61
1 Social Network in Healthcare นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุรองผู้อํานวยการบริหาร สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ฝ่ายสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล SlideShare.net/Nawanan [email protected] November 27, 2014

Social Networking in Healthcare

Embed Size (px)

DESCRIPTION

Presented at TMI-NCMedInfo 2014

Citation preview

Page 1: Social Networking in Healthcare

11

Social Network

in Healthcare

นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์รองผู้อํานวยการบริหาร

สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ฝ่ายสารสนเทศ

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

มหาวิทยาลัยมหิดล

SlideShare.net/[email protected]

November 27, 2014

Page 2: Social Networking in Healthcare

22

2003 M.D. (First-Class Honors) (Ramathibodi)2009 M.S. in Health Informatics (U of MN)2011 Ph.D. in Health Informatics (U of MN)

• Deputy Executive Director for Informatics (CIO/CMIO) Chakri Naruebodindra Medical Institute

• Instructor, Department of Community MedicineFaculty of Medicine Ramathibodi HospitalMahidol University

[email protected]/Nawanan

Introduction

Page 3: Social Networking in Healthcare

33Image Source: http://michaelcarusi.com/2012/01/01/when-you-should-not-become-a-social-media-manager/

Social Media & Social Networks

Page 4: Social Networking in Healthcare

44

Social Media

• “A group of Internet-based applications that build

on ideological and technological foundations of

Web 2.0, and that allow the creation and

exchange of user-generated content”

(Andreas Kaplan & Michael Haenlein)

Kaplan Andreas M., Haenlein Michael (2010). "Users of the world, unite! The challenges and opportunities of social media". Business Horizons 53 (1). p. 61.

Page 5: Social Networking in Healthcare

55

Types of Social Media & Examples

• Collaborative projects (Wikipedia)

• Blogs & microblogs (Twitter)

• Social news networking sites (Digg)

• Content communities (YouTube)

• Social networking sites (Facebook)

• Virtual game-worlds (World of Warcraft)

• Virtual social worlds (Second Life)Kaplan Andreas M., Haenlein Michael (2010). "Users of the world, unite! The challenges and opportunities of social media". Business Horizons 53 (1). p. 61.

Page 6: Social Networking in Healthcare

66

Some Common Social Media Today

Use of brands, logos, trademarks, or tradenames do not imply endorsement or affiliation

Page 7: Social Networking in Healthcare

77

The Age of User-Generated Content

Time’s Person

of the Year 2006:

You

Page 8: Social Networking in Healthcare

88

Thailand Internet User Profile (2014)

• สํานักงานพัฒนาธุรกรรม

ทางอิเล็กทรอนิกส์

(องค์การมหาชน)

(สพธอ. หรือ ETDA)

http://www.etda.or.th/internetuserprofile2013/TH_InternetUserProfile2013.pdf

Page 9: Social Networking in Healthcare

99Source: ETDA (2014)

Page 10: Social Networking in Healthcare

1010Source: ETDA (2014)

Page 11: Social Networking in Healthcare

1111Source: ETDA (2014)

Page 12: Social Networking in Healthcare

1212

Maslow's Hierarchy of Needs

Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Maslow's_hierarchy_of_needs

Page 13: Social Networking in Healthcare

1313

Why People Use Social Media?

• To seek & to share information/knowledge

• To seek & to share valued opinion

• To seek & to give friendship/relationship

• To seek & to give mental support, respect, love,

acceptance

• In simplest terms: To “socialize”

Page 14: Social Networking in Healthcare

1414

Some Social Media in Healthcare: PatientsLikeMe

PatientsLikeMe.com

Page 15: Social Networking in Healthcare

1515

Some Social Media in Healthcare: CaringBridge

CaringBridge.org

Page 16: Social Networking in Healthcare

1616

Some Social Media in Healthcare: KevinMD

KevinMD.com

Page 17: Social Networking in Healthcare

1717

Why People Use Social Media in Healthcare?

• To seek & to share health information/knowledge

– Information asymmetry in healthcare

– Information could be general or personalized

• To seek & to share health-related valued opinion

• To seek & to give friendship/relationship

• To seek & to give mental support, respect, love,

acceptance during medical journeys

Page 18: Social Networking in Healthcare

1818

• Richard Davies deBronkart Jr.

