16
จดหมายขาว ถีชีวิต เพื่อสุขภาวะ www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน ตุลาคม 2552 คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม 2 โยคะวิถี 4 ปกิณกะ สุขภาพ 6 ตําราโยคะดั้งเดิม 7 สะกิด สะเกา 10 เทคนิคการสอน 11 จดหมายจากเพื่อนครู 13 รายละเอียดงานประชุมฯ 16 ใบสมัครงานประชุมฯ 18 แบบสอบถาม 19 จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ที่ปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยรัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานตินพ.สมศักดิชุณหรัศมิกองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ กุลธิดา แซตั้ง จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี ณภัทร วัฒนะวงศี ณัตฐิยา ปยมหันต ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย พรจันทร จันทนไพรวัน วรรณวิภา มาลัยนวล วีระพงษ ไกรวิทย ศันสนีย นิรามิษ สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 407 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com สิ่งตีพิมพ 0910 1

Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

โยคะสารัตถะ เดือน ตุลาคม 2552

Citation preview

Page 1: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

จดหมายขาว วิถีชีวติ เพือ่สุขภาวะ

www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน ตุลาคม 2552

คุยกันกอน 2 ปฏิทินกิจกรรม 2 โยคะวิถี 4 ปกิณกะ สุขภาพ 6 ตําราโยคะดั้งเดิม 7 สะกิด สะเกา 10 เทคนิคการสอน 11 จดหมายจากเพื่อนครู 13 รายละเอียดงานประชุมฯ 16 ใบสมัครงานประชุมฯ 18 แบบสอบถาม 19

จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพ่ือสุขภาวะ ท่ีปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยรัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ์ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ กองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ กุลธิดา แซตั้ง จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี ณภัทร วัฒนะวงศี ณัตฐิยา ปยมหันต ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย พรจันทร จันทนไพรวัน วรรณวิภา มาลัยนวล วีระพงษ ไกรวิทย ศันสนีย นิรามิษ

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน 201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240 โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 407 7744 โทรสาร 02 732 2811 อีเมล [email protected] เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ่งตีพิมพ

0910 1

Page 2: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

สวัสดีเดือนตุลาคม ส้ินเดือนนี้ เรามีนัดกัน งานประชุมเครือขายโยคะวิชาการ เปนการรวมตัว พบปะเพ่ือนเกา เจอะ

เจอเพ่ือนใหม พรอมเปดหูเปดตาเรียนรูเร่ืองราวตางๆ ซึ่งทางสถาบันฯ ไดแนบเอกสารแนะนํา “งานประชุมฯ” โดยละเอียดมาพรอมกันนี้ดวย รีบสมัครกันเขามานะครับ

พรอมกันนั้น เราไดแนบแบบสอบถาม ประเมิน “จดหมายขาว” นี้ เรียกวา ใกลส้ินป ทําการประเมนิซะหนอย จะไดขัดสี ฉวีวรรณ ทําหนาที่ของจดหมายขาวใหดีที่สุดเทาที่จะทําได ชวยตอบแลวกลับไปดวย อีเมล หรือ ปณ ไดทั้งนั้น ขอบคุณลวงหนาครับ

กอง บก.

วิชา จิตสิกขา ป 2552 เดือนตุลาคม จัดวันเสารที่ 17 เวลา 7.30 – 9.30 ฝกปราณายามะ ชวง 10.30 - 12.30 เราจะดูวิดีโอ ตามรอยพระพุทธเจา ตอนที่ 3 พุทธคยากับชวงที่พระพุทธเจาตรัสรู และตอนที่ 4 พาราณสี เมืองที่สืบทอดวัฒนธรรมอินเดียมาแตโบราณ หากมีเวลาพอ จะดู ตอนที่ 5 วาดวยมืองราชคฤห ณ หอง 262 คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คาลงทะเบียน 150 บาท สถาบันฯ จัดอบรมครูโยคะหลักสูตรระยะสั้น 65 ชั่วโมง รุนที่ 13 เรียนรูทฤษฎีที่เกี่ยวของ ไดแก ปรัชญาอินเดียที่เปนตนรากของโยคะ ประวัติศาสตรของโยคะ ตําราโยคะดั้งเดิม ปตัญชลีโยคะสูตรอธิบายโยคะไวอยางไร ทําความเขาใจทาอาสนะผานมุมมองของสรีรวิทยา กายวิภาค ซึ่งจะชวยใหเราฝกโยคะไดอยางปลอดภัย ฝกปฏิบัติเทคนิคโยคะ ไดแก ฝกทาอาสนะโดยใชความรูสึกเปนตัวนํา (ผานทาอาสนะเพียง 14 ทา) ฝกปราณายามะ มุทรา พันธะ กริยา เพียงบางชนิด เพ่ือใหเราเขาใจภาพรวมของโยคะ และ ทําความเขาใจกับวิถีชีวิตอยางเปนองครวมของโยคะ อบรมเปนคายตลอด 7 วัน 6 คืน ระหวางวันที่ 23 – 29 พฤศจิกายน ณ สวนสันติธรรม ลําลูกกา คลอง 11 คาลงทะเบียน 12,500 บาท กิจกรรมพิเศษ ครั้งที่ 5 วันเสารที่ 17 ตุลาคม 2552 ณ กรีนไลฟ ฟตเนส บางบอน กรุงเทพฯ

สถาบันโยคะวิชาการ รวมกับ กรีนไลฟฟตเนส ขอเชิญผูที่สนใจในโยคะ และ / หรือธรรมะ เขารวมอบรมคอรส “โยคะธรรมะหรรษา ฮา..ฮา..ฮา” ทามกลางบรรยากาศสบาย ๆ และสนุกสนานเปนกันเอง ในแบบวิถีธรรมชาติ มารวมกันเก็บเกี่ยวความรูที่สามารถนํากลับไปฝกฝนที่บานดวยตนเองแบบงายๆ โดยทีมวิทยากรโยคะจากสถาบันโยคะวิชาการ นําทีมโดย ครูกิ๊ม และเรียนรูวิถีพุทธกับ อาจารยมานิต ประภาษานนท

กําหนดการ 07.30 ลงทะเบียน และ รับเอกสาร 07.30 - 08.15 น. รับประทานอาหารเชา และ / หรือ ขนมปง โอวัลติล กาแฟ 08.15 - 08.30 น. เปดงาน และ ปฐมนิเทศน 08.30 - 09.10 น “วิถีแหงโยคะ” เกมส กายใจรวมกัน และ เกมสมรรค 8 09.10 - 11.10 น. การเกร็งคลายกลามเนื้อ อาสนะที่ควรฝกเปนประจําทุกวัน การผอนคลายอยางลึก และสรุปการฝก 11.10 - 12.10 น. คุยเลนๆ ก็เห็นธรรม (พุทธศาสนา คุณคาตอชีวิต) โดยอาจารยมานิต ประภาษานนท 12.10 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 13.20 น. สรุปเรื่อง ลมหายใจ และ ปราณายามะ 13.20 -13.30 น. ขยับกายสบายใจ 13.30 - 14.20 น. คุยเลนๆ ก็เห็นธรรม (ตอจากชวงเชา) (พุทธศาสนา คุณคาตอชีวิต) โดย อ.มานิต ประภาษานนท

0910 2

Page 3: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

0910 3

14.20 - 15.50 น. ฝกทบทวนอาสนะตั้งแตตนจนจบ 15.50 - 16.00 น. พักรับประทานอาหารวาง 16.00 - 16.40 น. “การนําโยคะมาใชเปนแนวทางในการเกื้อกูลการเปนพุทธศาสนิกชนที่ดีไดอยางไร” 16.40 - 17.40 น. ชวง Life Style วิถีชีวิต..วิถีแหงธรรม (การเจริญสติในชีวิตประจําวัน) โดย อ.มานิต ประภาษานนท 17.40 - 18.10 น. พูดคุยกันกอนกลับ (ประเมินผล) จับรางวัลอาสนะ ทานขนมรองทอง จบรายการ เดินทางกลับ

จํานวนที่รับสมัคร รับไดไมเกิน 30 ทาน คาใชจาย 850 บาทตอทาน สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมไดที่ ครูโจ 081-420-4111 [email protected] http://yogadhammahunsa.multiply.com/ ขาวกิจกรรม จากเครือขาย จากครูวนิดา YogaAum Bangkok, Thailand www.yogaaum.com www.manduka-thailand.com Tel: 084-928-4888 โยคะโอม รวมกับ โยคะคอนเนคชั่น จัด Workshop : Counter poses For Yoga Asana โดย Yuttana poncharoen (ครูจิมมี)่ ที่โยคะคอนเนคชั่น ซอยลาซาล 53 สุขุมวิท 105 บางนา วันอาทิตยที่ 18 ตุลาคม 2552 เวลา 13.00-17.00 น. (4 ชั่วโมง) ราคา 800 บาท สําหรับสมาชิกโยคะคอนเนคชั่น 1,000 บาท สําหรับบุคคลทั่วไป (ลด 10% สําหรับผูที่สมัครกอนวันที่ 5 ตุลาคมนี้) รับจํานวนจํากัด 25 คนเทานั้น ผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียด และสมัครไดที่ 081-341-0036, 02-398-5746 จาก โยคะ เจอนัล Thailand Yoga Festival 2009 14 – 15 พฤศจิกายน ที่โรงเรียนนานาชาติ Bangkok International Preparatory & Secondary School สุขุมวิท 53 (สถานี BTS ทองหลอ) มหกรรมโยคะครั้งใหญของเมืองไทย กลับมาในรูปแบบใหม 'โยคะเฟสติวัล' รวมเพลิดเพลินในคอนเสิรตกีรตันแบบอินเดียเย็นวันอาทิตย (บริจาคตามจิตศรัทธา) ชอปสนุกในตลาดนัดโยคะบาซาร โดยไมตองซื้อบัตรเขางาน ราคาปกต ิบัตร 1 วัน 2,000 บาท บัตร 2 วัน 3,800 บาท

เวลา กิจกรรม วิทยากรy ประเภท

Sat. 08.00-10.00 Harmony to Pranayama (Eng) Ken Harakuma Yoga Asana

Sat. 08.00-10.00 Vinyasa Full Body Blast (Eng) Beth Shaw Yoga Asana

Sat. 08.00-10.00 Iyengar : Intelligent, Precise and Safety (Eng) Justin Herold Yoga Asana

Sat. 10.30-12.30 Balancing Yin and Yang (Eng) Cora Wen Yoga Asana

Sat. 10.30-12.30 Discover the Breath and the Inner Secrets of Asana (Eng) Paul Dallaghan Yoga Asana

Sat. 10.30-12.30 Kundalini: Developing the Power to Win (Bi) Nguyen Tien Nghia Yoga Asana

Sat. 14.30-16.30 Pure Vinyasa Flying Format (Eng) Duncan Wong Yoga Asana

Sat. 14.30-16.30 Kroga Jyoti (Eng) มาสเตอร คามาล Kamal Yoga Asana

Sat. 13.30-15.30 Ayurveda: The Compass to the Healthy Life (Thai) ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน Lecture

Sun. 08.00-10.00 Ashtanga: Harmony to Asana (Eng) Ken Harakuma Yoga Asana

Sun. 08.00-10.00 Finding Balance (Eng) Beth Shaw Yoga Asana

Sun. 08.00-10.00 Pilates on Mat: Strength from Inside Out (Eng) Ory Avni Yoga Asana

