16
"Personal videoconference system" อํานาจแหงการสื่อสารขององคกร สุรพล ศรีบุญทรง ป 1996 ในอดีต การประชุมทางไกลแบบ Videoconference ที่ผูรวมประชุมสามารถสื่อสารถึงกันไดทั้งในรูป ของสัญญาณเสียง (voice), สัญญาณภาพ (image), ภาพเคลื่อนไหว (video) และไฟลลเอกสาร (document) ฯลฯ มักจะถูกจํากัดการใชงานอยูเฉพาะในหมูคณะกรรมการบริหารของหนวยงานธุรกิจขนาดใหญๆ และการประชุมทางไกล นั้นมักจะดําเนินไประหวางองคประชุมตั้งแตสองกลุมที่อยูคนละสถานทีซึ่งผูรวมประชุมแตละกลุมก็จะตองเขามานั่ง ประชุมรวมกันภายในหองประชุมซึ่งไดรับการตกแตงไวเพื่อการประชุมทางไกลแบบ Videoconference โดยเฉพาะ ไม สามารถติดตอผูรวมประชุมรายอื่นๆ จากอุปกรณสื่อสารบนโตะทํางาน ของตนเองได อยางไรก็ตาม ปจจุบันระบบการประชุมทางไกลแบบ Videoconference ไดรับการพัฒนาใหมีความตองการทรัพยากร ประกอบระบบลดนอยลงไปจากเดิมเปนอยางมาก จนทําใหการ ประชุมทางไกลสามารถกระทําผานทางเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคล ธรรมดาทั่วๆ ไป หรือ ผานทางเครื่องคอมพิวเตอรพกพาที่ผูรวมประชุม ติดตัวไประหวางการเดินทางได และดวยความสะดวกกระทัดรัดของระบบการประชุมทางไกล Videoconference สมัยใหมนี้เอง ทําใหหลายๆ คนเรียกมันวาเปน "personal Videoconference systems" การปฏิวัติของระบบ Videoconference สาเหตุที่บริการการประชุมทางไกลแบบ Videoconference ในอดีตตองถูกจํากัดวงอยูภายในหอง ประชุมซึ่งไดรับการตกแตงไวเปนการเฉพาะก็สืบเนื่องมาจากคาใชจายในการดําเนินการซึ่งสูงมาก อุปกรณตางๆ ทีจําเปนสําหรับการประชุมทางไกลแบบ Videoconference นั้นลวนมีราคาในระดับหกหลักดวยกันทั้งสิ้น ไมวาจะเปน อุปกรณที่ใชถาย/รับสัญญาณภาพและเสียง, อุปกรณ Codec (Coder/Decoder) ที่ใชแปลงสัญญาณตางๆ ใหอยูใน สภาพที่เหมาะสมพรอมที่จะจัดสงไปยังองคประชุมอีกกลุมที่อยูหางไกลออกไป, หรือ ระบบคอมพิวเตอรที่ใชควบคุม สัญญาณภาพและสัญญาณขอมูล (motion video card, network communications interface ) ที่สําคัญ การประชุมทางไกลแบบ Videoconference ในอดีตนั้นยังจําเปนตองอาศัยทีมงานบุคคลากร ดานแสงเสียงคอยกํากับใหภาพและเสียงที่จัดสงไปมาเปนไปอยางถูกตองเหมาะสมอีกดวย เชน บางชวงจังหวะของการ ประชุมอาจจะตองซูมกลองไปยังใบหนาของผูรวมประชุมที่กําลังแถลงชี้แจงประเด็นอยู ในขณะที่บางขณะก็อาจจะตอง แพนกลองไปรอบๆ เพื่อใหเห็นบุคคลิกขององคประชุมแตละราย จากคาใชจายที่คอนขางแพง และความยุงยากในการ ดําเนินการนีก็สงผลใหมันอยูหางไกลความคาดหวังที่ผูใชคอมพิวเตอรสวนบุคคลทั่วๆ ไปจะขวนขวายหาซื้อมาใชติดตั้ง กับระบบคอมพิวเตอรของตน อยางไรก็ตาม ปจจุบันการประชุมทางไกลแบบ Videoconference สามารถกระทําไดอยางงายดายขึ้น และสามารถกระทําผานเครื่องคอมพิวเตอรพีซีซึ่งตั้งอยูบนโตะทํางานของผูที่จะเขารวมเปนหนึ่งในองคประชุมไดเลย

