิดการรั่ว ใหติดตอหนวยงานที่เกี่ยวของ - การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : น้ํา คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง

************************************

Page 27: VOCs

27

สารคลอโรอีเทน (Chloroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี:คลอโรอีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Ethyl chloride , Hydrochloric ether,

Muriatic ether, Monochloroethane, Aethylis , Aethylis chloridum,Chloridum , Chloryl, Ether chloratus , Ether hydrochloric , Ether muriatic, Chlorethyl , Kelene , Chelen , Anodynon, Chloryl anesthetic , Narcotile, Chlorene, Cloretilo, Dublofix, Ethyl Chloride(Chloroethane), Hydrochloric ether kelene, Chlorylanesthetic.

สูตรทางเคมี : C2H5Cl 1.3 การใชประโยชน(Use) :-

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1037

2.2 CAS No. :75-00-3 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :คลอโรอีเทน (chloroethane) เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1,000 ppm คา LD50 : - mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 12.3 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -138.3 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1,034 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 21 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : เล็กนอย 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.92 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนกาซ ไมมีสี กล่ินคลายอีเธอร 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

Page 28: VOCs

28

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 50 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL) :3.6 % LFL : 3.6 % -คาสูงสุด (UEL) : 15.4 % UFL : 15.4 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 519 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ โซเดียม โพแทสเซียม

แคลเซียม อลูมิ เนี ยม สังกะสี และแมกนีเซียม

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน กรดไฮโดรคลอริค (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจ เข าไป การสัม ผัสสารนี้ติดตอกันเปนเวลานาน ทําใหเกิดอาการมึนเมา เวียนศีรษะ กลามเนื้อทองเกร็ง ระบบยอยอาหารทํางานไมประสานกัน อาเจียน ปวดศีรษะ ไอ ทําลายตับและไต การไดรับสารนี้ที่มีความเขมขนสูง อาจทําใหเกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจ เจ็บหนาอก ไอ และหัวใจลมเหลว ขาดออกซิเจน ทําใหเสียชีวิต : การกลืนหรือกินเขา สารนี้เปนกาซจึงไมมี ก า รกิ น แต ทํ า ให เ กิ ด อ าก า รบวม เนื่องจากถูกความเย็นบริเวณริมฝปาก และปาก

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้ดูดซึมผาน [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ผิวหนัง ทําใหเปนอันตรายตอรางกาย

การสัมผัสสารจะมีอาการบวมเนื่องจากถูกความย็น :การสัมผัสถูกตา กอใหเกิดการระคายเคืองตา

Page 29: VOCs

29

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก (Fire and Explosion Prevention ) แหลงความรอน

: อยาเก็บไวในที่มีอุณภูมิเกิน 50 ํซ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน

(Respiratory Protection Type) 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก นําสงแพทยทันที ทําความสะอาดเสื้ อผ าและรองเท ากอนนํามาใชอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมนําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุด-

หายใจใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ควรใหออกซิเจน และนําผูปวยสงแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : -

Page 30: VOCs

30

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ปองกันการ

ทําลาย - เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี - เก็บใหหางจากความรอนและแหลงจุดติดไฟ - แยกออกจากสารที่เขากันไมได เชน สารออกซิไดซ และสารรีดิวส - ตรวจดูภาชนะบรรจุใหมวา เปนภาชนะบรรจุที่มีการติดฉลากหรือยัง และยังไมตองนําไปทําลาย - เก็บภาชนะบรรจุในบริเวณที่เหมาะสม ติด ฉลาก - แยกเก็บภาชนะบรรจุเปลาออกจากบริเวณที่เก็บสารเคมี - บริเวณที่เก็บสารเคมีมีการทําความสะอาดโดยบุคคลที่ไดรับการฝกมา -เก็บสารหางจากสารไวไฟ และแยกจากบริเวณการทํางาน - มีอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณทําความสะอาดกรณีสารหกรั่วไหล - ดูขอแนะนําในการเก็บจากเอกสารขอมูลความปลอดภัย(MSDS) - หลีกเลี่ยงการทําใหเกิดฝุน ปองกันฝุนเขาไปในบริเวณการทํางาน -บุคคลที่ใชสารนี้ควรศึกษาอันตรายและการใชสารกอน - มีการตอภาชนะลงดิน และมีการระบายอากาศ - ติดปาย “หามสูบบุหร่ี” กําจัดประกายไฟ เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟใหหมด - อยาเทสารที่ปนเปอนกลับเขาไปในภาชนะบรรจุใหม -ใชอุปกรณนําไฟฟาในการขนยายสาร เชน โลหะ ทอ - ตอลงดินเมื่อทําการเคลื่อนยายสาร

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

Page 31: VOCs

31

8.3 การปองกันการรั่วและการหก - กรณีหกร่ัวไหลใหเคล่ือนยายออกจากบริเวณ (Spill and Leak Procedures) ที่มีการหกรั่วไหล - ให ส วม ใส อุ ปกรณ ป อ ง กั นอั ต ต ร า ยที่

เหมาะสม - กําจัดสารรั่วไหลที่หลงเหลืออยูใสภาชนะ

บรรจุ - ยายแหลงจุดติดไฟ ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากการเสี่ยง - ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อลดการเกิดไอ - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ระบายอากาศและเคลื่อนยายภาชนะบรรจุสาร

ออกไปบริเวณที่มีการระบายอากาศ - ไอที่ไวไฟสามารถแพรกระจายจากบริเวณ

สารรั่วไหล - กอนที่จะเขาไปในบริเวณสารรั่วไหล ควร

ตรวจสอบบรรยากาศใหเหมาะสม - การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม

กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ

กําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีด

เปนฝอย

****************************************

Page 32: VOCs

32

สาร Freon 11 หรือ ไตรคลอโรฟลูออโรมีเทน (Trichlorofluoromethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : Freon 11 ช่ือทางเคมี :ไตรคลอโรโมโนฟลูออโรมีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Sunonyms) : Fluorotrichloromethane, Fluorocarbon 11,

Trichloromonofluoromethane, F-11, Halocarbon 11, Freon 11, CFC -11, Frigen 11, Arcton 9, Genetron 11, Isceon 131, Isotron 11, Ledon 11, Fluorocarbon no.11, Aigofrene type 1, Oelectro-cf 11, Eskimon 11, FC 11 ,Kaltron 11, Flurotrichloromethane, Trichlorofluoromethane(Monofluorotrichloromethane), Halon 11, Propellent 11,Khaladon 11

สูตรทางเคมี : CCl3F 1.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้นํามาใชเปนสารทําความเย็น blowing

agent ทํากระสุนปน ตัวทําละลาย สารละลายไขมัน สารทําความสะอาด และสารดับเพลิง

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1017

2.2 CAS No. :75-69-4 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : ไตรคลอโรฟลูออโรมีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - ppm คา LD50 : > 15,000 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 23.7 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -111 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 795 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.1 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.48 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : -

Page 33: VOCs

33

4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลวที่อุณหภูมิต่ํากวา 23.7 ํ ซ ใส ไมมีสี ไมมีกล่ิน

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : - 5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : -

- คาสูงสุด (UEL) : - 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : - ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ (โซเดียม โพแทสเซียม ผงอะลูมินัม )

สามารถทําใหเกิดปฏิกิริยารุนแรง ลิเทียมเมื่อสัมผัสกับสารนี้ทําใหเกิดการระเบิด

สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิที่สูงกวา 260 ํซ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว (Hazardous Decomposition Products) : -

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป มีผลตอระบบประสาท ที่มีความเขมขนมากกวา 1 % จะกอใหเกิดการระคายเคืองจมูก คอ และทางเดินหายใจสวนบน ทําใหมีอาการปวดศีรษะ วิงเวียน การทํางานไมประสานกัน ถาอาการรุนแรงทําใหคล่ืนไส อาเจียน หัวใจเตนผิดปกติ และเสียชีวิตเนื่องจากหัวใจลมเหลว การเกิดเปนโรคกลามเนื้อหลอดลมอุดตัน เกิดขึ้นถาไดรับมากกวา 17,100 ppm :การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเนื้อเยื่อใน ชองทองถูกทําลาย สารนี้มีฤทธิ์กัดกรอนแตการไดรับสารนี้ผานทางการกลืน ไมมีผลเปนอันตรายตอปาก คอ และหลอดอาหาร

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ถาสัมผัสถูกสารที่เปน [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ของเหลว ทําใหผิวหนังแหงและแตก เกิด-

การระคายเคืองเปน ผ่ืนแดง

Page 34: VOCs

34

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสสารติดตอกันเปนเวลานาน จะทํา (Effects of Over Exposure , Long – term) ใหเลือดจับตัวเปนกอน มีพิษตอหัวใจ และ

ระบบหายใจ ปอด ตับ 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก (Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่น ๆตามที่

กําหนดไวในการเก็บรักษา 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน

(Respiratory Protection Type) 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : - 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ถาเปนของเหลว ขัดถู

สารเคมีออกอยางรวดเร็ว ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทยทันที ถาเปนกาซใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริ เวณที่มีอากาศบริสุทธิ์

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ถาเปนของเหลว ใหฉีดลางสารเคมีออกอยางรวดเร็ว ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที โดยให

น้ําไหลผานหรือจนสารเคมีออกหมด ใชนิ้วถางเปลือกตาออก นําสงไปพบแพทยทันที ถา

Page 35: VOCs

35

สัมผัสถูกกาซให เคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่อากาศบริสุทธิ์

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหส่ิงใดเขาปากสําหรับผูปวยที่หมดสติ แตถาผูปวยยังมีสติอยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 มิลลิลิตร ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจลําบากใหออกซิเจน แลวนําสงแพทยทันที

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ปองกันการ

ทําลาย - เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี - เก็บใหหางจากความรอนและแหลงจุดติดไฟ - แยกออกจากสารที่เขากันไมได เชน สารออกซิไดซ และสารรีดิวซ - แยกเก็บภาชนะบรรจุเปลาออกจากบริเวณที่เก็บสารเคม ี- การเก็บจะสะดวกขึ้นถาใชวัสดุที่ตานทานไฟ - มีการตอสายดินกับภาชนะบรรจุ - บริเวณที่เก็บสารเคมีมีการทําความสะอาดโดยบุคคลที่ไดรับการฝกมา - เก็บสารหางจากสารไวไฟ และแยกจากบริเวณการทํางาน - มีอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณทําความสะอาดกรณีสารหกรั่วไหล - ตรวจดภูาชนะบรรจุใหมวา เปนภาชนะบรรจุที่มีการตดิฉลากหรอืยัง - เก็บภาชนะบรรจุในบริเวณทีเ่หมาะสม ติดฉลาก

Page 36: VOCs

36

- บุคคลที่ใชสารนี้ควรศึกษาอันตรายและการใชสารกอน - หลีกเลี่ยงการทําใหเกิดฝุน ปองกันฝุนเขาไปในบริเวณการทํางาน - ติดปาย “หามสูบบุหร่ี” กําจัดประกายไฟ เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟใหหมด - ใชอุปกรณนําไฟฟาในการขนยายสาร เชน โลหะ ทอ - ตอลงดินเมื่อทําการเคลื่อนยายสาร - อยาเทสารที่ปนเปอนกลับเขาไปในภาชนะบรรจุใหม

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - หามเขาไปในบริเวณสารรั่วไหลจนกวาจะทํา

ความสะอาดเสร็จ - ทําความสะอาดโดยบุคคลที่ไดรับการฝกมา

เทานั้น - ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล - อยาสัมผัสสารที่หก - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู

ทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเส ี่ยงอันตราย - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย ดิน

หรือวัสดุดูดซับอื่น ๆ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปด

มิดชิดเพื่อนําไปกําจัด ปดฉลากที่ภาชนะบรรจุ

- วัสดุที่ดูดซับสารที่หกมีอันตรายเชนเดียวกับสารที่หกร่ัวไหล

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

Page 37: VOCs

37

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิงวิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

*******************************************************

Page 38: VOCs

38

สาร Freon 113 หรือ ไตรคลอโรฟลูออโรอีเทน (Trichlorofluoroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : Freon 113 ช่ือทางเคมี : ไตรคลอโรฟลูออโรอีเทน 1.2 ช่ือพอง อ่ืน ๆ(Synonyms) : Freon 113 / 1,1,2-Trichlorotrifluoroethane,

Halocarbon 113, Refrigerant 113, FC 133, CFC-113, Diflon S-3, Freon TF(113), Freon TF, Trichloro 1,2,2-trifluoroethane;

1,1,2-Trifluorotrichloroethane, Frigen 113 tr-t, Chlorinated fluorocarbon;

1,2,2-Trichlorotrifluoroethane, Genetron 113; Trichloro-1,2,2-trifluoroethane, 1,1,2-;

สูตรทางเคมี : C2Cl3F3

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสาร degreasing agent เปนสารตัวกลางในการผลิตโพลิเมอร เปนสารดับเพลิง สารทําความเย็น ตัวทําละลาย ตัวทําใหสารแหง และใชเปน blowing agent หรือสารทําใหเกิดฟอง

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1078

2.2 CAS No. :76-13-1 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :ไตรคลอโรฟลูออโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1,000 ppm คา LD50 : 43,000 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :47.7 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -35 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 284 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.0017 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.5635 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนกาซ ไมมีสี กลิ่นเหมือนอีเธอร

Page 39: VOCs

39

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : - 5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : ไมเผาไหม 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - - คาสูงสุด (UEL) : - 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 680 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ เชน แคลเซียม ผงอะลูมิเนียม สังกะสี

แมกนีเซียม เบอริลเล่ียม ซาแมเรียม ลิเทียม แบเรียม ทําใหเกิดการระเบิดได

สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิมากกวา 260 ํซ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว (Hazardous Decomposition Products) : ไมมีรายงาน

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเอาสารนี้เขาไปถามีความเขมขนสูงจะมีผลตอระบบประสาท ทําใหเกิดอาการวิงเวียน ปวดศีรษะ อาจทําใหหมดสติ และเสียชีวิต : การกลืนหรือกินเขาไป ทําใหเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ ปวดศีรษะ มีผลตอระบบประสาทอาจทําใหหมดสติ และเสียชีวิต

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ถารับสารติดตอกันเปน [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เวลานานทําใหผิวหนังแหง และแตก

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตา 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure, Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก (Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่น ๆตามที่

Page 40: VOCs

40

กําหนดไวในการเก็บรักษา 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 2,000 ppm ให

(Respiratory Protection Type) ใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ที่มีคา

APF. = 50 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที หรือจนสารเคมีออกหมด นําสงพบแพทยถายังมีอาการระคายเคือง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ หรือจนสารเคมีออกหมด นําสงแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 มิลลิลิตร เพื่อเจือจางสารเคมีในทอง นําสงแพทยทันที

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี -ภาชนะบรรจุควรมีการติดฉลากและปองกันการถูกทําลาย - มีอุปกรณดับเพลิงหรืออุปกรณทําความสะอาดในบริเวณที่ใชสารเคมี -ภาชนะที่วาง เปลา ควรแยกออกจากบริเวณ เก็บสารเคมี -ใหสังเกตคําเตือนและขอควรระวัง - หลีกเลี่ยงการขนยายสารที่อุณหภูมิสูงกวา 260 ํซ

Page 41: VOCs

41

- หลีกเลี่ยงการตัด เชื่อม ขุดหรือมีความรอน บริเวณใกลสารเคมี - อยาเก็บไวใกลสารที่เขากันไมได - หลีกเลี่ยงการเกิดฝุน และไอระเหย - อยาเก็บสารที่ใชแลวเขาไปในภาชนะบรรจุใหม

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก(Spill and Leak Procedures) - อยาเขาไปในบริเวณสารรั่วไหลจนกวาจะทํา

ความสะอาดเสร็จ - ทําความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชํานาญ

เทานั้น - ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล

- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ใหดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยทราย หรือวัสดุ

ดูดซับที่เฉื่อย - เก็บสวนที่ร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

เพื่อนําไปกําจัด - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูก

เก็บกวาดเรียบรอยแลว - ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุสําหรับนําไปกําจัด - การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตาม

กฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.4 การกําจัดสิง่ปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :กรณีเกิดเพลิงไหมใหเลือกใชสารดับเพลิงที่

เหมาะสมสําหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

Page 42: VOCs

42

สาร 3– คลอโรโพรพีน (3-Chloropropene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี : 3- คลอโรโพรพีน 1.2 ช่ือพองอื่นๆ (Synonyms) :3-Chloropropene,Chloroallylene,

Chloropropene,3-Chloropropylene, Alpha-chloropropylene, 3-Chloroprene, 1-Chloro propene-2; 3-Chloropropene-1; 3-Chloro-1-propylene,2-Propenyl chloride, Allyl chloride.

สูตรทางเคมี : C3H5Cl 1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวกลางในการผลิต เรซิน และ

โพลิเมอร 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1100

2.2 CAS No. :107-05-1 2.3 สารกอมะเร็ง : เปนสารกอมะเร็ง มีผลตอปอด ทรวงอก

หรือระบบหายใจ และระบบยอยอาหาร ถารูสึกไมสบายใหไปพบแพทยทันที และสารนี้มีผลทําลายปอด ตับ ไต ดวงตา และผิวหนัง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :3-คลอโรโพรพีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm คา LD50 :460 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 43-45 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -130 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 295.2 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.36 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.935 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กล่ินฉุน

Page 43: VOCs

43

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : - 5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -32 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ- (Flammable Limits) -คาต่ําสุด (LEL) : 3.2 % -คาสูงสุด (UEL) : 11.2 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): 390 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : กรด ดาง สารออกซิไดซ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ฟูม/กาซที่เปนพิษของไฮโดรเจนคลอไรด (Hazardous Decomposition Products) และกาซฟอสจีน

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะไปทําลายเยื่อบุเมือกจมูก ทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเปนโรคปอดบวมเนื่องจากสารเคมี หายใจถี่เร็ว ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน : การกลืนหรือกินเขาไป จะมีผลแสบไหมบริเวณลําคอ หลอดลม ทําใหไอ วิงเวียนศีรษะ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้จะซึมผาน [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ผิวหนังอยางรวดเร็ว

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตา ทําใหน้ําตาไหล

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก (Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่นๆ ตามที่

Page 44: VOCs

44

กําหนดไวในการเก็บรักษา 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : สารที่ชวงความเขมขนไมเกิน 25 ppm (Respiratory Protection Type) ใหใช อุปกรณชวยหายใจประเภทที่ใช

การสงอากาศสําหรับการหายใจ ซ่ึงมีอัตราการไหลของอากาศอยางตอเนื่อง โดยมีคา APF. = 25

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดรองเทาและเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที ใชนิ้วถางแยกเปลือกตาออกใหกวางเพื่อใหมั่นใจวาลางน้ําออกอยางทั่วถึง

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 มิลลิลิตร เพื่อเจือจางสารเคมีในทอง นําสงแพทยทันที

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

- เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศ ที่ดี

Page 45: VOCs

45

- เก็บหางจากแหลงความรอน ประกายไฟ และเปลวไฟ - ใชในตูดูดควันสําหรับสารเคมีเทานั้น - อยาหายใจเอาไอสารระเหยเขาไป

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ใหอพยพบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของออก

จากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล - สวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศ

ในตัว (SCBA) รองเทาบูท ถุงมือยาง - ดูดซับสารที่หกร่ัวดวยวัสดุดูดซับสารที่หก

และเก็บใสในภาชนะบรรจุที่มิดชิดสําหรับนําไปกําจัดตอไป

- ระบายอากาศในพื้นที่ที่หกร่ัวไหลและลางทําความสะอาดบริเวณที่หกร่ัวไหลภายหลังจากการเก็บกวาดเรียบรอยแลว

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods):ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ กําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟม

*************************************

Page 46: VOCs

46

สารไดคลอโรมีเทน (Dichloromethane) หรือ สารเมทธิลลีน คลอไรด (Methylene chloride)) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี:ไดคลอโรมีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :Methylene dichloride,Methane dichloride,

R 30, Aerothene MM , Refrigerant 30 , Freon 30 , DCM , Narkotil , Solaesthin , Solmethine, Plastisolve, Methylene chloride Dichloromethane, F 30 (chlorocarbon) , HCC30,Khladon 30,Methylene bichloride, Narkotil,NCI-C50102, RCRA waste number U080,Solaesthin , Soleana VDA, Solmethine

สูตรทางเคมี : CH2Cl2

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารเคลือบฟน 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number : 1593

2.2 CAS No. : 75-09-2 2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้อาจเปนสารกอมะเร็งจากการ

ทดสอบในหองปฏิบัติการ และสารนี้ทําลายปอด ระบบประสาท ทําใหเกิดเนื้องอก อาจเปนสารที่กอใหเกิดการกลายพันธุอยางออนในสัตวที่เล้ียงลูกดวยนม

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :ไดคลอโรมีเทน หรือ เมทธิลลีนคลอไรด เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm คา LD50 : 1,600 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 39.8 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง :-97 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 340 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 2 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.326

Page 47: VOCs

47

4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กล่ินคลายอีเธอร 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL): 13 % - คาสูงสุด (UEL): 23 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): 640 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สวนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทําใหเกิดการระเบิด

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :ดาง สารออกซิไดซ โลหะอัลคาไลน อลูมิเนียม ผงแมกนีเซียม โซเดียม ลิเธียม โปแตสเซียม

สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : การสัมผัสกับเปลวไฟ การเชื่อมไฟฟา และวัสดุผิวรอน

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คลอรีน กรดเกลือ และกาซฟอสจีน (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเ คื อ ง และถ า ได รั บปริ ม าณมากจะกอใหเกิดอาการมึนงง ปวดศีรษะ งวงซึม หัวใจเตนผิดปกติ หมดสติ และตายได

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคือง อาจทําใหเปนโรคมะเร็งได

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง ทําใหตาเจ็บ

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure ,Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm

Page 48: VOCs

48

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสวนผสมไอระเหยกับอากาศ (Fire and Explosion Prevention) อาจเกิดการระเบิดได หลีกเลี่ยงจากแหล

ความรอน แหลงจุดติดไฟ เปลวไฟ การเชื่อมไฟฟา และวัสดุผิวรอน

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : เลือกหนากากที่ปองกันความเขมขน (Respiratory Protection Type) ในชวง ที่เหมาะสม และมีตัวดูดซับที่ เหมาะสมในการกรอง

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหลางออกดวยสบูและน้ํา

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีโดยใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไปใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : การกลืนหรือกินเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอกระเพาะอาหาร อาเจียน ถาหายใจเอาสารนี้เขาไปขณะที่อาเจียน จะทําให เปนโรคปอดบวม และมีผลตอรางกาย และถามีสารนี้ปริมาณมากจะมีผลตอเลือด ตับ ไต และระบบประสาทสวนกลาง

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

-เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการระบายอากาศเพียงพอ

Page 49: VOCs

49

-เก็บหางจากแหลงความรอน เปลวไฟ ประกายไฟ -ในระหวางการเคลื่อนยายอยาหายใจเอาไอระเหยหรือละอองเขาไป อยาใหเขาตา ผิวหนัง หรือปนเปอนเสื้อผา - ภาชนะบรรจุที่ เปนถังเปลา แตมีกากสาร เคมี ตกค า งอยู เ ช น ไอระ เหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล

ใหอพยพคนที่ไมเกี่ยวของออกจากพื้นที่ - ขจัดแหลงที่จะเกิดการจุดติดไฟ

จนกระทั่งพื้นที่ดังกลาวปลอดภัยจากการระเบิดหรืออันตรายจากอัคคีภัย

-ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่เหมาะสม

- ควบคุมสวนที่หกร่ัวไหลและแยกออกจากแหลงสารเคมีนั้น ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

- เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด และน้ําฉีดเปนฝอย

*************************************

Page 50: VOCs

50

สาร 1,1-ไดคลอโรอีเทน (1,1-Dichloroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี : 1,1-ไดคลอโรอีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :Ethylidene dichloride; 1,1-Ethylidene

dichloride,Chlorinated hydrochloric ether สูตรทางเคมี : C6H4Cl2

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด (PVC) 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2362

2.2 CAS No. :75-34-3 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้เปนสารกอมะเร็ง ประเภท 4 A ไม

จัดวาเปนสารกอมะเร็งในคน แตเปนสารที่เปนหวงวาอาจจะเกิดมะเร็งในคน แตไมสามารสรุปไดเนื่องจากขาดขอมูล

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,1 ไดคลอโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm คา LD50 :725 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 57 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -97 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :180 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.5 กรัม / 100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.174 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน :ของเหลว เปนน้ํามัน ไมมีสี กล่ิน (Appearance colour and Odor) เฉพาะตัวคลายคลอโรฟอรม 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -17 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :5.4 % (LFL) :5.4 %

Page 51: VOCs

51

- คาสูงสุด (UEL):11.4 % (UFL) :11.4 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature):660 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้เปนสารไวไฟมาก สามารถลุกติดไฟที่อุณหภูมิหอง และไอระเหยของสารนี้หนักกวาอากาศ จึงทําใหสามารถติดไฟยอนกลับไดและสารนี้ จะทํ าปฏิกิ ริยารุนแรงกับสารอัลคาไลด เอิ รท และโลหะอัลคาไลด

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลด สารอัลคาไลดเอิรท และพลาสติก เนื่องจากสารนี้จะกัดกรอนพลาสติก

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซคารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) กาซคารบอนไดออกไซด กาซไฮโดรเจน

คลอไรด กาซฟอสจีน 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : แหลงที่เกิดประกายไฟ เปลวไฟ ความ

รอน และแหลงจุดติดไฟ 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก :การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง ตอทางเดินหายใจ

:การกลืนกินเขาไป ทําใหเกิดอันตรายได 6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสทางผิวหนังเปนเวลานาน ๆ จะ[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนัง : การสัมผัสถูกตาจะกอใหเกิดการระคายเคือง 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - ( Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : สารนี้มีผลทําลาย ตับ และ ไต ทําให ( Effects of Over Exposure ,Long – term) เปลี่ยนแปลงกรรมพันธุ ระบบประสาท

สวนกลางอาจถูกทําลาย สารนี้จะทําลายตับ ไต ระบบประสาท

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :100 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

Page 52: VOCs

52

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงการสัมผัส แหลงความรอน (Fire and Explosion Prevention) ประกายไฟ เปลวไฟ และแหลงจุดติด

ไฟอ ื่น ๆ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน (Respiratory Protection Type) ของสาร 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที นําสงแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัด ใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : - 8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ –เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศ (Handling and Storing) เพียงพอ

- เก็บในภาชนะที่ปดมิดชิด - เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟ ประกายไฟ และแหลงความรอนอ่ืน ๆ - เก็บในที่แหง และเย็น - หามสูบบุหร่ีในสถานที่เก็บ

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก - อพยพบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกจากพื้นที่ (Spill and Leak Procedures) ที่หกรั่วไหล

Page 53: VOCs

53

- สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (PPD/ PPE) ใหเหมาะสม

- ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุเฉื่อยประเภททรายแหง หินแรเวอรไมคิวไลท (VERMICULITE) และเก็บใสในภาชนะบรรจุเพื่อนําไปกําจัดตอไป

- ระบายอากาศและลางทําความสะอาด ภายหลังจากสารที่ ร่ั ว ไหล เก็บกวาดเรียบรอย

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชแอลกอฮอลโฟม

****************************************

Page 54: VOCs

54

สาร ซีส - 1,2 – ไดคลอโรเอทธิลลีน (Cis - 1,2- Dichloroethylene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี : ซีส - 1,2- ไดคลอโรเอทธิลลีน 1.2 ช่ือพองอื่นๆ (Synonyms) : (Z) -,2-dichloroethane; Ethene, 1,2

dichloro-,(Z)- (9cl); R1130c; Hcc 1130 c; 1,2 –Dichloroethylene(cis) ; (Z)-1,2- dichloroethene; Cis 1,2-dce; Cis-dichloroethylene; (Z)-1,2-dichloroethylene; Cis-Acetylene dichloride; Cis-1,1-Dichloroethane; Dichloroethylene, 1,2 –cis

สูตรทางเคมี : C2H2Cl2

1.3 การใชประโยชน(Use) : - 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number : -

2.2 CAS No. :156-59-2 2.3 สารกอมะเร็ง :-

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :ซีส - 1,2- ไดคลอโรเอทธิลลีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - คา LD50 : - 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 60-61 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -80.5 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 400 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 41 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : - 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.291 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กล่ินฉุน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 55: VOCs

55

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 4 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL): 9.7 % - คาสูงสุด (UEL): 12.8 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): -

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้เปนของเหลวไวไฟ ไอระเหยของสารนี้สามารถไหลแพรกระจายไปสูแหลงจุดติดไฟ และเกิดติดไฟยอนกลับมาได และสารนี้จะสลายตัวเมื่อสัมผัสถูกอากาศ ความชื้น และแสง

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ ดาง 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกิดฟูม /กาซพิษของไฮโดรเจนคลอ ไรด (Hazardous Decomposition Products) คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด

ฟอสจีน 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก : การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อบุทางเดินหายใจสวนบน และอาจเปนอันตรายได : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง และอาจไดรับ

อันตรายได ถาสารนี้ถูกดูดซึมผานผิวหนงัเขาสูรางกาย : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง ตาแดง

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : -

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)

Page 56: VOCs

56

7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information) 7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ เบส เก็บในที่ (Fire and Explosion Prevention) แหงและเย็น มีการระบายอากาศเพียงพอ

หางจากแหลงจุดติดไฟ และเก็บในภาชนะที่ปดมิดชิด

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอเหมาะสม

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน (Respiratory Protection Type) ของสาร 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือที่ทําจากวัสดุที่เหมาะสม (Hand Protection) 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): ใชแวนตาที่เหมาะสม

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดเสื้อผา และรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ลางและทําความสะอาดกอนนําไปใชอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ ทันที อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย

: ถากินหรือกลืนเขาไป และผูปวยยังมีสติอยู ใหบวนลางปากดวยน้ําสะอาด นําไปสงพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : - 8. ขอปฏิบัตทิี่สําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเกบ็ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมดิชิด - เก็บในที่แหง และเยน็

Page 57: VOCs

57

- เก็บในที่ที่มกีารระบายอากาศเพียงพอ - เก็บใหหางจากแหลงจดุติดไฟ - หลีกเลี่ยงการหายใจเอาสารนี้เขาไป การสัมผัสถูกตา ผิวหนัง และเสื้อผา - หามสูบบุหร่ีบริเวณที่เก็บสารเคมี - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังการเคลื่อนยาย

- ติดตั้งที่อาบน้ํา และที่ฉีดลางตาฉุกเฉิน - ใชเฉพาะในบริเวณที่มีตูดดูควันสารเคมีเทานั้น

8.2 การปองกนัการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกนัการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - อพยพบุคคลที่ไมเกี่ยวของออกจาก

บริเวณทีห่กร่ัวไหล - ปดกัน้ของแหลงการจุดตดิไฟทั้งหมด - สวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถัง

อากาศในตวั(SCBA) รองเทาบูท และถุงมือยาง

- ดูดซับสารที่หกร่ัวไหลดวยทราย หรือหินแรเวอรมิควิไลท และเกบ็ใสในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด สําหรับนาํไปกําจัดตอไป

- ระบายอากาศและลางทําความสะอาดหลังจากเก็บกวาดสารที่หกร่ัวไหลเรียบรอยแลว

- การกําจดั ใหเผาในเตาเผาสารเคมีที่มีเตาเผาขั้นที่สอง และระบบกําจัดมลพิษ

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชน้ําฉีดเปนฝอย ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด หรือโฟมที่เหมาะสม

****************************************

Page 58: VOCs

58

คลอโรฟอรม (chloroform) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี: คลอโรฟอรม 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Methyl trichloride; Chloroform; Refrigerant R20;

Formyl trichloride; Methane trichloride; Methenyl trichloride; Trichloroform; R20; R20(refrigerant); Chloroform;Trichloromethane;NCI-C02686; RCRA waste number U044

สูตรทางเคมี : CHCl3

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนตัวทําละลาย สกัดสารเปนตัวทําละลายสารโพลีคารบอเนต และสารอื่น ๆ

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1888

2.2 CAS No. :67-66-3 2.3 สารกอมะเร็ง :ผลกระทบจากการสัมผัสกับของเหลว จะทําให

ไขมันถูกทําลาย อาจทําใหผิวหนังมีการระคายเคืองเร้ือรัง ทําใหผิวหนังแหง และเกิดผิวหนังอักเสบได สารคลอโรฟอรมนี้ถูกสงสัยวาจะเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : คลอโรฟอรม เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :10 ppm คา LD50 : 908 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 62 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -63.5 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 160 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.8 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.48 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :เปนของเหลว ไมมีสี กล่ินอีเทอร 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

Page 59: VOCs

59

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL): - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): - ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เมื่อเปดทิ้งไวในที่ที่มีแสง เปนระยะเวลานาน ทําให pH ลดลง เนื่องจากการเกิดสารไฮโดรคลอลิก (HCl)

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารที่มีความกัดกรอนอยางรุนแรงและสารเคมีทีมีความวองไว เชน อลูมิเนียม ผ ง แ ม ก นี เ ซี ย ม โ ซ เ ดี ย ม ห รื อ โพแทสเซียม อะซีโตน ฟูโอลีนเมทธานอล โซเดียมเมททอกไซด ไดไนโตรเจนเตตอกไซด เทรท-บิวทอกไซด

สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน แสง อากาศ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด ฟอสจีน (Hazardous Decomposition Products) ไฮโดรเจน คลอไรด คารบอนไดออกไซด

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเขาไป ทําใหรางกายหมดความรู สึกหรือสลบได ทําให เกิดการระคายเคืองตอระบบการหายใจ และมีผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง มีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ถาหายใจเอาสารที่มีความเขมขนสูงเขาไป จะทําใหหมดสติ และถึงตายได ทําใหไตถูกทําลาย เกิดความผิดปกติของระบบเลือด การสัมผัสเปนเวลานาน จะนําไปสูความตายได ทําใหการเตนของหัวใจผิดปกติ ตับ และไตผิดปกติ :การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกิดแผลไหมบริเวณปาก ลําคอ ทําใหเกิดอาการเจ็บหนาอก และอาเจียนได การกลืนเขา

Page 60: VOCs

60

ไปปริมาณมาก จะกอใหเกิดอาการคลายกับการหายใจเขาไป

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหระคายเคือง [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ตอผิวหนัง มีผ่ืนแดงและมีอาการเจ็บปวด

ทําลายน้ํามันธรรมชาติในรางกาย สารนี้สามารถซึมผานผิวหนังได : การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้จะทําใหเกิดการเจ็บปวด และระคายเคืองตอตา ถาสารเคมีกระเด็นเขาตา จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอตาอยางรุนแรง และอาจทําใหตาบอดได

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ถาสัมผัสไอระเหยของสารนี้เปนเวลา- (Effects of Over Exposure , Long – term) นานหรือสัมผัสถูกสารเคมีบอย ๆ อาจจะ

ทําใหระบบประสาทสวนกลาง หัวใจ ตับ และไต ถูกทําลายได

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 10 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : - 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขน

(Respiratory Protection Type) ตามที่ NIOSH แนะนํา 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใชถุงมือที่ทําจากวัสดุประเภท Supported

(Hand Protection) Polyvinyl Alcohol ซ่ึงควรจะมีระยะเวลาที่จะทําใหเกิดการซึมผานผนังของถุงมือมากกวา360นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): - 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : -

Page 61: VOCs

61

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง

ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปรอะเปอนสารเคมีออก ทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนนํามาใชอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาผูปวยหายใจลําบาก ควรใหออกซิเจน และนําผูปวยสงแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากลืนกินสารนี้เขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ควรใหน้ําปริมาณมาก ๆ ถาผูปวยหมดสติ หามมิให ส่ิงใดเขาปาก และใหอยูในความดูแลของแพทยโดยทันที เมื่อนําผูปวยสงโรงพยาบาล ควรแจงอาการใหแพทย เนื่องจากผูปวยควรไดรับการรักษาภายใน 24-48 ช่ัวโมง เพราะอาจทําใหมีผลกระทบตอ ไต และตับได ของเหลวที่อยูภายในไต ไมสามารถชวยปองกันสารเคมีได ขอสังเกตไดจากการนําน้ําปสสาวะของผูปวยมาวิ เคราะหและทดสอบกลูโคสที่อยูในเลือด เอกซเรยหนาอก และตรวจสอบสถานะของไหล

อิเล็กโตรไลท ไดฟลฟรัม ซ่ึงอยูในเมตาบอ ลิ ซึ ม และอ าห า รขอ งผู ป ว ยที่ มีคารโบไฮเดรตสูง จะสามารถปองกันและตอตานสารพิษจากคลอโรฟอรมไดโดยที่ไมจําเปนตองใหน้ําเกลือ

Page 62: VOCs

62

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ไมถูก

แสงแดด - เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - แยกออกจากสารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจุสารนี้อาจเกิดอันตรายไดเมื่อเปนถังวางเปลา เนื่องจากสารเคมีที่ตกคางทั้งไอระเหยและของเหลว ใหสังเกตปายเตือนและขอความระมัดระวังสําหรับสารนี้ทั้งหมด - ช่ือทางการขนสง คือ คลอโรฟอรม (Chloroform)

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก -วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล ใหระบบ (Spill and Leak Procedures) อากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล - สวมใสอุปกรณปองกันสวนตัวที่เหมาะสม - ใหกั้นพื้นที่ที่มีอันตรายออก - ไมจําเปนตองควบคุมและปกปองบุคคลที่

จะเขาไป - ใหเก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหม

ถาเปนไปได - เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่

เหมาะสมหรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อยในการดูดซับสาร เชน แรหิน ทราย (vermiculite) ทรายแหง คิน (earth) และเก็บใสในภาชนะบรรจุกากของเสียจากสารเคมี อยาใชวัสดุติดไฟไดเชน ขี้เล่ือย

- อย าฉีดล างลงทอระบายน้ํ า ใหมีการรายงานการหกรั่วไหลลงสูดิน น้ํา และอากาศมากเกินกวาปริมาณที่ตองรายงาน

- การพิจารณาการกําจัดไมวาสารอะไรก็ตามจะไมสามารถทําไดอยางปลอดภัยในการ

Page 63: VOCs

63

นํา เอากลับคืนมาใชใหมจะตองจัดการ เชนเดียวกับกากของเสียและสงใหผูซ่ึงไดรับอนุญาตในการกําจัดซึ่งตองปฏิบัติตามกฏระเบียบขอบังคับของทางราชการ

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชวิธีการทเีหมาะสมสําหรับการดับเพลิง

โดยรอบ

*******************************************

Page 64: VOCs

64

สาร 1,1,1- ไตรคลอโรอีเทน (1,1,1,- Trichloroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี: 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน 1.2 ชือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Trichloroethane, Methyl trichloromethane,

Methyl Chloroform, Chlorothene NU, Chlorothene VG, Chlorothene, Alpha-trichloroethane, 111-Tce, Aerothene tt, Sovent111, Chloroetene,Tri-ethane; 1,1,1-Trichloroethane(Methyl Chloroform) .

สูตรทางเคมี : C2H3Cl3 1.3 การใชประโยชน(Use) : สารซักแหง ทํากาวและสารยึดเกาะ

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number : 2831

2.2 CAS No. :71-55-6 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,1,1-ไตรคลอโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภยั(TLV) :350 ppm คา LD50 : 9,600 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 74 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง :-32 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 100 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้าํ(Solubility in water) : 0.13 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจาํเพาะ(Specific Gravity) : 1.34 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : ของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายคลอโรฟอรม

ออน ๆ 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอคัคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -

Page 65: VOCs

65

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด(LEL) :7.5 % - คาสูงสุด (UEL) :12.5 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :500 ํ ซ

5.4 การเกิดปฏกิิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอร จะเกดิขึ้นเมื่อสัมผัสกับสารอลูมิเนียมไตรคลอไรด

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : ออกซิเจน ออกซิเจนเหลว โซเดียม โซเดียมไฮดรอกไซด โลหะผสมโซเดียม-โพแทสเซียม อัลคาไลด สารออกซิไดซ อลูมิเนียม ไนโตรเจนเตทริกไซด

5.6 สารอันตรายที่เกดิจากการสลายตัว : ทําใหเกิดกาซคารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนคลอไรด

และฟอสจีน 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ มีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ทําใหปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ออนเพลีย คล่ืนไส ถาสัมผัสที่ความเขมขนสูงกวา 500 ppm อาจทําใหการเตนของหัวใจผิดปกติ ตับ และไต ถูกทําลาย ความดันโลหิตลดต่ําลง หมดสติ และอาจเสียชีวิตได :การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง คล่ืนไส อาเจียน และเกิดอาการเชนเดียวกับการหายใจเขาไป

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกิดการระคาย- [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองเล็กนอย ผ่ืนแดง ถาสัมผัสถูกสารนี้นาน ๆ

จะทําใหผิวหนังแหงและตกสะเก็ด : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา น้ําตาไหล ตาแดง เจ็บตา :สารนี้มีผลทําลายระบบประสาทสวนกลาง ตับ ไต

Page 66: VOCs

66

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure, Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภยั ( TLV) : 350 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภยั (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกนัไฟและการระเบิด : ปองกันไมใหไอระเหยของสารนี้ไหล (Fire and Explosion Prevention) แพรกระจายไปบนพื้นสูแหลงจุดติดไฟ เกดิ

ติดไฟยอนกลับมาได 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : เก็บในบริเวณที่เย็น และแหง เก็บในบริเวณ

ที่มีการระบายอากาศเพียงพอ 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหเลือกอุปกรณที่เหมาะสมกบัชวงความ (Respiratory Protection Type) เขมขน เชน สารที่มีชวงความเขมขนไมเกิน

700 ppm ใหใชอุปกรณสงอากาศสําหรับหายใจ (Supplied-air respirator) โดยมีคา APF. = 10 หรือชนิดอื่นที่มีความเหมาะสม

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางดวยสบู และน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่เปอนสารเคมีออก ลางและทําความสะอาดกอนนําไปใชอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆอยางนอย 15 นาที หรือจนกวาสารจะออกหมด นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไปใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : -

Page 67: VOCs

67

8. ขอปฏิบตัิท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

- เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีการระบายอากาศเพียงพอ - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - แยกเก็บหางจากแหลงความรอน และแหลงจุดติดไฟ - ภาชนะบรรจุของสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได - อยาใชอุปกรณหรือภาชนะบรรจุที่ทําจากวัสดุอลูมิเนียม การสัมผัสกับอลูมิเนียมภายใตของเหลวอัดความดันจะทําใหเกิดปฏิกิริยาอยางรุนแรง - ลางและทําความสะอาดใหทั่วภายหลังจากการเคลื่อนยาย

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : เก็บสารนี้ในสารยับยั้ง เพื่อปองกันการกดักรอนโลหะ

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ระบายอากาศบริเวณทีห่กร่ัวไหล - เคลื่อนยายแหลงของการจุดตดิไฟออกใหหมด - สวมใสอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคล ที่เหมาะสม - กั้นแยกพื้นทีอั่นตราย - ควบคุมบุคคลที่ไมมีหนาทีจ่ําเปนและไมมีอุปกรณปองกนัอันตรายเขาไป - ใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ไมกอใหเกิดประกายไฟ - เก็บของเหลวใสในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม หรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อย เชน หินแรเวอรไมคิวไรท ทรายแหง ดิน และเกบ็ในภาชนะบรรจุกากของเสียของสารเคมี หามใชสารที่ติดไฟได เชน ขี้เล่ือย

Page 68: VOCs

68

- อยาฉีดลางลงไปในทอระบายน้ํา - อยาใชภาชนะบรรจุที่ทําจากวสัดุอลูมิเนียม แมกนีเซยีม หรือโลหะสังกะส ี

8.4 การกําจัดสิง่ปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบยีบที่ทางราชการ กําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : น้ํา ผงเคมีแหง โฟมที่เหมาะสม Carbon dioxide

********************************************

Page 69: VOCs

69

สารเบนซีน (Benzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี : เบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Phenyl hydride, Coal naphtha, Benzol,

Benzine, Benzolene, Phene, (6)annulene, Bicarburet of hydrogen, Carbon oil, Mineral naphtha, Motor benzol, Nitration benzene, Pyrobenzol, Benzene, Cyclohexatriene.

