22
~ 1 ~

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

  • Upload
    -

  • View
    5.193

  • Download
    0

Embed Size (px)

DESCRIPTION

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อสอบเก่าท้องถิ่น ปี 57 ราคา 249 บาท สั่งซื้อได้ที่ :www.Sheetram.com บริษัท ชีทราม จำกัด ชมรมลูกพ่อขุนประยุกต์ สำนักงานใหญ่ 453 ถนนรามคำแหง(ปากซอย 53) หัวหมาก บางกระปิ กรุงเทพฯ 102 โทรศัพท์ : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740 FAX : 02-718-6528 เปิดบริการ 8.15-21.30 น. ทุกวัน

Citation preview

Page 1: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 1 ~

Page 2: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 2 ~

ขอบเขตเนื้อหา

ความรูทั่วไปเก่ียวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ประวตัิความเปนมา 5 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 5 อํานาจหนาที่ 5 วิสัยทัศนและพันธกจิ 6 ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 7

ความรูเก่ียวกับพัฒนาชุมชน บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชมุชน 8 การพัฒนาชมุชนโดยใหประชาชนมสีวนรวม 9 กระบวนการพัฒนาชมุชน 10 การพัฒนาแบบมีสวนรวม 12 การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพฒันาชุมชน 14 การพัฒนาของภาครัฐรวมกับองคกรพัฒนาเอกชนและภาคประชาสังคม 15 แนวทางสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน 18 การกระจายอํานาจในการพฒันาและงบประมาณสูทองถิ่น 22 แนวคิดเกี่ยวกับชมุชน 27 กระบวนการจัดทําแผนชุมชน 29 การประเมินคุณภาพแผนชุมชน 31 กรมการพัฒนาชุมชนกบัการขับเคล่ือนกระบวนการแผนชุมชน 40 กรอบแนวคดิในการจัดทําแผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2555-2559 43 วิสัยทัศน 44 กรอบแนวคดิในการจัดทําแผนยุทธศาสตร 45 ความหมายของการพัฒนาชุมชน 59 ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน 60 จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน 62 แนวคิดเกี่ยวกับชมุชน 63 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิฉบับที ่11 (พ.ศ. 2555–2559) 112 ขอสอบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) 121

Page 3: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 3 ~

กฎหมายที่เก่ียวของกับการพัฒนาชุมชน

พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 130 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 145 พรบ. กองทุนหมูบานและชุมชนเมอืงแหงชาติ พ.ศ.2527 153 แนวขอสอบ พรบ. กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ.2527 167 การจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 170 แนวขอสอบ การจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 182 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538 190 แนวขอสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538 196

กฎหมายเก่ียวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 201 สรุปพ.ร.บ. องคการบรหิารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม 209 สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และท่ีแกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที ่13 พ.ศ.2552 215 สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบรหิารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง 228

ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่ม 235

เติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551 สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กาํหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอาํนาจ ใหแกองคกรปกครอง

สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที ่2 พ.ศ.2549 242 สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธกีารบริหารกิจการ

บานเมืองทีดี่ พ.ศ. 2546 245 สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญตัิระเบยีบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 251

และแกไขเพิ่มเติม

Page 4: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 4 ~

ประวัตคิวามเปนมา กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งข้ึนใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญในการสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้ อํานาจหนาที่

1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบรูณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ

ในการติดตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน

ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอาํนาจ หนาที่ขององคการปกครองสวนทองถิ่น

4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบรหิารงานบุคคลขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น

5. สงเสริม สนบัสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การพัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญช ีและ การพัสดุขององคการปกครองสวนทองถิ่น

6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีว้ัดเพือ่เปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน

8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 5: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 5 ~

9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น 10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถิน่และของกรม 11. ปฏิบัติการอืน่ใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรอืตามที่กระทรวงหรือ

คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดข้ึนในกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ในราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุมพัฒนาระบบบริหารข้ึนในกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุนการปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา วิสัยทัศนและพันธกิจ วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision) “ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางย่ังยืน ” พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission)

1. พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง 2. สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาต ิระดับจังหวัด

และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย 3. สงเสริมระบบบรหิารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลักคุณธรรม และเพิ่มขีด

ความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ 4. พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและ

สามารถพึ่งตนเองได 5. พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสทิธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับ

ดูแล อปท.