Personal videoconference system

Embed Size (px)

Citation preview

"Personal videoconference system"

อํานาจแหงการสื่อสารขององคกร สุรพล ศรีบุญทรง

ป 1996

ในอดีต การประชุมทางไกลแบบ Videoconference ที่ผูรวมประชุมสามารถสื่อสารถึงกันไดทั้งในรูป

ของสัญญาณเสียง (voice), สัญญาณภาพ (image), ภาพเคลื่อนไหว (video) และไฟลลเอกสาร (document) ฯลฯ

มักจะถูกจํากัดการใชงานอยูเฉพาะในหมูคณะกรรมการบริหารของหนวยงานธุรกิจขนาดใหญๆ และการประชุมทางไกล

น้ันมักจะดําเนินไประหวางองคประชุมตั้งแตสองกลุมที่อยูคนละสถานที่ ซ่ึงผูรวมประชุมแตละกลุมก็จะตองเขามาน่ัง

ประชุมรวมกันภายในหองประชุมซ่ึงไดรับการตกแตงไวเพ่ือการประชุมทางไกลแบบ Videoconference โดยเฉพาะ ไม

สามารถติดตอผูรวมประชุมรายอ่ืนๆ จากอุปกรณสื่อสารบนโตะทํางาน

ของตนเองได

อยางไรก็ตาม ปจจุบันระบบการประชุมทางไกลแบบ

Videoconference ไดรับการพัฒนาใหมีความตองการทรัพยากร

ประกอบระบบลดนอยลงไปจากเดิมเปนอยางมาก จนทําใหการ

ประชุมทางไกลสามารถกระทําผานทางเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคล

ธรรมดาทั่วๆ ไป หรือ ผานทางเคร่ืองคอมพิวเตอรพกพาที่ผูรวมประชุม

ติดตัวไประหวางการเดินทางได และดวยความสะดวกกระทัดรัดของระบบการประชุมทางไกล Videoconference

สมัยใหมน้ีเอง ทําใหหลายๆ คนเรียกมันวาเปน "personal Videoconference systems"

การปฏิวัติของระบบ Videoconference

สาเหตุที่บริการการประชุมทางไกลแบบ Videoconference ในอดีตตองถูกจํากัดวงอยูภายในหอง

ประชุมซึ่งไดรับการตกแตงไวเปนการเฉพาะก็สืบเน่ืองมาจากคาใชจายในการดําเนินการซ่ึงสูงมาก อุปกรณตางๆ ที่

จําเปนสําหรับการประชุมทางไกลแบบ Videoconference น้ันลวนมีราคาในระดับหกหลักดวยกันทั้งสิ้น ไมวาจะเปน

อุปกรณที่ใชถาย/รับสัญญาณภาพและเสียง, อุปกรณ Codec (Coder/Decoder) ที่ใชแปลงสัญญาณตางๆ ใหอยูใน

สภาพที่เหมาะสมพรอมที่จะจัดสงไปยังองคประชุมอีกกลุมที่อยูหางไกลออกไป, หรือ ระบบคอมพิวเตอรที่ใชควบคุม

สัญญาณภาพและสัญญาณขอมูล (motion video card, network communications interface )

ที่สําคัญ การประชุมทางไกลแบบ Videoconference ในอดีตนั้นยังจําเปนตองอาศัยทีมงานบุคคลากร

ดานแสงเสียงคอยกํากับใหภาพและเสียงที่จัดสงไปมาเปนไปอยางถูกตองเหมาะสมอีกดวย เชน บางชวงจังหวะของการ

ประชุมอาจจะตองซูมกลองไปยังใบหนาของผูรวมประชุมที่กําลังแถลงชี้แจงประเด็นอยู ในขณะที่บางขณะก็อาจจะตอง

แพนกลองไปรอบๆ เพ่ือใหเห็นบุคคลิกขององคประชุมแตละราย จากคาใชจายที่คอนขางแพง และความยุงยากในการ