Sun. 10.30-12.30 Stirring the Sea of Energy (Eng) Cora Wen Yoga Asana

Sun. 10.30-12.30 Sivananda: Yoga in Daily Life (Thai) ชมชื่น สิทธิเวช Yoga Asana

Sun. 10.30-12.30 Vinyasa Agni Yoga (Eng) Adrian Cox Yoga Asana

Sun. 14.30-16.30 Budo Yoga Flow (Eng) Duncan Wong Yoga Asana

Sun. 14.30-16.30 Hot C Series (Absolute Series) (Eng) John Anderson Yoga Asana

Sun. 14.30-16.30 Thai Hermit Yoga: Yoga Country Style (Eng) Casey Glamaglia Yoga Asana

Page 4: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

ฤกษดี

ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน

ถึงแมจะคนพบความลงตัวของชีวิตบนเสนทางของการเปนผูเยียวยามาหลายปดีดักแลว แถมยังวาดฝนวาจะมีอาศรม

เพื่อเปนสถานที่บําบัดเยียวยาผูที่เจ็บปวยอยางเปนเรื่องเปนราว และเปนที่แบงปนความรูและประสบการณที่ครูหลายทาน

ถายทอดใหผมอยางไมเมมมิดปดบัง

ทวาความฝนที่ผมเรียกวาเปนความฝนเล็กๆ อันงดงามของผูชายสามัญ ก็ยังไมแทงยอดออกจากใจกลายเปนความจริงที่

จับตองไดสักที

กระทั่งสองเดือนกอนระหวางกลับไปอินเดียเพื่อทําการบําบัดดวยวิธีอายุรเวทแบบเต็มสูตรใหครูผูเปนทั้งแรงบันดาลใจ

ทางจิตวิญญาณและเกื้อกูลหนุนสงใหผมไดยางกาวบนทางสายนี้ ผมเกิดความรูสึกอยางแรงกลาวาอยากมีอาศรมแหงการ

เยียวยาที่วาดหวังไวในใจมาหลายป คลายกับวาจูๆ เมล็ดพันธุแหงความฝนไดแตกยอดเปนตนกลาจากการไดลงมือบําบัดครู

ผูดูแลผมเสมือนหนึ่งเปนลูกชายของทาน

หลังจากกลับเมืองไทยผมจึงปรึกษาหารือกับมิตรสนิทรุนพี่ที่สนใจในศาสตรแหงการเยียวยาไมนอยไปกวาผม จนตกลง

ปลงใจวาจะชวยกันถักทอความฝนเรื่องอาศรมแหงการเยียวยาใหกลายเปนจริง

และเพื่อใหความใฝฝนของเราเปน “ฝนดวยใจที่พอจะไปไดถึง” เราจึงคิดตรงกันวานาจะเริ่มตนจากคลินิกเล็กๆ กอน ซึ่ง

ถึงกระนั้นก็คงตองเสาะหาและตระเตรียมเร่ืองสถานที่และอุปกรณตางๆ ที่จําเปน

อาจจะเปนเพราะเราสองคนตางก็ของแวะอยูในโลกแหงการสื่อสารผานอินเตอรเน็ตอยูพอสมควร เราจึงคิดวานาจะมีเวบ

ไซตเพื่อเปนชองทางในการสื่อสารและแบงปนความรูสูผูคน ซึ่งนาจะคอยๆ ทําไปไดเลยในระหวางที่มองหาทําเลที่เหมาะสมและ

เตรียมการเรื่องคลินิก อีกทั้งเราเองก็ลงตัวแลวกับชื่อเสียงเรียงนามของอาศรมที่ครูทุกคนของผมเห็นพอง และที่สําคัญยังอวยชัยให

พรกับการกอการดีในชื่อที่เราคิดกัน วา “ไภษัชยาศรม” ซึ่งแปลสั้นๆ วา “อาศรมแหงการเยียวยา”

แมวาวัยของเราสองคนรวมกันเกือบรอยแลว แตคลายกับใจบางสวนยังคงรวดเร็วปานกามนิตหนุม เราจึงตกลงจด

ทะเบียนชื่อเวบไซตกอนแลวคอยทําเวบไซตใหเปนตัวเปนตนทีหลัง ลึกลงไปในใจผม ผมรูสึกวาการมีชื่อเวบไซตไวกอน เหมือนกับ

การวางหมุดหมายแรกที่เรงใหตัวเองขับเคลื่อนจังหวะกาวตอไป

เพียงไมกี่วันหลังจากปรารภและปรึกษาครูผูเปนเสมือนพอของผมวาเราจะจดทะเบียนเวบไซตในชื่อที่ครูใหพรไปกอน

หนานี้ ครูสงอีเมลแจงวาไปขอฤกษผานาทีสําหรับจดทะเบียนเวบไซตจากแมครู(ผูที่ผมรูสึกวาทานมีญาณพิเศษ และเคยใหพรผม

ดวยความเมตตาการุณย ทั้งยังมอบมนตราใหผมบริกรรมเปนประจําทุกวัน)ใหพวกผมแลว ตรงกับวันที่ ๑๑ กันยายนเวลาบายโมง

ครึ่งถึงบายสองครึ่ง

นอกจากความรูสึกปติและซาบซึ้งในเมตตาของครูและแมครูแลว ผมไมคิดวาตองเตรียมการใดๆ เปนพิเศษนอกไปจาก

ตออินเตอรเน็ตและลงชื่อเวบไซตตามวันเวลาที่ไดรับฤกษมา สวนหนึ่งเปนเพราะรูสึกวาก็แคจดทะเบียนชื่อเวบไซตเทานั้น

กระทั่งสามวันกอนถึงฤกษผานาทีที่แมครูใหมา ผมเกิดความรูสึกเชนเดียวกับตอนที่ไดรับมนตราสองบทในชวงเวลาหาง

กันหนึ่งปที่แมครูเลือกสรรขณะอยูในสมาธิจิตและมอบใหผมบริกรรม นี่คือมนตราที่แมครูใชพลังและความตั้งใจเลือกสรรใหผม

โดยเฉพาะ ผมรูสึกวาตอใหไมเขาใจในความหมายอันลุมลึกหรือประสบสัมผัสพลังแหงมนตรา อยางนอยๆ ผมควรจะรักษาพันธ

สัญญาทางใจกับแมครู ดวยการบริกรรมมนตราที่ไดรับมอบเปนประจําทุกวัน

ซึ่งเปนหนึ่งในกิจวัตรที่ผมปฏิบัติมาตลอดหลายปที่ผานมา

วันนั้นผมเกิดความรูสึกวา ฤกษผานาทีที่แมครูสูอุตสาหเลือกมาใหดวยใจเมตตา คือโมงยามศักดิ์สิทธิ์ที่ผมพึงทําใหมันมี

ความหมาย โดยไมสําคัญวามันเปนฤกษผานาทีเพื่อการใด

0910 4

Page 5: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

หลังจากปรึกษากับมิตรรุนพี่ที่รวมกอการดีดวยกัน เราจึงทําพิธีบูชาใหญในวันที่แมครูเลือกให นอกจากสวดบูชาพระ

รัตนตรัย บูชาเทพแหงการเยียวยาในขนบของอายุรเวทและบูชารําลึกถึงครูบาอาจารยแลว พวกเรารวมกันบริกรรมไภษัชยคุรุมน

ตราซึ่งเปนมนตราของพระพุทธเจาแหงการเยียวยา(Medicine Buddha) ๑๐๘ จบ

ชวงเริ่มตนพิธี ผมนึกถึงอีเมลของบรรดาครูอายุรเวทซึ่งเปนทั้งมิตรสนิทที่สงมาแสดงความยินดีและอวยชัยใหพร

อยางเชนครูหมออายุรเวทที่ผมไปจําหลักพํานักอยูดวยหลายป บอกวาพลันที่รูขาววาผมจะตั้งใจจะสานฝนใหเปนจริง ครู

รูสึกมีความสุขที่สุด อานเมลของครูแลวผมรูสึกไดวา มันคือวันเวลาที่ครูรอคอยและเอาใจชวยผมมานาน

เพื่อนสนิทซึ่งเปนทั้งครูของผมอีกคนซึ่งกําลังทําปริญญาเอกอยูที่ญี่ปุนบอกวาเขาดีใจมาก ทั้งยังบอกวานอกจากกําลังใจ

และพรที่เขามีใหดวยใจเต็มรอยแลว หากมีส่ิงใดที่เขาสามารถชวยเหลือเกื้อกูลกอนที่ผมจะเปดอาศรมอยางเปนรูปธรรมเขาก็ยินดี

และจะมีความสุขมาก กอนจะตบทายวาทีนี้เขาก็มีเหตุผลที่หนักแนนในการแวะเมืองไทยระหวางบินไป-กลับประเทศอินเดียและ

ญี่ปุนแลว

ภรรยาของเพื่อนสนิทอีกคนบอกวาเธอชอบชื่ออาศรมมาก และขอใหผมประสบความสําเร็จในหมุดหมายที่จะกาวเดิน

ตอไปขางหนา

ระหวางบริกรรมไภษัชยคุรุมนตรา ผมรูสึกวาครูและมิตรสนิทของผมไดรวมรายมนตราไปกับพวกเราที่อยูในพิธีดวย บาง

หวงขณะผมรูสึกถึงพลังบางอยางที่ทั้งเอิบอาบและเคลื่อนวนอยูภายใน เปนพลังที่ยากบงบอกบรรยาย

ผมปดทายพิธีบูชาดวยการนอนราบเพื่อกราบรูปปนและภาพครูของครูที่อยูตรงหนา ขณะที่หนาผากแนบอยูกับพื้น

ความรูสึกตอนที่ผมนอนราบกราบครูโดยหนาผากแนบกับหลังเทาของครูผุดพรายขึ้นในใจอีกครั้ง มันเปนความรูสึกของการสยบ

ยอมอยางไมมีเงื่อนไข ผมตระหนักถึงความหมายที่แทจริงของคําวา “ศิโรราบ” ก็ในคราวนั้นเอง

ขณะรอใหถึงเวลาที่จะจดทะเบียนชื่อเวบไซตทางอินเตอรเน็ต ผมรูสึกวาตัวเองไดเรียนรูวาคําวา “ฤกษดี” นอกจากเปน

ฤกษผานาทีที่ถูกเลือกมาใหแลว ยังอยูที่การบรรจงทําใหหวงยามนั้นมีความหมายและคุณคาดวยการตั้งใจทํากิจอันดีงามดวย

ค่ําวันนั้นระหวางโทรศัพทคุยกับมิตรรุนพี่ที่รวมกอการดีดวยกัน เม่ือพี่เขาถามเปนเชิงปรารภวา เราถือวาวันที่ ๑๑

กันยายนเปนวันกอตั้ง “ไภษัชยาศรม” เลยดีไหม ผมจึงเห็นดวยและตอบรับในทันที

ราวกับวาคําตอบนี้รออยูที่ริมฝปากผมอยูแลว

โยคะเพื่อสมาธิ vs. สมาธิเพื่อโยคะ

หมอสุ เมื่อปลายป 2551 เร่ิมมีโอกาสไดเขาอบรมคอรสครูโยคะที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ครูไดพูด

ถึงเปาหมายของโยคะคือการนําไปสูสมาธิ จากสามเหลี่ยมของ Miller ซึ่งแจกแจงกระบวนการเรียนรูไดแบงระดับความรูความสามารถเปน 4 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 คือ Knows เมื่อไดฟงการบรรยายระดับความรับรูของเราก็อยูแค “รู” วาโยคะนําไปสูสมาธิ ซึ่งใครก็ตามที่มี