Page 6: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 6 ~

ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน นายพิสันต์ิ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานที่ทํางานดานการพัฒนาชุมชนรวมกับประชาชน

ตลอดระยะเวลา48 ป โดยมีความมุงมั่นที่จะเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางย่ังยืนและมีเปาหมายสูชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข

บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ใหกรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของประชาชน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนใหมีการจัดทําและใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรท่ีเกี่ยวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยางย่ังยืนโดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

1. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติเพื่อใหหนวยงานของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชน ไดใชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงานเพื่อเสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน

2. จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับประเมินความกาวหนาและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน

“...ขอบใจมาก ที่ตองเหน็ดเหนื่อยทํางานในหมูบานชนบท และตองประสบปญหาตางๆมากมาย ขอใหชวยกันพัฒนาคนใหมีความฉลาด สามารถชวยตนเองได... ในการแนะนําสงเสริมอาชีพ หรือใหคําแนะนําเรื่องตางๆ ตองทําใหบอยๆ ไมใชพูดหรือทําหนเดียว... ความมั่นคงของประชาชนในชนบทเปนสวนหนึ่งที่จะสรางชาติ และปองกันประเทศเปน อยางดี...” พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ

พระราชทานแกพัฒนากร ในโอกาสเสด็จไปทรงกระทําพิธีเปดเข่ือนและการพลังงานไฟฟาแมน้ําพุง จ.สกลนครเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2508

Page 7: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 7 ~

3. พัฒนาระบบและกลไกในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู การอาชีพ การออมและการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผูนําชุมชนองคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชน

4. สนับสนุนและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศชุมชน สงเสริมการใชประโยชนและการใหบริการขอมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใชในการวางแผนบริหารการพัฒนาไดอยางมีประสิทธิภาพ

5. ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา และสรางองคความรูเพื่อใชในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทํายุทธศาสตรชุมชน

6. ฝกอบรมและพัฒนาขาราชการ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชน องคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชนใหมีความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้งใหความรวมมือทางวิชาการดานการพัฒนาชุมชนแกหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ

7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรม หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม

แนวคิดการพัฒนาชุมชน ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบดวย 2 คํา คือ การพัฒนา

และชุมชน การพัฒนา หมายถึง ทําใหเจริญ การเปล่ียนแปลง เปล่ียนสภาพ ปรับปรุงใหตางจาก

เดิม ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุม/องคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชน

และประชาชนที่อาศัยอยูในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือหมูบาน หรือชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาเดียวกัน เชน ชุมชนลุมน้ํา ชุมชนวัฒนธรรม เปนตน

การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเปนกระบวนการใหการศึกษา (educational process) แกประชาชนเพื่อใหสามารถพึ่งตนเองได (self – reliance) หรือชวยตนเองได (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดําเนินการแกปญหา ตลอดจนตอบสนองความตองการของตนเอง และสวนรวม

Page 8: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 8 ~

การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําใดๆ ก็ตามท่ีเกิดจาก

ความคิดริเริ่มของประชาชน จากปญหา/ความตองการของประชาชน โดยการชวยกันคิด รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน และรวมกันดําเนินการของประชาชน เพื่อแกปญหาและสนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของประชาชนสวนหนึ่งหรือกลุมหนึ่ง โดยมีพัฒนากรเปนผูเอื้ออํานวยใหประชาชนเปนผูริเริ่มหรือเปนเจาของโครงการโดยมีตัวอยางโครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการ ดังนี้

1. การพัฒนาผูนําชุมชนและอาสาสมัคร วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อสวนรวม มีบทบาทและ

สวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุงเนนใหเกิดความตอเนื่องในการรวมกลุม การพัฒนาศักยภาพ และการดําเนินกิจกรรมใหเกิดผลงานอยางเปนรูปธรรม

2. พัฒนากลุม/องคกร/เครือขาย วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนใหประชาชนรวมตัวกันทํากิจกรรมรวมกันในลักษณะ

กลุม/องคกรชุมชน เชน คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมอาชีพ ฯลฯ รวมท้ังสนับสนุนใหกลุม/องคกรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือขายตางๆ เชน สมาพันธองคการพัฒนาชุมชนแหงประเทศไทยสมาคมผูนําอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําอาชีพกาวหนา (สิงหทอง) 4 ภาค ศูนยประสานงานองคการชุมชน (ศอช.)