ดําเนินการน้ี ก็สงผลใหมันอยูหางไกลความคาดหวังที่ผูใชคอมพิวเตอรสวนบุคคลทั่วๆ ไปจะขวนขวายหาซื้อมาใชติดต้ัง

กับระบบคอมพิวเตอรของตน

อยางไรก็ตาม ปจจุบันการประชุมทางไกลแบบ Videoconference สามารถกระทําไดอยางงายดายขึ้น

และสามารถกระทําผานเคร่ืองคอมพิวเตอรพีซีซ่ึงตั้งอยูบนโตะทํางานของผูที่จะเขารวมเปนหน่ึงในองคประชุมไดเลย

2

เพียงแตเสริมเอาอุปกรณประกอบระบบบางอยางเพ่ิมเติมเขามาสักเล็กนอย ตัวอยางของอุปกรณที่อาจเสริมเขามาก็

ไดแก แผงวงจรควบคุมสักแผงสองแผง, กลองรับสัญญาณภาพสักตัว, ไมโครโฟนไวแปลงเสียงพูดใหเปนสัญญาณ

อิเล็กทรอนิกส, และโปรแกรมซอฟทแวรประเภท Document conferencing software ดีๆ สักโปรแกรม ฯลฯ

ดวยอุปกรณประกอบระบบหลายๆ ชนิดดังที่ไดกลาวมาน้ัน ทําใหผูใชเครื่องคอมพิวเตอรระดับ 386

หรือ 486 ธรรมดาๆ สามารถเขารวมการประชุมทางไกลแบบ Videoconference ไดอยางสบาย หรืออาจจะเขา

ประชุมระหวางการเดินทางไปไหนมาไหนไกลๆ ก็ยังไดเม่ือใชเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา TelePAC ของบริษัท Dolch

Computer Systems ซ่ึงจําหนายมาพรอมกับกลองรับสัญญาณ และชองสล็อตที่เผื่อมาไวเพ่ือรองรับแผงวงจรขยายเพ่ือ

งานประเภท Videoconference โดยเฉพาะ

นอกจากจะสามารถติดตอเขาประชุมทางไกลแบบ Videoconference ไดอยางสะดวกงายดายแลว

ผลิตภัณฑคอมพิวเตอรเพื่อการประชุมทางไกลสมัยใหมยังไดรับการปรับปรุงดานระบบสัญญาณวิดีโอใหมีประสิทธิภาพ

เพ่ิมข้ึนจากเดิมเปนอยางมากอีกดวย หลายๆ ผลิตภัณฑมีการติดตั้งมาดวยรูปแบบการทํางานที่มีช่ือเรียกวา

"Whiteboard software" ซ่ึงอนุญาตใหผูรวมการประชุมเสริมคําอธิบายประกอบไฟลลภาพกราฟฟก หรือภาพที่ไดรับ

การแสกนเขามาพรอมกันทีละหลายๆ คนไดอีกดวย

ที่เย่ียมยอดไปกวานั้น คือ บางโปรแกรมยังถูกออกแบบมาใหรองรับการทํางาน OLE (Object Linking

& Embedding), การเคลื่อนยายไฟลลในระดับแบ็คกราวน (background file trnasfer) พรอมๆ ไปกับที่การติดตอดาน

โฟรกราวนยังคงดําเนินไปเหมือนปรกติ และไมทําใหเสียเวลาในการติดตอสื่อสารระหวางผูรวมประชุม, มีการอนุญาตให

ผูรวมประชุมจากเคร่ืองคอมพิวเตอรหลายๆ เคร่ืองสามารถแชรการใชงานโปรแกรมประยุกตรวมกันได (application

sharing) ฯลฯ

สําหรับผลิตภัณฑคอมพิวเตอร personal Videoconference system ที่ถูกออกแบบมาเพื่อการ

ประชุมลักษณะดังกลาวนั้น ในขณะน้ีก็มีอยูหลายชนิด หลายยี่หอดวยกัน ยกตัวอยางเชน ผลิตภัณฑ ShareVision จาก

บริษัท Creative Labs ซ่ึงมีลักษณะเปนแผงวงจรสองแผงตอเชื่อมเขากับเครื่องคอมพิวเตอรผานระบบบัส ISA system