สูตรทางเคมี : C6 H6

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชในกระบวนการผลิตเอทธิล เบนซีน คูมีน ไซโคลเฮกเซน ไนโตรเบนซีน ดีเทอเจนอัลคีเลท คลอโรเบนซีน และมาลีอิกแอนไฮไดร เบนซีนจะถูกใชเปนสารตัวทําละลาย และสารทําปฏิกิริยาในหองปฏิบัติการ

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1114

2.2 CAS No. :71-43-2 2.3 สารกอมะเร็ง - สารนี้จัดเปนสารกอมะเร็งตามบัญชีรายช่ือ

IARC NTP ACGIH - เบนซีนจะกอใหเกิดมะเร็งตอระบบน้ําเหลือง

ปอด กระเพาะปสสาวะ - สารนี้สามารถแพรผานรกได แตจะไมกอใหเกิด

ผลกระทบตอตัวออนในครรภ - การสัมผัสเบนซีนที่มีความเขมขนสูง อาจ

กอใหเกิดผลกระทบตอระบบสืบพันธุ และมีผลกระทบตอประจําเดือนในเพศหญิงได

- สารนี้สามารถกอให เกิดการเปลี่ยนแปลง กอใหเกิดความผิดปกติของโครโมโซมในเม็ดเลือดขาว กอใหเกิดการทําลาย DNA ในเซลลเม็ดเลือดได

- จากทดลองในสัตวพบวาการสัมผัสจะกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของ เอทธานอลในระบบเลือดได

Page 70: VOCs

70

- เบนซีนสามารถดูดซึมเขาสูรางกายไดอยางรวดเร็วโดยทางการหายใจ และการกลืนกินและกระจาย สูสวนตาง ๆ ของรางกายอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะในเนื้อเยื่อไขมัน และเบนซีนจะเกิดเมตาโบลิซึมขั้นแรกที่ตับ และผานเขาสูไขกระดูก และทําใหมีความเปนพิษขึ้น ในมนุษยคาครึ่งชีวิตของเบนซีน คือ 1-2 วัน และสารนี้ไมมีแนวโนมที่จะเกิดการสะสม โดยสารนี้จะถูกปลอยออกมาพรอมกับลมหายใจออกผานทางปอด และพบขับออกมาพรอมกับปสสาวะ

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : เบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 0.5 ppm คา LD50 : 930 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 80 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 5.5 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 75 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.18 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.877 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี กล่ินเฉพาะตวั

อะโรมาติกไฮโดรคารบอน 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 11 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด(LEL) : 1.3 % - คาสูงสุด : 7.1 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 498 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : -

Page 71: VOCs

71

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โซเดียมเปอรออกไซด โพแทสเซียมเปอรออกไซด โครมิกแอนไฮไดร ไนตริกแอซิค โอโซน ไดโบแรม อินเตอรฮาโลเจน ไดฟลูออไรด เตตระฟลูออโรบอเรต เปอรแมงกานิกแอซิค เมทัลเปอรคลอเรต ไนตริลเปอรคลอเรต

5.6 สารอันตรายที่เกดิจากการสลายตัว :คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) อัลดีไฮด และคีโตน 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :ประจุไฟฟาสถิต ประกายไฟ ความรอน

และแหลงจุดติดไฟ 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก :การหายใจเอาสารนี้เขาไป ผลกระทบของการสัมผัสสารนี้ จะไปกดระบบประสาทสวนกลางกอใหเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ งวงซึม ปวดศีรษะ คล่ืนไส เกิดภาวะการทํางานไมประสานกัน มึนงง และทําใหหมดสติได การสัมผัสสารนี้ที่ความเขมขน 25 ppm คาดวาจะไมกอใหเกิดอันตราย การสัมผัสสารนี้ที่ความเขมขน 50-150 ppm จะกอใหเกิดอาการปวดศีรษะ และออนเพลีย กอใหเกิดการระคายเคืองตอจมูก และลําคอ อาจจะมีอาการเวียนศีรษะ เปนอาการนํากอนเกิดอาการอื่น ๆตามมา การสัมผัสสารนี้ที่มีความเขมขนประมาณ 20,000 ppm จะทําใหเสียชีวิต สารนี้กอใหเกิดผลกระทบตอระบบเลือดและระบบภูมิคุมกันจากการทดลองในสัตวทดลอง แตยังไมยืนยันวาสามารถกอใหเกิดผลกระทบตอมนุษยในการสัมผัสสารในระยะสั้น : การกลืนหรือกินเขา สารนี้จะเกิดการดูดซึมอยางรวดเร็วและมีฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลาง กอใหเกิดอาการคลายหายใจเขาไป พบวาสารนี้สามารถกอใหเกิดผลกระทบตอ

Page 72: VOCs

72

ระบบเลือด และระบบภูมิคุ มกันได ในสัตวทดลอง แต ยั งไมมี รายงานยืนยันผลกระทบดังกลาวในมนุษย

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จากการทดลองในสัตว [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] พบวาการสัมผัสสารนี้จะกอใหเกิดการระคาย เคืองตอผิวหนังเล็กนอย จากการศึกษาใน

มนุษยพบวาสารนี้สามารถดูดซึมผานเขาสูรางกายได ทําใหผิวหนังแหง : การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารกอใหเกดิการการระคายเคืองตอตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ทําใหเกิดผ่ืนแดง ผิวหนังแหง อักเสบ (Effects of Over Exposure , Long – term) และทําให เกิดการสูญเสีย / ทําลายชั้น

ไขมันของผิวหนัง สารนี้กอใหเกิดการลดลงของจํานวนเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือด แตในระยะเวลานาน จะกอใหเกิดภาวะโลหิตจางและเกิดความผิ ด ป ก ติ ต อ เ ม็ ด เ ลื อ ด ข า ว ( leukemia) เนื่องจากเบนซีนจะไปทําลายไขกระดูกซึ่งมีหนาที่ในการผลิตเม็ดเลือด จึงทําใหเกิดภาวะโลหิตจาง และเกิดความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ( leukemia)ขึ้น รวมทั้ งจะกอใหเกิดผลกระทบตอระบบภูมิคุมกัน นอกจ ากนั้ นพบว า เ บนซี นส าม า รถกอใหเกิดผลกระทบตอปลายประสาทและไขสันหลัง ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อย เมื่อยลา นอนไมหลับ และความจําเลอะเลือน

6.5 คามาตรฐานความปลอดภยั (TLV) : 0.5 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก

Page 73: VOCs

73

(Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอน และมาตรการอื่นๆ ตามที่ กําหนดไวในการเก็บรักษา (ตามขอ 8)

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ระบบระบายอากาศที่ใชจะตองเปนระบบที่ปองกันการเกิดประกายไฟ และอุปกรณเครื่องมือไฟฟาที่ใชจะตองปองกันการระเบิด

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน (Respiratory Protection Type) ของสาร

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection): - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ): -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําอุนเปนเวลาอยางนอย 20 นาที หรือจนกวาสารจะหลุดออกหมด พรอมทั้งถอดรองเทาและเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําอุนเปนเวลาอยางนอย 20 นาที หรือจนกวาสารจะหลุดออกหมด ใชนิ้วถางแยกเปลือกตาออก ขณะทําการลาง และใหระวังอยาใหน้ําจากการลางตาไหลเขาสูตาอีกขางหนึ่ง นําสงแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย หากผูปวยหัวใจหยุดเตนใหทําการกระตุนหัวใจทันที (CPR) นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป หามมิใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ หารผูปวยยังมีสติอยูใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ําอยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-

Page 74: VOCs

74

300 ml (8-10 ออนซ) เพื่อเจือจางสารเคมีในกระเพาะอาหาร หากผูปวยเกิดการอาเจียนขึ้นเองใหเอียงศีรษะต่ํา และอยาหายใจเอาไอของสารที่เกิดจากการอาเจียนเขาไป และใหผูปวยดื่มน้ําตามมาก ๆ นําสงแพทยทันที

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) -เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด ปองกัน

การสัมผัสกับแสงโดยตรง -เก็บในที่เย็นและแหง มีการระบายอากาศที่ดี -เก็บหางจากแหลงความรอน แหลงจุดติดไฟ พื้นผิวที่รอน สารออกซิไดซ สารกัดกรอน สารที่เขากันไมได ประกายไฟ และเปลวไฟ -เก็บในบริเวณที่หามสูบบุหร่ี -บริ เ วณที่ เ ก็ บสารจะต อ งไมมี ส ารที่สามารถลุกติดไฟได - ในบริเวณที่เก็บจะตองมีอุปกรณดับเพลิง และอุปกรณสําหรับเก็บกวาดสารที่หกร่ัวไหล

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures)-ใหกั้นแยกพื้นที่ที่เกิดอุบัติเหตุหกร่ัวไหล

- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม - จัดใหมีการระบายอากาศในบริเวณที่เกิดการหกรั่วไหล และใหเคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป - ใหหยุดการรั่วไหลหากสามารถทําไดอยางปลอดภัย - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย ดิน และวัสดดุูดซับที่ไมเกิดปฏิกิริยากับสารเคม ี- กรณกีารหกรัว่ไหลเล็กนอย ใหดดูซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุดูดซับที่ไมเกิดปฏิกิริยา

Page 75: VOCs

75

กับสาร และเกบ็ใสในภาชนะที่เหมาะสม ทําการติดฉลากภาชนะบรรจุ แลวลางบริเวณสารหกร่ัวไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - วัสดุดดูซับสารที่เปรอะเปอนจะตองไดรับการกําจัดเชนเดยีวกับของเสีย - กรณหีกร่ัวไหลรุนแรง ใหทําการติดตอหนวยฉุกเฉนิ และหนวยบริการดับเพลิง - การทําความสะอาดอยาสัมผัสกับสารที่หกร่ัวไหล - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ และบริเวณที่อับอากาศ

8.4 การกําจัดสิง่ปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบยีบทีท่างราชการกาํหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชชนิดเดียวกับที่ใชกับของเหลวไวไฟ

***********************************

Page 76: VOCs

76

สารอะครีโลไนไตร (Acrylonitrile) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี : อะครีโลไนไตร ช่ือพองอื่น ๆ(Synonyms) :Propenenitrile;Cyanoethylene;ACN;

Fumigrain;Propenonitrile;AN;Miller's fumigrain; TL 314; VCN; Propenitrile; Acrylonitrile

สูตรทางเคมี :CH2 :CHCN 1.2 การใชประโยชน(Use) :สารนี้ใชในการผลิตสาร ABS ใชเปนสาร

รมควัน ใชในการ grafting แปง ใชในการแยกสารดวยไฟฟา

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1093

2.2 CAS No. :107-13-1 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้สงสัยวาเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :อะครีโลไนไตร เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 2 ppm คา LD50 :78 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boilling Point) :77.3 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -82 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 83 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :7 กรัม/100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.806 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว เหลืองใส กล่ินฉุน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) :7.5 ที่ 20 ํซ

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :-1.11 ํC 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL) :3.0 %

Page 77: VOCs

77

คาสูงสุด (UEL) :17 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :481 ํC

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :จะเกิดปฏิกิ ริยาโพลิเมอรอยางรุนแรงในสารอัลคาไลดเขมขน อาจทําใหเกิดปฏิกิริยาที่รุนแรง และปฏิกิริยาเมื่อสัมผัสออกซิเจนหรือแสง

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ กรด เบส อัลคาไลด โบรมีน ทองแดง และโลหะผสมทองแดง และสภาวะที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน เชน การเกิดปฏิกิริยาโพลิเมอรเซชั่น เมื่อสัมผัสกับออกซิเจน แสง ความรอน และแหลงที่เกิดประกายไฟ

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ไฮโดรเจน ไซยาไนด ไนโตรเจนไดออกไซด (Hazardous Decomposition Products) และออกไซดของคารบอน

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) :ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดอาการ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ น้ําตาไหล จาม เจ็บคอ หายใจติดขัด คล่ืนไส รูสึกออนเพลีย หมดสติ และอาจถึงตายได :การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดอันตรายได มีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ น้ําตาไหล จาม คล่ืนไส ออนเพลีย หมดสติ และอาจถึงตายได

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองตอผิวหนัง เกิดผ่ืนแดง สารนี้ดูดซึมผาน

ผิวหนังไดดี :การสัมผัสถูกตา ทําใหเกิดการระคายเคืองตอตา น้ําตาไหล

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure, Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term)

Page 78: VOCs

78

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 2 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ อัลคาไลด (Fire and Explosion Prevention) ปฏิกิริยาโพลิเมอร ออกซิเจน หรือแสง ความ

รอน และแหลงที่ทําใหเกิดประกายไฟ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ (Respiratory Protection Type): ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ สาร โดยสอบถามจากบริษัทหรือตวัแทน จําหนาย

7.1.4 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : - 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที

ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ 7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีโดยใหน้ํา

ไหลผานตาอยางนอย 15 นาที 7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสู

บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด และถาผูปวยยังสามารถหายใจไดควรใหเอมิลไนไตรท โดยการหายใจเปนเวลา 3 นาที

:ถากินหรือกลืนเขาไป หากผูปวยยังมีสติอยูใหดื่มน้ํา และกระตุนทําใหอาเจียนโดยทันที พรอมนําสงแพทย ถาผูปวยหมดสติ หามมิใหส่ิงใดเขาปากผูปวย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : 8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด - เก็บในที่เย็น และที่มีการระบายอากาศไดดี

Page 79: VOCs

79

- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน สารอัลคาไลดหรือสารออกซิไดซ

- อยาเก็บในลักษณะไมมีสารยับยั้งอยู - แนะนําใหใชอุปกรณทําความเย็นชนิดปองกันการระเบิดได

สําหรับการเก็บ - อุปกรณทั้งหมดควรตอลงดิน(Groung) เมื่อมีการขนถายสารนี้ - ภาชนะบรรจุของสารที่เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมีตกคาง

อยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได 8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : -ใหอพยพคนที่ไมเกี่ยวของทั้งหมดออก

-ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายที่เหมาะสม -ขจัดแหลงการจุดติดไฟใดๆ จนกระทั่งพื้นที่ ดังกลาวปราศจากอันตรายจากการระเบิดและอัคคีภัย -เก็บบรรจุสวนที่หกร่ัวไหลและแยกออกจากแหลงสารเคมีนั้นถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเส่ียงอันตราย -เก็บและบรรจุเพื่อการนําไปกําจัดอยางเหมาะสม การกําจัดใหพิจารณาจากรหัสของเสีย EPA U009 D001 การบําบัดใชเทคโนโลยีที่เฉพาะเจาะจง เตาเผาควรอยูในที่ต่ํากวาระดับ TCA วิเคราะหองคประกอบทั้งหมด ซ่ึงตองปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับของทางราชการอยางเครงครัด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด แอลกอฮอล โฟม

******************************************

Page 80: VOCs

80

สาร 1,2 –ไดคลอโรอีเทน (1,2-Dichloroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี : 1,2-ไดคลอโรอีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :1,2-bichloroethane,dichloroethylene,

ethylene dichloride, ethane dichloride, 1,2-ethylene dichloride, glycol dichloride, EDC, NCI-C00511, sym-dichloroethane, alpha, beta- dichloroethane, borer sol, brocide, destruxol,dichloremulsion, dutch oil, di-chlor-mulsion, dutch liquid, Freon 150, NU-G00511; Freon 150

สูตรทางเคมี : C2H4 Cl2

1.3 การใชประโยชน(Use) : ใชในกระบวนการผลิตไวนิลคลอไรด ซ่ึงใชในการทําพลาสติกตาง ๆ และผลผลิตของไวนิล รวมทั้งโพลีไวนิลคลอไรด เฟอรนิเจอร และเครื่องตกแตงบาน เชนโมบายด ส่ิงปกคลุมพนัง กําแพง เครื่องตกแต งบ าน และชิ้ นส วนโมบายดนอกจากนี้ยังใชเปนสารตัวทําละลายในการล างไขมัน และลอกสี และเปนตัวกลางของสารประกอบอินทรียอ่ืน ๆ

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1184

2.2 CAS No. :107-06-2 2.3 สารกอมะเร็ง : สงสัยเปนสารกอมะเร็งในมนุษย เปน

สาเหตุทําลายตับ จากการทดลองเปนสารกอมะเร็งผานทางรก ทําใหหมดความรูสึก ระคายเคืองผิว

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,2-ไดคลอโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm คา LD50 : 670 mg/ kg

Page 81: VOCs

81

4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data) 4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 83.5-84.0 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : - 35 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :387 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.87 กรัม/100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.253 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส รสหวาน กล่ินคลาย

คลอโรฟอรม 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 15 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 6.2 % -คาสูงสุด (UEL) : 15.6 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature): 775 ํF

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ อัลคาไลดที่แรง ดาง

เขมขน แมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม เอมีนที่วองไว แอมโมเนีย เหล็ก สังกะสี กรดไนตริก อลูมิเนียม อากาศ และแสง และแหลงความรอนสูง

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) คลอไรด และคลอรีน

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป ในปริมาณมาก ๆ จะทําใหระบบประสาทสวนกลางไมทํางาน มีผลทําใหปวยเปนโรคตับ และไต และมีผลตอปอด : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหระบบประสาทสวนกลางไม ส่ังการ เกิดการทําลายไต และตับ และมีผลตอปอด

Page 82: VOCs

82

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง

: การสัมผัสถูกตา ทําใหระคายเคืองตา 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ทําลายตับ เปนสารกอมะเร็งและสามารถ (Effects of Over Exposure ,Long – term) สูผานทารกได หมดความรูสึก 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ ดางเขมขน (Fire and Explosion Prevention) โลหะแมกนีเซียม โซเดียม โพแทสเซียม

แสง และแหลงติดไฟ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน

(Respiratory Protection Type) ของสาร โดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง ใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. = 50

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกันสารเคมี 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนัง

ทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :-

Page 83: VOCs

83

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ใชในที่มี

การระบายอากาศเพียงพอ - เก็บในที่เย็น และแหง - เก็บหางจากเปลวไฟ ความรอน

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures): วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล

ใหเคล่ือนยายออกจากบริเวณที่หกร่ัวไหลและกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

- ปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ถาหกรั่วไหลเล็กนอยใหทําการเก็บสวนที่

หกร่ัวไหล และทําความสะอาดโดยใหอยูในดานเหนือลม

-การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟม

******************************************

Page 84: VOCs

84

สาร คารบอนเตตราคลอไรด (Carbon tetrachloride) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) : - ช่ือทางเคมี: คารบอนเตตราคลอไรด 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Carbon tet , Methane tetrachloride ,

Perchloromethane ,Refrigerant R10 ,Necatorina , Benzinoform , Carbon chloride ,

Tetrachlorocarbon, Carbona, Flukoids, Necatorine, R10, Tetrafinol, Tetraform, Tetrasol, Univerm, vermoestricid, R 10(refrigerant), Carbon tetrachloride.