3. การพัฒนาแผนชุมชน วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชน ใหคนในชุมชนชวยกันคิด

รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน รวมกันดําเนินการเพื่อแกปญหาและสนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่งจะทําใหชุมชนไดทําความรูจักและประเมินศักยภาพของชุมชน และกําหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดและสรางชุมชนใหเขมแข็งได

4. สงเสริมการออมทรัพยเพื่อการผลิต วัตถุประสงค เพื่อกระตุนและสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเปน

ทุนของชุมชน สนับสนุนการพัฒนาดานการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตโดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเปนฐานไปสูสถาบันนิติบุคคล

Page 9: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 9 ~

การกระจายอํานาจในการพัฒนาและงบประมาณสูทองถิ่น ความสําคัญ กฎหมายที่เก่ียวของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การกระจายอํานาจสูทองถิ่นถือวาเปนวัตถุประสงคหลักประการหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังปรากฏตาม มาตรา 78 , 80 และ 281-290 โดยมีแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ ดังนี้

1. รัฐตองกระจายอํานาจให อปท. พึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง สงเสริมให อปท. มีสวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

2. สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอํานาจเพื่อให อปท. ฯลฯ จัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษาใหเทาเทียมและสอดคลองกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 สาระสําคัญ ไดแก

1. การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง

2. การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากรระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยคํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญ

3. การจัดใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งประกอบดวย ผูแทนของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามท่ีกฎหมายบัญญัติโดยมีจํานวนเทากัน ทําหนาที่ตามขอ 1 และขอ 2 ขางตน

แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2543 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนแผนที่กําหนดกรอบ

แนวคิดเปาหมาย และแนวทางการกระจายอํานาจ มีสาระสําคัญ ดังนี้ วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น ในชวง 4 ปแรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมาย

วาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะเปนชวงของการปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 10: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 10 ~

แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน ในยุคโลกาภิวัฒน ปญหาตางๆ มีความสลับซับซอน และเปล่ียนแปลงรวดเร็วย่ิงข้ึน

การแกปญหาจําเปนตองมีความรอบคอบ โดยคํานึงถึงผลกระทบอยางรอบดาน ตองมีความรอบรู และตองอาศัยความรวมมือรวมใจจากทุกฝาย จะตองสรางการเรียนรูรวมกัน ตั้งแตกระบวนการรวมคิด รวมทํา รวมสรุปบทเรียน จะเกิดข้ึนไดก็ตอเมื่อทุกคนยอมรับซึ่งกันและกัน การรวมตัวของประชาชนที่หลากหลายทําใหเกิดการแลกเปล่ียนความคิด องคความรู และตอเชื่อม ประสบการณอยางกวางขวาง เปนการเสริมพลังซึ่งกันและกัน สรางโอกาสใหทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังตองสรางการบริหารจัดการรวมกัน เพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนฐานราก ใหชุมชนทองถิ่นมีสิทธิ หนาที่ และบทบาทในการจัดการทรัพยากรสาธารณะมากขึ้น ทําใหทองถิ่นเขมแข็ง เกิดการประสานงานงบประมาณระหวางองคกรตางๆ ทั้งในแนวราบกับทองถิ่น/หนวยงานอื่นๆ และในแนวดิ่งกับสวนกลาง

กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชน โดยใชกระบวนการแผนชุมชนเปนเครื่องมือในการสงเสริมการเรียนรูของคนในชุมชน การแกไขปญหาของชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชน แผนชุมชนไดรับการนําไปใชประโยชนจากสวนทองถิ่น ตองเปนแผนชุมชนที่ไดรับการรับรองมาตรฐานแกไขปญหาของชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ เจาหนาที่พัฒนา-ชุมชน ภาคีการพัฒนา ผูนําชุมชน และผูอาศัยในชุมชนจึงตองมีความรูความเขาใจกระบวนการแผนชุมชนอยางชัดเจน แนวความคิดเก่ียวกับชุมชน