และติดตอสื่อสารดานการประชุมผานไปตามสายโทรศัพทดวยอุปกรณโมเด็มมาตรฐาน v.34, ผลิตภัณฑ Person to

Person จากบริษัท IBM และผลิตภัณฑ Vis-a-Vis จากบริษัท WordLink ซ่ึงติดตอประชุมทางไกลระหวางเครื่อง

คอมพิวเตอรโดยผานทางเครือขายเน็ตเวิรก หรือเครือขายบริการ ISDN ฯลฯ

สวนเหตุผลที่สําคัญที่ทําใหการประชุมทางไกลแบบ Videoconference เกิดการบูมมากขึ้น และมี

การขยับขยายลงมาเลนกันบนเครื่องคอมพิวเตอรระดับเดสกท็อปน้ัน สืบเนื่องมาจากประสิทธิภาพที่สูงขึ้นอยางมากของ

เทคโนโลยีการสงผานสัญญาณขอมูลบนเครื่องเดสกท็อป ไมวาจะเปนกลไกการอัดไฟลลขอมูลที่ทําใหเราสงผานขอมูลได

มากขึ้นในเวลาที่ลดลง, หรือสมรรถนะของชิปไอซีที่สามารถทํางานไดเร็วขึ้นเปนอยางมาก สวนอีกเหตุผลหน่ึงก็สืบ

เน่ืองมาจากราคาของผลิตภัณฑคอมพิวเตอรที่ลดลงอยางรวดเร็วภายในชวงไมก่ีปนี้ ทําใหเปนโอกาสที่ผูใชคอมพิวเตอร

สวนบุคคลจะไดเสริมเขี้ยวเล็บใหกับเครื่องคอมพิวเตอรอันเปนที่รักของตนไดโดยไมตองกระเปาฉีก และจุดสําคัญที่

มักจะไดรับการเสริมเข้ียวเล็บก็หนีไมพนเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารน่ันเอง

"CODEC" หัวใจของระบบ

หัวใจของระบบการประชุมทางไกล Personal Videoconferencing system น้ัน อยูที่แผงวงจรมีช่ือ

เรียกวา Codec หรือ coder/decoder ดวยมันจะทําหนาที่แปลงสัญญาณวิดีโอซ่ึงเปนสัญญาณอนาล็อกที่มีคาแบนด

3

วิดทกวางๆ ใหกลายไปเปนสัญญาณดิจิตัล พรอมๆ ไปกับการอัดไฟลลสัญญาณดิจิตัลดังกลาวใหมีขนาดยอมลงจน

สามารถจัดสงไปตามชองทางนําสัญญาณที่มีอยูได และเมื่อสัญญาณวิดีโอดิจิตัลที่อัดไวถูกสงไปถึงปลายทาง ก็อุปกรณ

Codec ตัวนี้อีกน่ันแหละที่ทําหนาที่ขยายไฟลล และแปลงสัญญาณกลับมาอยูในรูปสัญญาณอนาล็อกที่พรอมสําหรับการ

แสดงออกทางหนาจอโทรทัศนไดตามปรกติ

การทํางานของอุปกรณ Codec นั้นเริ่มตั้งแตสัญญาณวิดีโอในรูปอนาล็อก 85-MHz analog video ที่

ถูกสงมายัง codec น้ัน จะตองผานวงจรกรองสัญญาณ, แปลงสัญญาณสี, และกระบวนการสุมสัญญาณ (sampling

procedure) เพ่ือใหอยูในรูปสัญญาณดิจิตัลซึ่งสามารถแสดงภาพบนจอมอนิเตอร RGB ของเครื่องคอมพิวเตอรทั่วๆ ไป

เสียกอน เม่ือตัวอุปกรณ Codec รับสัญญาณดังกลาวเขามา มันจะใชกลไกอัลกอริทึ่มอัดยอขนาดสัญญาณดิจิตัล

ดังกลาว ซ่ึงเดิมทีมีขนาดใหญมาก (ใหญขนาดที่เวลาแสดงภาพขนาดเต็มจอมอนิเตอรดวยรายละเอียด 640 x 480 เพียง