สูตรทางเคมี : CCL4

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารเคมีในหองปฏิบัติการ ใชในการผลิตแร ในการหลอโลหะผสมทองแดง และการเตรียมคลอรีน

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1846

2.2 CAS No. :56-23-5 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้อาจเปนสารกอใหเกิดมะเร็ง เปน

อันตรายตอระบบสืบพันธุ และอาจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกรรมพันธุ

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : คารบอนเตตราคลอไรด เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :5 ppm คา LD50 :1,500 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :76.5 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -23 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 98 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 70 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.08 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.59 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นอีเธอร

Page 85: VOCs

85

4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : - 5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - -คาสูงสุด (UEL) : - 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 1,000 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลด โลหะที่เปนผงละเอียด

สารออกซิไดซ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน คารบอนมอนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) คารบอนไดออกไซด

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองระบบหายใจ ทําใหปวดศีรษะ มึนงง มีฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหหมดสติ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองเล็กนอย ถาสัมผัสสารเปนเวลานาน ทําให

ผิวหนังแหง เปนโรคผิวหนัง สารนี้สามารถดูดซึมผานผิวหนัง ทําใหเปนอันตราย :การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง เล็กนอย ปวดตา ตาแดง

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 5 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : - 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชหนากากที่เหมาะสมกับความเขมขนตามที่ (Respiratory Protection Type) NIOSH แนะนํา

Page 86: VOCs

86

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกถุงมือที่ทําจากวัสดุประเภท Nitrile ที่มี (Hand Protection) ระยะเวลาการซึมผานผนังของถุงมือ 150 นาที

หรือดีกวา และอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับด ี

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : - 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : การกลืนหรือกินเขาไป จะมีอาการเหมือนหายใจเขาไป มีอาการคลื่นไส อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ปวดทอง ทองเสีย

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

-เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น และมีการระบายอากาศเพียงพอ - เก็บหางจากอาหาร และบริเวณที่เก็บอาหาร - ลางใหสะอาดภายหลังการใชสารเคมี

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - อพยพออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

- ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุดูดซับที่เฉื่อย - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ

Page 87: VOCs

87

- ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ีเหมาะสม - พิจารณาการกําจัด โดยปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : น้ํา คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟมที่เหมาะสม

********************************************

Page 88: VOCs

88

สารไตรคลอโรเอทธิลลีน(Trichloroethylene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) :- ช่ือทางเคมี :ไตรคลอโรเอทธิลลีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) :Ethinyl trichloride; Acetylene trichloride;

Ethylene trichloride; Triciene; 1,1,2-Trichloroethylene;Tri;TCE;Tri-Clene; Trielene;Trilene;Trichloran;Trichloren; Algylen;Trimar;Triline;Trethylene; Westrosol;Chlorylen;Gemalgene; Germalgene; 1,1,2-Trichloroethene; 1-Chloro-2,2-dichloroethylene; 1,1-Dichloro-2-chloroethylene; 1,2,2-Trichloroethylene;Anamenth; Benzinol;Blacosolv;Blancosolv;Cecolene; Chlorilen;Chlorylea; Chorylen; Circosolv; Crawhaspol;Densinfluat;Dow-tri; Dukeron; Fleck-flip; Flock flip; Fluate; Lanadin; Lethurin; Narcogen; Narkogen; Narkosoid; Nialk; Perm-a-chlor; Perm-a-clor;Petzinol;Philex;Threthylene; Triad; Trial; Triasol; Triklone; Triol; Tri-plus;Tri- plus m;Vestrol;Vitran;Trieline

สูตรทางเคมี : C2HCl3

1.3 การใชประโยชน(Use) : เปนสารเคมีใชในหองปฏิบัติการ 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number : 1710

2.2 CAS No. : 79-01-6 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :ไตรคลอโรเอทธิลลีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm(กฎหมายตามประกาศกระทรวงฯ) : 50 ppm (ACGIH)

Page 89: VOCs

89

คา LD50 :5,650 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 87.2 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 86.4 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 60 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา (Solubility in water) : 0.1 กรัม/100 มิลลิลิตร ที่ 25 ํซ 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.476 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :ใส ไมมีสี เปนของเหลว กล่ินคลายอีเธอร 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคภีัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL):8 % คาต่ําสุด (LFL): 7.9 %

- คาสูงสุด (UEL):10.5 % คาสูงสุด (UFL): 90 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :410 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้มีความเสถียร 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ ดางเขมขน สารออกซิไดซ

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหมที่ไมสมบูรณ จะทําใหเกิด (Hazardous Decomposition Products) ฟอสจีน ไฮโดรเจนคลอไรด คลอรีน และ

ไอระเหยที่เปนพิษ 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ คล่ืนไส ไอ หายใจติดขัด หมดสติ เปนลม

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนังซํ้าหรือเปนเวลานาน [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] จะกอใหเกิดการระคายเคือง และทําให

ผิวหนังอักเสบเนื่องจากการสูญเสียไขมันของชั้นผิวหนังได และอาจทําใหเกิดภาวะภูมิแพตอการสัมผัสผิวหนังได

Page 90: VOCs

90

: การสัมผัสกับของเหลวหรือไอท่ีมีความเขมขนสูง จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา และทําใหน้ําตาไหลได : การกลืนหรือกินเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินอาหาร และทําใหเกิดอาการคลื่นไส ไอ ปวดทอง ทองรวง และอาจหมดสติได

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : การสัมผัสไอระเหยที่มีความเขมขนสูง ๆ (Effects of Over Exposure Short – term) อาจจะทําใหเสียชีวิตได 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การหายใจหรือการดูดซับของสารเขาสู (Effects of Over Exposure Long – term) รางกายเปนระยะเวลานาน จะกอใหเกิดผล

ตอระบบประสาทสวนกลาง ทําลายตับ รวมทั้งทําใหเกิดภาวะที่ไวตออีพริเนฟฟริน

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :100 ppm (กฎหมายตามประกาศ กระทรวง ฯ)

: 50 ppm (ACGIH) 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information) 7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด (Fire and Explosion Prevention) : - 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :เก็บสารในที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณชวยหายใจชนิดที่มีถัง (Respiratory Protection Type) อากาศ ในตัว(SCBA) พรอมหนากากแบบ

เต็มใบหนา 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท (Hand Protection) Laminated film, Supported Polyvinyl

Alcohol 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : สวมใสแวนตาแบบปดครอบดวงตา

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดรองเทาและเสื้อผาที่

Page 91: VOCs

91

ปนเปอนสารเคมีออก และนําสงแพทยทันที

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตาใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน หามไมใหส่ิงใด ๆ เขาปากผูปวยที่หมดสติ

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในหองสําหรับเก็บสารเคมีอันตราย

- ใหลางทําความสะอาดรางกายใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยาย - เก็บในภาชนะที่ปดมิดชิด บริเวณที่แหง และเย็น มีการระบายอากาศเพียงพอ มีอุณหภูมิ 15 ถึง 20 ํ ซ

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก - วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล (Spill and Leak Procedures) -ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ี

เหมาะสม - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยวัสดุดูด

ซับที่เหมาะสม เชน ทราย หรือวัสดุดูดซับที่ เฉื่อย และเคลื่อนยายออกสูบริเวณที่ปลอดภัยเพื่อนําไปกําจัด

- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

Page 92: VOCs

92

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด น้ําฉีดเปนฝอย โฟม หรือสารดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพการดับเพลิงโดยรอบ

*************************************

Page 93: VOCs

93

สาร 1,2 – ไดคลอโรโพรเพน (1,2- Dichloropropane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : 1,2- ไดคลอโรโพรเพน ช่ือพองอื่น ๆ(Synonyms) : Propylene dichloride ; Dichloropropane ;

Propylene chloride; Alpha, Beta-dichloropropane ; Alpha,beta-propylene dichloride; Dichloropropanes; 1,2-Dichloropropane(Propylene Dichloride) ; Dichloropropane, 1,2-;

สูตรทางเคมี : C3H6Cl2 1.2 การใชประโยชน(Use) :ใชทํายาฆาแมลง

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1279

2.2 CAS No. :78-87-5 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,2- ไดคลอโรโพรเพน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :75 ppm คา LD50 :2,196 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 96 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -80 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 43 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.3 กรัม/100 มิลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.2 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี กลิ่นเฉพาะตัว 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : 5.5 ที่ 20 ํ ซ

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 15 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 3.4 % และ(LFL) :3.2 %

Page 94: VOCs

94

- คาสูงสุด (UEL) :14.5 % และ(UFL): 14.5 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 555 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เกิดการระเบิดไดเมื่อผสมกับอากาศ 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ โลหะ อลูมิเนียมและ

พลาสติก 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กรดไฮโดรคลอริก มีฤทธิ์กัดกรอน (Hazardous Decomposition Products) 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เพราะทําใหสารสลายตัว

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําใหเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด ปวดหัว : การกินหรือกลืนเขาไป ทําใหมีอาการปวดชองทอง ปวดหัว คล่ืนไส งวงนอน

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เคืองตอผิวหนัง เปนผ่ืนแดง มอีาการปวดแสบ

ปวดรอน : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคือง ตาแดง ตาเจ็บ

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 75 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ โลหะ อลูมิเนียม (Fire and Explosion Prevention) พลาสติก ความรอน และอากาศ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ (Respiratory Protection Type) สาร

Page 95: VOCs

95

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือที่ทําจากวัสดุประเภท (Hand Protection) Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําให

เกิดการซึมผานผนังของถุงมือมากกวา 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : - 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ํา ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดเสื้อผา และรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยลางบวนปากดวยน้ํา นําไปสงพบแพทย

8. ขอปฏิบัตทิี่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจดัเก็บ (Handling and Storing) - เกบ็ในภาชนะบรรจุใหมดิชิด - เก็บในทีแ่หง และเยน็

- เกบ็ในที่ที่มกีารระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บในที่ที่สามารถปองกนัไฟได - แยกเกบ็สารออกซิไดซ เปลวไฟ ประกายไฟ - หามสูบบหุร่ีบริเวณทีเ่กบ็สารเคมี - ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังการเคลื่อนยาย

8.2 การปองกนัการกัดกรอนของสารเคม ี(Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

อพยพไปที่อ่ืน - เรียกผูเชีย่วชาญในการหยุดการรั่วไหลของ

สาร ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

Page 96: VOCs

96

- ดูดซึมดวยทรายหรือวัสดดุูดซับอื่น ๆ และนําไปเก็บไวในที่ปลอดภัย

- ใสอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจขณะทําการกําจัดสารที่ร่ัวไหล

- เก็บสารใสภาชนะบรรจุที่มีการปดมิดชิด - การพิจารณาการกําจัด ปฏิบตัิใหเปนไปตาม

กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงดับเพลิง โฟมAFFF โฟมทั่วไป

คารบอนไดออกไซด(ฮาลอน) และใชน้ําฉีดหลอเย็นภาชนะบริเวณทีสั่มผัสไฟ

******************************************

Page 97: VOCs

97

สารซีส -1,3 –ไดคลอโรโพรพีน (cis – 1,3-Dichloropropene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) DWA 580 ช่ือทางเคมี : cis – 1,3-dichloropropene 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : cis-1,3-dichloropropylene; 1,3-dichloropropene;

1,3-cis-dichloro-1-propene; 1,3-cis-dichloropropene; 1,3- cis-dichloropropylene; 1,3-dichloropropene(Z); dichloropropene; 1-propene, 1,3- dichloro-, (Z) ; telone II

สูตรทางเคมี : C3H4 Cl21.3 การใชประโยชน(Use) : ใชเปนยาฆาพยาธิ ใชรมควันลงในดิน(soil

fumigant) ใชเปนสารสังเคราะห (Synthetic reagent )

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2047

2.2 CAS No. :10061-01-5 2.3 สารกอมะเร็ง : เปนสารที่คาดวาเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,3-ไดคลอโรโพรพีน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1 ppm คา LD50 : - mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 104 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : - ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 43 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลายน้ํา แตละลายไดในอะซีโตน,

โทลูอีน ออกเทน 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.224 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี จนถึงมีสีเหลืองอําพัน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 98: VOCs

98

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % -คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : - ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง เชนอะลูมินัม โลหะ

ผสมอลูมิเนียม และโลหะ ฮาโลเจน เกลือของโลหะบางชนิด

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : - (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การกินเขาไป จะทําใหเกิดเนื้องอก 6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : ทําใหน้ําตาไหล [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสสารนี้ในระยะยาวจะเปนพิษ (Effects of Over Exposure ,Long – term) ระคายเคือง 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง อ ลูมินัม (Fire and Explosion Prevention) ที่รอน และโลหะผสม อลูมินัม 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ

(Respiratory Protection Type) สาร และไดมาตรฐาน โดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง ใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม

Page 99: VOCs

99

7.1.4 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมีและกนัสารเคมีได (Hand Protection) 7.1.5 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา :ใชแวนตาชนิดครอบแบบกอกเกิ้ลกัน (Eye Protection ) สารเคมี 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : ชุดเสื้อผาชนิดกันสารเคมีหรือที่กันเปอนทํา

ดวยยาง (Rubber Apron) 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ํ าปริมาณมาก ๆ

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหลางบวนปากดวยน้ํา และนําไปสงแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ใชในที่มีการ

ระบายอากาศเพียงพอ - เก็บในที่เย็น และแหง - เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล ให

เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่หกรั่วไหลและกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สารหกร่ัวไหล

- ปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ถาหกรั่วไหลเล็กนอย ใหทําการเก็บสวนที่

หกร่ัวไหล โดยใชวัสดุดูดซับ เชน สาร

Page 100: VOCs

100

เวอทมิคูไลท หรือทราย และทําความสะอาดโดยใหอยูในดานเหนือลม

-ถาหก ร่ัวไหลปริมาณมากใหกั้นแยกบริเวณ และปมใสในภาชนะบรรจุเพื่อนํากลับมาใชใหม ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อไมใหไอระเหยฟุงกระจาย ดูดซับดวยทราย และดิน เก็บกวาดหรือตักใสในภาชนะบรรจุที่ทําจากโลหะที่สะอาดเพื่อนําไปกําจัด

-การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :เผาในเตาเผา 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ํา

ฉีดเปนฝอย โฟม

*****************************************

Page 101: VOCs

101

สารโทลูอีน (Toluene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :โทลูอีน ฟนิล มีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Toluol, Methylbenzene, Methacide, Tolu-sol, Phenyl methane, Methylbenzol, Monomethyl

benzene , Atisal 1a, Tol สูตรทางเคมี : C7H8

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวทําละลาย 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1294

2.2 CAS No. :108-88-3 2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง แตสารนี้มีผลทําลาย

ตับ ไต กระเพาะปสสาวะ และสมอง 3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :โทลูอีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm คา LD50 : 5,000 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :110.6 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -126 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 22 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.054- 0.058 กรัม / 100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.87 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี มีกล่ินหอมหวาน

ของอะโรมาติก 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 6 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1.2 % - คาสูงสุด (UEL) :7.1 %

Page 102: VOCs

102

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :535 ํซ 5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซที่รุนแรง 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกไซดของคารบอนและไนโตรเจน (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง เกิดอาการปวดศีรษะ วิงเวียน-ศีรษะ คล่ืนไส และมึนงง :การกลืนกินเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง ทําใหปวดทอง ปวดศีรษะ วิงเวียน และมึนงง

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคือง ทํา ใหเกิดผ่ืนแดง

:การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง ทําใหตาแดง

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารออกซิไดซที่รุนแรง แหลง- (Fire and Explosion Prevention) ความรอน ประกายไฟ เปลวไฟ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ -

(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจ ที่มีตัวดูดซับ ในการกรองที่เหมาะสม เชน สารที่มีชวงความเขมขน 500 ppm ใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. =10

Page 103: VOCs

103

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท (Hand Protection) Laminate film แ ละวัสดุประเภท Supported

Polyvinyl Alcohol 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที พรอมทั้ งถอดรองเทาและเสื้อผ าที่ เปอนสารเคมีออก ซักและทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

- เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟ เด็ก อาหาร - เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม - เก็บภายใตไนโตรเจน -การเคลื่อนยายสารนี้ควรเคลื่อนยายอยางระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกรางกาย

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - อพยพบุคคลออกจากบริเวณที่หกร่ัวไหล

- ปดแหลงกําเนิดไฟทุกแหง - ระบายอากาศ และลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - ใชเครื่องมือที่ไมกอใหเกิดประกายไฟ

Page 104: VOCs

104

-ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย หรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไมลุกติดไฟ และเก็บกวาดใสในภาชนะบรรจุเพื่อนําไปกําจัด - การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ผงเคมีแหง คารบอนไดออกไซด น้ําฉีดเปนฝอย หรือโฟม ที่เหมาะสม

**********************************************

Page 105: VOCs

105

สาร 1,1,2-ไตรคลอโรอีเทน (1,1,2-Trichloroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : 1,1,2-ไตรคลอโรอีเทน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Beta – trichloroethane; 1,2,2 – Trichloroethane,

Ethane trichloride; 1,1,2 – Trichloroethane (Vinyl Trichloride) ; Trichloroethane , 1,1,2-

สูตรทางเคมี : C2H3Cl31.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวทําละลายในการผลิตยา ใชใน

อุตสาหกรรมไฟฟา 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :3082

2.2 CAS No. :79-00-5 2.3 สารกอมะเร็ง -ไมเปนสารกอมะเร็ง แตการสัมผัสสารซ้ํา ๆ

จะทําใหเกิดผลกระทบตอตับ ไต ปอด และระบบเลือด

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,1,-2 ไตรคลอโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :10 ppm คา LD50 : - mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :114 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง :-36 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :18.8 มิลลิเมครของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :0.4 กรัม / 100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.4432 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายคลอโรฟอรม 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :6 % -คาต่ําสุด (LFL):8.3 %

Page 106: VOCs

106

- คาสูงสุด (UEL):15.5 % - คาสูงสุด (UFL):12.1 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :-

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับโลหะ

เชน อลูมิเนียม สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง เปลวไฟ งานเชื่อม แหลงที่มีอุณหภูมิสูง ซ่ึงจะ

กอใหเกิดการสลายตัว 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซไฮโดรเจนคลอไรด กาซคลอรีน กาซ- (Hazardous Decomposition Products) ฟอสจีน และเกิดกาซพิษขึ้นระหวางที่มีการ

สลายตัว 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก :การหายใจเอาสารที่มีความเขมขนสูงเขาไปอาจทําใหเสียชีวิตได การสัมผัสในปริมาณมากจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจสวนบน ทําใหเกิดอาการชา และงวงซึมได จากการศึกษาพบวาสารนี้ทําใหเกิดการทําลายตับ และไตได :การกลืนกินเขาไป ในปริมาณเล็กนอยระหวางการเคลื่อนยายไมนาเกิดอันตรายแตถ ามาก ๆ อาจทํ า ใหตายได หากของเหลวเขาสูปอดจะเกิดการดูดซึมผานปอด และเกิดอันตรายตอระบบของรางกายได การรับเขาไปปริมาณมากอาจจะไปเพิ่มความไวตออีพิเนพฟริน และเพิ่มการเตนของหัวใจ และเกิดการระคายเคืองผนังหัวใจได

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง การสัมผัสซ้ําๆ

หรือเปนระยะเวลานานจะทําใหผิวหนังแหง หรือสารดูดซึมเขาสูรางกาย และเกิด

Page 107: VOCs

107

อันตรายได และอาจเกิดสะเก็ดที่ผิวหนังได : การสัมผัสถูกตา จะใหเกิดอาการปวดตา เกิดการระคายเคืองตอตาเล็กนอย และอาจเกิดการทําลายกระจกตาชั่วคราวได ไอ-ระเหยของสารจะกอใหเกิดการระคายเคืองตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การไดรับสารนี้เปนเวลานาน จะทําให- (Effects of Over Exposure ,Long – term) ผิวหนังแหง หรือสารถูกดูดซึมเขาสูรางกาย และ

เกิดอันตรายได และอาจเกิดสะเก็ดที่ผิวหนังได

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :10 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เชน สาร- (Fire and Explosion Prevention) ออกซิไดซ โลหะ เชน อลูมิเนียม เปลวไฟ

แหลงความรอน งานเชื่อม และแหลงจุดติดไฟอื่น ๆ

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ เหมาะสม

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ- (Respiratory Protection Type) สารโดยใชอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถัง-

อากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆอยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดรองเทาและเสื้อผาที่เปอนสารเคมีออก ซักและทําความสะอาด

Page 108: VOCs

108

เสื้อผาและรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที นําสงแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัด ใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากลืนหรือกินเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน นําสงแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในที่แหง และเย็น

- อย า เ ก็ บ รวมกั บอะ ลูมิ เ นี ยม ห รืออลูมิเนียมอัลลอยด - อยาฉีดน้ําเปนลําตรงเพราะจะเกิดการแพรกระจายของเพลิงได -ขั้นตอนปฏิบัติในกรณีเกิดเพลิงไหม ใหเคลื่อนยายออกจากบริ เวณที่มีการหกร่ัวไหล -ใหกั้นแยกพื้นที่ติดไฟ และควบคุมบุคคลที่ผานเขาออก - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอ่ืนๆ - สวนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทําใหเกิดการระเบิดได -ใหอยูในดานเหนือลม และใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่มีการสะสมของฟูมกาซ - กรณีเกิดเพลิงไหม ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมชุดปองกันเพลิง

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

Page 109: VOCs

109

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่มีการหกร่ัวไหล

- ในกรณีหกเล็กนอยใหทําการเช็ดหรือเก็บสารทันทีและเคลื่อนยายออกสูภายนอก

- กรณีหกร่ัวไหลรุนแรง ใหเก็บของเหลว และเคลื่อนยายใสในภาชนะบรรจุที่เปนโลหะปดมิดชิด

- ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ีเหมาะสม

- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชน้ําฉีดเปนฝอย คารบอนไดออกไซด ผงเคมี แหง โฟม

*************************************

Page 110: VOCs

110

สารเ ตตราคลอโรเอทธลิลีน (Tetrachloroethylene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : เตตราคลอโรเอทธิลลีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Perchloroethylene PERK; PERC;

Perchloroethylene; Dowper; Perclene; Tetrachloroethene; Nema; Tetracap; Tetropil; Ankilostin; Didakene; 1,1,2,2-Tettrachloroethylene; Carbondichloride;Perchlor; Antisol 1; Fedal-un; PER; Perawin, Perclene d; Percosolve, Perklone; Persec; Tetlen; Tetraleno; Tetralex; Tetravec; Tetroguer; Tetrochloroethane ; Tettrachloroethylene

สูตรทางเคมี : Cl2C = CCl2 (C2Cl4) 1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสาร dry-cleaning, สาร vapour degreasing

แ ละ drying agent สําหรับโลหะและของแข็งอื่น ๆ ใชเปนตัวกลางถายเทความรอน ใชในการผลิตสารฟลูออโรคารบอน

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1897

2.2 CAS No. :127-18-4 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : เตตราคลอโรเอทธิลลีน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm คา LD50 : 3,853 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boilng Point) :120 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -22.7 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :19 มิลลิเมตรของปรอท ที่ - ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.0149 กรัม / 100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.62

Page 111: VOCs

111

4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นหอมหวาน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :ไมมี แตสามารถลุกติดไฟไดที่อุณหภูมิหอง

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : ดางเขมขน 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซคารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) กาซคารบอนไดออกไซด

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) :ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอจมูกเล็กนอย ความเขมขนสูง ๆ จะทําใหปวดศีรษะ กระวนกระวาย เวียนศีรษะ คล่ืนไส งวงนอน และหมดสติ - เสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนเร็ว - เสี่ยงตอการเกิดโรคปอดอักเสบและน้ําทวมปอด