ชุมชน หมายความถึง กลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน โดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะโดยอาศัยหลักผูกพันในทางเชื้อชาติ เผาพันธุ ศาสนาเดียวกันซึ่งทําใหบุคคลมีความรูสึกเปนสวนหนึ่งของสังคมนั้น หรืออาศัยหลักความผูกพันหรือผลประโยชนทางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมรวมกันโดยอาศัยอยูในบริเวณพื้นที่ทางภูมิศาสตรเดียวกัน ตลอดจนการมีผลประโยชนในทางการบริการสังคมรวมกัน แนวคิดเก่ียวกับการจัดทําแผนชุมชน

การใหชาวบานในหมูบานและชุมชน จัดทําแผนชุมชนเพื่อพัฒนาหมูบานและชุมชนของตนเองมีแนวคิดหลักการและความเชื่อในหลาย ๆ ดาน เชน

1. แนวคิดจากปรัชญาพัฒนาชุมชน ซึ่งเปนสากลที่บอกวาชาวบานมีศักยภาพ สามารถพัฒนาตนเองไดถาใหโอกาส และการพัฒนาตองเริ่มตนที่ชาวบาน

Page 11: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 11 ~

2. แนวคิดจากหลักการพัฒนาชุมชน คือ การมีสวนรวม การพึ่งตนเอง การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และการรับผิดชอบตอชุมชนของตนเอง

3. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการใหชุมชนไดมีกระบวนการในการจัดการชุมชนมีการเรียนรูรวมกันในกระบวนการชุมชน

4. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการสรางพลังชุมชน ใชพลังชุมชน ในการพัฒนาชุมชน

5. แนวคิดที่วาไมมีใครรูปญหาชุมชนเทาคนในชุมชน ดังนั้น การแกปญหาชุมชนจึงเริ่มจากชุมชน การใหการสนับสนุนของภาครัฐจะตองเปนลักษณะ Bottom-up ไมใช Top Down ความหมายของแผนชุมชน

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดใหความหมายของแผนชุมชนวา หมายถึง การกําหนดอนาคตและกิจกรรมการพัฒนาของชุมชน โดยเกิดข้ึนจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันจัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นของตนเอง ใหเปนไปตามที่ตองการและสามารถแกปญหาท่ีชุมชนเผชิญอยู คนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนด แนวทางและทํากิจกรรมการพัฒนารวมกัน ยึดหลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก คํานึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และส่ิงแวดลอมในทองถิ่นเปนหลัก จึงกลาวไดวา แผนชุมชนเปนของชุมชนดําเนินการโดยชุมชนและเพื่อประโยชนของชุมชนเอง ซึ่งแตกตางจากแผนที่ภาครัฐจัดทําข้ึนเพื่อการจัดสรรงบประมาณเปนหลัก

ศาสตราจารย นายแพทยประเวศ วะสี ไดนําเสนอความหมายของแผนชุมชนวา “เปนกระบวนการวิเคราะหวินิจฉัยปญหา วาคืออะไร และจะทําอะไร คือการวิเคราะหทางเลือก เปนกระบวนการทางปญญาที่ทรงพลัง เมื่อวิเคราะหแลวนําไปสูการเปล่ียนแปลงซึ่งจะนําไปสูการแกปญหา กระบวนการจัดทําแผนชุมชนเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง (Interactive Learning interaction)”

ดร.ขนิฏฐา กาญจนรังษีนนท ไดอธิบายความหมายของแผนชุมชนวา “เปนสวนหนึ่งของระบบการบริหารจัดการชุมชน ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของความรวมมือและการเรียนรูรวมกันของคนในชุมชน เพื่อแกไขปญหาและพัฒนาชุมชนของตนและชุมชน ที่สามารถบริหารจัดการกับการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนได ชุมชนจะมีการดําเนินการใน 6 เรื่อง คือ มีระบบขอมูล มีแผนชุมชน มีการจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน มีการนําแผนไปปฏิบัติ มีทุนของชุมชน และมีองคกรเขมแข็งอยางนอย 1 องคกร

Page 12: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 12 ~

ความหมายของการพัฒนาชุมชน สุวิทย ย่ิงวรพันธ (2509) ไดใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่มุงสงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีข้ึน ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่มดําเนินงานเอง และสรุปความหมายของการ “พัฒนาชุมชน” ไวดังนี้ คือ