• Cancer survivor & blogger

• Found proper cancer treatment

through online social network after

diagnosis

• Activist for participatory medicine &

patient engagement through

information technology

Meet E-Patient Dave

http://www.epatientdave.com/

Page 19: Social Networking in Healthcare

1919

• Not “Electronic” Patient

• Engaged

• Equipped

• Empowered

• Educated

• Enlightened

• Etc.

Dave’s E-Patient Definition

From Dr. Danny Sands’ tutorial presentation at AMIA2013

Page 20: Social Networking in Healthcare

2020

But then again...There are Risks of Social Media

• Blurring lines between personal & professional

lives

• Work-life balance

• Inappropriate & unprofessional conduct

• Privacy risks

• False/misleading information

Page 21: Social Networking in Healthcare

2121

Privacy Risks

ข้อความจริง บน

• "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไป

แล้ว มา ฉายรังสีต่อที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้

ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่างคนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้

ไป กทม. บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ครับ"

Page 22: Social Networking in Healthcare

2222

Social Media Case Study #1: ไม่ตรวจสอบข้อมูล

Disclaimer (นพ.นวนรรน): นําเสนอเป็น

กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media

เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย

ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล

หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม

เพื่อการทําความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่

การใส่ความว่าผู้นั้นกระทําการใด อันจะทําให้

ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 23: Social Networking in Healthcare

2323

Social Media Case Study #2: ไม่ตรวจสอบข้อมูล

Source: Facebook Page โหดสัส V2 อ้างอิงภาพจากหน้า 7 นสพ.ไทยรฐั วันที่ 6 พ.ค. 2557 และ

http://www.reuters.com/article/2013/10/16/us-philippines-quake-idUSBRE99E01R20131016

Page 24: Social Networking in Healthcare

2424

Social Media Case Study #3: ละเมิดผู้รับบริการ

Disclaimer (นพ.นวนรรน): นําเสนอเป็น

กรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้เรื่อง Social Media

เท่านั้น ไม่มีเจตนาดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย และไม่มีเจตนาสร้างประเด็นทาง

การเมือง

ชื่อ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมายของบุคคล

หรือองค์กรใด เป็นเพียงการให้ข้อมูลแวดล้อม

เพื่อการทําความเข้าใจกรณีศึกษาเท่านั้น ไม่ใช่

การใส่ความว่าผู้นั้นกระทําการใด อันจะทําให้

ผู้นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 25: Social Networking in Healthcare

2525

บทเรียนจากกรณีศึกษา (Lessons Learned)

• องค์กรไม่มีทางห้ามพนักงานไม่ให้โพสต์ข้อมูลได้

– ช่องทางการโพสต์มีมากมาย ไม่มีทางห้ามได้ 100%

– นโยบายที่เหมาะสม คือการกําหนดกรอบไว้ให้พนักงานโพสต์ได้ตามความ

เหมาะสม ภายในกรอบที่กําหนด

• พนักงานย่อมสวมหมวกขององค์กรอยู่เสมอ (แม้จะโพสต์เป็นการส่วนตัว

แต่องค์กรก็เสียหายได้)– คิดก่อนโพสต์, สร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร

• การรักษาความลับขององค์กรและข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า

• มีนโยบายให้ระบุตัวตนและตําแหน่งให้ชัดเจน

• องค์กรควรยอมรับปัญหาอย่างตรงไปตรงมาและทันท่วงทีhttp://www.siamintelligence.com/social-media-policy-cathay-pacific-case/

Page 26: Social Networking in Healthcare

2626

Social Media Case Study #4: ดูหมิ่นโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

Source: Drama-addict.com

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

เสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการ

อ่านเนื้อหา

Page 27: Social Networking in Healthcare

2727

Social Media Case Study #5: มือแชร์แพร่โพสต์ลับ

http://sport.sanook.com/84101/น้องก้อย-โค้ชเช-จบยาก-อ.พิทักษ์-ขุดไลน์ปริศนาให้นักข่าวเผยแพร่/

Page 28: Social Networking in Healthcare

2828

Social Media Case Study #6: ไม่แยก Account

Page 29: Social Networking in Healthcare

2929

Social Media Case Study #7: พฤติกรรมไม่เหมาะสม

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 30: Social Networking in Healthcare

3030

Social Media Case Study #7: พฤติกรรมไม่เหมาะสม

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 31: Social Networking in Healthcare