-ในกรณีของการสัมผัสถูกนาน ๆ และ ซํ้า ๆ กันจะทําใหปวดศีรษะ เซื่องซึม และเสี่ยงตอการผิดปกติของระบบประสาท - อาจเกิดผลกระทบภายหลัง รวมทั้งการเกิดโรคปอดอักเสบ ปอดบวมน้ําจากการไอ - สารเปอรคลอโรเอทธิลลีน หรือสารเตตราคลอโรเอทธิลลีน สามารถดูดซึมผานเขาสูรางกายทางหายใจเปนหลัก ทําใหเกิดทั้งการระคายเคือง และอาการทางประสาท :การกลืนกินเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอปากและลําคอ ทําใหเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ อาเจียน ปวดทอง ทองรวง เสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนเร็ว การทํางานผิดปกติของตับ และไต

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการระคาย[Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ตอผิวหนังเล็กนอย ผ่ืนแดงที่ผิวหนัง ในกรณีที่-

Page 112: VOCs

112

สัมผัสซ้ําๆ กัน จะทําใหเกิดรอยแตกราวบนผิวหนัง เสี่ยงตอการเกิดโรคผิวหนังอักเสบ จากการสัมผัสสารนี้โดยตรงอยางรุนแรงจะทําใหผิวหนังไหม แผลพุพอง ผ่ืนแดงเปนจ้ํา นอกจากนี้ผิวหนังบางสวนสามารถดูดซึมเขาสูรางกายได แตจะไมเกิดอาการอยางเห็นไดชัดเจน :การสัมผัสถูกตา ฟูมของสารนี้กอใหเกิดการระคายเคืองตอตาเล็กนอย ถาเปนของเหลวจะกอใหเกิดอาการระคายเคืองรุนแรงขึ้น ทําใหน้ําตาไหล ตาแดง เสี่ยงตอการเกิดการบาดเจ็บตอตาชั่วคราว

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure ,Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 10 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เชน ดางเขมขน (Fire and Explosion Prevention) 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ

(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA ) พรอมหนากากแบบเต็ม หนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ถอดรองเทา ถุงเทา และเสื้อผาที่

เปอนสารออกและลางบริเวณผิวหนังที่สัมผัสดวยสบู อยาง

Page 113: VOCs

113

นอย 15 นาที เรียกแพทยในกรณีที่เจ็บปวดตลอดเวลา หรือเปนผ่ืนแดงของผิวหนัง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาโดยการใหน้ําไหลผานอยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัด ใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันทีอยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยบวนลางปากดวนน้ํา ถาผูปวยหมดสติใหคลายเสื้อผา และจัดใหผูปวยนอนเอาศีรษะลงต่ํา ใหออกซิเจนหรือชวยผายปอดถาจําเปน ใหรักษารางกายผูปวยใหอบอุน นําสงไปพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - การเก็บ ขนสง เก็บในที่ที่เย็นและแหง บริเวณทีม่กีาร

ระบายอากาศดี ไอระเหยหนักกวาอากาศ จุดสําคัญตองมีการระบายอากาศทีระดับพื้น -หลีกเลี่ยงการโยนถังบรรจุ ใหใชรถเข็นสําหรับเคลื่อนยาย - สารนี้ตอง เก็บหางจากแหลงความรอนทั้งหมด -ใหระมัดระวังในการตอตานกับการสะสมของประจุไฟฟา สถิตย -หลีกเลี่ยงความรอนของสารเกิน 120 องศา เซล เซียส -หลีกเลี่ยงความชื้นและการสัมผัสแสงแดดโดยตรง

-หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดางแก เชน โซ เดียม และโพแทส เซียมไฮดรอกไซด สารออกซิไดซ และผงโลหะละเอียด ๆ

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหอพยพบุคคลออกจากบริเวณ

- ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

- เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด

- ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ีเหมาะสม

Page 114: VOCs

114

- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหเลือกใชสารดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพของเพลิงโดยรอบ

********************************************

Page 115: VOCs

115

สาร 1,2-ไดโบรโมอีเทน ( 1,2-Dibromoethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :1,2-ไดโบรโมอีเทน , เอทธิลลีน ไดโบรไมด

1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : EDB; Dibromoethane; Ethylene Bromide; Glycol Dibromide; Sym-dibromoethane; Dowfume W 85; Bromofume; Celmofume; Celmide; E-D-Bee; Kopfume; Nephis; Alpha ,beta–dibromoethane; Glycol bromide; Dowfume 40 ; Dowfume edb; Dowfume w-8; Dowfume w-90; Dowfume w-100; EDB-85; Fumo-gas; Iscobrome d; Pestmaster; Pestmaster edb-85; Soilbrom-40; Soilbrom-85; Soilbrom-90; Soilbrom-100; Soilfume; Unifume; Aadibroom; Dibromoethylene; Garden dowfume; Soilbrom 90EC; Dibromoethane,1,2-; 1,2-Dibromomethane.

สูตรทางเคมี : C2 H4Br2

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสาร เติมแตง ชวยหนวงการติดไฟ 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1605

2.2 CAS No. :106-93-4 2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้เปนสารกอมะเร็ง ทําใหเกิดความผิดปกติตอ

อวัยวะสืบพันธุ นอกจากนี้ยังเปนอันตรายตอตับ ไต และหัวใจ ถาไดรับสารนี้ติดตอกันเปนเวลานาน ๆ อาจทําใหเปนหมัน และเปนผลรายตอทารกในครรภ

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,2-ไดโบรโมอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - ppm คา LD50 :108 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :131 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 9 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) :17.4 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 30 ํซ

Page 116: VOCs

116

4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ละลายไดเล็กนอย 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 2.17 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใสไมมีสี หรือมีสีเหลืองใส กล่ิน

หวาน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลท สารออกซิไดซ แมกนีเซียม 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนออกไซด (COx) และสารประกอบ (Hazardous Decomposition Products) โบรมีน 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเอาไอระเหยเขาไปจะทําใหเกิดการระคายเคืองตอเนื้อเยื่อเมือก หายใจถี่ ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน : การกลืนกินเขาไป จะมีผลตอระบบประสาทสวนกลางและตับ รวมถึงอาการปวดศีรษะ เจ็บปวดกระเพาะอาหารและลําไส คล่ืนไส หมดความรูสึกเฉพาะทาง ปวดตามลําตัว และเมื่อยลาทั่วไป

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนังจะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองอาจจะถูกดูดซึมผานทางผิวหนัง ทําให

เกิดตุม : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term)

Page 117: VOCs

117

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ถาไดรับสารนี้ติดตอกันเปนเวลานาน ๆ อาจ (Effects of Over Exposure , Long – term) ทําใหเปนหมัน และเปนผลรายตอทารกในครรภ 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : - ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได และความรอน (Fire and Explosion Prevention) 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-

(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจ ชนิดที่มีถัง- อากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา ซ่ึงมีการทํางานแบบความดันภายในเปนบวก

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําปริมาณมาก ๆ

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาโดยทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป ใหนําสงแพทยทันที ถามีสติใหดื่มน้ํา พรอมถอดเสื้อผาที่ปนเปอนสารออก ทําความสะอาดกอนใชอีกครั้ง

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี

- เก็บภาชนะบรรจุที่ปดแนน

Page 118: VOCs

118

- อยาหายใจ เอาไอระเหย เขาไป เขาตา สัมผัสถูกผิวหนัง หรือ เสื้อผา

- สวนที่ เหลือตกคางอาจจะทําใหเกิดอันตรายจากภาชนะที่วาง เปลา ใชอยางระมัดระวัง

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล : ใหอพยพคนที่

ไมเกี่ยวของทั้งหมดออกจากพื้นที่ - สวมใสอุปกรณปองกันใหเหมาะสม

- กําจัดแหลงจุดติดไฟใด ๆ จนกระทั่งพิจารณาแลววาจะไมเกิดการระเบิดและอันตรายจากไฟ

- เก็บสวนที่หกร่ัวไหลและแยกออกจากบริเวณนั้น ถาสามารถทําไดโดยไมเกิดอันตราย

- นําสารไปกําจัดโดยปฏิบัติตามกฎระเบียบของกฎหมาย

- การพิจารณาการกําจัดใหปฏิบัติตามกฏระเบียบของกฏหมาย

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารเคมีแหง โฟม

******************************************

Page 119: VOCs

119

สารคลอโรเบนซีน (Chlorobenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี:- คลอโรเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Phenyl Chloride, Benzene chloride,

Chlorobenzol, MCB , Monochlorobenzol , Chlorobenzene , Chlorobenzene Mono , Monochlorobenzene.

สูตรทางเคมี : C6H5Cl 1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนตัวทําละลาย ใชเปนสารออกซิไดซ

เปนตัวทําละลายโพลีคารบอเนต 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1134

2.2 CAS No. :108-90-7 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : คลอโรเบนซีนหรือ เบนซีนคลอไรด เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 10 ppm คา LD50 : 1,110 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 132 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -45 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 11.8 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลายน้ํา 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.11 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) :ใส ไมมีสี เปนของเหลว กล่ินคลายอัลมอนด 4.8 ความเปนกรด-ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :28 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) - คาต่ําสุด - (LEL) : 1.3 % - คาสูงสุด (UEL) : 9.6 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :590 ํซ

Page 120: VOCs

120

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : สารนี้มีความเสถียรภายใตภาวะปกติของการใชงาน และการเก็บรักษา

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ ไดเมทธิลซัลฟอกไซด และ สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟ อากาศ

และสารที่เขากันไมได 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทําใหเกิดกาซฟอสจีน ไฮโดรเจนคลอไรด (Hazardous Decomposition Products) คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ทําใหเกิดอาการไอ หายใจถี่รัว มีผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง ทําให เวียนศีรษะ เกิดการทํางานไมประสานกันของกลามเนื้อ และหมดสติ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ- [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคือง เกิดผ่ืนแดง คัน และอาการ

เจ็บปวด ซ่ึงสารนี้สามารถถูกดูดซึมผานผิวหนังเขาสูรางกายไดอยางชา ๆ ทําใหเกิดผลตอระบบของรางกายได : การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอตา เกิดแผลไหม และเกิดการทําลายตาได

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสนาน ๆ หรือเปนประจํา อาจ- (Effects of Over Exposure , Long – term) กอใหเกิดอาการอักเสบที่ผิวหนัง หรือแผล

ไหมบริเวณผิวหนัง รวมถึงตับ ไต ระบบประสาทสวนกลาง ตอมไทมัส มาม ไขกระดูก อัณฑะ หรือปอดถูกทําลายได

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 10 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

Page 121: VOCs

121

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสวนผสมไอระเหยกับอากาศ (Fire and Explosion Prevention) อาจเกิด การระเบิดไดภายใตขีดจํากัดความ

ไ ว ไ ฟที่ อุ ณ ห ภู มิ สู ง ก ว า จุ ด ว า บ ไ ฟ หลีกเลี่ยงจากแหลงความรอน แหลงจุดติดไฟ สารที่ เขากันไมได และประจุไฟฟาสถิตย

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) : - 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : เลือกหนากากที่ปองกันความเขมขน (Respiratory Protection Type) ในชวงที่ เหมาะสม และมีตัวดูดซับที่ เหมาะสมในการกรอง

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําและสบูปริมาณมากๆ อยางนอย 15 นาที นําสงแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก อยางนอย 15 นาที ยกเปลือกตาขึ้นลง นําสงแพทยโดยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไปใหเคล่ือนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : การกลืนหรือกินเขาไป เปนสาเหตุใหเกิดการระคายเคืองตอกระเพาะอาหารและลําไส ทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ทองรวง และมีผลเหมือนกับการหายใจเอาสารนี้เขาไป

8. ขอปฏิบัติท่ีสําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

(Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่แหง และเย็น มีอากาศถายเทดี - เก็บหางจากที่ซ่ึงอาจเกิดจากอันตรายจากอัคคีภัย และ สารออกซิไดซ

Page 122: VOCs

122

- ปองกันการเกิดความเสียหายทางกายภาพ - เก็บไวภายนอกอาคารหรือแยกเก็บภายในหองเก็บให เหมาะสม

- แยกเก็บจากสารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจุตองตอสายเชื่อม(Bonded) และตอสายดิน ขณะถายเทสารนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงประกายไฟฟาสถิตย - บริเวณที่เก็บและสถานที่ใช ตองกันไวไมใหมีการสูบ บุหร่ี

- ภาชนะถังเปลาแตมีสารเคมีตกคางอยู เชนไอระเหย อาจกอใหเกิดอันตรายได - ใหดูปายเตือนและขอควรระมัดระวังอันตรายของสาร นี้ทั้งหมด - ลางใหสะอาดภายหลังการใชสารเคมี

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี : - (Corrosiveness)

8.3 การปองกันการรั่วและการหก - ใหระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล (Spill and Leak Procedures) - เคล่ือนยายแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

- กั้นแยกพื้นที่อันตรายออก - หามไมใหบุคคลที่ไมมีหนาที่จําเปน และไมสวมใส อุปกรณปองกันเขาไป - เก็บ และเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมถาเปนไปได - ใชเครื่องมือ และอุปกรณที่ไมทําใหเกิดประกายไฟ - เก็บรวบรวมสวนที่หกร่ัวไหล ใสในภาชนะบรรจุที่

เหมาะสมหรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อย เชน แรหินทราย (Vermiculite) ทรายแหงและเก็บใสภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี

- อยาใชวัสดุที่ติดไฟไดเปนตัวดูดซับ เชน ขี้เล่ือย - อยาฉีดลางลงทอระบายน้ํา ถาสารที่หกร่ัวไหลยังไมติดไฟ ใหใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อสลายกลุมไอระเหย เพื่อปองกันบุคคลที่พยายามจะเขาไปหยุดการรั่วไหล และฉีดลางสวนที่หกร่ัวไหลออกจากการสัมผัส - การพิจารณาการกําจัด ไมควรนํากลับมาใชใหม ควรนําไปกําจัดในเตาเผาที่ไดความเห็นชอบจากทางราชการ

Page 123: VOCs

123

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด (Disposal Methods)

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงเคมีแหง โฟม คารบอนไดออกไซด

**********************************

Page 124: VOCs

124

สารเอทธิลเบนซีน (Ethylbenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : เอทธิลเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Ethylbenzol, Ethylbenzene, EB, Phenyl ethane สูตรทางเคมี : C8H10

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนตัวทําละลาย ใชในกระบวนการดูดซับ และในน้ํามันปโตรเลียมชนิด BTX

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1175

2.2 CAS No. :100-41-4 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : เอทธิลเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm คา LD50 :3,500 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 134-137 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -95 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 10 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ละลายไดนอยมาก 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.867 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายอะโรมาติก 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :15 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1 % - คาสูงสุด (UEL) : 6.7 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :431 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : -

Page 125: VOCs

125

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :ไอพิษของกาซคารบอนไดออกไซด และ (Hazardous Decomposition Products) คารบอนมอนนอกไซด 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความชื้น

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไปจะกอใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อเมือก และทางเดินหายใจสวนบน กดประสาทสวนกลาง : การกลืนกินเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง คล่ืนไส อาเจียน ปวดศีรษะ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองผิวหนัง

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : อวัยวะเปาหมาย คือระบบประสาท (Effects of Over Exposure , Long – term) สวนกลาง ปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ไต

ตับ กระเพาะปสสาวะ อวัยวะสืบพันธุ เปนอันตรายตอทารกในครรภ

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย (TLV) : 100 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารออกซิไดซ (Fire and Explosion Prevention) 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ-

(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบหายใจ โดยมีสารเคมีดูดซับในการกรองประเภท ปองกันไอระเหยของสารอินทรียที่มีคา APF.=10 หรือมากกวาขึ้นอยูกับความ

Page 126: VOCs

126

เขมขนของสาร 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางทันทีดวยสบูและน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจ ใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป ถาผูปวยยังมีสติอยู ใหลางบวนปากดวยน้ําสะอาด และนําสงไปพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุปดมิดชิด - เก็บในที่เย็นและแหง - เก็บหางจากความรอน ประกายไฟ และเปลวไฟ - หลังการเคลื่อนยายสารเคมี ใหลางมือทุกครั้ง - หามหายใจเอาไอของสารเคมีเขาไป

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล กัน้

แยกบริเวณทีส่ารหกรั่วไหล - ตัดหรือปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด

- ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตวั (SCBA)รองเทาบูท และถุงมือยาง - ใหดูดซับสารหกรั่วไหลดวยถานกํามันต และเก็บ- ใสในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท

Page 127: VOCs

127

- จัดใหมีการระบายอากาศ และลางทําความสะอาดบริเวณที ่ หกรั่วไหล

- ใชเครื่องมือทีไ่มกอใหเกดิประกายไฟ - การกําจดัโดยเผาไหมสารเคมีในเตาเผาชนดิขัน้ที่ 2 และ

ระบบกําจดัตองระมัดระวังเปนพิเศษในการจดุติดไฟ เนื่องจากสารนีไ้วไฟสูงมาก

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด เชน เผาในเตาเผาสารเคมีซ่ึงติดตั้งเครื่องเผาทําลายสารคารบอน

และเครื่องฟอก แตตองระมัดระวังเรื่องการจุดติดไฟ เพราะสารนี้ไวไฟสูง

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟม

****************************************

Page 128: VOCs

128

สารไซลีน ( o,- p, m –Xylene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :ไซลีน , ไดเมทธิลเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Xylol , Xylene, Dimethylbenzene (mixed

isomers) ; Xylenes (mixed isomers) , Xylenes (o, m -, p- isomer) ; Dimenthylbenzrnes, Xylene mixture (60% m-xylene, 9 % o-xylene, 14% p-xylene, 17% ethylbenzene) ; Xylene (mixed) ; except p-xylene, mixed or all isomers ; Xylene (total)

สูตรทางเคมี : C8H10

1.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปนสารตัวทําละลาย (Solvent) 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1307

2.2 CAS No. :1330-20-7 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง สารนี้ทําลายประสาท

เลือด ดวงตา หู ตับ ไต และเปนอันตรายตอทารกในครรภ

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :ไซลีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :100 ppm คา LD50 :4,000 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :138.3 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) /จุดเยือกแข็ง :30 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 6.72 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 21 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.13 กรัม / 100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.87 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส กล่ินหอมหวาน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 129: VOCs

129

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :26.1 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1 % -คาสูงสุด (UEL) :7 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :527 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด (Hazardous Decomposition Products) ควัน และไอระเหย

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง และหายใจติดขัด : การกลืนหรือกินเขาไป เปนอันตรายตอรางกาย ทําใหมีการขับของน้ําลายออกมามาก มีเหงื่อออก คล่ืนไส อาเจียน ทองรวง ปวดทอง และเบื่ออาหาร

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เคือง เกิดแผลแสบไหม และทําใหผิวหนัง

อักเสบ : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง และเกิดเปนแผลไหม

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure ,Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 100 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารออกซิไดซ แหลงความรอน เปลวไฟ (Fire and Explosion Prevention) หรือประกายไฟ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ ดี และเพียงพอ

เหมาะสม

Page 130: VOCs

130

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : - 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท (Hand Protection) Laminate film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําให

เกิดการซึมผานผนังของถุงมือ และมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบ goggle ปองกันสารเคมี 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหลางออกดวยสบูและน้ํา อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และนําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหอาเจียน นําสงไปพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ - เก็บหางจากแหลงจุดติดไฟทั้งหมด

- เก็บหางจาก เด็ก 8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

8.3 การปองกันการรั่วและการหก - วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ใหหยุด- (Spill and Leak Procedures) การรั่วไหลถาสามารถทําได โดยปราศจาก ความ

เสี่ยงอันตราย - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุดูด-

ซับอื่นที่ไมติดไฟ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

Page 131: VOCs

131

เพื่อนําไปกําจัด - การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏ ระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนดเชน เผาในเตาเผาสารเคมีซ่ึงติดตั้งเครื่องเผาทําลายสารคารบอน และเครื่องฟอก แตตองระมัดระวังเร่ืองการจุดติดไฟ เพราะสารนี้ไวไฟสูง

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีดเปนฝอย หรือโฟม

********************************************

Page 132: VOCs

132

สารสไตรีน (Styrene) หรือ ไวนิล เบนซีน (Vinyl benzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : สไตรีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Vinyl benzene, Phenylethylene, Styrol,

Cinnamene, Ethenylbenzene, Annamene, Styrolene, Cinnamol, Cinnamenol,Diarex hf 77, Phenethylene, Phenylethene, Styron, Styropol, Styropor, Vinylbenzol, Styrene monomer.