โอกาสไดซื้อหนังสือโยคะมาอานหรืออานพบใน internet ก็คงจะรูไดเชนกัน

0910 5

Page 6: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

ระดับที่ 2 คือ Knows how ซึ่งองคความรูเหลานั้นมีกี่คนที่จะรูวาเราตองทําอยางไรเพื่อไปสูสมาธิ ในกระบวนการอบรมครั้งนั้นคณะครูไดเร่ิมถายทอดขั้นตอนหรือมรรคตางๆซึ่งจะนําไปสูสมาธิ

ระดับที่ 3 คือ Shows how ผูเรียนไดทดลองฝกปฏิบัติดวยตนเองโดยครูเปนผูชวยแกไข ระดับที่ 4 คือ Does หรือเราสามารถ “ทําไดเองอยางถูกตองและไดสมาธิ”

ซึ่งการทําไดถูกตองก็ยังไมไดหมายความวาทานจะไดสมาธิ ทานตองประเมินตนเองในแตละมรรควาทําไดถูกตองสมบูรณหรือไม สามารถทําไดดีกวานี้หรือเปลา เพ่ือใหเกิดความสมบูรณที่สุด หลังการอบรมหลักสูตรใดๆก็ตามหลายคนยังคงพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องมากบาง นอยบางตามแตโอกาสหรือขออาง อิ อิ หลายคนอาจจะไมไดมีโอกาสกลับไปอานตําราที่ไดเคยร่ําเรียนมา หลายคนอาจมุงเนนอาสนะ ปราณายามะหรือสมาธิ แตอาจไมไดเนน (หรือละเลย) ยมะและนิยมะ ขาพเจาเองก็เปนหนึ่งในบุคคลดังกลาวที่ทํามาแลวทั้งหมด

อําเภอศรีราชาไดเปดอบรมหลักสูตร “ครูสมาธิ” ระยะเวลา 6 เดือน ผูเรียนตองเรียนทฤษฎี และปฏิบัติวันเสารและอาทิตย และตองทําการบานเพ่ือใหเกิดความตอเนื่อง เมื่อฝกเดินจงกรมขาพเจาพบวา ทายืนของตนเองไมสมดุล คือ ทองยื่นไปขางหนา อกไมผาย เวลาเดินหรือยืนแค 30 นาทีก็ปวดแลว พอตองนั่งสมาธิ 30 นาที พบวา การนั่งแตละครั้งตองจัดทาใหสมดุลต้ังแตแรกเริ่ม เพ่ือใหนั่งไดนาน ไมเมื่อย และเวลาท่ีจิตรวมจะไดไมคอพับคอเอียงไปขางใดขางหนึ่ง ถา “ทามาก”ก็อาจไมสมดุล ตามมาดวยปวดเมื่อย การจัดทาของขาพเจาหมายถึงทาที่จัดแลวเรารูสึกสมดุล อยูในสมาธิไดนาน ในขณะเดียวกันไมเกิดผลเสียกับตนเอง ดังนั้นสมดุลของใครก็ของคนนั้น สมดุลวันนี้อาจไมใชสมดุลในวันพรุงนี้ขึ้นกับสภาพความพรอมของรางกายและจิตใจ

เหตุผลที่ไปสมัครเรียนเพราะคิดวาการเรียนหลักสูตรสมาธิอาจทําใหเราเขาใจสมาธิมากขึ้น ส่ิงที่พบคือขาพเจาตองกลับมาทําความเขาใจโยคะมากขึ้นไปกวาเดิม ไดมีโอกาสประเมินตนเองตั้งแตการรับประทานอาหาร ถามื้อไหนทานมากไป ไมมิตราหาระ ทองก็อืดเฟอ ภาคบายก็จะนั่งหลับในชั่วโมงเรียน ไดมีโอกาสมาทบทวนยมะและนิยมะของตนเอง ทําใหพบวายังมีขอท่ีตองปรับปรุงอีกหลายขอ เมื่อทบทวนการทําอาสนะทุกครั้งที่ทํา พบวา ยังตองกลับไปที่ทาพื้นฐานทั้ง 14 ทา และไดเห็นกิเลสและจิตของตนเองในแตละครั้งท่ีฝกอาสนะ ไดเห็นทั้งความขี้เกียจและความหลง และสุดทายไดเกิดอิทธิบาท 4 ในการฝกมรรคตางๆของโยคะใหสมบูรณมากยิ่งขึ้น ไดกลับไปทบทวนหนังสือหนึ่งตั้งที่ครูใหมาตามแตปญหาที่เกิดขอสงสัยในขณะที่ปฏิบัติ ไดพบวาตัวเองมีเวลามากขึ้นกวาเดิมทั้งการฝกโยคะและสมาธิ สุดทายไดคนพบวา “โยคะเปนไปเพ่ือสมาธิ และสมาธิก็เปนไปเพ่ือโยคะ”

สดใส แปล และ เรียบเรียง การลดน้ําหนัก ทําใหคุณอวน

หลักฐานทางวิทยาศาสตรไดพิสูจนถึงส่ิงที่นักเขียนทางโภชนาการอยาง “เจฟฟรี่ แคนนอน และ แอน มาเรีย โคลบิน” ไดทําการเผยแพรมาแลวหลายปวา การลดน้ําหนักนั้นกลับทําใหคุณอวนได

นักวิจัยไดคนพบวาการลดน้ําหนักและผลิตภัณฑควบคุมน้ําหนักไมไดชวยใหคนผอมลงได หรืออยางนอยก็ในระยะยาว ถึงแมวาจะทําใหผอมไดในชวงระยะเวลาอันรวดเร็ว แตรางกายก็จะกลับมาอยูในสภาวะที่เคยเปนอยู หรือนํ้าหนักเดิมในที่สุด

นักวิจัยพบวาในขณะที่น้ําหนักลดลง พลังงานที่ถูกใชก็จะลดลงเปนสัดสวนเดียวกัน ในทางตรงกันขามพลังงานที่ถูกใชจะเพิ่มขึ้นเมื่อน้ําหนักตัวเพ่ิมขึ้น

นั่นหมายความวา ไมวาคุณจะทําอะไรก็ตามรางกายของคุณก็จะกลับสูสภาพน้ําหนักเดิมของมันเพราะวาความสัมพันธของน้ําหนักตัวกับพลังงานที่จะถูกใชนั้นเกิดขึ้นจาก การเก็บสะสมไขมันในรางกายและขบวนการเผาพลาญในรางกายนั่นเอง แมกระทั่งเวลาที่คุณพยายามลดน้ําหนักอยางสม่ําเสมอตลอดระยะเวลา 4 ป รางกายของคุณก็ยังคงพยายามที่จะกลับมาสูน้ําหนักเดิมดวยเหมือนกัน

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยรอคกี้เฟลเลอร ในนครนิวยอรก ไดทําการศึกษาเรื่องการลดน้ําหนัก จากอาสาสมัครผูเปนโรคอวน 18 คน ที่สามารถลดน้ําหนักได 10 – 20 % ของน้ําหนักตัว และ อาสาสมัคร 23 คน ที่น้ําหนักเพ่ิมขึ้น 10 % ของน้ําหนักตัว พบวาขบวนการเผาผลาญ หรืออัตราการใชพลังงานของทั้ง 2 กลุมนี้ ก็มีการเปล่ียนแปลงเพ่ือทดแทนหรือชดเชยกัน

0910 6

Page 7: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

แตที่แอน มาเรีย โคลบินพูดถึงคือ การลดน้ําหนักโดยสวนมากวัดผลตาม หนังสือควบคุมอาหาร หรือจากการนับปริมาณแคลอรี เทานั้น พวกเขาไมไดตรวจสอบคุณภาพของอาหารเลย และพวกอาหารที่ระบุวาใหพลังงานต่ํา (low-cal) โดยมากจะผานกระบวนการผลิตที่มากมายหลายขั้นตอน ซึ่งแอน มาเรียชี้ใหเห็นวา “ถาคุณภาพของอาหารมีมากขึ้น ขบวนการเผาผลาญก็จะมากขึ้นดวย แตถาอาหารมีคุณภาพลดลง ขบวนการเผาผลาญก็จะลดลงดวย ซึ่งพวกเราก็รูวาการทานขนมปงกรอบ ไอศครีม เค็ก แปงขาว พาสตา ไขมันและของทอด จะทําใหเรามีน้ําหนักมากขึ้น ในทางตรงขาม การทานธัญพืชทั้งเมล็ดหรือท่ีผานการขัดส้ีนอย ขนมปงที่มีไยอาหาร ผักสดตางๆ พืชตระกูลหัวและรากตางๆ และ ถ่ัวจะชวยไดมากกวาการลดน้ําหนักดวยซ้ํา” แอนพูดวา “ขอเท็จจริงคือ ถาอาหารนั้น เปนที่พึงปรารถนาและชวยบํารุงรางกาย มันจะชวยลดการสํารองของพลังงานที่อยูในรูปน้ําหนักตัวของรางกายได

อะไรคือคําตอบของการลดน้ําหนัก? แอนกลาววา “งายมาก ก็ลืมเรื่องการลดน้ําหนักไปไง แคกินอาหารที่มีคุณภาพ สด ตามธรรมชาติ มีประโยชน และ เคี้ยวใหละเอียด ส่ิงที่ตองการคือการเปลี่ยนของระบบ การเปลี่ยนของคุณภาพการบริโภคอาหาร ดังนั้นมันจึงเปนไปไดที่เราจะไมสนใจการนับแคลอรี่”

เขาใจ “อีศวร” ในแงมุมตางๆ ตามแนวคิดของปตัญชลี วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธ ี