ช่ัววินาทีน้ัน ตองใชขอมูลมากถึง 27

MB) ใหมีขนาดลดลงมาจากเดิมเกือบ

200 เทา

หลังจากนั้น

สัญญาณดิจิตัลที่ถูกอัดยอไวแลวจะถูก

สงตอไปยังอุปกรณสื่อสารอ่ืนๆ เพ่ือ

สงออกไปในเครือขายการสื่อสาร

โทรคมนาคมที่มีอยู อยางเชน ถา

สงออกไปทางสายโทรศัพทก็ตองผาน

อุปกรณโมเด็ม ,ถาผานไปตาม

เครือขายดิจิตัล ก็ตองไปที่อุปกรณ

CSU/DSU หรือถาเปนการสื่อสารภายในเครือขายเน็ตเวิรก LANs ก็ตองผานไปทางแผงวงจร network interface

card ฯลฯ เมื่อสัญญาณไปถึงเครื่องคอมพิวเตอรปลายทาง อุปกรณ Codec ที่ปลายทางก็จะขยายสัญญาณดิจิตัลที่ได

กลับมาอยูในสภาพเดิมกอนที่จะสงตอไปยังจอมอนิเตอร RGB เพ่ือแสดงภาพ และถาหากไมแสดงภาพบนจอมอนิเตอร

สัญญาณดังกลาวก็จะตองถูกแปลงกลับไปเปนสัญญาณอนาล็อกเพื่อแสดงบนจอโทรทัศน หรือสงตอเขาเครื่องบันทึกเทป

วิดีโอ (VCR) ตอไป

อุปสรรคท่ีตองเผชิญ

คําวา การประชุมทางไกลแบบ Personal Videoconference Systems นั้น อันที่จริงแลวคอนขางกิน

ความกวางอยูสักหนอย จนทําใหเวลาที่เราพูดคุยถึงมันอาจจะเปนการสื่อถึงเปนคนละเร่ืองคนละราวเลยก็ได ทั้งนี้คง

ตองเขาใจเสียกอนวามันเปนชองทางการสื่อสารรูปแบบหน่ึงเทานั้น ใครตองการนํามันไปใชเพื่อวัตถุประสงคใดก็

สามารถนําไปใชได บางคนอาจจะตองการสื่อสารภาพ, เสียง, และขอมูลกับเครื่องคอมพิวเตอรเปาหมายเพียงเครื่อง

เดียวเทาน้ัน (point-to-point) ไมไดมาดหมายวาจะตองเปนการประชุมจริง

เชน สมมติวาผูเขียนออกแบบวงจรอุปกรณข้ึนมาสักวงจรหน่ึง ผูเขียนก็สามารถสงลายวงจรไปกัด

ปรินตยังรานคาที่รับกัดปรินตวงจรโดยผานระบบการประชุมทางไกลแบบ Point-to-point เพราะการติดตอไม

4

จําเปนตองพูดคุยกับคนอ่ืนนอกเหนือไปจากชางผูรับงาน และรายละเอียดที่จะติดตอก็มีเพียงการพูดคุยตกลงราคา

คาใชจาย รวมทั้งมีการกําหนดรายละเอียดในรูปตัวอักษร กับรานกัดปริ้นตเทาน้ัน

ในขณะที่ หนวยงานธุรกิจที่นําเอาการประชุมทางไกลแบบ Personal videoconference ไปใชอาจจะ

ตองการสื่อสารในลักษณะเผยแพร (broadcast หรือ multipoint) มากกวา เพราะเปาหมายหลักของการนําเอาระบบ

การประชุมทางไกลมาใชกับหนวยงานธุรกิจน้ัน มักจะอยูที่การเผยแพรคําสั่ง และขาวสารจากผูบริหารไปยังบุคคลากร

กลุมใหญๆ ของหนวยงานอยางรวดเร็ว หากจะมีการติดตอกันแบบคนตอคนบางก็นาจะเปนสวนนอย และคงไมเปนที่