สูตรทางเคมี : C8H8

1.3 การใชประโยชน(Use) :สารนี้นําไปใชในหองปฏิบตัิการ- (Laboratory reagent)

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2055

2.2 CAS No. :100-42-5 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : สไตรีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 50 ppm คา LD50 : 5,000 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :145 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -31 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 5 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : < 0.1 % กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจาํเพาะ(Specific Gravity) : 0.91 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี ไมมีกล่ิน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :31 ํซ

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1.1 % - คาต่ําสุด (LFL) :1.1 %

Page 133: VOCs

133

- คาสูงสุด (UEL) : 8.9 % - คาต่ําสุด (UFL) :6.1 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 489 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซที่ รุนแรง ทองแดง กรด

เขมขน เกลือของโลหะ ตัวเรงปฏิกิริยา และสภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง คือ แสง ความรอน เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟอื่น ๆ และอากาศ

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองระบบหายใจ อาจจะทําใหเกิดอาการโรคน้ําทวมปอด งวงนอน ไอ ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน และเซื่องซึม : การกลืนหรือกินเขา จะกอใหเกิดการระคาย

เคือง และ เปนแผลไหมที่ปากและกระเพาะ อาหาร ทําใหเกิดอาการเจ็บคอ ปวดทอง ปวด ศีรษะ วิงเวียน อาเจียน และเซื่องซึม

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคือง [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] และเกิดแผลไหม ตาแดง และปวด 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure มShort – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : กดระบบประสาทสวนกลาง (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 50 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสารที่เขากันไมได เก็บหางจาก- (Fire and Explosion Prevention) แหลงความรอนหรือไฟ และมาตรการอื่น ๆ

ตามที่กําหนดไวในการเก็บรักษา

Page 134: VOCs

134

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ เหมาะสม

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ - (Respiratory Protection Type) สาร และสารดูดซับในการกรองที่เหมาะสม โดย

มีคา APF. = 10 หรือมากกวาขึ้นอยูกับความเขมขนของสารที่ฟุงกระจาย

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ : เลือกใชถุงมือประเภทที่ทํามาจากวัสดุ (Hand Protection) Laminate film Supported Polyvinyl Alcohol

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : - 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที พรอมทั้ งถอดรองเทาและเสื้อผ าที่ เปอนสารเคมีออก ซักและทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยมีสติใหดื่มน้ําปริมาณมาก และกระตุนใหผูปวยอาเจียน และนําสงแพทยทันที

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด

- เก็บในที่เย็นและแหง (อุณหภูมิต่ํากวา 15 องศา เซลเซียส)

- เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ -เก็บในบริเวณที่เก็บของเหลวไวไฟ และ เก็บในภาชนะที่ตานทานแสง

Page 135: VOCs

135

- ตอสายเชื่อม (Bond) และสายดินที่ภาชนะบรรจุในขณะที่ทําการขนถายสารเคมี

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ปด และเคลื่อนยายแหลงจุดติดไฟ -หามสูบบุหร่ีในบริเวณที่สารหกรั่วไหล - ใหหยุดการรั่วไหลถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย หรือ

วัสดุดูดซับอื่น ที่ไมสามารถลุกติดไฟได และเก็บใสภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อนําไปกําจดั

- ใชน้ําฉีดเปนฝอย เพื่อลดการเกิดไอระเหย - ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ี

เหมาะสม - ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมี

ถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว - การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติเปนไปตาม

กฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ

กําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใช โฟม แอลกอฮอล ผงเคมีแหง

หรือ คารบอนไดออกไซด (ใชน้ําในการดับเพลิงไมไดผล)

******************************

Page 136: VOCs

136

สาร 1,1,2,2-เตตราคลอโรอีเทน (1,1,2,2-Tetrachloroethane) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี:1,1,2,2,-เตตราคลอโรอีเทน, อะเซทธิลลีน เตตราคลอไรด เตตราคลอไรด เตตราคลอโรอีเทน

1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Sym-Tetrachloroethane, Symmetrical tetrachloroethane, Acetylene tetrachloride, Dichloro 2 ,2 dichloroethane, Cellon, Bonoform; 1,1-Dichloro-2,2-dichloroethane, Westron, Acetosol; Tetrachloroethane,1,1,2,2-;

สูตรทางเคมี : C2 H2Cl41.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้นําไปใชวิเคราะห และทดสอบทางเคมี

(reagent) ในหองปฏิบัติการ 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1702

2.2 CAS No. :79-34-5 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,1,2,2-เตตราคลอโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1 ppm คา LD50 : 250 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :147 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) /จุดเยือกแข็ง : -43 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 8 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.3 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.59 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมี สี กล่ินคลาย

คลอโรฟอรม 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 137: VOCs

137

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : - ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะที่วองไวทางเคมี ไอของกรดกํามะถัน 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) และเมื่อได รับความรอนจะสลายตัวเปน

ไฮโดรเจนคลอไรด และฟอสจีน 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก : การหายใจเขาไป สารนี้เปนพิษมากทําใหเกิดการระคายเคืองตอเยื่อบุทางเดินหายใจสวนบนรุนแรงรวมทั้งอาการระคายเคืองตอจมูก และลําคอ มีน้ําลายมากผิดปกติ ถาสัมผัสอยางตอเนื่องอาจเกิดการกระสับกระสาย เวียนศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน และมีการมึนเมา อาการไมสบายจะเพิ่มขึ้น อาจทําใหเปนดีซาน โรคปอดบวม ถูกทําลาย เกิดการชักกระตุกอยางแรง อาการโคมา และตาย : การกินหรือกลืนเขาไป สารนี้เปนพิษมากทําใหเกิดอาการคลายกับการหายใจเขา ทําใหเกิดการระคายเคืองตอทางเดินหายใจ ระคายเคืองตอทางเดินอาหาร ทําใหเกิดอาการทั้งคลื่นไส อาเจียน แ ละทองรวง

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง มีอาการผื่นแดง และ เจ็บปวด สารนี้อาจดูดซึมผานผิวหนังเขาสู

รางกายได : การสัมผัสถูกตา ไอระเหยจะเปนสาเหตุทําหเกิดการระคายเคืองตอตา สารเคมีกระเด็นใสตา

Page 138: VOCs

138

จะทําใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง จะทําใหกระจกตาไหม และตาบอดได

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสเรื้อรัง มีผลคุกคามตอสุขภาพ (Effects of Over Exposure , Long – term) อาจจะมีผลกระทบตอตับ ระบบยอยอาหาร

และระบบเลือด 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงโลหะที่วองไวทางเคมี และไอของ (Fire and Explosion Prevention) กรดซัลฟูริก 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ- (Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบหายใจชนิด-

ที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา และมีคา APF.=10,000 หรือแบบอื่นที่เหมาะสม

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใชถุงมือที่ทํามาจากวัสดุประเภท (Hand Protection) Laminated film และถุงมือประเภท Nitrile

7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : - 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางทันทีดวยน้ําปริมาณ มาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ลางทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับไปใชงานใหมอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นําสง แพทย

Page 139: VOCs

139

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย และ นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป กระตุนใหเกิดอาเจียนทันที โดยบุคลากรทางการแพทย หามใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ นําสง แพทยโดยดวน

8. ขอปฏิบัตทิี่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุปดมิดชิด - เก็บในที่เย็นและแหง พื้นที่ที่มีการระบายอากาศ - ปองกันความเสียหายทางกายภาพ - แยกเก็บออกจากสารที่เขากันไมได - ภาชนะบรรจุของสารนี้อาจเปนอันตรายเมื่อเปนถังเปลา เนื่องจาก กากสารเคมีตกคางอยู เชนไอระเหย ของ เหลว - ทําความสะอาดหลังจาก มีการเคลื่อนยาย

- สังเกตคําเตือนทั้งหมดและขอควรระมัด ระวังที่ระบุไว สําหรับสารนี้

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุร่ัวไหล - ใหเคลื่อนยายของ ที่อาจจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

- ใหสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่ เหมาะสม - กั้นแยกพื้นที่อันตรายออกไปตางหาก - หามไมใหบุคคลที่ไมมีหนาที่จําเปนและไมสวมใส อุปกรณปองกันเขาไป - เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใชใหมถาเปนไปได - ใชเครื่องมือและอุปกรณที่ไมทําใหเกิดประกายไฟ - เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับดวยวัสดเุฉื่อย เชน แรหนิทราย (Vermiculite)ทรายแหง (earth) และเก็บภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคม ี- อยาใชวัสดุตดิไฟได เชน ขี้เล่ือย ในการดดูซับสาร - อยาฉีดลางลงไปทอระบายน้ํา

Page 140: VOCs

140

- ใหมกีารรายงานการหกรัว่ไหลลงสูดิน น้ําและอากาศมากเกินกวาปรมิาณที่ตองรายงาน - การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติตามกฎระเบยีบของกฏหมายการกําจัดสารเคมี

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด โดยละลายหรือผสมสารกับตัวทําละลายซึ่งไหมไฟได

และเผาในเตาเผาสารเคมีซ่ึงติดตั้งเครื่องเผาทําลายสารคารบอนเพื่อลดมลพิษ

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือโฟม

*************************************

Page 141: VOCs

141

สาร 1,3,5-ไตรเมทธิลเบนซีน (1,3,5 –Trimethylbenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :1,3,5-ไตรเมทธิลเบนซีน , 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Mesitylene, Symmetrical Trimethylbenzene สูตรทางเคมี : C9 H12

1.3 การใชประโยชน(Use) : - 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2325

2.2 CAS No. :108-67-8 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,3,5-ไตรเมทธิลเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :25 ppm คา LD50 : - mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :165 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -45 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 2 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.002 กรัม/100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.86 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นสารอะโรมาติก 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :44 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :550 ํซ

5.4 การเกิดปฏกิิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : -

Page 142: VOCs

142

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ กรดไนตริก และสภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง คือ เก็บหางจากแหลงกําเนิดไฟ ประกายไฟ เปลวไฟ

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : - (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอจมูก คอ ระบบทางเดินหายใจ ทําใหหลอดลมอักเสบ มีอาการโลหิตจาง วิงเวียนศีรษะ ออนเพลีย คล่ืนไส อาเจียน น้ําทวมปอดเนื่องจากสารเคมี : การกินหรือกลืนเขาไป จะกอใหเกิดการระคายเคือง

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนัง ผิวแหง

: การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตา สารนี้ทํ าลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบประสาทสวนกลาง เลือด

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : สารนี้ทําลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบ (Effects of Over Exposure ,Long – term) ประสาทสวนกลาง เลือด 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยงสวนผสมของไอระเหยกับอากาศ (Fire and Explosion Prevention) สามารถทําใหเกิดการระเบิดที่อุณหภูมิ

มากกวา 44 องศาเซลเซียส และเก็บหางจากแหลงกําเนิดไฟ ประกายไฟ เปลวไฟ สารออกซิไดซ กรดไนตริก

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ เหมาะสม

Page 143: VOCs

143

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ- (Respiratory Protection Type) สาร

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางทันทีดวย น้ํ าปริมาณมาก ๆ อย างนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ลางทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับไปใชงานใหมอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที ( ถอด คอนแทคเลนสออกถาสามารถทําได) นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ จัดใหนั่งในทาสบาย นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ําอยากระตุนใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุปดมิดชิด - เก็บในที่เย็นและแหง พื้นที่ที่มีการระบายอากาศ - เก็บหางจาก เปลวไฟ ประกายไฟ - เก็บหางจากสารออกซิไดซอยางแรง - เก็บในที่อุณหภูมิต่ํากวา 44 องศาเซลเซียส - ใชอุปกรณที่ไมกอใหเกิดประกายไฟ และ

ประจุไฟฟาสถิต - ตอภาชนะบรรจุลงดิน - หามสูบบุหร่ีในบริเวณเก็บสารเคมี

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

Page 144: VOCs

144

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) -ใหหยุดการรั่วไหลถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

- เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด

- ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุดูดซับที่เฉื่อย แลวนําไปเก็บในบริเวณที่ปลอดภัย

- ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว

- ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ

- ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ีเหมาะสม

- การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชผงดับเพลิง โฟม AFFF คารบอนไดออกไซด

***************************************************

Page 145: VOCs

145

สาร 1,2,4-ไตรเมทธิลเบนซีน (1,2,4-Trimethylbenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :1,2,4-ไตรเมทธิลเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : 1,2,4-Trimethylbenzeze; 1,2,4-TMB;

Benzene, 1,2,4-trimethyl; Pseudocumene; Pseudocumol; asym-Trimethylbenzeze; psi-Cumene

สูตรทางเคมี : C6 H12

1.3 การใชประโยชน(Use) :เปนสารที่ใชสกัดตัวเรงปฏิกิริยาจากน้ํามัน ปโตรเลี่ยม ใช เปนตัวกลางในการผลิตสาร Trimellitic anhydride และสียอม ใชเปนตัวทําละลายสียอม เปนสวนประกอบของสียอม เพิ่มคาออกเทนน้ํามันเชื้อเพลิง กาซโซลีน ยางมะตอย และผลิตภัณฑปโตรเลียม

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1993

2.2 CAS No. :95-63-6 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,2,4-ไตรเมทธิลเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :25 ppm คา LD50 :5,000 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) :169.5 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -60.5 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1 มิลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.006 กรัม/100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.8802 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นสารอะโรมาติก 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 146: VOCs

146

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :44 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :0.9 % - คาสูงสุด (UEL) : 6.4 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :500 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :เปลวไฟ ประกายไฟ และแหลงจุดติด

ไฟอื่น ๆ 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไมมีการรายงาน (Hazardous Decomposition Products)

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป ทําใหปวดศีรษะ คล่ืนไส วิงเวียน กดประสาทสวนกลาง :การกินหรือกลืนเข าไป ทําใหคล่ืนไส อาเจียน ปวดศีรษะ วิงเวียน งง มีผลกดระบบประสาท ถาไดรับปริมาณมากทําใหชัก และเสียชีวิต ถาสารนี้เขาไปในปอดจะทําลายปอดทําใหเสียชีวิต

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะกอใหเกิดการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคายเคืองตอผิวหนังเล็กนอย การสัมผัสสาร

10-30 นาที ทําใหแสบไหมผิวหนัง การไดรับสารติดตอกันเปนเวลานาน ทําใหเปนโรคผิวหนัง (บวม เปนผ่ืนแดง คัน และผิวแตก): การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคายเคืองตอตาเล็กนอย

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : ระคายเคืองตา ผิวหนัง และทางเดินหายใจ

(Effects of Over Exposure , Short – term) ถากลืนกินเขาไป จะทําใหสําลักเขาสูปอด :ทําใหปอดอักเสบสารนี้อาจ มีผลตอระบบประสาทสวนกลาง

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ละลายไขมันที่ผิวหนัง อาจมีผลกระทบ (Effects of Over Exposure ,Long – term) ตอปอดถาไดรับซํ้าหรือเปนเวลานานๆ

Page 147: VOCs

147

สงผลตอหลอดลมอักเสบเรื้อรัง มีผลตอ ระบบประสาทสวนกลางและเลือด

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ เปลวไฟ ประกาย (Fire and Explosion Prevention) ไฟ และแหลงจุดติดไฟอื่น ๆ 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณ หนากากใหเหมาะสมกับ (Respiratory Protection Type) เขมขนของสาร

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ํา และสบู ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 5 นาที หรือจนกวาสารเคมีออกหมด พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก ลางทําความสะอาดเสื้อผากอนนํากลับไปใชงานใหมอีกคร้ัง นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที หรือจนกวาสารเคมีออกหมด นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป หามมิใหส่ิงใดเขาปากผูปวยที่หมดสติ ใหผูปวยบวนลางปากดวยน้ํา อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ํา 240-300 ml ถาเกิดอาเจียนขึ้น ใหผูปวยวางศีรษะต่ําลงเพื่อหลีกเลี่ยงการหายใจเอาอาเจียนเขาไป ใหผูปวยดื่มน้ําซ้ํา นําสงไปพบแพทยทันที

Page 148: VOCs

148

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด เมื่อไมไดใชงาน

- เก็บในที่เย็นและแหง พื้นที่ที่มีการระบายอากาศ - เก็บหางจาก เปลวไฟ ประกายไฟ และแหลงจุดติดไฟ - เก็บหางจากสารที่เขากันไมได - ทําความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี - บริเวณเก็บสารเคมีควรแยกจากบริเวณการทํางาน

- ติดปายเตือนอันตราย - ติดฉลากที่ภาชนะ - เก็บภาชนะบรรจุไวในระดับความสูงที่เหมาะสมกับ

การเคลื่อนยาย - ภาชนะบรรจุสารที่ เปนถังเปลา แตมีกากสารเคมี

ตกคางอยู เชน ไอระเหย ของเหลว อาจเปนอันตรายได - ภาชนะเก็บสารเคมีควรทําจากวัสดุทนไฟ และไมใช

สารไวไฟ - มีอุปกรณดับเพลิงและทําความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

-ใหสังเกตคําเตือน และขอควรระวังทั้งหมดที่ใหไวสําหรับสารนี้

- ตอภาชนะบรรจุลงดิน - ติดปายหามสูบบุหร่ี - อยาใชรวมกับสารเคมีที่เขากันไมได

- ปองกันสารเกิดเพลิงไหมในบริเวณการทํางาน - อยานําสารที่ใชแลวใสเขาไปในภาชนะบรรจุใหม 8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

8.3 การปองกันการรั่วและการหก - อยาเขาไปบริเวณสารรั่วไหลจนกวาจะมีการทําความ (Spill and Leak Procedures) สะอาดเรียบรอย

- ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล - ดับเพลิง หรือยายแหลงจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหก

ร่ัวไหล - ยายหรือแยกสารไวไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล - ปองกันไมใหสารเคมีที่หกร่ัวไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ

Page 149: VOCs

149

- เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิดเพื่อนําไปกําจัด - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทราย ดิน แรเวอรมิคิวไลด หรือวัสดุดูดซับที่ไมทําปฏิกิริยากับสารเคมี

- ลางบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว

- การพิจารณาการกําจัด ใหปฏิบัติตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟม น้ํา ฉีดเปนฝอย

***********************************************

Page 150: VOCs

150

สารเบนซิลคลอไรด (Benzyl chloride) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : เบนซิล คลอไรด 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Omega – Chlorotoluene , Chlorophenyl

methane ;(chloromethyl)Benzene ; Alpha – Chlorotoluene ; Tolyl chloride;, Benzyl chloride.

สูตรทางเคมี : C7H7 Cl 1.3 การใชประโยชน(Use) : -

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1738

2.2 CAS No. :100-44-7 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้เปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : เบนซิล คลอไรด เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm คา LD50 :1,231 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boilling Point) :177-181 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : -43 ถึง -39 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 0.91 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.05 กรัม/100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.1 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นฉุน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) :74 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) :1.1 % - คาสูงสุด (UEL) : 14 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) :585 ํซ

Page 151: VOCs

151

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เมื่อสัมผัสกับน้ําจะทําปฏิกิริยาอยางชา ๆ ไดก าซไฮไดรเจนคลอไรด และเบนซินแอลกอฮอล

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะ น้ํา สารออกซิไดซ เหล็ก และเกลือของเหล็ก ทองเหลือง

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) 5.7 สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ความชื้น น้ํา

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป สารนี้จะไปทําลายเยื่อเมือกอยางรุนแรง ทําใหกลามเนื้อหดเกร็ง เกิดการอักเสบ และเกิดการบวมน้ําของกลองเสียง และหลอดลมใหญ เกิดอาการไอหายใจถี่เร็ว ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน เปนโรคปอดอุดตันเนื่องจากสารเคมี : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเปนแผลไหมที่ปาก ลําคอ ทอง กลองเสียงบวม ชัก อัมพาต : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเปนแผลไหมที่ปาก ลําคอ ทอง กลองเสียงบวม ชัก อัมพาต

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดแผลไหม [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] และสามารถทําลายเนื้อเยื่อผิวหนัง ทําใหเกิด

ผ่ืนแดง และปวด : การสัมผัสถูกตา จะทําใหน้ําตาไหล ทําใหเกิดการระคายเคือง ทําลายเนื้อเยื่อบุตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm

Page 152: VOCs

152

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง น้ํา โลหะ สารออกซิไดซ เพราะ (Fire and Explosion Prevention) ทําใหเกิดกาซ กรด เมื่อสัมผัสกับผิวโลหะจะ

ทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนที่ไวไฟ และระเบิดได 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณ หนากากใหเหมาะสมกับชวง (Respiratory Protection Type) ความเขมขนของสาร โดยใชสารเคมีประเภทที่ เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ํา และสบู ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผาและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที โดยใชนิ้วถางตาใหกวาง ฉีดลางจนมั่นใจวาสารเคมีออกหมด นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล - ถากินหรือกลืนเขาไป และผูปวยยังมีสติอยู ใหผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก ๆ แลวกระตุนทําใหเกิดการอาเจียน นําสงไปพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท - เก็บในที่เย็น และแหง พื้นที่ที่มีการระบาย

อากาศที่ดี

Page 153: VOCs

153

- เก็บหางจาก เปลวไฟ ประกายไฟ ความรอน และแหลงจุดติดไฟ

- ลางทําความสะอาดทั่วภายหลังจากการเคลื่อนยายสารเคมี

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหอพยพบุคคลออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

- ปดคลุมดวยปนูขาวแหง ทราย หรือโซดาแอส และเก็บใสภาชนะบรรจทุีปดมิดชิด และนําไปกําจดัเปนกากของเสีย -ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเทาบูท และถุงมือยาง - การพิจารณาการกําจัด ติดตอผูเชี่ยวชาญดานการกําจัดของเสยีของสารนี้ ใหดูกฎขอบังคับดานสิ่งแวดลอมของทางราชการ

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง โฟมที่เหมาะสม หามใชน้ําในการดับเพลิง

*****************************************

Page 154: VOCs

154

สาร 1,4 –ไดคลอโรเบนซีน (1,4-Dichlorobenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :1,4-ไดคลอโรเบนซีน 12 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Paracide, Dichloricide, DCB,

Dichlorocide, PDCB, PDB, Para – zene, Paramoth, P –chlorophenyl chloride, P- dichlorobenzol , Evola, Globol, PARA, Paradow, Paranuggets, Persia- perazol, Santochlor; Dichlorobenzene, 1,4

สูตรทางเคมี : C6H4 Cl2 1.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้ใชเปนสารวิเคราะห และทดสอบ

(Reagent) ทางเคมีในหองปฏิบัติการ 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :3077

2.2 CAS No. :106-46-7 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้เปนสารกอมะเร็ง นอกจากนี้ยังมีผล

เร้ือรัง ทําลายตับ ไต เลือด และปอด 3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,4-ไดคลอโรเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :75 ppm คา LD50 :500 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 174 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) : 53 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 0.4 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : < 0.1 กรัม/100 มิลลิลิตรที่ 21 ํซ 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.25 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของแข็ง สีขาว กล่ินเฉพาะตัว 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 155: VOCs

