5
ชาพ นฐานการเขยนโปรแกรมคอมพ วเตอร เร่องการเขยนผังงาน ลักษณะโครงสรางผังงานการท้างานแบบท้าซ้า ใชประโยชนในกรณท่ตองการท้างานอยางใดอยางหน่งซ้ากัน หลายครัง โครงสรางผังงานแบบท้าซ้าจะประกอบไปดวยสัญลักษณการตัดสนใจ ใชส้าหรับตรวจสอบเง ่อนไขเพ่อ ตัดสนใจวาจะเขาสูขั นตอนการท้าซ้าหร อไม ลักษณะการท้าซ้าสามารถแบงไดเป็น 2 ลักษณะ คอ 1. ท้าในขณะท่ 2. ท้าจนกระทั่ง 1. การท้าซ้าลักษณะท้าในขณะท่ การท้างานของโครงสรางผังงานการท้าซ้าลักษณะท้าในขณะท่ ( Do - While) ขันตอนแรกของการท้างาน คอ การตรวจสอบเง ่อนไขการท้าซ้า ถาผลท่ไดจากการตรวจสอบเง ่อนไขเป็นจรง จงเขาสูขันตอนของการท้างานในสวนของ การท้าซ้า จากรูปท่ 2.7 คอ ท้ากระบวนการท่ 1 หลังจากท้ากระบวนการท่ 1 เสร็จแลว การท้างานของผังงานจะกลับไป ตรวจสอบเง ่อนไขท่ใช ส้าหรับการท้าซ้าอ กครัง ถาผลท่ไดจากการตรวจสอบเง ่อนไขยังคงเป็นจรง การท้างานจะเขาสูขันตอนการท้างานท่ตองท้าซ้าอกครัง หน่ง ท้าซ้าเชนนจนกวาผลท่ไดจากการตรวจสอบเง ่อนไขเป็นเท็จ จงออกจากขันตอนการท้าซ้า เพ่อท้างานในขันตอน ตอไป รูปท ่ 2.11 โครงสรางผังงานแบบท้าซ้าในลักษณะท้าในขณะท่ เง ่อนไข N Y Process 1 โครงสร้างผังงานการท้างานแบบท้าซ้า

2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

ลักษณะโครงสร้างผังงานการท้างานแบบท้าซ้้า ใช้ประโยชน์ในกรณีที่ต้องการท้างานอย่างใดอย่างหนึ่งซ้้ากัน

หลายครั้ง โครงสร้างผังงานแบบท้าซ้้าจะประกอบไปด้วยสัญลักษณ์การตัดสินใจ ใช้ส้าหรับตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อ

ตัดสินใจว่าจะเข้าสู่ขัน้ตอนการท้าซ้้าหรอืไม่ ลักษณะการท้าซ้้าสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ

1. ท้าในขณะที ่

2. ท้าจนกระทั่ง

1. การท้าซ ้าลักษณะท้าในขณะที่

การท้างานของโครงสร้างผังงานการท้าซ้้าลักษณะท้าในขณะที่ (Do - While) ขั้นตอนแรกของการท้างาน คือ

การตรวจสอบเงื่อนไขการท้าซ้้า ถ้าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นจริง จึงเข้าสู่ขั้นตอนของการท้างานในส่วนของ

การท้าซ้้า จากรูปที่ 2.7 คือ ท้ากระบวนการที่ 1 หลังจากท้ากระบวนการที่ 1 เสร็จแล้ว การท้างานของผังงานจะกลับไป

ตรวจสอบเงื่อนไขที่ใชส้้าหรับการท้าซ้้าอกีครั้ง

ถ้าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขยังคงเป็นจริง การท้างานจะเข้าสู่ขั้นตอนการท้างานที่ต้องท้าซ้้าอีกครั้ง

หนึ่ง ท้าซ้้าเช่นนี้จนกว่าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นเท็จ จึงออกจากขั้นตอนการท้าซ้้า เพื่อท้างานในขั้นตอน

ต่อไป

รูปที่ 2.11 โครงสร้างผังงานแบบท้าซ้้าในลักษณะท้าในขณะที่

เงื่อนไข N

Y

Process 1

โครงสร้างผังงานการท้างานแบบท้าซ ้า

Page 2: 2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

ตัวอย่างที่ 2.3 โครงสรา้งผังงานการท้าซ้้าในลักษณะท้าในขณะที่

รูปที่ 2.12 ผังงานโครงสร้างการท้าซ้้าลักษณะท้าในขณะที ่

จากผังงานรูปที่ 2.12 สามารถอธิบายล้าดับขั้นตอนการท้างานได้ดังนี้

1. เริ่มตน้

2. ครูใหน้ักเรียนอ่านหนังสือ 10 หนา้

3. นักเรียนเปิดอ่านหนังสือหนา้แรก

4. ในขณะที่ ตรวจสอบนักเรียนอ่านไม่ครบ 10 หนา้

4.1 ให้นักเรียนเปิดหนังสอืหน้าถัดไป

4.2 นักเรียนอ่านหนังสือ

5. จบการท้างาน

เร่ิมตน้

นักเรียนเปิดหนังสอืหน้าถัดไป

นักเรียนอ่านหนังสอื

นักเรียนเปิดอ่านหนังสอืหน้าแรก

ครูให้นักเรียนอ่านหนังสอื 10 หนา้

นักเรียนอา่นไมค่รบ

10 หน้าใชห่รือไม ่

จบการท้างาน

ไมใ่ช ่

ใช ่

Page 3: 2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

2. การท้าซ ้าในลักษณะท้าจนกระทั่ง

ลักษณะของโครงสร้างผังงานการท้าซ้้าลักษณะท้าจนกระทั่ง (Do - Until) แสดงในรูปที่ 2.9 การท้างานของ