3131

หมายเหตุ: กรณีนี้ผู้ปรากฏในภาพชี้แจงว่า

ต้องการให้กําลังใจบุคลากรทางการแพทย์ใน

สถานการณ์ความรุนแรง

แต่ไม่ระวังว่าอาจถูกมองในแงล่บ ผู้อื่นอาจ

เข้าใจเจตนาผิด

Social Media Case Study #8: พฤติกรรมไม่เหมาะสม

เหตุการณ์ระเบิด ภาคใต้ จนท. เสียชีวิต

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 32: Social Networking in Healthcare

3232

Social Media Case Study #9: ละเมิดข้อมูลผู้ป่วย

• ปรากฏภาพถ่ายเอกซเรย์สมองของนักการเมือง

ชื่อดังที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง ใน

Line ของบุคลากรทางการแพทย์บางกลุ่ม ที่ไม่ได้มี

หน้าที่ในการรักษาผู้ป่วยโดยตรง

Page 33: Social Networking in Healthcare

3333

Social Media Case Study #10: ละเมิดข้อมูลผู้ป่วย

http://www.prasong.com/สื่อสารมวลชน/แพยสภาสอบจริยธรรมหมอต/

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 34: Social Networking in Healthcare

3434

Social Media Case Study #11

http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRRd056SXlNelEzTVE9PQ==

Disclaimer (นพ.นวนรรน):

นําเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้

เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี

เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทําให้ผู้ใด

องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย

โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา

Page 35: Social Networking in Healthcare

3535

http://usatoday30.usatoday.com/life/people/2007-10-10-clooney_N.htm

A U.S. Case Study: Patient Privacy

Page 36: Social Networking in Healthcare

3636

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสุขภาพ

• พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550

• มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล

ผู้ใดจะนําไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทําให้บุคคลนั้นเสียหาย

ไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของ

บุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย

แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอํานาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่า

ด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสาร

เกี่ยวกบัข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไมใ่ช่ของตนไม่ได้

Page 37: Social Networking in Healthcare

3737

ประมวลกฎหมายอาญา

• มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้า

พนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คน

จําหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล นักบวช หมอความ ทนายความ

หรือผู้สอบบัญชีหรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว

เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง

ระวางโทษจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้ง

ปรับ

• ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของ

ผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิด

ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน

Page 38: Social Networking in Healthcare

3838

• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ

พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้

1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญตัิไว้ในรัฐธรรมนูญ

2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มกีารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ

การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย

3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ

ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น

4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่กรณี โดยไม่คํานึงว่า

ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่

5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน

6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ

ส่วนตัวของบุคคลอื่น

10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

ได้

คําประกาศสิทธิผู้ป่วย

Page 39: Social Networking in Healthcare

3939

คําประกาศสิทธิผู้ป่วย

• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ

พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้

1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญตัิไว้ในรัฐธรรมนูญ

2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มกีารเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ

การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย

3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ

ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จําเป็น

4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจําเป็นแก่กรณี โดยไม่คํานึงว่า

ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่

5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน

6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ

9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ

ส่วนตัวของบุคคลอื่น

10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง

ได้

7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง

จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่

จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่

ตามกฎหมาย

Page 40: Social Networking in Healthcare

4040

การละเมิด Privacy ข้อมูลผู้ป่วย เป็นการละเมิดจริยธรรม

• Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของผู้ป่วย)

• Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย)

• Non-maleficence (หลักการไม่ทําอันตรายต่อผู้ป่วย)

– “First, Do No Harm.”

Page 41: Social Networking in Healthcare

4141

http://intranet.mahidol/op/orla/law/index.php/anno

uncement/146-2556/770-social-network

ตัวอย่างนโยบายด้าน Social Media ขององค์กร/มหาวิทยาลัย

Page 42: Social Networking in Healthcare

4242

MU Social Network Policy

Page 43: Social Networking in Healthcare

4343

MU Social Network Policy

Page 44: Social Networking in Healthcare

4444

MU Social Network Policy

Page 45: Social Networking in Healthcare

4545

MU Social Network Policy

Page 46: Social Networking in Healthcare

4646

MU Social Network Policy

Page 47: Social Networking in Healthcare

4747

MU Social Network Policy

Page 48: Social Networking in Healthcare

4848

• ข้อความบน Social Network สามารถเข้าถึงได้โดยสาธารณะ

ผู้เผยแพร่ต้องรับผิดชอบ ทั้งทางสังคมและกฎหมาย และอาจ

ส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง การทํางาน และวิชาชีพของตน

• ระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการเผยแพร่ประเด็นที่ Controversial

เช่น การเมือง ศาสนา

• ไม่ได้ห้าม แต่ให้ระวัง เพราะอาจส่งผลลบต่อตนหรือองค์กรได้

MU Social Network Policy

Page 49: Social Networking in Healthcare

4949

• ความรับผิดชอบทางกฎหมาย

– ประมวลกฎหมายอาญา ความผิดฐานหมิ่นประมาท

– พรบ.ว่าด้วยการกระทําความผิดเกีย่วกบัคอมพิวเตอร์

– ข้อบังคับสภาวชิาชพี เกี่ยวกบัจริยธรรมแห่งวิชาชีพ

– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยจรรยาบรรณของบุคลากรและ

นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล

– ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยวินัยนักศกึษา

MU Social Network Policy

Page 50: Social Networking in Healthcare

5050

• ไม่ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อื่น อ้างถึงแหล่งที่มาเสมอ

(Plagiarism = การนําผลงานของคนอื่นมานําเสนอเสมือนหนึ่ง

เป็นผลงานของตนเอง)

• แบ่งแยกเรื่องส่วนตัวกับหน้าที่การงาน/การเรียน– แยก Account ของหน่วยงาน/องค์กร ออกจาก Account บุคคล

– Facebook Profile (ส่วนตัว) vs. Facebook Page (องค์กร/หน่วยงาน)

• ในการโพสต์ที่อาจเข้าใจผิดได้ว่าเป็นความเห็นจากมหาวิทยาลัย/หน่วยงาน ให้

ระบุ Disclaimer เสมอว่าเป็นความเห็นส่วนตัว

MU Social Network Policy

Page 51: Social Networking in Healthcare

5151

• ห้ามเผยแพร่ข้อมูล sensitive ที่ใช้ภายในมหาวิทยาลัยก่อนได้รับอนุญาต

• บุคลากรทางการแพทย์หรือผู้ให้บริการสุขภาพ

– ระวังการใช้ Social Network ในการปฏิสัมพันธ์กับผูป้่วย (ความลับผู้ป่วย และการ

แยกแยะเรื่องสว่นตัวจากหน้าที่การงาน)

– ปฏิบัติตามจริยธรรมของวิชาชีพ

– ระวังเรื่องความเป็นส่วนตัว (Privacy) และความลับของข้อมูลผู้ป่วย

– การเผยแพร่ข้อมูล/ภาพผูป้่วย เพื่อการศกึษา ต้องขออนุญาตผู้ป่วยก่อนเสมอ และลบ

ข้อมูลที่เป็น identifiers ทั้งหมด (เช่น ชื่อ, HN, ภาพใบหน้า หรือ ID อื่นๆ) ยกเว้น

ผู้ป่วยอนุญาต (รวมถึงกรณีการโพสต์ใน closed groups ด้วย)

• ตั้งค่า Privacy Settings ให้เหมาะสม

MU Social Network Policy

Page 52: Social Networking in Healthcare

5252

เนื้อหาอะไรไม่ควรเผยแพร่สู่สาธารณะ

ในเว็บและ Social Media หน่วยงาน: ข้อเสนอต่อคณะทํางานพฒันาเว็บไซต์คณะฯ

ของ รพ.รามาธิบดี และศูนย์การแพทย์สิริกิติ์นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์

อาจารย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน

รองผู้อํานวยการบริหารสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ ฝ่ายสารสนเทศ

คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

3 มิถุนายน 2557

ตัวอย่างนโยบายด้าน Social Media ของ รพ.

Page 53: Social Networking in Healthcare

5353

มีข้อมูลผู้ป่วยที่ปรากฏ Identifiers (ชื่อ, HN, 13 หลัก, ใบหน้า,

คําใบ้, e-mail address, ทะเบียนรถ ฯลฯ) โดยไม่ได้ขออนุญาต

การให้ข้อมูลผู้บาดเจ็บกับสื่อมวลชน ไม่ควรระบุชื่อ ยกเว้นผู้ปว่ย

หรือญาติอนุญาต, เป็นข้อมูลสาธารณะอยู่กอ่นแล้ว, ให้ข้อมูลกับ

พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือมีความจําเปน็เพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย

(เช่น ประกาศตามหาญาติ)

ภาพหรือเนื้อหาที่ละเมิดลิขสิทธิ์ นํามาลงโดยไม่ได้รับอนุญาต

และไม่ให้ credit เจ้าของ

กลุ่มเนื้อหาที่ละเมิดสิทธิผู้อื่น

Page 54: Social Networking in Healthcare

5454

ผิดกฎหมาย, ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี,

ดูหมิ่น ให้ร้ายผู้อื่น

ชวนทะเลาะ, สร้างความแตกแยก, ประเด็น sensitive

วิพากษ์วิจารณ์พฤติกรรมผู้รบับริการ (แม้ไม่ระบุชื่อ)

ความลับ/เรื่องภายในคณะฯ ที่ไม่มปีระโยชน์กับบุคคลภายนอก

เนื้อหา/ภาพ ที่สื่อถึงองค์กรในทางลบ หรืออาจถูกมองในแง่ลบ

โฆษณาสินค้า หรือหาประโยชน์ส่วนตัว

กลุ่มเนื้อหาที่สร้างความเสียหายต่อภาพลักษณ์องค์กร

Page 55: Social Networking in Healthcare

5555

เรื่องส่วนตัว แต่โพสต์ในเว็บ/Page หน่วยงาน

หน่วยงานควรใช้ Facebook Page ไม่ใช่ Facebook Account บุคคล

ควรแยก Page หน่วยงาน และ Account ส่วนตัว ออกจากกัน

การแชร์/กด Like ไม่คิด ใน account หน่วยงาน

(เนื้อหาไม่เกีย่วกบัหน่วยงาน แต่ตัวเองชอบ )

ข่าว/ความรู้ทางการแพทย์ ที่ไม่ได้ตรวจสอบความถูกต้อง/เปน็เท็จ

ใช้ชื่อหรือ Logo คณะฯ แต่เป็นความเห็นส่วนตัว

Spam/ภาพลามก ที่มีผู้โพสต์ผ่าน Webboard/Social Media

แล้วไม่ monitor เป็นประจํา

กลุ่มเนื้อหาที่เกิดจากความไม่ระมัดระวังของ Admin

Page 56: Social Networking in Healthcare

5656

ตัวอย่างนโยบายด้านการให้ข้อมูลผ่านสื่อของวิชาชีพ

Page 57: Social Networking in Healthcare

5757

Example Professional Code of Conduct

Page 58: Social Networking in Healthcare

5858

Example Professional Code of Conduct

Page 59: Social Networking in Healthcare

5959

สรุป

• Social media เป็น trend ของสังคมในปัจจุบันที่ปฏิเสธไม่ได้

• Social media สําคัญในชีวิตประจําวัน เพราะเป็นโอกาสใน

การเข้าถึงข้อมูล และการเข้าสังคม

• Social media สําคัญในทางสุขภาพ เพราะเป็นโอกาสในการ

empower, engage และ educate ผู้ป่วย (“e-patient”)

• Social media สําคัญ เพราะเป็นความเสี่ยงที่หากไม่

ตระหนักและระมัดระวัง ก็ส่งผลร้ายต่อผู้ใช้และผู้ป่วยได้

Page 60: Social Networking in Healthcare

6060

สรุป

• องค์กรควรมีนโยบายด้าน Social media และ Security &

privacy รวมทั้งมีการอบรม สร้างความตระหนัก และบังคับใช้

• วิชาชีพต่างๆ โดยเฉพาะวิชาชีพทางสุขภาพ ควรมีนโยบาย

และสร้างความตระหนักเรื่องการใช้ Social media อย่าง

เหมาะสมแก่ผู้ประกอบวิชาชีพนั้นๆ

• บุคคลควรตระหนักถึงความเสี่ยงในการใช้ Social media อยู่

เสมอ และใช้อย่างระมัดระวัง รับผิดชอบ และมีจริยธรรม

Page 61: Social Networking in Healthcare

6161

More Information

• ข้อแนะนําในการใช้งาน Social Media

– http://www.etda.or.th/etda_website/app/webroot/files/1

/files/Guidelines.pdf

• แนวปฏิบัติในการใช้บริการสื่อสังคมออนไลน์

– http://www.etda.or.th/etda_website/content/1191.html

• Thailand Internet User Profile 2014

– https://www.etda.or.th/etda_website/mains/download_fi

le/27