1. การปรับปรุงสงเสริมใหชุมชนหนึ่งดีข้ึนหรือมีวิวัฒนาการดีข้ึน 2. การสงเสริมใหชุมชนนั้น ๆ มีวิวัฒนาการดีข้ึน คือ เจริญทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม

และวัฒนธรรม 3. การพัฒนาชุมชนนั้น จะตองพัฒนาทางดานวัตถุและพัฒนาดานจิตใจ

3.1 การพัฒนาดานวัตถุ คือ การสรางความเจริญใหแกชุมชน เพื่อสงเสริมใหเกิดมีหรือเปล่ียนแปลงในสิ่งที่เห็นโดยแจงชัด เชน การสงเสริมดานการผลิตผล การสงเสริมระบบขนสง การคมนาคม การชลประทาน และดานอื่น ๆ

3.2 การพัฒนาดานจิตใจ คือ การสรางความเจริญ โดยมุงจะใหการศึกษาอบรมประชาชน ซึ่งรวมทั้งการใหการศึกษาตามโรงเรียน มหาวิทยาลัย ตามโครงการของกระทรวงศึกษาธิการและการศึกษานอกระบบโรงเรียน

4. การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่สงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีข้ึน ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่มดําเนินงานเอง

Arthur Dunham กลาววา การพัฒนาชุมชน คือ การรวมกําลังดําเนินการปรับปรุงสภาพความเปนอยูของชุมชนใหมีความเปนปกแผนและดําเนินงานไปในแนวทางที่ตนเองตองการ โดยอาศัยความรวมกําลังของประชาชนในชุมชนนั้นในการชวยเหลือตนเองและรวมมือกันดําเนินงาน และตองไดรับการสนับสนุนชวยเหลือทางดานวิชาการจากหนวยงานภายนอก

องคการสหประชาชาติ (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการซึ่งประชาชนทั้งหลายไดพยายามรวบรวมกันทําเองและมารวมกับเจาหนาที่ของรัฐบาล เพื่อที่จะทําใหสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของชุมชนนั้น ๆ เจริญดีข้ึนและผสมผสานชุมชนเหลานั้นเขาเปนชีวิตของชาติและเพื่อที่จะทําใหประชาชนอุทิศกาย ใจ ความคิด ความรู และทรัพย เพื่อความเจริญเติบโตของชาติอยางเต็มที่

องคการบริหารวิเทศกิจของสหรัฐอเมริกา (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการแหงการกระทําทางสังคม ซึ่งประชาชนในชุมชนนั้นรวมกันจัดการวางแผนและลงมือกระทําการเอง พิจารณาใหรูชัดวา กลุมหรือเอกชนมีความตองการหรือขาดแคลนอะไร มีปญหาอะไรซ่ึงเปนปญหารวมกัน แลวจึงจัดทําแผนเพื่อขจัดความขาด

Page 13: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 13 ~

แคลนหรือบําบัดความตองการ หรือแกปญหาตางๆ โดยที่พยายามใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนนั้น ๆ ใหมากที่สุดและถาจําเปน อาจจะขอความชวยเหลือจากภายนอก คือ รัฐ หรือองคกรอื่น เพียงเทาที่จําเปน

สัญญา สัญญาวิวัฒน (2515) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนการเปล่ียนแปลงที่มีการกําหนดทิศทาง (Directed Change) ซึ่งทิศทางที่กําหนดข้ึน ยอมตองเปนผลดีสําหรับกลุมชนหรือชุมชน การพัฒนาจึงอาจเรียกไดวา เปนการเปล่ียนแปลงที่พึงปรารถนา (Desired Change) หรือการเปล่ียนแปลงที่ถูกพอกพูนดวยคานิยม (Value Loaded Change) ตามระบบคานิยมของชุมชนซึ่งเปนเครื่องกําหนดความมีคุณคาหรือไรคุณคาของสิ่งตาง ๆ

ไพฑูรย เครือแกว (2518) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่จะทําใหชีวิตทุกดานของชาวชนบทมีการเจริญกาวหนาข้ึนพรอม ๆ กัน

สาย หุตเจริญ (2512) ใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน เปนวิธีการสรางชุมชนใหเจริญโดยอาศัยกําลังความสามารถของประชาชนและความชวยเหลือของรับบาลรวมกัน