155

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 65 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : > 500 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : เมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซอยางแรง อาจกอใหเกิดเพลิงไหมได

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง อะลูมิเนียม 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเกิดเพลิงไหม จะทําใหเกิดกาซพิษของ (Hazardous Decomposition Products) ไฮโดรเจนคลอไรด กาซฟอสจีน คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความรอน เปลวไฟ แหลงจุดติดไฟ

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเขาไป จะทําใหปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน เวียนศีรษะ เซื่องซึม ทําใหระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจสวนบน หมดสติ ถาหายใจเขาไปปริมาณมาก จะทําใหกดประสาทสวนกลาง : การกินหรือกลืนเขาไป ทําใหปวดศีรษะ มีอาการอาเจียน มึนงง ระคายเคืองตอกระเพาะอาหาร และลําไส กดระบบประสาทสวนกลาง

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคือง

: การสัมผัสถูกตา จะทําใหเกิดการระคายเคือง 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ผลเร้ือรัง ทําลายตับ ไต เลือด และปอด (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 75 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

Page 156: VOCs

156

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง ความ (Fire and Explosion Prevention) รอน อะลูมิเนียม 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ : ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขน (Respiratory Protection Type) ของสาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบ-

หายใจที่มีถังอากาศในตัว(SCBA) พรอมห น า ก า ก แ บ บ เ ต็ ม ห น า แ ล ะ มี ค า APF.=10,000 หรือแบบอื่นที่เหมาะสม

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ํา และสบู ปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมถอดเสื้อผ าและรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทําการลาง นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากินหรือกลืนเขาไป อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ถาผูปวยยังมีสติใหดื่มน้ําปริมาณมากนําไปสงพบแพทยโดยดวน

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท - เก็บในที่เย็น และแหง พื้นที่ที่มีการ

ระบายอากาศที่ดี

Page 157: VOCs

157

- เก็บห างจาก เปลวไฟ ประกายไฟ ความรอน และแหลงจุดติดไฟ อยาเก็บใกลกับสารออกซิไดซ

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก -ปดแหลงจุดติดไฟ เปลวไฟ หามสูบ (Spill and Leak Procedures) บุหร่ีบริเวณนี้ -เก็บสารนี้อย างระมัดระวัง ใสภาชนะ

บรรจุที่สะอาด และแหงปดมิดชิด - เคล่ือนยายออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล - ใหสวมใสอุปกรณชวยหายใจชนิดมีถัง

อากาศในตัว (SCBA) และชุดปองกันแบบคลุมเต็มตัว

- ฉีดลางบริเวณที่หกร่ัวไหลดวยน้ํา - ใหกําจัดตามวิธีของหนวยราชการ และ

กฎระเบียบส่ิงแวดลอมทางราชการ 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ

กําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง

แอลกอฮอลโฟม

**********************************************

Page 158: VOCs

158

สาร 1,2 –ไดคลอโรเบนซีน (1,2-Dichlorobenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : 1,2-ไดคลอโรเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : DCB, Dichloricide, O-Dichlorobenzol,

Chloroben, Cloroben, Dowtherme, ODCB, Special termite fluid, Termitkil, Chloroden, Dilantin db, Dilatin db; O,p-Dichlorobenzene mixture, Dichlorobenzol, ODB, Dizene; Dichlorobenzrene, 1,2-;

สูตรทางเคมี : C6H4 Cl21.3 การใชประโยชน(Use) : สารนี้ใชเปนยาในการระงับ ปองกัน ควบคุม

ไล กําจัดแมลง และสัตวอ่ืน หรือเพื่อประโยชน ในการดับกลิ่น

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1591

2.2 CAS No. :95-50-1 2.3 สารกอมะเร็ง : สารนี้ไมเปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,2-ไดคลอโรเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 25 ppm คา LD50 : 1,516 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 180 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -15 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 1 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : 0.0145 กรัม/100 มิลลิลิตร. 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.308 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน : เปนของเหลว ไมมีสี กลิ่นคลายอะโรมาติก (Appearance colour and Odor) 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 159: VOCs

159

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 66 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 2.2 % -คาสูงสุด (UEL) : 9.2 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 648 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง อะลูมินัมที่รอน และ

โลหะผสมอลูมินั่ม 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด

(Hazardous Decomposition Products) คลอไรด และคลอรีน 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก :การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจสวนบน ทําใหตับ และไตไดรับอันตราย ทําใหเกิดอาการเซื่องซึม หมดสติ และระบบประสาทสวนกลางถูกกด :การกินหรือกลืนเข าไป จะทํ าใหระบบประสาทสวนกลางถูกกด เกิดการทําลายไต และตับ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดกการ [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] ระคาย เคืองตอผิวหนัง มีอาการคัน อักเสบ

เปนแผลพุพอง :การสัมผัสถูกตา จะทําใหน้ําตาไหล ปวดแสบ ปวดรอน และเปนแผลไหม ไอระเหยของสารนี้ทําใหระคายเคืองตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสสารนี้ในระยะยาวจะมีผลตอระบบ (Effects of Over Exposure ,Long – term) สืบพันธุ ทารกในครรภ ทําลายตับ และไต

อวัยวะเพศชาย เกิดความผิดปกติที่กลามเนื้อ และโครงกระดูก

6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 25 ppm 7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures)

Page 160: VOCs

160

7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information) 7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง อ ลูมินัม (Fire and Explosion Prevention) ที่รอน และโลหะผสม อลูมินัม 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ (Respiratory Protection Type)

:ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของสาร โดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม

7.1.4 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี 7.1.5 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกนัสารเคมี 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที

ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ํ าปริมาณมาก ๆ

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหลางบวนปากดวยน้ํา และนําไปสงพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ใชในที่มีการ

ระบายอากาศเพียงพอ - เก็บในที่เย็น และแหง - เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล ให

เคลื่อนยายออกจากบริเวณที่หกรั่วไหลและกัน

Page 161: VOCs

161

บุคคลที่ไมเกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สารหกร่ัวไหล

- ปดแหลงจุดติดไฟทั้งหมด - ใหหยุดการรั่วไหล ถาสามารถทําไดโดย

ปราศจากความเสี่ยงอันตราย - ถาหกรั่วไหลเล็กนอยใหทําการเก็บสวนที่

หกร่ัวไหล และทําความสะอาดโดยใหอยูในดานเหนือลม

-ถาหก ร่ัวไหลปริมาณมากใหกั้นแยกบริเวณ และปมใสในภาชนะบรรจุเพื่อนํากลับมาใชใหม ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อไมใหไอระเหยฟุงกระจาย ดูดซับดวยทราย และดิน เก็บกวาดหรือตักใสในภาชนะบรรจุที่ทําจากโลหะที่สะอาดเพื่อนําไปกําจัด

-การพิจารณาการกําจัด ปฏิบัติใหเปนไปตามกฏระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีดเปนฝอย โฟม

*********************************************

Page 162: VOCs

162

สารเฮกซาคลอโร-1,3-บิวตาไดอีน (Hexachloro-1,3-butadiene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : เฮกซาคลอโรบิวตาไดอีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonym) : HCBD, Perchlorobutadiene;

1,3-Hexachlorobutadiene; Dolen-pur, Gp-40-66:120; Hexachlorobuta-1,3-diene, Hexachlorobutadiene1,3 -;

1,1,2,3,4,4-Hexachloro-1,3-Butadiene สูตรทางเคมี : C4Cl61.3 การใชประโยชน(Use) : -

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2279

2.2 CAS No. :87-68-3 2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้เปนสารกอมะเร็ง

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :เฮกซาคลอโร-1,3-บิวตาไดอีน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 0.02 ppm คา LD50 :87 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 215 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -21 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 0.15 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :0.05 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.554 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี กล่ินฉุน คลายเทอร

เพนไทน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 90 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - %

Page 163: VOCs

163

- คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 610 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ พลาสติก ยาง และสภาวะที่

ควรหลีกเลี่ยง คือ เปลวไฟ การเชื่อม และความชื้น

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :สารจะเปลี่ยนเปนเปอรออกไซด เมื่อเก็บไว (Hazardous Decomposition Products) นาน ๆ

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) :ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคืองตอระบบทางเดินหายใจ ทําลายตับ ทําใหแสบไหม ไอ เจ็บคอ และอาการโคมา : การกินหรือกลืนเขาไป ทําใหแสบไหม ปวดทอง มีอาการช็อก และหมดสติ

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [(Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เคืองตอผิวหนัง ทําใหเจ็บปวด เปนผ่ืนแดง

ผิวหนังแสบไหม แผลพอง : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกดิการระคายเคือง ทําใหเปนผ่ืนแดง เจ็บปวด มองไมเห็น

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure, Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) :0.02 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ ความรอน (Fire and Explosion Prevention) 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ

Page 164: VOCs

164

(Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พรอมหนากาก แบบเต็มหนา และมีคา APF.=10,000 หรือแบบอื่นที่เหมาะสม

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : - 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : -

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ํา และสบูปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดเสื้อผา และรองเทาที่ปนเปอนสารเคมีออก และนําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล - ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยบวนปากดวยน้ํา อยากระตุนใหเกิดการอาเจียน ใหผูปวยดื่มน้ําปริมาณมาก ๆ และนําไปสงพบแพทย

8. ขอปฏิบัตทิี่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจดัเก็บ (Handling and Storing) - เกบ็ในภาชนะบรรจุใหมดิชิด

- เกบ็ในที่ที่มกีารระบายอากาศเพยีงพอ - เก็บหางจากอาหารและบริเวณที่เก็บอาหาร - เก็บหางจากเปลวไฟ

8.2 การปองกนัการกัดกรอนของสารเคม ี(Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : เก็บสวนทีห่กร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปด

มิดชิดเพื่อนาํไปกําจัด -ใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือ

วัสดุเฉื่อย และเคลื่อนยายไปทีป่ลอดภัย - อยาปลอยใหสารรั่วไหลออกสูส่ิงแวดลอม - ใหสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายที่

เหมาะสม

Page 165: VOCs

165

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชผงดับเพลิง น้ําฉีดเปนฝอย โฟม

คารบอนไดออกไซด โฟมตานแอลกอฮอล หรือโพลีเมอรโฟม

********************************************

Page 166: VOCs

166

สาร 1,3 –ไดคลอโรเบนซีน (1,3 –Dichlorobenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : 1,3-ไดคลอโรเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : m-dichlorobenzene , m-dichlorobenzol , meta-

dichlorobenzene , m- phenylenedichloride. สูตรทางเคมี : C6H4 Cl21.3 การใชประโยชน(Use) : -

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2810

2.2 CAS No. :541-73-1 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,3-ไดคลอโรเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) : 100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - คา LD50 : - 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 173 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -24 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 5 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 39 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลาย 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.29 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ไมมีสี 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 63 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : -% -คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 648 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : -

Page 167: VOCs

167

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซอยางแรง อะลูมินัม โลหะผสมอลูมิเนียม และ ความชื้น

5.6 สารอันตรายที่เกดิจากการสลายตัว : จะเกิดกาซพษิ ไฮโดรเจนคลอไรด และ (Hazardous Decomposition Products) คลอรีน ทําปฏิกิริยากับสารออกซิไดซที่แรง และเกดิปฏิกิริยาที่รุนแรงกับอะลูมิเนียม

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ และการกลืนกนิ

: การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการไอ ทําใหเกิดอาการเซื่องซึม วิงเวียน เจ็บคอ อาเจียน : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดการไหม อุจจาระรวง วิงเวียน อาเจียน ไมควรกินหรือ ดื่ม หรือสูบบุหร่ีระหวางทํางาน และลางปาก ดวยน้ําหลาย ๆ คร้ัง และนําสงแพทย

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดผ่ืนแดง [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)) เจ็บปวด

: การสัมผัสถูกตา จะทําใหเจ็บแสบปวดรอน ไอระเหยของสารนี้ทําใหระคายเคืองตา

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : ระคายเคืองตา ผิวหนัง และระบบทางเดนิ (Effects of Over Exposure ,Short – term) หายใจ 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : มีผลตอตับ และไต (Effects of Over Exposure ,Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : -

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง อ ลูมินัม (Fire and Explosion Prevention) และโลหะผสม อลูมินัม 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกนัทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ (Respiratory Protection Type) สารโดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตวั ดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคา- APF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม 7.1.4 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี

Page 168: VOCs

168

7.1.5 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกนัสารเคมี 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที

ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ํ าปริมาณมาก ๆ

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหลางบวนปากดวยน้ํา และนําไปสงพบแพทย

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ใชในที่มีการ

ระบายอากาศเพียงพอ - เก็บในที่เย็น และแหง - เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน - เก็บแยกออกจากสารออกซิไดซที่แรง และ

อะลูมิเนียม 8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหลใหเก็บสวนที่ร่ัวและหกในถังปดใหมิดชิดเคลื่อนยายออกจากบริเวณที่หกร่ัวไหลและกันบุคคลที่ไมเกี่ยวของใหออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล และดูดซับของเหลวสวนที่เหลือดวยทรายหรือวัสดุเฉื่อยแลวนําออกไปเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในบริเวณดังกลาว อยาปลอยใหสารหกร่ัวไหลไปในสิ่งแวดลอม

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีดเปนฝอย โฟม

Page 169: VOCs

169

สาร 1,2,4 –ไตรคลอโรเบนซีน (1,2,4 -Trichlorobenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี : 1,2,4-ไตรคลอโรเบนซีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : unsym-Trichlorobenzene ; 1,2,4-

Trichlorobenzol สูตรทางเคมี : C6H3Cl31.3 การใชประโยชน(Use) : -

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :2321

2.2 CAS No. :120-82-1 2.3 สารกอมะเร็ง : -

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,2,4-ไตรคลอโรเบนซีน เปอรเซ็นต(Percent) : 90-100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 5 ppm (Ceiling value) คา LD50 : 756 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 213 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : 17 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 25 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 40 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : < 0.1 % 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.45 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส ไมมีสี 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 105 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 2.5 % -คาสูงสุด (UEL) : 6.6 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 571 ํซ

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : -

Page 170: VOCs

170

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ กรด ไอของกรด และความชื้น

5.6 สารอันตรายที่เกดิจากการสลายตัว : คารบอนมอนนอกไซด คารบอนไดออกไซด (Hazardous Decomposition Products) ไฮโดรเจนคลอไรด และฟอสจนี เมื่อไดรับ

ความรอน 5.7 สภาวะทีต่องหลีกเลี่ยง (Condition to Avoid) : ความรอน เปลวไฟ แหลงจดุติดไฟ และส่ิง

ที่ไปดวยกนัไมได 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ทางปาก และทางผิวหนัง : การหายใจเขาไป จะทําใหเกิดการไอ มีความรูสึกเจ็บปวดลําคอ หายใจถี่ส้ันไมเสมอกัน หมดความรูสึก ตับถูกทําลาย ปวดหัว อัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้น ความดันสูง และ มีอาการสั่น : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเจ็บในชอง ทอง ระคายเคือง รวมทั้งวิงเวียน อาเจียน อุจจาระรวง

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดผ่ืนแดง [(Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] การสัมผัสเปนเวลานาน ๆ จะทําใหผิวหนัง

ไหม อาจจะดูดซึมผานผิวหนัง คัน และ ผิวแหงหยาบ : การสัมผัสถูกตา ไอและของเหลวเปนสาเหตุของการระคายเคือง แดง แ ละเจ็บ ความเขมขนของไอมากกวา 5 ppm จะเปนสาเหตุใหเกิดการระคายเคืองอยางรุนแรง

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : ระคายเคืองตา ผิวหนัง และระบบทางเดนิ (Effects of Over Exposure ,Short – term) หายใจ 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : ละลายไขมันทีผิ่วหนัง และมผีลตอ (Effects of Over Exposure ,Long – term) ตับ และไต 6.5 คามาตรฐานความปลอดภยั ( TLV) : 5 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

Page 171: VOCs

171

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซอยางแรง (Fire and Explosion Prevention) 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกนัทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ(Respiratory Protection Type) สารโดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตวั

ดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม

7.1.4 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี 7.1.5 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกนัสารเคมี 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที

ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ํ าปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที และนําสงแพทยทันที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด นําสงไปพบแพทย

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ถากินหรือกลืนเขาไป ใหผูปวยอาเจียนทันที และนําไปสงพบแพทย หามมิใหส่ิงใด ๆ ขณะผูปวยหมดสติ

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ไวในที่มีการ

ระบายอากาศเพียงพอ เก็บในที่เย็น และแหง - เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน และแหลงจุดติดไฟ

- ปองกันถังที่บรรจุสารมิใหกระทบกระแทก หรือถูกทําลาย

- เก็บแยกจากวัสดุไวไฟ หรือที่ทําใหเกิดปฏิกิริยา - ไมใหถูกแสงแดดโดยตรง

Page 172: VOCs

172

- ถังที่วางเปลาอาจเกิดอันตรายเนื่องจากไอหรือของเหลวจากสารที่ตกคางอยู

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วหรือหก ให

นําแหลงจุดติดไฟทั้งหมดออกไป ใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลที่เหมาะสม ถาจําเปนใหกั้นแยกบุคคลไมใหเขาไปในบริเวณที่มีการหกหรือร่ัว เก็บบรรจุ และปดคลุมของเหลวถาเปนไปได ใชเครื่องมือและอุปกรณ ที่ไมติดไฟ รวบรวมของเหลวใสถังที่เหมาะสม หรือดูดซับดวยวัสดุเฉื่อย เชน ทรายแหง ดิน และนําไปใสในถังที่เก็บของเสียจากเคมี ไมใชวัสดุติดไฟ เชนขี้เล่ือย

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง น้ําฉีดเปนฝอย แอลกอฮอลโฟม

***********************************************

Page 173: VOCs

173

สาร 1-เอทธิล-4 –เมทธิลเบนซีน (1 –Ethyl -4- methylbenzene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี 1-ethyl-4-methylbenzene 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : p-ethyl-toluen; 4-ethyltoluene; 4-methyl

ethylbenzene; 1-ethyl-4-methyl-benzen; p-ethy lmethylbenzene; p-ethyltoluene

สูตรทางเคมี : C9H12

1.3 การใชประโยชน(Use) : - 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1993

2.2 CAS No. :622-96-8 2.3 สารกอมะเร็ง :สารนี้เปนสารกอมะเร็งตาม IARC, NTB,

ACGIH 3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1-ethyl-4-methylbenzene เปอรเซ็นต(Percent) : 98 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : - คา LD50 : 4,850 mg/ kg 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 162 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : - 62 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 3 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 25 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลาย 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 0.86 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เปนของเหลว ใส สีเหลืองออนมาก ๆ กล่ิน คลายสารโทลูอีน 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 36-39 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 1.2 % -คาสูงสุด (UEL) : 7 %

Page 174: VOCs

174

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 475 ํซ 5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซ อัลคาไลดที่แรง ดางเขมขน

สารฮาโลเจนอิสระ และสารประกอบ-ฮาโลจิเนต

5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนนอกไซด (Hazardous Decomposition Products) และไฮโดรคารบอน 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิสูง

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเขาไป ทําใหระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ น้ําทวมปอด ไอของสารอาจทําใหวิงเวียน หายใจไมออก และอาจเปนสาเหตุทําใหมีความรูสึกรอนในอก เปนอันตรายตอระบบประสาทสวนกลาง ตับ และไต ทําใหปวดศีรษะ มึนงง วิงเวียนศีรษะ มองเห็นไมชัด เหนื่อย ส่ัน ชัก หมดสติ หัวใจหยุดเตน และเสียชีวิต มีผลตอการเตนของหัวใจ : การกินหรือกลืนเขาไป จะทําใหเกิดการระคายเคือง มีกาซในกระเพาะและสําไส ทําใหคล่ืนเหียน วิงเวียน อาเจียน และทองรวง การกลืนกินเขาไปจํานวนมาก จะมีผลตอการกดระบบประสาทสวนกลาง และเปนสาเหตุของการทําลายปอด

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคืองตอผิวหนัง และชั้นใตผิวหนัง ถาสัมผัส

เปนเวลานานทําใหไขมันหลุดออกไป อาจเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดพิษอยางรุนแรง แสบ คัน ผิวหนังไหม แตก เกิดการติดเชื้อ สารนี้สามารถซึมผานผิวหนัง อาจเกิดการแพสารนี้ในบางคน

Page 175: VOCs

175

: การสัมผัสถูกตา ทําใหระคายเคืองตาทําลายแกวตา กระจกตา ปานกลางถึงรุนแรง ถาสัมผัสตาโดยตรง ไอของสารนี้ทําใหน้ําตาไหล กลัวแสง กระจกตาอักเสบ กระจกตาขุน ทําใหประสาทตาอักเสบ และมองไมเห็น

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : - (Effects of Over Exposure ,Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : - ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด : หลีกเลี่ยง สารออกซิไดซ ดางเขมขน กรด (Fire and Explosion Prevention) แหลงติดไฟ ความรอน 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ

(Respiratory Protection Type) สารโดยใชสารเคมีประเภทที่เหมาะสมเปนตัวดูดซับในการกรอง โดยใหใชอุปกรณที่มีคาAPF. = 50 หรือคาอื่นตามความเหมาะสม

7.1.4 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : ถุงมือที่ทํามาจากวัสดุ Laminated film ซ่ึงควรมีระยะเวลาที่จะทําใหเกดิการซึมผานผนังของถุงมือมากกวา 480 นาที และควรมีอัตราเสื่อมสภาพของถุงมืออยูในระดับดีมาก หรือถุงมืออ่ืน ๆ ทีดีกวา

7.1.5 การปองกนัอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : แวนตาแบบกอกเกิ้ลกนัสารเคมี 7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : -

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันที

ดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที พรอมทั้งถอดรองเทาและเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีออก และนําสงไปพบแพทย