โครงสร้างผังงานการท้าซ้้าลักษณะท้าจนกระทั่ง ขั้นตอนการท้างานที่ต้องท้าเป็นล้าดับแรก คือ ท้าขั้นตอนการท้างานที่

ต้องการท้าซ้้าก่อนอย่างน้อยหนึ่งครั้ง จากรูปที่ 2.9 คือ การท้างานในส่วนของกระบวนการที่ 1 หลังจากนั้นจึงท้าการ

ตรวจสอบเงื่อนไขส้าหรับพิจารณาว่าจะกลับไปท้ากระบวนการท้างานที่ต้องท้าซ้้าหรอืไม่

ถ้าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขเป็นเท็จ การท้างานของผังงานจะท้าการย้อนกลับไปท้าขั้นตอนการ

ท้างานที่ต้องการท้าซ้้าอีกครั้ง แล้วจึงท้าการกลับมาตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขยังคงเป็น

เท็จ จะกลับไปท้ากระบวนการที่ต้องท้าซ้้าอีก ท้าเช่นนี้จนกว่าผลที่ได้จากการตรวจสอบเงื่อนไขออกมาเป็นจริง จึงออก

จากขั้นตอนการท้าซ้้าเพื่อท้างานในขั้นตอนอื่นต่อไป

รูปที่ 2.13 โครงสร้างผังงานการท้าซ้้าลักษณะท้าจนกระทั่ง

N Y

Process 1

เงื่อนไข

Page 4: 2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

ตัวอย่างที่ 2.4 โครงสรา้งผังงานการท้าซ้้าในลักษณะท้าจนกระทั่ง

รูปที่ 2.14 ผังงานโครงสร้างการท้าซ้้าลักษณะท้าจนกระทั่ง

จากผังงานดังรูปที่ 2.14 สามารถอธิบายล้าดับขั้นตอนการท้างานได้ดังนี้

1. เริ่มตน้

2. ครูอธิบายเรื่องการบวกเลข

3. ครูให้นักเรียนท้าแบบฝกึหัด

4. นักเรียนส่งแบบฝกึหัด

5. ครูตรวจ

6. ท้าซ้้าจนกระทั่ง นักเรียนส่วนใหญ่ท้าถูก

6.1 ครูสอนเรื่องใหม่

7. จบการท้างาน

ครูสอนเร่ืองใหม ่

ครูตรวจ

นักเรียนสง่แบบฝึกหัด

ครูให้นักเรียนท้าแบบฝึกหัด

ครูอธิบายเร่ืองการบวกเลข

นักเรียนสว่นใหญ่

ท้าถูกใชห่รือไม ่

จบการท้างาน

ไมใ่ช ่ ใช ่

เร่ิมตน้

Page 5: 2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ

วชิาพืน้ฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิเตอร์

เรื่องการเขียนผังงาน

ข้อแตกต่างระหว่างการท้าซ ้าลักษณะท้าในขณะที่ กับ ท้าจนกระทั่ง

โครงสร้างผังงานการท้าซ้้า มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ท้าในขณะที่ และ ท้าจนกระทั่ง ลักษณะการท้างานของ

โครงสร้างผังงานท้าซ้้าทั้ง 2 ลักษณะ มีการท้างานที่แตกต่างกัน สามารถสรุปความแตกต่างของลักษณะการท้างานของ

โครงสรา้งผังงานการท้าซ้้าทั้ง 2 ลักษณะ ได้ดังนี้

ตารางท่ี 2.1 แสดงความแตกต่างระหว่างการท้าซ้้าลักษณะท้าในขณะที่กับท้าจนกระทั่ง

ลักษณะการท้างาน

ท้าในขณะที่

ท้าจนกระทั่ง

การตรวจสอบเงื่อนไข

ตรวจสอบเงื่อนไขก่อนการท้างานส่วน

ที่ตอ้งการท้าซ้้า

ท้างานส่วนที่ต้องการท้าซ้้าก่อนแล้ว

จงึตรวจสอบเงื่อนไข

การตดัสินใจเพื่อท้าซ้้า

เมื่อผลจากการตรวจสอบเงื่อนไขเป็น

จรงิ

เมื่อผลจากการตรวจสอบเงื่อนไข

เป็นเท็จ

จ้านวนการท้าซ้้า

อาจไม่มกีารท้างานในส่วนของการ

ท้างานที่ต้องการท้าซ้้า ถ้าผลที่ได้จาก

การตรวจสอบเงื่อนไขครั้งแรกเป็นเท็จ

ท้าขั้นตอนการท้างานที่ต้องการ

ท้าซ้้าอย่างน้อย 1 ครั้ง

N

Y

Process 1

เงื่อนไข

Process 1

เงื่อนไข N Y