พัฒน บุณยรัตพันธ (2515) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการอยางหนึ่งที่รัฐบาลนํามาใช เพื่อเปนการกระตุนเตือน ย่ัวยุ และสงเสริมประชาชนในชนบท ใหเกิดความคิดริเริ่มข้ึนและเสริมสรางทองถิ่นใหกาวหนา ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการดูแลตนเองตามระบอบประชาธิปไตย

ปรีชา กล่ินรัตน กลาววา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการที่มุงสงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีข้ึน โดยความรวมมืออยางจริงจังของประชาชน และควรเปนความคิดริเริ่มของประชาชนเองดวย แตถาประชาชนไมรูจักริเริ่ม ก็ใหใชเทคนิคกระตุนเตือนใหเกิดความคิดริเริ่ม ทั้งนี้ เพื่อใหกระบวนการนี้ไดรับการตอบสนองจากประชาชนดวยการกระตือรือรนอยางจริงจัง ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน ในปจจุบันงานดานการพัฒนาชุมชนมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศมาก เพราะสภาพปญหาของการพัฒนาชุมชนนั้นเปนวงจรที่สงผลกระทบตอกันเปนลูกโซ จากความไมรู สูความจนและการเจ็บปวย ซึ่งเปนอุปสรรคในการพัฒนา เปนวัฏจักรแหงความชั่วราย ดังนั้น ทุกหนวยงานทุกองคกร ตองชวยกันขจัดปญหาเหลานี้ใหหมดไป ความยากจนในชนบท เปนปญหาหลักท่ีทุกหนวยงานพยายามหาทางแกไข โดยการเพิ่มพูนรายไดของประชาชนใหสูงข้ึน (Increasing Income) แตในการพัฒนาที่ผานมา พบวา

Page 14: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 14 ~

ย่ิงมีการพัฒนาย่ิงทําใหประชาชนยากจนลง กลาวคือ จากการมุงพัฒนาประเทศเพื่อใหทัดเทียมนานาอารยประเทศ โดยเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกัน ภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรสวนใหญของประเทศ ไมไดรับการดูแลอยางทั่วถึง อันเปนเหตุใหเกิดความแตกตางทางฐานะของบุคคลสองกลุม กลุมหนึ่งมีจํานวนไมมาก มีฐานะร่ํารวย มีอํานาจทางเศรษฐกิจ กับอีกกลุมหนึ่งเปนคนสวนมาก อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ซึ่งความไมเปนธรรมในการกระจายรายได กําลังกลายเปนปญหาที่สําคัญ ความแตกตางระหวางเมืองกับชนบทมีมากข้ึน ประชาชนในภาคอีสานมีฐานะทางเศรษฐกิจต่ําลงเมื่อเปรียบเทียบกับประชาชนในภาคอื่น ๆ ดัชนีที่นักเศรษฐศาสตรสรางข้ึนมาเพื่อวัดการกระจายรายไดของประเทศ วามีความเทาเทียมกันมากนอยเพียงใด คือ Gini-coefficient (G-C) คาดัชนี G-C 7 จะมีคาระหวาง 0 ถึง 1 ถา G-C มีคาเขาใกล 1 มาเทาใด แสดงวา การกระจายรายไดจะเลวลง ในทางตรงขามถา G-C จะมีคาเขาใกล 0 แสดงวา การกระจายรายไดมีความเทาเทียมกันมากข้ึน ในป 2535 คา G-C = 0.536 ซึ่งนับวามีคาสูงสุดในบรรดาคา G-C ที่ไดมีการวัดข้ึนมาในอดีต คือ ป 2518 คา G-C = 0.451 ป 2524 คา G-C = 0.473 ป 2533 คา G-C = 0.504 จากการกระจายรายไดที่มีลักษณะตกต่ําลงเรื่อย ๆ เปนส่ิงที่ยืนยันความเชื่อที่วา แมวาประเทสไทยจะประสบความสําเร็จอยางสูงทางดานการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แตความเจริญดังกลาวไมไดกระจายไปสูประชาชนโดยทั่วหนากัน แตหากกระจุกตัวอยูกับกลุมคนบางกลุมเทานั้น จากการวิเคราะหปญหาความเล่ือมลํ้าทางสังคมและความยากจน ความยากจนเกิดจากปจจยัตาง ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกัน มีลักษณะเปนลูกโซ