แปลและเรียบเรียง

ในบทที่ ๑ ประโยคที่ ๒๔ ของโยคะสูตรไดกลาววา “กเลศะ-กรรมวิปากาศไยรปรามฤษฏะห ปุรุษะ-วิเศษะ อีศวระห” แปลวา อีศวรเปนปุรุษะพิเศษซึ่งไมไดรับผลกระทบใดๆ ทั้งส้ินจากกิเลส รวมถึงกรรมทั้งหลาย การสุกงอมของกรรม และแหลงสะสมกรรม (ซึ่งตางจากปุรุษะที่อยูในมนุษยทั่วไป) จากฉบับที่แลว (๑ : ๒๓) กลาวถึงอีศวรประณิธานะวาเปนการยอมจํานนอยางถงึที่สุดหรือการละตัวตน(ความเปนตัวฉัน) อยางสมบูรณเพื่อเขาถึงเปาหมายของโยคะคือไกวัลย และเราก็พอเขาใจกันแลววาอีศวรของปตัญชลีนั้นไมใชพระเปนเจาและไมไดมีตัวตนจึงไมมีรูปหรือรางกาย และไมไดเปนทั้งผูหญิงหรือผูชาย ตามหลักความจริงของปุรุษะ(ตัวสํานึกรู)ในตัวมนุษยนั้นแยกออกจากประกฤติ(สวนที่ประกอบขึ้นเปนรางกาย) แตการปรากฏขึ้นของส่ิงลวงตาหรือความเขาใจผิดมาจากการที่ปรุุษะเกี่ยวพันใกลชิดกับประกฤติเพราะปุรุษะที่อยูในตัวมนุษยนั้นทํางานผานทางจิตตะหรือจิตใจ(ซึ่งเปนสวนหนึ่งของประกฤติ) ทําใหจิตตะหลงผิดคิดวาเปนการกระทําของรางกาย ความหลงผิดหรือภาพลวงตาเชนนั้นจะไมมีทางเปนไปไดสําหรับอีศวรเน่ืองจากมันไมเคยเปนเจาของรางกายและรวมทั้งไมไดเปนเจาของจิตใจซึ่งทํางานผานรางกาย กิเลส ๕ (ในประโยค ๒ : ๓ ถึง ๒ : ๙) จึงเปนไปไมไดที่จะสงผลกระทบตออีศวร นั่นจึงตอบคําถามที่วาทําไมมันถึงเปน “กเลศะ-อปรามฤษฏะ” (กิเลสไมสามารถสรางผลเสียอันใดตออีศวรได) ตามกฎแหงกรรมไดกลาวไววา กรรมที่แตกตางกันยอมใชเวลาที่ตางกันในการดําเนินไปจนสุกงอมและใหผลกรรม(วิบาก)ออกมา จึงสันนิษฐานไดวากรรมเหลานี้ยังคงอยูที่ไหนสักแหงในรูปที่ละเอียดออนบางอยาง แหลงที่เก็บสะสมกรรมเหลานี้เรียกวา “กรรมาศยะ” และเนื่องจากอีศวรไมมีทั้งรางกายและจิตตะ มันจึงไมอาจสรางกรรมหรือการกระทําใดๆ ขึ้นมาได ดังนั้นการสุกงอมและใหผลของกรรมจึงไมเกิดขึ้นในกรณีของอีศวร “ตตระ นิรติศยัม สรรวชญพีชัม” (๑ : ๒๕) แปลวา อีศวรเปนแหลงของความรอบรูสรรพสิ่งที่ไมมีอะไรเหนือไปกวานี้ได เชื่อกันวาบุคคลหนึ่งนั้นไมสามารถรูทุกส่ิงทุกอยางไดอยางสมบูรณ กลาวคือไมสามารถรูส่ิงตางๆ ที่เกิดขึ้นในทุกๆ ขณะ ทุกเวลาในสรรพสิ่งทั้งหมดได แตบุคคลนั้นไดรับการกลาวขานวาเปนผูรอบรูสรรพสิ่งก็เพราะเขามีศักยภาพที่จะรูเหตุการณหรือปรากฏการณเฉพาะไดถาเขาปรารถนาเชนนั้น ประโยคนี้จึงกลาวสรุปไดวา แหลงที่มาของความรอบรูสรรพสิ่งก็คืออีศวร อีศวรมีศักยภาพที่จะรอบรูสรรพสิ่ง จึงเปนบทพิสูจนที่วาความรูทั้งหมดนั้นที่สุดแลวเริ่มตนอยูในอีศวร “ปูรเวษามป กุรุห กาเลนานวัจเฉทาต” (๑ : ๒๖) แปลวา อีศวรคือครูของคนรุนกอนที่ไมขึ้นอยูกับเวลา อีศวรนี้เปนธรรมชาติของปุรุษะซึ่งไมมีจุดเริ่มตนและไมมีที่ส้ินสุด ดังนั้นมันจึงไมขึ้นอยูกับเวลาหรือไมสามารถแบงแยกไดดวยเวลา มันมีอยูแลวกอนที่มนุษยคนแรกจะเกิดขึ้นในโลกหรือแทจริงมันมีอยูกอนที่จักรวาลจะอุบัติขึ้นดวยซ้ํา ดวยเหตุที่มันเปนแหลงของความรูทั้งหมด (จาก ๑ : ๒๕) มันจึงไดรับการขนานนามวา กุรุ หรือ ครู นั่นคือ เปนแหลงของความรู

0910 7

Page 8: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

0910 8

สําหรับทุกๆ คน รวมถึงครูโบราณทั้งหมดดวย แตอีศวรในที่นี้เปนนามธรรมเปนกฎธรรมชาติ มันจึงไมสามารถสอนในความหมายของครูปกติได แมวาจะพิจารณาอีศวรวามีตัวตน เชน พระเจา แตทานก็ไมสามารถสอนผานคําพูดหรือภาษาเขียน

ใหกับครูโบราณ เชน ฤาษี และมุนี1 ได ทานจึงตองถูกกลาวขานวาเปนครูในเชิงสัญลักษณในแงที่วาทานเปนแหลงกําเนิดของ

ความรูทั้งหมด คําวา “กุรุ” สามารถแปลความวาเปนส่ิงที่เกาแกที่สุดหรือโบราณที่สุดได ในแงนี้ประโยคนี้ก็ชี้ใหเห็นถึงความเปนนิรันดร(ไมเปล่ียนแปลง) ของอีศวร ดังนั้นเราจะพบวา “อีศวร” ตามที่รับรูในปตัญชลีโยคะสูตรก็คือ ๑) แยกออกจากประกฤติอยางส้ินเชิง (๑ : ๒๔) นั่นคือมันไมสามารถเปลี่ยนแปลงได และดังนั้นมันจึงไมไดทํากรรมใดๆ ๒) รอบรูทุกสรรพสิ่ง (๑ : ๒๕; ๒๖) ๓) มีความเปนนิรันดร (๑ : ๒๖) ซึ่งอาจจะมีนัยของความมีอยูทั่วทุกหนทุกแหงดวย แตก็ไมใชพระผูเปนเจา (๑ : ๒๔) ดังนั้นจึงไมใชเปนผูสราง ผูปกปกรักษา หรือผูทําลายจักรวาลนี้ และไมเปนผูประทานสิ่งใดๆ ใหผูอุทิศตัวดวยความภักดีอยางที่รับรูกันเกี่ยวกับพระเจา คําถามที่สําคัญขอหนึ่งอาจผุดขึ้นในจิตใจของผูฝกโยคะวา อีศวรนี้จะชวยเขาในการฝกปฏิบัติโยคะไดในทางใดบาง คําตอบนี้ปตัญชลีไดอธิบายไวในประโยคะถัดไป (๑ : ๒๗) แลว “ตัสยะ วาจกะห ประณวะห” (๑ : ๒๗) แปลวา อีศวรนี้แสดงออกมาในรูปของเสียงและอักษร ซึ่งเสียงนี้คือ

สัญลักษณอักษร “โอม”2 (ૐ ॐOm)

คําวา “ประณวะ” แยกออกเปน ประ+ณวะ “ประ” หมายถึง อยางสมบูรณ อยางรวดเร็ว อยางแข็งขัน สวน “ณวะ” เปนคํานามมาจากรากศัพทวา “นุ” หมายถึง ๑) กลาวสรรเสริญ ๒) นําไปสูเปาหมายเฉพาะ ดังนั้น “ณวะ” จึงหมายถึง การสรรเสริญและการนําไปสูเปาหมายที่ตองการ ดังนั้น “ประณวะ” ก็คือ ๑) การสวดอยางจริงจัง ๒) เครื่องมือท่ีมีพลังซึ่งนําไปสูเปาหมายอยางรวดเร็ว ปกติแลวผูสวดทุกคนจะมีการออนวอนรองขอตอเทพเจาที่ตนนับถือเพ่ือใหทานมีเมตตาและชวยเหลือเขาใหพนจากความทุกขยากลําบากทั้งหลาย อาจเปนไปไดวาผูสวดเกือบทั้งหมดในทุกศาสนาจะมีความคาดหวัง(ไมทางตรงก็ทางออม) ตอประโยชนหรือส่ิงดีๆ ที่จะไดจากเทพเจาทั้งหลาย สวนโอมหรือประณวะอาจจะเปนการสวดเพียงอยางเดียวที่ไมเกี่ยวของกับแงมุมของการรองขอประโยชนใดๆ ตอเทพเจา โอมเปนเพียงเสียงหรืออักษรหนึ่งที่มีอยูในความจริงและไมมีความหมายเฉพาะ ในแงนี้ประณวะหรือโอมอาจจะเปนการสวดที่ดีที่สุดก็ได ประณวะไดรับการกลาวยกยองไวอยางสูงมากทั้งในโยคะสูตร คัมภีรพระเวท และในศาสนาซึ่งไมไดยอมรับพระเวทอยางเชน พุทธศาสนา และศาสนาเชน บางคนไดยืนยันวาประณวะไดถูกรับมาใชในรูปแบบที่บิดเบือนไปจากเดิม ในศาสนาตางๆ ที่แปลกแตกตางไปจากศาสนาฮินดูและประเพณีอินเดียอยางส้ินเชิง เชน คําวา อาเมน และอามิน เปนตน ซึ่งเปนของ

ศาสนาที่มีตนกําเนิดจากศาสนายูดา3 คําถามที่เกิดขึ้นในตอนนี้ก็คือ ทําไมเสียงหรืออักษรนี้จึงไดรับความเคารพนับถือมาก

เชนนั้นจนเกือบจะเปนสากลในแวดวงทางจิตวิญญาณศาสนา? มีการกลาววา “โอม” ประกอบดวยเสียงหรืออักษรพ้ืนฐาน ๓ อยาง ไดแก อะ อุ มะ ตัวแรกของท้ัง ๓ คือ “อะ” เปนอักษรตัวแรกของตัวอักษรเทวนาครี ทั้งของภาษาสันสกฤตและสวนใหญของภาษาอินเดียทั้งหลาย อักษรตัวแรกของภาษาอื่นๆ เกือบทุกภาษาก็เปนตัวที่มีเสียงแทนดวยอักษร “อะ” เชน อัลฟาของกรีก อเล็พหของฟนีเชียและฮีบรู อลิฟของภาษาตะวันออกกลางทั้งหลาย และ“เอ”ของภาษายุโรปสวนใหญทั้งหลาย นี่ดูเหมือนวาจะเปนเรื่องธรรมชาติ หากเราพยายามสรางเสียงจากคอหอยโดยปราศจากการใชแรงมากหรือทําใหชองปากบิดเบ้ียวไป จะไดรูปแบบที่ชัดเจนอยางหนึ่งที่มีคุณคาแทนเปนตัวอักษร จากนั้นเสียงท่ีเปนไปไดตางๆที่เกิดขึ้นก็จะเปนเสียงท่ีมาจากตัวอักษร “อะ”

1

ฤาษี คือ นักบวชผูอยูในปา หรือพวกชีไพร ใน Yoga Kosa Dictionary ไดอธิบายวามุนีคือ นักปราชญ นักบวช ฤาษี ท่ีไมไดรับผลกระทบใดๆ จากความทุกขยากหรือความลาํบากทั้งหลาย ไมยดึติดกับความยินดี เปนผูท่ีขจัดกิเลส ความกลัว และความโกรธไดอยางสิ้นเชิง และปญญาของทานไดเกิดขึ้นและตั้งมั่นแลว อีกท้ังเปนผูท่ีควบคุมและดูแลภายในตนเองไดท้ังหมดโดยผานการภาวนา (มนีุจะมีความหมายในเชิงผูรอบรูและมีปญญาซึ่งเกิดจากการภาวนามากกวาฤาษ ี- ผูแปล) 2