Page 176: VOCs

176

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหลางตาทันทีดวยน้ํ าปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาถ่ี ๆ นําสงแพทยถายังมีการระคายเคืองตาอยู เพื่อใหแนใจวาลางตาสะอาด

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหายใจขัดใหออกซิเจนชวย รักษารางกายใหอบอุน นําสงไปพบแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : 8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุใหมิดชิด ใชในที่มีการระบายอากาศเพียงพอ เก็บในที่เย็น และแหง

- เก็บหางจาก เปลวไฟ ความรอน แยกจากสารเคมีอ่ืนที่เขากันไมได ใชอุปกรณที่ไมทําใหเกิดประกายไฟ

-มีการตอลงดินกับอุปกรณ และภาชนะบรรจ ุ เพือ่ลดการเกิดประจุไฟฟาสถิตยที่จะทําใหเกิดอันตรายจากเพลิงไหมได หรือการระเบิด

- อยาเก็บในภาชนะที่ไมมีฉลาก และใชในทางอุตสสาหกรรมเทานั้น

- หาม กิน ดื่ม หรือสูบบุหร่ีในบริ เวณเก็บสารเคมี

- ใหลางทําความสะอาดรางกาย ใหทั่วถึงภายหลังทําการเคลื่อนยายดวยสบู และน้ํา

- ถอดและซักทําความสะอาดเสื้อผากอนนาํกลบัมาใชใหม

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการรั่วไหล

ปองกันบุคคล และใหเคล่ือนยายออกจากบริเวณที่มีการรั่วไหล

- กั้นแยกเปนบริเวณอันตราย และหามเขา - ควรอยูเหนือลม

Page 177: VOCs

177

- แยกจ ากถั งบรรจุ รถ เ ล่ื อน ห รือรถบรรทุกถังบรรจุ เปนระยะที่ปลอดภัย

- ปดแหลงจุดติดไฟ ประกายไฟ หรือ เปลวไฟ

- ใหหยุดการรั่วไหลถาสามารถทําได โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

- ใชน้ําฉีดเปนฝอยเพื่อลดการแพรกระจายของไอ

- ทําสารหกเล็กนอยใหดูดซับสวนที่หกร่ัวไหลดวยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไมติดไฟ

- เก็บสวนที่หกร่ัวไหลในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด เพื่อนํ าไปกํ าจัด ถาสารหกปริมาณมากใหกั้นแยกจากบริเวณสารหกร่ัวไหล

-ใหสวมใส อุปกรณปองกันอันตรายท่ีเหมาะสม

-ปองกันไมใหสารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสูทอระบายน้ํา แมน้ํา และแหลงน้ําอื่น ๆ

-ลางบริ เวณสารหกรั่ วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบรอยแลว

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ใหเปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกําหนด

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชสารคารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง และโฟม

**************************************************

Page 178: VOCs

178

สาร Freon114 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :1,2-ไดคลอโรเตตราฟลูออโรอีเทน (1,2-Dichlorotetrafluoroethane)

1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : Arcton 33 ; Arcton 114 ; Cryofluoran ; Cryofluorane; sym-dichlorotetrafluoroethane;

1,2-Dichloro-1,1,2,2-tetrafluoroethane ; Dichlorotetrafluoroethane; Ethane, 1,2-dichlorotetrafluoro- ; F 114 ; FC 114 ; Fluorane 114 ; Fluorocarbon 114 ; Freon 114 ; Frigen 114 ; Frigiderm ; Genetron 114 ; Genetron 316 ; Halocarbon 114 ; Ledon 114 ; Propellant 114 ; R 114 ; 1,1,2,2-Tetrafluoro-1,2-dichloroethane ; Ucon 114

สูตรทางเคมี : C2 Cl2F4

1.3 การใชประโยชน(Use) :- 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :-

2.2 CAS No. :76-14-2 2.3 สารกอมะเร็ง :ไมเปน

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :1,2-ไดคลอโรเตตราฟลูออโรอีเทน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 1,000 ppm คา LD50 : คา LC50 , หนู โดยการหายใจ : 72 ppm 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 3.8 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -94 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 31 ปอนดตอตารางนิ้ว ที่ 25 ํ ซ (หรือ1,602 มิลลิเมตรของปรอท )

Page 179: VOCs

179

4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ละลายไดเล็กนอย 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.46 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance Colour and Odor) : เปนแกส ไมมีสี 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : - ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : - % - คาสูงสุด (UEL) : - % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :โลหะอัลคาไลด หรืออัลคาไลด เอิ ร ท

อลูมิเนียมผง สังกะสี เบอรลิลเลียม เปนตน 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กรดเกลือและกรดกัดแกว (Hazardous Decomposition Products) 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อุณหภูมิสูงและประกายไฟ ภาชนะอาจ

ระเบิดเมื่อโดนไฟ ซ่ึงจะปลอยควันพิษออกมาภายใตสภาวะที่เกิดไฟ

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

: การหายใจเอาแกสเขาไปปริมาณมากจะทําใหเกิดอันตรายอาจเปนสาเหตุทําใหหัวใจเตนไมสม่ําเสมอ ติดขัด หมดสติ หรือเสียชีวิตได

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนังที่มากเกินจะทําให [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เกิดการระคายเคืองผิวหนังหรืเปนผ่ืน : การสัมผัสถูกตา จะกอใหเกิดการระคาย

เคือง น้ําตาไหล การมองเห็นพรามัว ไมชัดเจน

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : การหายใจไอที่ความเขมขนสูง ๆ จะเปน- (Effects of Over Exposure ,Short – term) อันตราย ทําใหหวัใจเตนผิดปกติ คล่ืนไส

ปวดศรีษะ ออนเพลีย การไหลเวยีนโลหติผิดปกติ หมดสติ หรือเสียชีวิตได ลดปริมาณออกซิเจนใน

Page 180: VOCs

180

อากาศ การสัมผัสสารนี้ในรูปของเหลวจะทําให เกิด frostbite

6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว :- (Effects of Over Exposure , Long – term) 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1,000 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :- (Fire and Explosion Prevention) 7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ

เหมาะสม 7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม

(Respiratory Protection Type) 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใช อุปกรณปองกันหายใจที่ (Hand Protection) เหมาะสม 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม

7.1.6 การปองกนัอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังดวยน้ําปริมาณมาก ๆ

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาโดยทันทีดวยน้ําปริมาณมาก ๆ อยางนอย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นําสงไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหยุดหายใจใหชวยผายปอด

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล :ใหนํ าสงแพทยทันที ถามีสติใหดื่มน้ํ า พรอมถอดเสื้อผาที่ปนเปอนสารออก ทําความสะอาดกอนใชอีกครั้ง

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี - เก็บภาชนะบรรจุที่ปดแนน

Page 181: VOCs

181

- อยาหายใจ เอาไอระเหย เขาไป เขาตา สัมผัสถูกผิวหนัง หรือ เสื้อผา

- สวนที่เหลือตกคางอาจจะทําใหเกิดอันตรายจากภาชนะที่วาง เปลา ใชอยางระมัดระวัง

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ใหอพยพคนที่ไมเกี่ยวของทั้งหมดออกจาก

พื้นที่ - สวมใสอุปกรณปองกันใหเหมาะสม - กําจัดแหลงจุดติดไฟใด ๆ จนกระทั่งพิจารณา

แลววาจะไมเกิดการระเบิดและอันตรายจากไฟ - เก็บสวนที่หกร่ัวไหลและแยกออกจากบริเวณ

นั้น ถาสามารถทําไดโดยไมเกิดอันตราย - นําสารไปกําจัดโดยปฏิบัติตามกฎระเบียบ

ของกฎหมาย - การพิจารณาการกําจัดใหปฏิบัติตามกฏ

ระเบียบของกฏหมาย 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ

กําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใชตัวกลางที่เหมาะสมในการดับสารไวไฟ

************************************

Page 182: VOCs

182

สาร 1,1-ไดคลอโรเอทธิลลีน ( 1,1-Dichloroethylene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) - ช่ือทางเคมี :1,1-ไดคลอโรเอทธิลลีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : 1,1- Dichloroethene (9CI) ;Sconatex

1,1-Dichloroethylene ; Ethene, 1,1-dichloro- ; NCI-C54262 ; RCRA waste number U078 ; VDC ; Vinylidene chloride ; Vinylidene chloride (II); Vinylidene dichloride ; Vinylidine chloride; Chlorure de vinylidene

สูตรทางเคมี : C2 H4Cl21.3 การใชประโยชน(Use) :ใชทําสียอมผา ทําน้ําหอม ทําน้ํามันแลคเกอร

2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :1303

2.2 CAS No. :75-35-4 2.3 สารกอมะเร็ง :-

3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) : 1,1-ไดคลอโรเอทธิลลีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) : 5 ppm คา LD50 : 1,500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boiling Point) : 31.9 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point)/จุดเยือกแข็ง : -122.5 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 67 กิโลพาสคาล ที่25 ํซ ( 500 มิลลิเมตรของ ปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) : ไมละลายน้ํา 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) : 1.213 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance Colour and Odor) : ของเหลว ไมมีสี คลายคลอโรฟอรม 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

Page 183: VOCs

183

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : -18 ํซ 5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ(Flammable Limits) - คาต่ําสุด (LEL) : 7.3% -คาต่ําสุด (LFL) : 7.3% - คาสูงสุด (UEL) : 16% -คาสูงสุด(UFL) : 16%

5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : 570 ํซ 5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) : - 5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) :สารออกซิไดซ ทองแดง อะลูมินัม

และโลหะผสมของสารเหลานี้ เปอรออกไซด ดางแก ออกซิเจน.

5.6 สารอันตรายที่เกดิจากการสลายตัว :คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด (Hazardous Decomposition Products) แกสไฮโดรเจนคลอไรด

แกสฟอสจีน คลอรีน 5.7 สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง ความรอน ความชื้น อากาศ แสงอาทิตย

โดยตรง 6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data)

6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจและการกลืนกิน การหายใจเขาไป ไอระเหยหรือละอองไอจะทําใหเกิดอาการระคายเคืองที่เยื่อเมือกและบริเวณชวยหายใจสวนบน การกิน เปนพิษเมื่อกลืนกิน.

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) : การสัมผัสถูกผิวหนัง ระคายเคืองผิวหนัง. [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] การสัมผัสตา ระคายเคืองตอดวงตา 6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : (Effects of Over Exposure ,Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : เปนอันตรายเมื่อสูดดม อาจมีความเสี่ยง (Effects of Over Exposure , Long – term) ทําให เกิดผลกระทบที่ ไมสามารถแก

กลับคืนได กอการกลายพันธุ 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 5 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :- (Fire and Explosion Prevention)

Page 184: VOCs

184

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ เหมาะสม

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม (Respiratory Protection Type)

7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ :ใหใช อุปกรณปองกันหายใจที่ (Hand Protection) เหมาะสม 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : ใหใชอุปกรณปองกันหายใจที่เหมาะสม 7.1.6 การปองกันอื่น ๆ :

7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid) 7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง : ใหลางออกดวยน้ําปริมาณมาก เปนเวลา

อยางนอย 15 นาที. ถอดเสื้อและรองเทาที่เปอนสาออก ไปพบแพทย

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา : ใหลางดวยน้ําปริมาณมาก เปนเวลาอยางนอย 15 นาที ตองแนใจวาไดลางตาอยางเพียงพอ โดยใชนิ้วมือแยกเปลือกตาออกจากกันระหวางลาง ไปพบแพทย

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ : ใหยายผูปวยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาไมหายใจ ใหการชวยหายใจ ถาหายใจลําบาก ใหออกซิเจน

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : ถากลืนกิน ใหใชน้ําบวนปากในกรณีที่ผูปวยที่ยังมีสติอยู ไปพบแพทยทันที

8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions) 8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) : - ปดภาชนะใหสนิท

- เก็บใหหางจากความรอน ประกายไฟ และเปลวไฟ -อาจ เกิ ด เปอร ออกไซด หาก เก็ บไวนาน ใหบันทึกวันที่บนภาชนะและทดสอบการเกิดเปอรออกไซดเปนระยะ ๆ - เก็บที่อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : - 8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) - ดูดซับดวยปูนขาวแหง ทราย หรือโซดา

แอช

Page 185: VOCs

185

-เก็บในภาชนะที่ปดโดยใชเครื่องมือที่ไมกอใหเกิดประกายไฟและเคลื่อนยายออกสูที่โลง. -ระบายอากาศในบริ เวณนั้น และลางตําแหนงที่สารหกรั่วไหลหลังจากเก็บสารออกหมดแลว.

8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) : เผาในเตาเผาสารเคมี ซ่ึงติดตั้งเครื่องเผาทําลายสารคารบอน (afterburner) และเครื่องฟอก (scrubber) แตตองระมัดระวังเร่ืองการจุดติดไฟเปนพิเศษ เพราะสารนี้ไวไฟสูง.

8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) : Carbon dioxide, ผงเคมีแหง หรือโฟมที่ เหมาะสม.

*********************************************

Page 186: VOCs

186

สาร ทราน 1,3- ไดคลอโรโพรพีน (Trans-1,3 –Dichloropropene) 1.รายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (Product Data)

1.1 ช่ือทางการคา (Trade Name) ช่ือทางเคมี :ทราน-1,3-ไดคลอโรโพรพีน 1.2 ช่ือพองอื่น ๆ (Synonyms) : E-1,3-Dichloropropene; (E)-1,3-

dichloro-1-Propene ; trans-1,3-dichloro-1-propene; trans-1,3-dichloropropylene

สูตรทางเคมี : C3H4Cl21.3 การใชประโยชน(Use) :ใชเปน soil fumigant และใชในการสังเคราะห

สารอินทรีย 2. การจําแนกสารเคมีอันตราย ( Chemical Classification) 2.1 U. N. Number :-

2.2 CAS No. :10061-02-6 2.3 สารกอมะเร็ง - สารนี้เปนสารกอมะเร็ง กลุม 2 B ตามบัญชี

รายช่ือของ IARC 3. สารประกอบที่เปนอันตราย (Hazardous Ingredients) 3.1 ช่ือสารเคมี(Substances) :ทราน-1,3-ไดคลอโรโพรพีน เปอรเซ็นต(Percent) :100 เปอรเซ็นต คามาตรฐานความปลอดภัย(TLV) :1 ppm คา LD50 : - 4.ขอมูลทางกายภาพและเคมี(Physical and Chemical Data)

4.1 จุดเดือด (Boilling Point) :112 ํซ 4.2 จุดหลอมเหลว (Melting Point) :-84 ํซ 4.3 ความดันไอ (Vapour Pressure) : 40-52 มิลลิเมตรของปรอท ที่ 20 ํซ 4.4 การละลายไดในน้ํา(Solubility in water) :0.15 กรัม/100 มิลลิลิตร 4.5 ความถวงจําเพาะ(Specific Gravity) :1.22 4.6 อัตราการระเหย (Evaporating Rate) : - 4.7 ลักษณะ สี และ กล่ิน (Appearance colour and Odor) : เ ป นของ เหลว ไม มี สี ก ล่ินคล า ย

คลอโรฟอรม 4.8 ความเปนกรด- ดาง (pH-value) : -

5. ขอมูลดานอัคคีภัยและการระเบิด (Fire and Explosion Hazard Data) 5.1 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 35 ํซ

5.2 ขีดจํากัดการติดไฟ (Flammable Limits) คาต่ําสุด (LEL) : 5.3 %

Page 187: VOCs

187

คาสูงสุด (UEL) :14.5 % 5.3 อุณหภูมิสามารถติดไฟไดเอง (Autoignition Temperature) : -

5.4 การเกิดปฏิกิริยาทางเคมี (Chemical Reactivity) :เสถียร ไวไฟ เขาไมไดกับสารออกซิไดซ : อลูมิเนียม อลูมิเนียมอัลลอยด เกลือของโลหะบางชนิดและฮาโลเจน

5.5 สารที่ตองหลีกเลี่ยงจากกัน (Materials to avoid) : สารออกซิไดซิ่ง สภาวะที่ตองหลีกเลี่ยง : ที่ซ่ึงการถายเทอากาศไมดี แหลงความรอน 5.6 สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : กาซฟอสจีน กรดไฮโดรคลอริค (Hazardous Decomposition Products) คารบอนมอนนอกไซด

6. ขอมูลอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazard Data) 6.1 ทางเขาสูรางกาย (Ways of Exposure) : ทางหายใจ ผิวหนัง และปาก

:การหายใจเอาสารนี้เขาไป จะทําใหงุนงง อาเจียน ทองเสีย ปวดทอง ชัก มองไมชัด อาจทําลายตับ และไต มีผลกระทบตอเลือดและปอด

6.2 อันตรายเฉพาะที่ (ผิวหนัง ตา เยื่อบุ ) :การสัมผัสถูกผิวหนัง ทําใหเกิดการระคาย [Local Effects (Skin Eyes Mucous Membranes)] เคือง ทําลายไขมันบนผิวหนัง ผิวหนังอักเสบ

: การสัมผัสถูกตา ทําใหเกิดการระคายเคือง ทําลายเยื่อบุตา :การกลืนกินเขาไปจะทําใหคล่ืนไส อาเจียน ปวดทอง ระคายเคืองทางเดินอาหาร

6.3 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะสั้น : - (Effects of Over Exposure , Short – term) 6.4 ผลการสัมผัสสารที่มีปริมาณมากเกินไปในระยะยาว : การสัมผัสกับสารนี้เปนระยะเวลานานหรือ (Effects of Over Exposure , Long – term) การสัมผัสสารซ้ําอาจทําใหตับ และไตถูกทําลาย

ได 6.5 คามาตรฐานความปลอดภัย ( TLV) : 1 ppm

7. มาตรการดานความปลอดภัย (Safety Measures) 7.1 ขอมูลการปองกันโดยเฉพาะทาง (Special Protection Information)

7.1.1 การปองกันไฟและการระเบิด :หลีกเลี่ยงไอระเหยของสารไมใหเกิด (Fire and Explosion Prevention) สวนผสมกับอากาศที่ระเบิดได ที่อุณหภูมิสูง

Page 188: VOCs

188

กวา 35 องศาเซลเซียส และหลีกเลี่ยงสภาวะที่มีประกายไฟ แหลงความรอน แหลงจุดติดไฟ และประจุไฟฟาสถิตย

7.1.2 การระบายอากาศ (Ventilation) :ใหมีการระบายอากาศที่ดี และเพียงพอ เหมาะสม

7.1.3 ชนิดของอุปกรณปองกันทางการหายใจ :ใชอุปกรณใหเหมาะสมกับความเขมขนของ (Respiratory Protection Type) สาร โดยใชอุปกรณชวยหายใจที่มีถังอากาศใน

ตัว (SCBA) พรอมหนากากแบบเต็มหนา 7.1.4 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับมือ (Hand Protection) : เลือกใชถุงมือประเภทที่เหมาะสม 7.1.5 การปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตา (Eye Protection ) : สวมใสแวนตานิรภัย

7.1.6 การปองกันอื่น ๆ : - 7.2 การปฐมพยาบาล (First Aid)

7.2.1 กรณีสัมผัสสารเคมีทางผิวหนัง :ถาสัมผัสถูกผิวหนัง ใหฉีดลางผิวหนังทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที พรอมทั้ งถอดรองเทาและเสื้อผ าที่ เปอนสารเคมีออก ซักและทําความสะอาดเสื้อผาและรองเทากอนที่จะนํามาใชใหมอีกครั้ง

7.2.2 กรณีสัมผัสสารเคมีทางตา :ถาสัมผัสถูกตา ใหฉีดลางตาทันทีดวยน้ําปริมาณมากเปนเวลาอยางนอย 15 นาที

7.2.3 กรณีไดรับสารเคมีโดยการหายใจ :ถาหายใจเขาไป ใหเคลื่อนยายผูปวยออกสูบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาผูปวยหยุดหายใจใหชวยผายปอด ถาหายใจติดขัดใหออกซิเจนชวย นําสงไปพบแพทยทันที

:ถากลืนหรือกินเขาไป ถาผูปวยยังมีสติอยูใหบวนปากดวยน้ํา นําสงแพทยทันที

7.2.4 ขอมูลเพิ่มเติมในการรักษาพยาบาล : - 8. ขอปฏิบัติที่สําคัญ ( Special Instructions)

8.1 การขนยายและการจัดเก็บ (Handling and Storing) - เก็บในภาชนะบรรจุที่ปดมิดชิด - เก็บในหอง / สถานที่ทนไฟ (Fire proof ) - เก็บแยกออกจากสารออกซิไดซ - เก็บใหหางจากการเอื้อมถึงของมือเด็ก -เก็บในที่อากาศถายเทดี

8.2 การปองกันการกัดกรอนของสารเคมี (Corrosiveness) : -

Page 189: VOCs

189

8.3 การปองกันการรั่วและการหก (Spill and Leak Procedures) : - 8.4 การกําจัดสิ่งปฏิกูลที่เกิดจากสารเคมี (Disposal Methods) :ให เปนไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการ

กําหนด 8.5 การใชสารดับเพลิง (Extinguishing Media) :ใหใชน้ําฉีดเปนฝอย ผงเคมีแหง หรือ-

คารบอนไดออกไซด

*********************************************

Page 190: VOCs

190

เอกสารอางอิง

1. www.pcd.go.th ศูนยขอมูลวัตถุอันตราย และเคมีภณัฑ กรมควบคุมมลพิษ 2. www.chemtract.org “ฐานความรูเร่ืองความปลอดภัยสารเคมี” 3. The International Technical Information Institute, “Toxic and Hazardous Industrial Chemicals

Safety Manual” 4. International Labour Organisation, “Encyclopedia of Occupational Health and Safety" Volume 1,

Volume2, 1983. 5. กองตรวจความปลอดภัย และสถาบันความปลอดภัยในการทํางาน, กรมสวัสดิการและคุมครอง

แรงงาน, “รวมกฎหมายความปลอดภัยในการทํางานและสิ่งแวดลอม” 2536.

⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