วัฏจักรแหงความยากจน

การมีทุนนอย 

(Capital Deficiency) 

การมีเงินออมตํ่า 

(Low Savings)

การมีอุปสงคตํ่า 

(Low Demand) 

การลงทุนตํ่า 

(Low Investment) 

การมีรายไดที่แทจริงตํ่า 

(Low Real Income) 

ผลิตภาพตํ่า 

(Low Productivity) 

Page 15: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 15 ~

ดังนั้น การพัฒนาชุมชน จึงมีความจําเปนอยางย่ิงที่จะชวยลดชองวางทางสังคมและขจัดปญหาความยากจนในชุมชนใหลดนอยลง ซึ่งจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย ทั้งภาครัฐบาล เอกชน องคกรชุมชน นักวิชาการ และองคกรธุรกิจ โดยเฉพาะอยางย่ิง ภาครัฐบาล ซึ่งเปนองคกรหลักในการพัฒนา ตองใหความสําคัญตอการพัฒนา โดยเฉพาะอยางย่ิง การพัฒนาโดยการบรรจุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งเปนแนวทางและมีมาตรฐานในการปฏิบัติเปนข้ันตอนและมีความตอเนื่อง ตามโครงการที่กําหนด เพื่อขจัดปญหาความยากจนใหหมดสิ้นไป จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน จุดมุงหมายในการพัฒนาที่นักพัฒนาจะตองระลึกอยูเสมอ เพื่อชวยใหการดําเนินงานไปสูจุดหมาย ก็คือ

1. เพื่อพัฒนาคนใหมีประสิทธิภาพ 2. สงเสริมใหประชาชนรวมมือกันในการพัฒนาหมูบานของตนเอง 3. สงเสริมใหประชาชนรูสึกภาคภูมิใจที่จะอาศัยและประกอบอาชีพในหมูบานของ

ตนอยางสงบสุข 4. สงเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชนใหดีข้ึน 5. สงเสริมความสามารถของแตละบุคคล ใหแตละคนนําเอาความสามารถในตัวเอง

ออกมาใชใหเปนประโยชน 6. สงเสริมการรวมกลุมในการดําเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย 7. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมในสังคมใหดีข้ึน 8. เพื่อสงเสริมใหประชาชนสามารถแกปญหาของตนเองและชุมชนได 9. เพื่อกระตุนใหประชาชนไดมีสวนรวมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน ประเทศชาติ 10. เพื่อใหการศึกษาแกประชาชนในทุกรูปแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง

และครอบครัวใหดีข้ึน จากจุดหมายดังกลาวแลว ถานักพัฒนาไดดําเนินการใหบรรลุตามความมุงหมายที่ได

วางไว นับวาการพัฒนาไดเกิดข้ึนแลวในชุมชน (วรรณี เลาสุวรรณ, 2526) แนวคิดที่เก่ียวกับชุมชน “ชุมชน” มีนัยและความหมายที่เปนไปตามพลวัตหรือกระแสของสังคม แตถาพิจารณาโดยละเอียด จะพบวา นักวิชาการ นักพัฒนา หรือผูคนที่ใหความหมายของคําวา

Page 16: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 16 ~

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อมุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพฒันาประเทศสูความสมดุลและย่ังยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคดิที่มีความตอเนื่องจากแนวคิดของแผนพฒันาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิต ิและขับเคล่ือนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัตทิี่ชัดเจนย่ิงข้ึนในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและบริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี ้1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ

1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม 1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชวีิต

2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก 2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน

2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและย่ังยืน ใหความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิปญญา

2.3 การสรางความเชือ่มโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมือระหวางประเทศในภูมิภาคตางๆ

Page 17: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 17 ~

3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน การประเมินสถานการณ ความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันของประเทศ

สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยังตองเผชิญกับการเปล่ียนแปลงที่สําคัญทั้งในระดับโลก และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบท้ังที่เปนโอกาสและความเสี่ยงตอการพฒันาประเทศ ดังนี้

การเปลี่ยนแปลงสําคัญระดับโลก 1) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว 2) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมิภาคเอเชีย

ทวีความสําคัญเพิ่มข้ึน การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที ่11 ไดแก การรวมกลุมในภูมภิาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของอาเซียนกับจีน ญี่ปุน และอินเดียและการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558

3) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลกอยางตอเนื่อง 4) การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกสงผลใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน 5) ความมัน่คงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโนมจะเปนปญหาสําคัญ 6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพฒันาเศรษฐกิจและสังคม

รวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งข้ึน 7) การกอการรายสากลเปนภัยคุกคามประชาคมโลก การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ 1) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ 2) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานสังคม ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุจากการม ี

โครงสรางประชากรทีว่ัยสูงอายุเพิ่มข้ึน วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับการพัฒนาศักยภาพทุกชวงวัยแตมีปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก

3) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 4) การเปล่ียนแปลงสภาวะดานการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ การประเมินความเสีย่ง ประเทศไทยจะเผชญิกับความเสีย่งที่ตองเตรยีมการสราง

ภูมิคุมกันใหประเทศพรอมเผชิญการเปล่ียนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ 6 ประการ ดังนี้ 1. การบริหารภาครัฐออนแอ

Page 18: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 18 ~

แนวขอสอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบัปจจบุันคือ ก. ฉบับที่ 9 ข. ฉบับที่ 10 ค. ฉบับที่ 11 ง. ฉบับที่ 12 ตอบ ค. ฉบับที่ 11 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับปจจบุันใชใน พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2553 -2557 ข. พ.ศ. 2554-2558 ค. พ.ศ. 2555-2559 ง. พ.ศ. 2556-2560 ตอบ ค. พ.ศ. 2555-2559 3. เหตุผลของการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช คอื ก. เพื่อใหเกิดภูมิคุมกัน ข. บริหารจัดการความเสี่ยง ค. พัฒนาประเทศสูความสมดุล ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อมุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพฒันาประเทศสูความสมดุลและย่ังยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” 4. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคดิตอเนื่องจากแผนพัฒนาฉบับใด ก. ฉบับที่ 8 ข. ฉบับที่ 9 ค. ฉบับที่ 10 ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคดิท่ีมีความตอเนื่องจากแนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที ่8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิต ิ

Page 19: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 19 ~

และขับเคล่ือนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนย่ิงข้ึนในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและบริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง 5. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ยึดหลักใด ก. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข. คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา

ค. สรางสมดุลการพัฒนา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

6. ภูมิคุมกันในการพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 คือ ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ ข. ปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ค. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มข้ึนในมิติการพฒันาดานตางๆ ดังนี้

1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ 2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม 3. การจดัการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน

7. การสรางความเปนธรรมในสังคม เปนการสรางภูมิคุมกันดานใด ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ

ข. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ค. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางย่ังยืน ง. การเตรียมพื้นฐานสูการพัฒนา

ตอบ ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ

Page 20: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 20 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540

5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล ก. ลายพิมพนิ้วมือ ข. ประวัติอาชญากรรม ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน ง. ถูกทุกขอ 6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย 7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ ง. ถูกทุกขอ 9. ขอมูลขาวสารของราชการที่จะเปดเผยมิได คือขอใด ก. ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย ข. ขอมูลขาวสารที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ ค. ขอมูลขาวสารที่เปดเผยจะทําใหกฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ ง. ถูกทุกขอ

Page 21: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 21 ~

10. คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยผูใดเปนประธาน ก. รัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 11. ผูใดไมใชคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกรุงเทพมหานคร ง. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 12. ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมีจํานวนกี่คน ก. หาคน ข. เจ็ดคน ค. เกาคน ง. สิบเอ็ดคน 13. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร คณะหนึ่งประกอบดวยใครบาง ก. บุคคลไมนอยกวาหนึ่งคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ข. บุคคลไมนอยกวาสองคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ค. บุคคลไมนอยกวาสามคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ง. บุคคลไมนอยกวาส่ีคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ 14.ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ังของคณะกรรมการที่ส่ังใหบุคคลใดมาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรบัไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 15. ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอจํากัดหรือเงื่อนไขที่เจาหนาที่ของรัฐกําหนดโดยทําการเปดเผยขอมูลขาวสารที่ปกปด ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

Page 22: E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

~ 22 ~

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740