สัญลักษณ ૐ ॐ โอม (Om) หรือ โอมการะ (Omkara) หรือ AUM 3

Judaism เปนลัทธิศาสนาของพวกยิว

Page 9: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

0910 9

เปนที่นาสังเกตวาลําดับของตัวอักษรสันสกฤตไดรับการจัดเรียงกันอยางเปนระบบบนพ้ืนฐานของกฎธรรมชาติบางอยาง อักษรชุดแรก(อยางคราวๆประมาณ ๙ ถึง ๑๔ ตัวอักษร) ของอักษรเทวนาครีคือ สระ ในทางหนึ่งอักษรเหลานี้ถือวาเปนการผันของเสียงแรกและสระ “อะ” โดยมีการบังคับหรือการทําใหผิดรูปออกไปของชองปากและอวัยวะที่ตางกันของมัน ตอมาก็พยัญชนะซึ่งก็สรางเสียงดวยการบังคับของอวัยวะในชองปากเชนเดียวกัน โดยผานทางสัมผัสของลิ้นไปที่สวนตางๆ ของชองปาก พยัญชนะเหลานี้ถูกจัดเปนกลุมละ ๕ ตัวอักษรตามเสียงที่สรางขึ้นโดยการสัมผัสล้ินไปยังพ้ืนที่เฉพาะในชองปาก อักษรพยัญชนะ ๕ ตัวในกลุมแรกเปนกลุมเสียงที่เกิดจากการเอาโคนลิ้นดันเพดานปากแลวเสียงเกิดที่คอ เรียกวา กัณฐยะ (คอ) เพราะเสียงถูกสรางขึ้นในคอ อักษรหาตัวในกลุมถัดไปเรียกวา ตาลวยะ (เพดานปาก) เสียงถูกสรางขึ้นดวยการกดลิ้นไปท่ีสวนหลังของเพดานปากดานบน กลุมที่สามคือ มูรธันยะ (สมอง) เสียงถูกสรางขึ้นโดยล้ินไปสัมผัสที่สวนกลางของเพดานปากดานบน ถัดไปคือ ทันตยะ (ฟน) เสียงกลุมนี้สรางขึ้นจากลิ้นไปสัมผัสบนฟน และกลุมสุดทายซึ่งล้ินไมไดสัมผัสที่ใดดังนั้นเสียงจึงถูกสรางขึ้นจากการสัมผัสกันของริมฝปากทั้งสองจึงเรียกวา โอษฐยะ (ริมฝปาก) อักษรตัวสุดทายของกลุมนี้คือ ม หรือ มะ มีความพิเศษกวาตัวอักษรอื่นอีก 4 ตัวในกลุมคือแมวาจะปดปากโดยริมฝปากติดกันแลวเสียงยังสามารถมีตอเนื่องไปตามความยาวของลมหายใจของบุคคล อาจกลาวไดวา “ม” เปนอักษรตัวสุดทายในกลุมของตัวอักษรที่มีฐานเกิดอยางเปนระบบในแงทั้งเชิงสัญลักษณและเชิงปฏิบัติเน่ืองจาก ๑) การสรางเสียงหรืออักษรตอไปจะทําไมไดในขณะที่ปดปาก และ ๒) อักษรตัวอ่ืนๆ ที่ตามมาก็เกิดขึ้นโดยเบี่ยงเบนไปจากวิธีการเกิดอักษรตัวแรกๆ เชน ตัวอักษร “ย” การทอนเสียงสระเชน เสียง “อิ” หรือการเกิดอักษรโดยไมมีรูปแบบที่ชัดเจนแนนอน เชนการขยายกลุมตัวอักษรในเสียงเบียดแทรกอยางเสียงของตัว “ส”(ไดแก ษ ศ และ ส) ดังนั้นเราอาจกลาววา “อะ” คืออักษรตัวแรก และ “มะ” คืออักษรตัวสุดทายตามลําดับอักษรของภาษาสันสกฤต และอาจกลาวกวางๆ ไดวา เสียงของอักษรของทุกๆ ภาษาในโลกไดรวมอยูในอักษรของภาษาสันสกฤตทั้งหมดแลว เสียงหรืออักษร โอม (AUM) เปน ไตรมาตรกะ คือ ประกอบดวยสามมาตระหรือหนวยของเวลาของเสียง เสียงทั้งสามคือ อะ อุ มะ เสียง “อะ” และ “มะ” เปนเสียงของอักษรตัวแรกและตัวสุดทายในภาษาสันสกฤตตามที่อธิบายไวขางตนแลว สวนเสียงที่อยูระหวางอักษรสองตัวนั้นมีตัวอักษรมากมายในภาษาสันสกฤต แตอักษรที่มีอยูทั้งหมดนั้นไมสามารถสรางเสียงและอักษรเดี่ยว เชน โอม (AUM) ดังนั้นอักษร อุ จึงถูกใสเขาไประหวาง อะ กับ มะ เพ่ือเปนตัวแทนของอักษรทั้งหมด คําถามก็คือวา ทําไมตองเปน อุ อาจเปนไปไดวา อุ เปนอักษรแรกหลังจาก อะ ที่การออกเสียงของมันทําใหปากถูกบังคับใหผิดรูปไปอยางชัดเจน สวนการออกเสียงของอักษรอื่นๆ เชน อา อิ อี การผิดรูปของปากจะไมสามารถสังเกตเห็นไดชัดเจนมากนัก ดังนั้นเสียงหรืออักษร โอม ซึ่งประกอบดวยอักษรพื้นฐาน ๓ ตัวจึงรวมกันเปนอักษรหรือเสียงเดี่ยว เปนการรวมกันในเชิงสัญลักษณของทุกๆ เสียงและอักษรของภาษาสันสกฤต มีชายผูหนึ่งไดเคยกลาวอางไวเมื่อกอนวา หากใหคนทั้ง ๕๒ คนเปลงเสียงคนละหนึ่งตัวอักษรของทั้ง ๕๒ ตัวอักษรเทวนาครี เราจะไดยินเสียงที่ประสานกันออกมานั้นเปนเสียง โอม เร่ืองนี้จะเปนความจริงหรือไมนั้นตองมีการพิสูจน ตอมาในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ ทางไกวัลยธรรมพยายามทดลองเรื่องนี้ในหองแล็บของสถาบัน ผูสังเกตการณทั้งหมดและเครื่องอัดเสียงถูกเตรียมไวเปนอยางดี ผลปรากฏเปนเอกฉันทวาเสียงที่ไดนั้นไมไดเปนเสียง โอม อยางชัดเจน คัมภีรทางศาสนาที่สําคัญที่สุดอยางเชน พระเวท หรือไบเบ้ิล ดูเหมือนจะมีแนวคิดทั้งที่แสดงไวอยางชัดเจนและเปนนัยวา พระเปนเจาปรากฏตัวครั้งแรกในรูปของเสียงหรือคําพูด เปนที่แนชัดวามันเปนไปไมไดที่จะรูวาเสียง อักษร หรือคําพูดนั้นคืออะไร เพราะไมมีใครเคยไดยินหรือไมมีการบันทึกเกิดขึ้นแตอยางใด บอยครั้งมกีารกลาววาสรรพสิ่งทั้งหมดมาจากเสียงแหงพรหม (นาทะ-พรหม) อีกทั้งทุกคําพูดและอักษรของทุกๆ ภาษามีตนกําเนิดมาจากเสียงหรืออักษรดั้งเดิมนี้ เปนไปไดวาเมื่อฤาษีสมัยกอนต้ังใจทําเรื่องนี้และตองการจินตนาการวาเสียงเดี่ยวนี้จะเปนอะไร ฤาษีเหลานั้นอาจจะทดลองคนหาจนไดเสียงหรืออักษร โอม ซึ่งประสบผลสําเร็จอยางนอยที่สุดก็ในเชิงสัญลักษณและเชิงเหตุผล โอม จึงกลายเปนการปรากฏตัวของพระเปนเจาในรูปแบบของเสียง และเปนวิถีโดยตรงที่จะเขาถึงพระเปนเจาโดยสามารถเขาใจและติดตอส่ือสารกับพระเปนเจาไดงายและโดยตรง สวนจะปฏิบัติอยางไรนั้นโปรดติดตามในประโยคที่ ๒๘ ของฉบับหนา

เอกสารอางอิง : ๑) Karambelkar, P. V. (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation & Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama. ๒) Philosophico Literary Research Department, (1991). Yoga Kosa. Lonavla : Kaivalyadhama.

Page 10: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

หล่ีจู When we make a home :)

ดูเหมือนวา ในชวงระยะ 2-3เดือนที่ผานมา ผูคนรอบตัวของฉันลวนมีเร่ืองใหตองเกี่ยวของกับ “บาน”ในแงมุมที่แตกตางกันออกไป

เชาวันเสารที่สามของเดือนมิถุนายน เพ่ือนสนิทคนหนึ่งโทรศัพททางไกลจากตางประเทศมาถึงฉัน เพ่ือขอใหชวยเปนธุระจัดการจองซื้อหองชุดขนาดกะทัดรัดซึ่งตั้งอยูแถบใจกลางยานธุรกิจของกรุงเทพ ดวยความตั้งใจวา ในอีก 4-5 ปขางหนา หากเขาไดกลับมาใชชีวิตอยูที่เมืองไทยตามแผนการที่วางไว เขาจะมีโลกสวนตัวขนาด 48 ตารางเมตรแหงนี้ไวเปนที่พักอาศัย และหากเขาโชคดีพอ ถึงวันนั้นแลวเขาอาจไดพบใครซักคน ที่พรอมจะใชเวลาบนระเบียงกวางไปกับการนั่งฟงเพลงเพราะๆ ดวยกัน ซึ่งแนนอนวา ใครซักคนที่วานี้ -นาจะเปนองกประกอบสําคัญที่สุดที่ทําให "บาน" มีความหมายและเปนสถานที่ๆสวยงามที่สุดในชีวิต

การแยกตัวออกมาใชชีวิตอิสระตั้งแตเร่ิมเขาเรียนมหาวิทยาลัย และอาชีพการงานที่ทําใหตองเปล่ียนแปลงที่อยูอาศัยเสมอทําใหเพ่ือนของฉันไมรูสึกผูกพันกับคําวาครอบครัวมากนัก ในชวงระยะหลัง เพ่ือนของฉันเริ่มรูสึกไมแนใจวา ควรจะจดัใหตัวเองเปนคนของพ้ืนที่ตรงไหนกันแนบนโลกนี้ สถานที่ตรงไหนกันแนที่เขาสมควรเรียกวาเปน “บาน” ที่แทจริง ระหวางกรุงเทพที่แออัด วุนวายไรระเบียบ (ซึ่งเขาพบวา ไมสามารถอยูติดบานไดเลยซักครั้งที่กลับมา) หรือในตางประเทศที่มีมาตรฐานสูงในดานคุณภาพชีวิต แตก็ เหงา แหงแลงและขาดแคลนมิตรภาพหลอเล้ียงจิตใจจากผูคนรอบตัว...

และที่สําคัญไปกวานั้น, ไมวาเขาเลือกที่จะอยูที่ไหนก็ตาม อาการกลวงเปลาภายในจิตใจก็ยังคงดํารงอยู ..อยางเทาๆ กัน ..