ตองการของผูบริหารนักเมื่อคํานึงถึงทรัพยากรที่ตองลง

ไป

ดังนั้น ผูที่จะนําเอาผลิตภัณฑ

Personal videoconference system ไปในใชงานของ

ตน จึงตองคํานึงสิ่งเหลาน้ีไวดวย อยางนอยก็จะตองมี

ความชัดเจนในวัตถุประสงคของตนเสียกอนที่จะเลือกวา

จะใชผลิตภัณฑยี่หอใด นอกจากน้ี ยังพึงตระหนักถึงจุดดอยเรื่องคุณภาพของสัญญาณภาพ และสัญญาณวิดีโอไวดวย

เพราะสัญญาณทั้งสองแบบน้ีมักจะประกอบไปดวยขอมูลปริมาณมากมายมหาศาล ซึ่งยอมสงผลกระทบตอระบบการ

สงผานสัญญาณโดยรวมอยางหลีกเลี่ยงไมได หรือมิฉน้ันก็อาจจะมีคุณภาพของภาพไมดีเทาที่คาดหวังไว

อยางไรก็ตาม ปญหาที่ไดยกๆ ขึ้นมายังกลับจะกลายเปนเร่ืองจอยไปเลยเม่ือนํามาเทียบกับเร่ืองที่

ระบบ Personal videoconference system น้ันยังไมมีระบบมาตรฐานโปรโตคอลเพ่ือการสื่อสารมารองรับอยาง

ชัดเจนแนนอน มาตรฐานการประชุมทางไกล H.320 protocol ที่ไดรับการกําหนดข้ึนโดยคณะกรรมการ the

International Telecommunication Union Telecommmunication Stadardization Sector (ITU-T) ก็เปน

มาตรฐานที่ถูกกําหนดขึ้นมาเพ่ือการประชุมทางไกลรูปแบบเกาๆ ที่ตองจัดข้ึนในหองประชุม มีอุปกรณคอนขางพรอม

เพียง, และเปนการสื่อสารผานชองทางนําสัญญาณแบบดิจิตัลระยะไกลๆ ไมใชมาตรฐานสําหรับการประชุมทางไกลผาน

เครื่องคอมพิวเตอรพีซี ซึ่งอาศัยการเชื่อมโยงสัญญาณผานเครือขายเน็ตเวิรก Ethernet LANs ในชวงระยะทางไมไกล

มาก

มาตรฐานโปรโตคอลท่ีมีอยู

มาตรฐานโปรโตคอลเพ่ือการประชุมทางไกล H.320 เปนมาตรฐานใหมที่เพ่ิงไดรับการกําหนดขึ้นโดย

คณะกรรมการ ITU-T เมื่อตนทศวรรษที่ 90s น้ีเอง ดวยการรางขึ้นจากโปรโตคอล H.261 แตเสริมเอามาตรฐานอ่ืนๆ

เพ่ิมเติมเขาไปเพื่อใหครอบคลุมการทํางานไดอยางกวางๆ เปนโปรโตคอลที่อนุญาตใหเครื่องคอมพิวเตอรตางระบบ

สามารถสื่อสารถึงกันไดโดยไมจําเปนตองผาน signal-degrading codec bridges และภายใตมาตรฐาน H.260 อัน

เปนมาตรฐานเดิมจะกําหนดอัลกอริทึ่มๆ ไวหลายๆ รูปแบบสําหรับการอัดไฟลลสัญญาณวิดีโอใหมีขนาดยอมลงจน

สามารถจัดสงผานไปตามชองทางนําสัญญาณไดต้ังแตระดับ 64 Kbps ไปจนถึงขนาด 2.048 Mbps

ภายในขอกําหนดมาตรฐาน H.320 น้ัน นอกจากจะมีมาตรฐานโปรโตคอล H.260 สําหรับการอัดไฟลล

สัญญาณวิดีโอแลว ยังมีมาตรฐานการอัดไฟลลสัญญาณเสียง (audio-compression) อีกสามชนิด คือ มาตรฐาน

G.711, G.722 และ G.728 โดยเฉพาะมาตรฐานรายสุดทาย คือ มาตรฐาน G.728 น้ันนับวามีความสําคัญมากเปนพิเศษ

5

เพราะกําหนดวิธีการอัดสัญญาณเสียงโทรศัพท (telephone-level) ใหสามารถจัดสงไปตามชองทางนําสัญญาณระดับ

16 Kbps ได

นอกจากน้ัน ยังมีการกําหนดมาตรฐาน H.231 สําหรับจุดตอเชื่อม MCUs (Multipoint Control