ตนเดือนกรกฎาคม นองสาวที่รูจักกันไดไมนานนัก โทรมาขอเชาหองพักที่บานฉันในระยะสั้นๆ เพ่ือรอเวลาใหผานชวงขาลงของธุรกิจทองเที่ยวในรอบป และจะกลับขึ้นไปสานตอธุรกิจเล็กๆ ของเธออีกครั้งในชวงปลายป แมเราจะไมไดสนิทสนมกันมากนัก แตบุคลิกที่เปดเผยทําใหเธอเลาเรื่องของตัวเองใหฉันฟงโดยที่ฉันไมเคยถาม เธอใหนิยามตัวเองวา เปนส่ิงมีชีวิตที่เจริญเติบโตมาแบบเวาๆ แหวงๆ ภายในบานที่ขาดแคลนความรัก ความทรงจําในอดีตที่เกี่ยวกับ “บาน” ของเธอ จึงมักเปนเรื่องเลาประเภท black comedy ที่ผสมปนเประหวางความเศรา ความตลกขบขัน ความรูสึกเสียดสีเยยหยันชีวิต ที่อาจจะสนุกหากไดรับฟงแตจะไมใชเร่ืองตลกเลยหากเกิดขึ้นจริงกับชีวิตของใคร... ฉันไมแปลกใจเลยที่การไดมี “บาน” สักหลังเปนของตัวเอง คือความหวังและแรงขับเคล่ือนในการดํารงชีวิตของนองสาวคนนี้ วันหนึ่ง หลังจากที่ยายตัวเองมาเปนผูเชารายใหมของฉันไดไมนาน เธอก็สารภาพวาชอบบรรยากาศการรวมโตะกินขาวเย็นกับฉันและครอบครัวที่บานฉันที่สุด แมวากับขาวบนโตะจะเวียนวนไปไดไมไกลกวาไขเจียวและแกงสมประจําตระกูล (อันนี้เธอต้ังชื่อให) เหตุผลงายๆที่เธอบอกก็คือ “หนูวาอารมณมัน “บาน” ดีวะพ่ี”...

. . . . . . . . . บานของฉันนอกจากจะประกอบดวยสมาชิก 5 คนและหมานอย 3 ตัวแลว เรายังอาศัยอยูรวมในที่ดินเดียวกับผูคน

อีกกวา 200 ชีวติในฐานะเปนลูกคาผูเชาหองพัก อันเปนธุรกิจหลักของครอบครัวที่ดําเนินตอเนื่องมาเกือบ 30 ป ใครจะรูบางวา หองพักบางหองที่มีขนาดพื้นที่เพียงแค 25 ตารางเมตร ไดทําหนาที่เปน “บาน”ใหกับครอบครัวเล็กๆ

ที่ประกอบดวยพอ แม ลูก 2 คน ไดอยางนาอัศจรรย เพราะนั่นหมายความวา ทุกตารางนิ้วของพ้ืนที่ในหองไดถูกใชใหเกิดประโยชนตอครอบครัวนี้อยางคุมคาที่สุด ฉันเขาใจดวยตัวเองวา เจาของครอบครัวคงมีเง่ือนไขบางอยางที่ทําใหยังไมสามารถยายออกไปอยูบานพักอาศัยที่มีพ้ืนที่กวางขวาง สะดวกสบายกวานี้ได จึงจําเปนตองอดทนอยูรวมกันใน “บาน”แคบๆ หลังนี้ตอไปเรื่อยๆ แตส่ิงที่นาสนใจกวานั้นก็คือ ดูเหมือนวาความคับแคบของพ้ืนที่มีผลก็แตความไมสะดวกในการพักอาศัย แตไมไดลดทอนความสุขหรือสัมพันธภาพของครอบครัวเล็กๆนี้เลย

ถึงบรรทัดนี้แลว ฉันเริ่มเห็นวา แทที่จริงความหมายของคําวา “บาน” นาจะมีขอบเขตลึกซึ้งมากไปกวาการเปนหนึ่งในปจจัยพ้ืนฐานของการดํารงชีพรองจากอาหารและเครื่องนุงหม ความเปน “บาน” ในที่นี้ ไมไดขึ้นอยูกับขนาด ที่ตั้ง หรือวัสดุที่ใชประกอบขึ้นมาเปนตัวบานเลยแมแตนอย “บาน” นาจะหมายถึงพ้ืนที่ที่ถูกปลูกสรางขึ้นมาดวยความรักและเอาใจใส มีความ

0910 10

Page 11: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

สงบรมเย็นเปนพ้ืนฐานที่แข็งแรง มีความปลอดภัยเปนประตูที่ชวยปกปองและอนุญาตใหคนในบานเปดเขาไปพักไดทุกเวลาที่ออนแรงเหนื่อยลา และเปนจุดเริ่มตนของความสุขที่แทจริง

จะดีแคไหน หากเราทุกคนสามารถปลูกสรางบานหลังนี้ไดดวยตัวของเราเอง ? หากยังไมมั่นใจ ฉันขอแนะนําวิธีงายๆดวยการมองยอนกลับเขาไปในพื้นที่เล็กๆซึ่งเปนตําแหนงที่ตั้งของหัวใจ แลว

เร่ิมตนออกแบบ สรางบานในแบบที่เราตองการดวยตัวเองที่นี่ ใสความเมตตาหากตองการไดบานที่อบอุน ใสความเพียรถาอยากไดบานที่แข็งแรง การสรางบานที่สงบสุขและมั่นคงภายในจิตใจของเราเปนงานที่อาจเรียกรองเวลาทั้งชีวิต แตเมื่อบานของเราเริ่มเปนรูปเปนราง เราจะพบพื้นที่ที่ตอนรับเสมอทั้งในยามสุขและทุกข รมเงาของตนไมใหญในสวนที่เราตั้งใจปลูกใหเกิดความรมเย็นอาจชวยแบงปนความสบายใหกับคนใกลชิดไดอาศัยพักพิงในวันที่อากาศรอนไดอีกดวย

ฉันไดเพียงแตหวังวา เราคงไมไดหลงทางมาไกลเกินไปจนกระทั่งหาทางกลับบานไมถูกเสียแลว ...

หวังวาเพ่ือนทุกคน จะหาทางกลับ “บาน” ของเราไดดวยตัวเองคะ :)

รัชนิดา วงศโกสิตกุล OUTCOME MAPPING แผนท่ีผลลัพธ

สถาบันสงเสริมการจัดการความรูเพ่ือสังคม หรือ สคส. จัดสัมมนา OM “ OUTCOME MAPPING” “ เสนทางเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ในวันที่ ” 6 - 7 สิงหาคม 2552 ที่ผานมา

ขอขอบคุณสถาบันฯ ที่เปดโอกาสใหเราไดไปเขารวมอบรม รูปแบบการสัมมนาของ สคส. เปนการสรางบรรยากาศใหสบายๆ เริ่มตนดวย การแนะนําตัวเอง และ ทาง สคส. เคา

ก็ใชวิธี Before Action Review (BAR.) เขามาดวย ก็แบบที่เราเคยทําแลวกับอาจารยประพนธที่สัมมานา KM ที่ มศว. ดูวาเปนวิธีงาย กับคําถามวาที่มาเขาฟงคาดหวังอะไร กับ อีกคําถามนึงก็ ถาจะใหเปนอยางที่คาดหวังตองปฏิบัติอยางไรซึ่งทุกๆ คนก็จะบอกวา ตั้งใจฟง มีสติ ถามคําถาม เปดรับ ซึ่งเหมือนเปนจิตวิทยาใหเราตั้งเปา ทําใหเราไดใหพันธะสัญญากับตัวเอง การทําลักษณะนี้สอดคลองกับแนวทางของเรา เปนการเรียกสต ิกระตุนตอมการระลึกรู และ การอยูกับปจจุบัน

เมื่อเราไดความคาดหวังของเรา และเราจะไดรับทราบความคาดหวังของผูอื่น ก็อาจทําใหเรามีทิศทางในการฟงมากขึ้น แตอีกมิตินึง ถาเราฟงดวยการคาดหวังอยากเห็นในอยางที่เราอยากใหเปนซึ่งมักมีหลายส่ิงดวยกัน ระหวางที่ฟง เราอาจเผลอไปตัวสินหรือพูดกับตัวเอง ในหัวของเราเองวามันเปนแบบน้ันแบบนี้ เขากับงานโนนงานนี้ แลวถาเราเห็นมันกอนไดก็ดีจะไดรีบบอกใหมันหยุดกอน แตถาไปเออ ออ ตอ ความคิดตัวเอง จะทําให ไมมีพ้ืนที่พอสําหรับการเปดรับและคิดวิเคราะห หลังจากสัมมนาเสร็จ แลวถึงรูวา เรามาดวยความคาดหวังอะไร ส่ิงที่จะใหเปนไปตามความคาดหวังก็คือ อันดับแรก ใหปลอยวางความคาดหวังนั้นลงกอน เลย แลวคอย เปดกวาง ตั้งใจ พรอมแชร มีสติ อยางที่ทุกๆ คนบอกนั่นแหละ แลวคอยหยิบมันขึ้นมาใหมตอน ทํา After Action Review ( AAR.) เมื่อจบการสัมมนา โดยเทคนิค ก็คือ ที่เราคาดหวังอะไร เราไดอะไร เกินคาด ไดอะไรนอยกวาที่คาดไว จะกลับไปทําอะไร ปรับปรุงอะไร

ขอแบงปนโดยสรุป ถึง ความหมาย วิธีการ ขั้นตอน ดังตอไปนี้ “Outcome Mapping” ความหมายเปนภาษาไทยวา “แผนที่ผลลัพธ” เปนเคร่ืองมือเพ่ือบริหารจัดโครงการ / แผนงาน

โดยศูนยการจัดการและพัฒนาระหวางประเทศ ( IDRC : International Development and Research Centre) แหงประเทศแคนาดาพัฒนาขึ้น

เพ่ือใหเขาใจงาย และ สอดคลองกับบริบทการทํางานของคนไทย สคส. ไดนํามาปรับและประยุกตการใชศัพทและวิธีคิดบางขั้นตอนจากตนฉบับ มาเปนการมองพัฒนาการของกระบวนการเปนสําคัญ ใหความสําคัญกับการเกิดขึ้นของ “ผลลัพธ” หรือ “Outcome” ของแผนงานที่เกิดขึ้นกับคน กลุมคน หรือองคกรที่แผนงานทํางานดวย ผลลัพธที่ OM คาดหวังคือการเปล่ียนแปลงในเชิงพฤติกรรม (Behavior change) เพราะเชื่อวา การเปล่ียนแปลงในเชิงพฤติกรรมจะเปนการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนที่แมเมื่อแผนงานนั้นๆ ส้ินสุดลง ผลของแผนงานนั้น รวมทั้งพฤติกรรมของบุคคลในชุดทํางานตอๆ ไปจะยังคงอยูตอไป

มุมมองสําหรับการนําไปใช

0910 11

Page 12: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

0910 12

OM เปนเคร่ืองมือวางแผน + ติดตาม/ประเมินผล OM เนนการมอง “กระบวนการทํางานภายใน” OM เหมาะกับ งานสรางการเปล่ียนแปลง OM เปนการ “Mapping” ส่ิงที่กอใหเกิด “ผลลัพธ” เปนการ “เสาะหา” และ “โยงใย” เพ่ือใหเห็นวา “ผลลัพธ” นั้นเกิดมาจาก “เหตุปจจัย” ไมเพียงแตเกิดมาจาก คนเพียง