Units) ซ่ึงผูใชเชาจากธุรกิจบริการการสื่อสารเครือขายเน็ตเวิรกระยะไกล (WANs) อยาง Sprint หรือ AT&T และจุด

ตอเช่ือม MCUs ที่วานี้ก็จะอนุญาตใหผูติดต้ังสามารถตอพวงระบบคอมพิวเตอรซ่ึงใชมาตรฐาน H.320-compatible เพ่ิม

เขามาในการประชุมไดอยางมากมายตั้งแตสามระบบข้ึนไป, มีมาตรฐาน H.233 ระบุถึงวิธีการใสรหัส (encryption)

หลายๆ ชนิด ซ่ึงมีใชกันอยูในประเทศผูนําดานคอมพิวเตอรทั้งหลาย ไมวาจะเปนมาตรฐานของ สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุน,

หรือ อังกฤษ ฯลฯ

อยางไรก็

ตาม แมวามาตรฐาน

โปรโตคอล H.320 จะ

สามารถทํางานไดเปนอยางดี

บนเครือขายบริการเบ็ดเสร็จ

ISDN (Integrated Service

Digital Network) แตมันก็

มิไดมีการกําหนดมาตรฐาน

ในหลายๆ สวน เชน ไมมีการกําหนดมาตรฐานการประชุมทางไกลเชิงเอกสาร (document conference), ไมมีการ

แชรใชโปรแกรมประยุกตรวมกัน (applications sharing), รวมทัง้ไมไดกําหนดถึงวิธีการประชุมแบบ

Videoconference ผานทางเครือขายเน็ตเวิรกในทองที่ (LANs) ฯลฯ

ที่สําคัญ อุปกรณถอด/ใสรหัสสําหรับมาตรฐาน H.320 (H.320-compliant codec) ที่ใชๆ กันอยูนั้น

ยังคงผูกติดอยูกับการทํางานระดับฮารดแวรอยูคอนขางมาก และก็เลยสงผลใหมันมีราคาคอนขางแพงมาก อยาง

ผลิตภัณฑ VCON codec ซึ่งจําหนายมาพรอมกับ JPEG image compression และ MPEG playback น้ันก็มีราคา

แพงถึง $3,500 (ขนาดวามีการปรับลดราคาลงไปต้ังเยอะแลว) ถึงกระนั้น มาตรฐาน H-320 ก็ยังคงมาตรฐานทางเลือก

เดียวในขณะน้ีที่จะอนุญาตใหคอมพิวเตอรทําการสื่อสารขามระบบโดยผานทางอุปกรณตอเชื่อม MCUs ได

ปญหาของการประชุมบน LANs

ผลจากการขาดมาตรฐานมารองรับการประชุม Videoconference ดวยเครื่องคอมพิวเตอรตางระบบ

น้ัน เปนตนเหตุที่อาจจะนํามาซ่ึงปญหาในการสื่อสารภายใน LANsไดหลายๆ รูปแบบ ทําใหการตอเช่ือมอุปกรณ

ประกอบระบบ Personal videoconference system เขากับเน็ตเวิรก Ethernet LAN หรือ Token-Ring LAN เปนไป

อยางยุงยาก และถึงแมวาจะมีผลิตภัณฑซ่ึงไมไดถูกออกแบบมาเพื่อระบบ H.320 (non H.320 compression

devices) บางชนิด อยางเชน ISO's MPEG และ Intel's Indeo สามารถนํามาใชในการประชุมบน LANs ได แตมันก็

เปนเร่ืองไมนาเสี่ยงเลยที่จะใชผลิตภัณฑตางย่ีหอกันภายในระบบ

ปญหาอีกประการของการประชุมทางไกลบนเครือขายเน็ตเวิรก LANs น้ัน เปนผลสืบเนื่องมาจากความ

ไมเหมาะสมที่จะจัดสงสัญญาณวิดีโอซ้ํา (retransmit) หากมีขอผิดพลาดเกิดขึ้น ทั้งน้ีเปนเพราะเครือขายเน็ตเวิรก