คนเดียวหรือแผนกเดียว

สคส. วางขั้นตอนการวางแผน OM มีรายละเอียดดังนี้ Step 1 : ภาพฝน (Vision) ความฝนหรือภาพฝนของคนในองคกร ที่มีฝนรวมกัน อยากเห็นอะไรเกิดขึ้น ซึ่งอะไรที่จะเกิดขึ้นนี้ตองเปนความฝนที่เปนเปาหมายสุดทาย ผูรับประโยชนสุดทาย เราตองการใหเปนอยางไร เปนความฝนที่เปนไปได ทําใหส่ิงที่เราจะรวมลงมือทํานั้นไมไดมาจากเหตุผลเพียงอยางเดียว หากแตเกิดขึ้นดวยใจ Step 2 : สานฝน (Mission) พันธกิจ ตอบโจทยภาพฝน แตอาจไมทั้งหมด เปนการระบุชัดวาเราจะทําอะไร หรือ โฟกัส จุดใดใหภาพฝนเปนจริง ภาพฝนอาจคอนขางใหญ พันธกิจตองเชื่อมโยงกับภาพฝน ซึ่งไมใช Action Plan หรือ ขั้นตอน แตเปนส่ิงที่ตองรวมกันทําใหเกิดขึ้น Step 3 : ผูรวมฝน (ภาคีเครือขาย) แบงเปน ภาคีโดยตรง Direct Partners และ ภาคีกลยุทธ Strategic Partner ภาคีโดยตรง Direct Partners คือผูที่ยินดี ตั้งใจ เปนทีมงานในการสรางฝน เปน “คนภายใน” โครงการ ที่มีความตั้งใจและยินดีทํางานเปนทีมรวมกัน พรอมที่จะเปล่ียนวิธีคิดหรือพฤติกรรม และพรอมเปนผูที่จะสืบสานงานตอ และ ภาคีกลยุทธ Strategic Partner เปนกลุมคนหรือ องคกรที่อยากมีฝนหรือวิสัยทัศนเดียวกับเรา มีสวนสงเสริมสนับสนุนกัน ทั้งเรื่องแนวคิด งบประมาณ นโยบายหรือ เปนที่ปรึกษา ใหความรวมมือใหงานเราสะดวกขึ้น Step 4 : ผลลัพธที่ทาทาย (Outcome Challenges) เปนการออกแบบผลลัพธ ซึ่งตองรวมกันคิด ระหวาง ผูรวมทีม หรือ ภาคีโดยตรง ซึ่งจะเปนผลลัพธเชิงพฤติกรรม ความสามารถ ศักยภาพ คือ ผูรวมทีมจะตองมีอะไรที่ทําใหสําเร็จตามพันธกิจ Step 5 : เปาหมายรายทาง (Progress Markers) เปนขั้นตอน คล่ีขยาย ผลลัพธที่ทาทาย ตามลําดับพัฒนาการความเปล่ียนแปลงที่ควรจะเปน ไมวาจะเปนศักยภาพ ขีดความสามารถ ทําใหการดําเนินงานอยูในทิศทางที่ชัดเจน ซึ่งจะเปนสัญญาณท่ีมี 3 ขั้นตอน

Expect to see – คาดวานาจะเกิด เปนพฤติกรรมที่เกิดขึ้นชวงแรกของการดําเนินการ Like to see – อยากจะใหเกิด พัฒนาหลังจากไดดําเนินการไปพอสมควร Love to see – ถาเกิดไดก็ดี เกิดขึ้นเมื่อการดําเนินการใกลส้ินสุด เปนการแสดงถึงการบรรลุผล

Step 6 : กําหนดกลยุทธ (Strategy) หรือแผนที่ยุทธศาสตร แนวทางหลักๆ ที่คอยสงเสริม และ สนับสนุน ใหภาคีโดยตรง มีพฤติกรรมไปตามผลลัพธ และ เปาหมายรายทาง มี 2 สวนหลัก 1) Individuals : มุงที่ ภาคีโดยตรง กลยุทธที่เปนหลักการ แนวคิด แบบแผน ในการปฏิบัติ ตามดวยกิจกรรมภายใตกลยุทธ ที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง และ 2) Environment : มุงไปที่ปจจัยแวดลอม สรางบรรยากาศในเพื่อใหเกิดการรับรู การเปลี่ยนแปลงทางดานนโยบาย ใหแรงจูงใจ หรือ ใหกฎระเบียบ อํานวยเครื่องมือท่ีทําใหการทํางานสะดวก Step 7 : แนวปฏิบัติสนับสนุนกลยุทธ (Required Practices) เปนแนวปฏิบัติขององคกร หรือ ที่ตนสังกัด หรือ ภาคีกลยุทธ เกื้อหนุน สงเสริม ใหภาคีโดยตรงไดปฏิบัติตาม Strategy

Page 13: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

Step 8 : กรอบแนวทางติดตาม&ประเมินผล Monitoring & Evaluation Framework ตองมีการอธิบาย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สคส.ใหกรอบแนวทางติดตาม และ การประเมินดังนี้ ติดตามอะไรบาง Monitoring ประเมินอยางไร Evaluation เครื่องมือ/เทคนิค Tools & technique Progress markers Strategy Required Practices

แผนที่ผลลัพธไดรับการพัฒนาในองคกรที่มีความเชื่อวา การติดตามและประเมินผลจะเปนเคร่ืองมือท่ีชวยใหแผนงาน / โครงการ มีกระบวนการเรียนรูและพัฒนาตัวเองไดดีขึ้น ดังนั้นแผนงานที่ใชแผนที่ผลลัพธ จําเปนตองมีการเรียนรูที่อยูบนพ้ืนฐานของทุกฝาย

พวกเรา เปนเครือขายครูโยคะ ซึ่งก็เปนภาคีรวมหลักของการมีภาพฝนที่ใกลกัน นาจะมีความเปนไปไดที่จะนําแนวคิด

นี้ไปประยุกตใช ตั้งแตขั้นตอนของการออกแบบการทํางาน และ การใชทรัพยากรบุคคลที่ “ชัดเจน” และ “ทรงพลัง” การติดตามและประเมินผลยอมจะตามมาหลังจากที่เราไดวาดแผนการประเมินผลดวย

โดยทั่วไป ถาเรามองวาเราตองการใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ไมวาจะเปนตัวเราเอง กับงานสอน หรือ งานของเราหรือกับองคกร ฟงดูแลวอาจไมใชเร่ืองงาย เพราะที่ผานมาคือ ส่ิงที่ส่ังสมมาเปนระยะเวลาหนึ่ง เพราะเปนวิถี หรือ อาจเปนวัฒนะ-ธรรมไปแลว ถาเราเห็นกอนวาทําไมตองเปล่ียนพฤติกรรม เมื่อเปล่ียนจะเกิดประโยชนอยางไร และ เห็นผลกระทบ Impact ถายังมีความเปนไปแบบเดิม ความเปนไปไดยอมมีอยู และ มีพลังในการขับเคล่ือนมากขึ้นดวย เพราะ เราเริ่มภาพฝน ก็เทากับเราเริ่มที่ใจ ไดทําในสิ่งที่เราอยากเห็นไวกอน เพ่ือความสุขซึ่งไมไดรออยูที่ความสําเร็จ หากแตอยูตามรายทางดวย

ครูมือใหม หัวใจออกเดิน

ถึงเพ่ือนๆครูทุกคน นานแลวนะที่ไมไดเมลหาเพื่อนๆ เลย มัวยุงๆ หลายอยาง หลายเดือนกอนผมไดเลาถึง (กาย) กรรมโยคะที่ไดสัมผัส

มา คราวนี้ผมไดรับประสบการณใหมจากการไปนําสอนครั้งแรกในชีวิตของผม หลังจากแอบ’เมนต และเมาทชาวบานมามิใชนอย ตอนนี้ก็ถึงคราวที่ดาบนั้นไดคืนสนองแบบเต็มๆ

ยอนเหตุการณไปเมื่อปลายเดือนสิงหาคม มีเสียงโทรศัพทดังแทรกขึ้นมาขณะนั่งทํางานอยู “ฮัลโหล.. พ่ีปุมจากสถาบันโยคะวิชาการนะคะ” เสียงครูปุมผูสงออกครูโยคะทั่วราชอาณาจักรดังแววมาในสาย ”หมอ

ดุลเคยไดยินงานมหกรรมสมุนไพรแหงชาติ ที่เมืองทองฯ ไหมคะ” “ก็เคยไดยินมาบางครับ” ผมตอบเธอไป “สถาบันฯ เรามีการจัดอบรมโยคะอาสนะใหผูเขางานที่สนใจ ซึ่งพ่ีก็อยากชวนหมอใหไปสอนโยคะในวันเสารที่ 5

กันยา นี้อะคะ” ‘งานเขา!’ แลวครับพ่ีนอง ผมคิดในใจ หลังจากสอบถามรายละเอียดของงานจนพอเขาใจภาพคราวๆ แลว ผมไมกลาที่

จะตอบปฏิเสธ ใจหนึ่งก็รูสึกยินดีและเปนเกียรติมากที่ทางสถาบันใหความไววางใจเอาชื่อเสียงมาฝากไวกับมือใหมหัดสอนอยางผม แตยิ่งกวาคือความกลัวระคนกังวลใจวาจะนําพาผูเรียนไปไดอยางไร เอาวะ ..สู! (โวย)

จากนั้นสมองผมก็เร่ิมทํางานไมหยุดยั้ง โจทยที่ไดรับคือ “โยคะเพื่อสุขภาพองครวม” ซึ่งผมตีความแลววาสิ่งที่จะนําเสนอคงไมใชแคอาสนะ แตเราจะใชกุศโลบายอันใดที่จะทําใหคนเห็นความสําคัญของการดูแลสุขภาพดวยวิถีโยคะอยางเปนองครวม

แวบแรกที่ปงขึ้นมาในสมองก็คือ ผมตองมีตัวชวย ก็คือ PowerPoint presentation ซึ่งพอจะ”ขาย” (ผาเอาหนารอด) ไปได ถึงแมวาประสบการณการนําอาสนะตอหนาผูคนจะเปนศูนย และการนําเสนอแบบอื่นๆ เชน นําเกม หรือเดี่ยวไมโครโฟน

0910 13

Page 14: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

0910 14

นั้นลืมไปไดเลย ผมไมนาสนใจขนาดนั้น แตสไลดโชวชวนคิดเรื่องการดูแลสุขภาพนี่แหละที่จะดึงความสนใจคนได คิดเลนๆวาจะกระหน่ําeffectใหอลังการ กะวาใหมึนๆกอนเริ่มนําฝก เพ่ือสอนผิดจะไดไมมใีครจับได อิอิ :-P

แตที่ยากในความคิดผมคือ การนําใหทุกคนฝกอาสนะไดอยางเขาใจ พรอมเพรียง และราบรื่นตลอด 2 ชั่วโมง เพราะผูเขารวมงานนั้นหลากหลายทั้ง อายุ อาชีพ และประสบการณตอโยคะที่ตางกัน เราไมสามารถคาดการณอะไรไดเลย คนแรกที่ผมนึกถึงคือครูหนู (ชมชื่น สิทธิเวช) ซึ่งผมไดเรียนโยคาสนะกับทานมานานหลายป โดยไมรอชาหลังทราบเรื่องผมรีบโทรศัพทปรึกษาทานทันที แมวาจะเปนศิษยที่ขาดความสม่ําเสมอในการเรียนไปบาง แตทานก็ใหความเมตตาใหคําแนะนําอยางใสใจละเอียดทุกขั้นตอน

เสารที่ 5 กันยายน 2552 ณ อิมแพค เมืองทองธานี .. It’s showtime !!

ผมไปถึงกอนเวลาเกือบชั่วโมงเพ่ือตระเตรียมตางๆ จากนั้นผูคนเริ่มทยอยกันเขามา มีตั้งแตนองเด็กแนว วัยดงบังชิงกิ ยันคุณปูรุนสุนทราภรณ รวมแลวกวา 50 คน

หลังจากทักทายสรางความสัมพันธกันเล็กนอยแลว ก็ไดเวลาของพรีเซนเทชันที่ภูมิใจนําเสนอ ผมเปดสไลดแรกดวยคลิป MV Nobody ของ 5 สาว Wonder Girl เพ่ือชี้ใหเห็นวาการที่โชวนี้ดูสมบูรณเพราะทุกคนสามารถเตนไดพรอมเพรียงกัน แตถามีใครสักคนเตนผิดคิวไปละ โชวก็คงจะไมสมบูรณแลว รางกายของเราก็เหมือนกัน การที่เราดํารงชีวิตอยางปกติไดเพราะทุกระบบในรางกายสามารถทํางานไดอยางสอดประสานกลมกลืนกันอยางสมดุล ถาระบบใดหรือ สวนใดสวนหนึ่งทํางานผิดปกติไปก็ยอมสงผลกระทบตอสวนอื่นอยางเปนองครวม โดยแบงงายๆเปน 4 สวน (4 อ.) คือ อาหาร อากาศ (ลมหายใจ) อารมณ และ อิริยาบถ แลวจึงเชื่อมโยงใหเห็นวาโยคะเขามาดูแลในสวน อาหาร ดวยมิตหาระ และอีก 3 สวนที่เหลือดวยการเรียนรู กาย จากอาสนะ เรียนรูการหายใจซึ่งเปนเหมือนสะพานเชื่อมใหเราเดินทางสูภายในจิตใจของตนเอง นําไปสูการหลอมรวมกายและจิตใหทํางานสอดประสานกลมกลืนกันซึ่งก็คือความหมายที่แทจริงของโยคะ

แลวจึงนําฝก เร่ิมจากฝกหายใจและบริหารขอตอสวนตางๆแลว เร่ิมใหผูเรียนดูสาธิตอาสนะหมวดนอนหงาย (ทาศพ และคันไถครึ่งตัว) เมื่อทําตามแลวก็ใหลุกนั่งดูสาธิตทาคีม(ยืดหลัง) แลวทําตาม ขณะยังนั่งอยูก็ดูสาธิตทาหมวดนอนคว่ํา (ทาจระเข, ทางู และทาตั๊กแตน) แลวจึงลงนอนทําตาม จากนั้นลุกนั่งดูสาธิตและทําทาหัวถึงเขา ตามดวยทาบิดสันหลัง ทานั่งเพชร และโยคะมุทรา แลวจึงทําทาหมวดยืน (ทาภูเขา และทากงลอ) ปดทายดวยการนอนพักในทาศพและการผอนคลายอยางลึก ทั้งหมดนี้ครูหนูไดชวยดีไซนเรียงรอยลําดับการฝกอาสนะทั้ง 14 ทาใหใหม เพ่ือใหเกิดการเตรียมพรอมของกลามเนื้อในอิริยาบถตางๆอยางสมดุล และจากตรงนั้นทําใหผมสามารถแกปญหาเรื่องการใหผูเรียนดูแบบสาธิตไดดวย ชวงทายก็เปดโอกาสใหซักถาม ซึ่งผูเขารวมฟงหลายคนก็ถามอยางสนอกสนใจ ทําเอาคนสอนปลื้มไป

ผมนึกถึงคําพูดของครูสมัยมัธยมที่ทานเขียนไวในสมุดบันทึกใหผมวา “ผูใหยอมขอบคุณผูรับ จงเปนผูใหและผูรับที่ดี” หลังการเรียนรูในวันนั้นในมุมหนึ่งผมมีความอิ่มเอมใจที่ไดแบงปนส่ิงที่เรารักใหเกิดประโยชนแกผูอื่น อีกดานหนึ่งซึ่งมากกวาผมไดรับส่ิงดีๆมากมาย นอกจากการสนองตอบของผูเรียนแลว ผมยังไดพบกัลยาณมิตรรวมเสนทางที่ชวยใหงานในวันนั้นผานพนไปดวยดี ผมไดรับน้ําใจจากพี่เอ (ครูจีระพร) ซึ่งเมลมาอาสาเปนแบบให ในขณะที่ผมกําลังกังวลใจวาจะหาใครมาเปนแบบได, ครูพรพรรณ ที่มานิเทศการสอน ดูแลแผนการสอนตั้งแตเปนรางจนเปนรูปเปนราง, พ่ีเละ (ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน,ทานสะดวกใหเรียกพ่ีมากกวาครู) ที่เปดมุมมองตออาสนะใหผม คม ชัด และลึกขึ้น, และสถาบันโยคะวิชาการที่ไววางใจ มอบโอกาสดีๆ และเวทีใหวาดลีลา และที่สุดคือครูหนู (ชมชื่น สิทธิเวช) ‘ครู’โยคะคนแรกในชีวิตผม ทําใหผมรูจักและรักโยคะ ทําใหผมรูถึงสัมผัสที่แตกตางของ คําวา “ครู” และผูนําสอน

ผมไดเรียนรูอะไรมากมายจากการสอนในวันนั้น สําหรับผม คําวา ครู คงเปนหนทางอีกยาวไกลที่จะกล่ันตัวเองใหเปนเชนนั้นได ผมอาจเปนเพียงฝุนทรายเล็กๆ บนทางสายนี้ที่ตองอาศัยวันเวลาหลอหลอมใหเปนเครื่องแกวเจียระไนขึ้นสักวัน แตความอิ่มเอมใจในวันนั้นเปนเหมือนพลังใหหัวใจผมกาวเดินตอไปอยาง สถิระ และสุขะ ตามวิถีแหงโยคะ ปล. ผมนําคาวิทยากรที่ไดรับทั้งหมดไปทําบุญกับมูลนิธิเด็กและมูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย ในนามเพื่อนครูในรุนครับ

Page 15: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

0910 15

แบบสอบถาม จดหมายขาวสารัตถะ สถาบันฯ ใหความสําคัญกับการพัฒนาครูสูงสุด เราพบวาการคอยติดตอเชื่อมโยงกันไว เปนปจจัยสําคัญ ที่คอยหลอ

เล้ียงสายสัมพันธระหวางเพ่ือนครูกับสถาบันฯ อันเอ้ือตอการพัฒนา โดยจดหมายขาวตั้งใจทําหนาที่ ผูกรอย พวกเราไวดวยกัน ในขณะเดียวกัน ตัวจดหมายขาวเอง ก็ตองไดรับการพัฒนาไปดวยเชนกัน นอกจากดูการสมัคร การตออายุสมาชิก

แลว อีกส่ิงหนึ่งที่ทําไดคือ การสอบถามความคิดเห็นจากผูอานโดยตรง ดวยเหตุนี้ กอง บก จดหมายขาวฯ จึงขอความรวมมือผูอาน ทั้งที่รับทางไปรษณีย รับจากทางอีเมล หรือ ดาวนโหลดจากเวบ ชวยตอบแบบสอบถามและสงคืนไปยังสถาบันฯ เพ่ือเราจะนําไปปรับปรงุจดหมายขาวในป 2553 ตอไป สงทางอีเมล ไดที่ [email protected] หรือ [email protected] หรือ ติดแสตมปสงกลับไปทางไปรษณีย

นักเขียนรับเชิญทุกคน และ กองบรรณาธิการ ขอขอบคุณทุกทานลวงหนามา ณ โอกาสนี้ ทานมีทัศนะอยางไรตอคอลัมนเหลานี้ โปรดกา ลงในชอง ชอบ เฉยๆ ไมไดอาน

1 ปฏิทินกิจกรรม โดย กอง บก 2 โยคะวิถี โดย อ.ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน 3 โยคะจากอินเดีย โดย ธํารงดุล 4 ปกิณกะสุขภาพ โดย สดใส 5 แนะนําหนังสือ โดย เพ่ือนครูสลับกันเขียนมา 6 ตําราโยคะดั้งเดิม โดย อ.วีระพงษ ไกรวิทย & อ.จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี 7 สะกิด สะเกา โดย สดใส 8 เทคนิคการสอน โดย เพ่ือนครูสลับกันเขียนมา 9 จดหมายจากเพื่อนครู โดย เพ่ือนครูสลับกันเขียนมา 10 เกร็ดความรูโยคะ โดย ศันสนีย นิรามิษ & ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ขอเสนอแนะ ในแตละคอลัมน ปฎิทินกิจกรรม .......................................................................................................................................................................

โยคะวิถี..................................................................................................................................................................................

โยคะจากอินเดีย .....................................................................................................................................................................

ปกิณกะสุขภาพ ......................................................................................................................................................................

แนะนําหนังสือ ........................................................................................................................................................................

ตําราโยคะดั้งเดิม ....................................................................................................................................................................

สะกิด สะเกา...........................................................................................................................................................................

เทคนิคการสอน ......................................................................................................................................................................

จดหมายจากเพื่อนครู .............................................................................................................................................................

เกร็ดความรูโยคะ ....................................................................................................................................................................

อื่นๆ.......................................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................................. ความเห็นของทานตอเรื่อง อารตเวอรค 11) ขนาดตัวอักษร (14 ปอยท) ( ) เหมาะสม ( ) อยากใหปรับปรุง …………………. 12) รูปแบบของอารตเวอรค (MS-Word ธรรมดา) ( ) เหมาะสม ( ) อยากใหปรับปรุง .………………...

ขอเสนอแนะเรื่องอารตเวอรค ..................................................................................................................................................

Page 16: Yoga Saratta -Oct 2552 (Vol.0910)

ในป 2553 เราตัง้ใจจะเพิ่มคอลัมน ซึ่งหากมีผูสนใจอยากอาน ก็จะเปนแรงจูงใจใหบรรดาครูเครือขายของเรา ชวยกันเขียน ชวยกันจัดทําบทความ มากขึ้น 13) สัมภาษณบุคคล ( ) ไมสนใจ ( ) สนใจ ถาสนใจ โปรดเสนอชื่อบุคคลที่อยากใหเราไปสัมภาษณ

................................................................................................................................................................................

14 ขาวคราวเครือขาย ( ) ไมสนใจ ( ) สนใจ ถาสนใจ โปรดเสนอชื่อเครือขายที่อยากรูจัก เชน ศรีราชา, เชียงราย, หาดใหญ, ศูนยโยคะที่เพ่ือนๆ เปดกัน ฯลฯ

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................ 15 ทานรับจดหมายขาวทาง ( ) ไปรษณีย ( ) อีเมล ( ) ดาวนโหลดจากเวบไซท ( ) อื่นๆ ........................................................................................................................................................................ 16 ทานอาน จดหมายขาว อยางไร ( ) อานทุกคอลัมน หรือ แทบทุกคอลัมน ( ) อานเฉพาะคอลัมน หรือ เร่ือง ที่สนใจ ( ) รับมาจะ save ไว หรือ จะเก็บไว อานเมื่อวาง ( ) สนใจรับตลอด แตยังไมคอยมีเวลาไดอาน ( ) อื่นๆ ....................................................................................................................................................................... 17 ทานเก็บ หรือ save จดหมายขาวไวหรือไม ( ) เก็บ ( ) ไมเก็บ ( ) อื่นๆ ........................................................................................................................................................................ 18 ขอเสนอื่นๆ ......................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................ ขอขอบคุณ

------------------------------------- โปรดพับ 3 ทบ (ตามรอย) เย็บลวด ติดแสตมป 3 บาท แลวสงกลับ --------------------------------

ปดแสตมป 3 บาท

กรุณาสง สถาบันโยคะวิชาการ 201 ซอยรามคําแหง 36/1 ถนนรามคําแหง หัวหมาก บางกะป กรุงเทพฯ 10240

0910 16