6

Eternet หรือ Token-Ring น้ันถูกออกแบบมาใหสงผานขอมูลไดอยางถูกตองในรูปของกลุมขอมูลสั้นๆ (packet) หาก

เกิดขอผิดพลาดในการจัดสงขอมูล ระบบก็สามารถจะจัดสงกลุมแพ็กเก็ตเดิมซ้ําออกไปใหมไดอยางไมมีปญหา

แตเมื่อเปนการประชุมทางไกลแบบ videoconference การจัดสงขอมูลซ้ําหลังจากเกิดขอผิดพลาดดู

เหมือนจะเปนสิ่งที่ยอมรับไมไดเลย โดยเฉพาะเมื่อเปนโปรแกรมประยุกตที่เวลามีความสําคัญตอการทํางานเปนอยาง

มาก (อยางเชน real-time video) เพ่ือแกไขปญหาดังกลาวน้ี บริษัทผูพัฒนาโปรแกรมบางบริษัทจึงออกแบบ

โปรโตคอลเพ่ือการสื่อสารสําหรับสัญญาณวิดีโอโดยเฉพาะ แตมันก็ยังคงมีปญหาเร่ืองคุณภาพของสัญญาณวิดีโอปรากฏ

ข้ึนอยูดี จนแมในเครือขายเน็ตเวิรก fast Token-Ring หรือ fast Ethernet ที่สงผานสัญญาณขอมูลไดเร็วมากๆ ถึง

ขนาด 100 vs 10 Mbps ก็ยังไมสามารถแกไขปญหาเรื่องคุณภาพของสัญญาณวิดีโอใหหมดไปได เพราะถึงอยางไรมันก็

ยังคงจัดสงสัญญาณขอมูลออกไปเปนกลุมแพ็กเก็ตอยูดี

อยางไรก็ตาม คาดวาปญหาตางๆ ของ

การประชุมทางไกลแบบ videoconference บน LANs

คงจะไดรับการขจัดปดเปาลงไปภายในเวลาอีกไมนานนัก

เพราะเทาที่ทราบขณะนี้คณะกรรมการ ITU-T ก็เร่ิมมี

การกําหนดมาตรฐานโปรโตคอลใหม (T.120)

ข้ึนมาเพ่ือการประชุมทางไกลแบบ multipoint

documents conference และ การประชุมทางไกลแบบ videoconference บน LANs ขึ้นมาแลว,โดยมาตรฐาน

T.210 น้ัน ยังรองรับการสงผานสัญญาณขอมูลผานทางโมเด็ม หรือผานไปทางสื่ออื่นๆ ดวย

นอกจากการจัดต้ังมาตรฐานโปรโตคอล T.210 ของคณะกรรมการ ITU-T แลว ก็ยังมีกลุมบริษัทเอกชน

ซ่ึงนําโดยบริษัท Intel อีกกลุมหนึ่งที่พยายามพัฒนามาตรฐานการประชุมทางไกล videoconference บน LANs ข้ึนมา

จากมาตรฐานเดิม H.320 เปนมาตรฐานใหมที่มีช่ือวา "Personal Conferencing Specification" หรือช่ือยอ "PCS"

โดยรวมอาการทํางานสําคัญๆ ของทั้งมาตรฐาน T.210 และ H.320 เขามาไวภายในมาตรฐานเดียว, อีกทั้งยังออกแบบให

การสงผานสัญญาณขอมูลบนเครือขายเน็ตเวิรกดําเนินไปในลักษณะ Isochronous Ethernet อันประกอบไปดวยการ

ทํางานสองสวนที่แตกตางกัน สวนแรกเปน 10-Mbps channel เหมือนระบบ Ethernet ทั่วๆ ไป อีกสวนหนึ่งเปน 6-

Mbps channel ซ่ึงกําหนดไวเพ่ือการสงผานสัญญาณวิดีโอโดยเฉพาะ

ชองทางการส่ือสารก็สําคัญ

อุปกรณคอมพิวเตอรที่ใชเพ่ือการประชุมทางไกลแบบ videoconference น้ัน ถาจะเปรียบไปแลว ก็

อาจจะเปรียบไดกับยานยนตพาหนะที่นําเอาสื่อของผูสงไปยังผูรับ ในขณะที่มาตรฐานโปรโตคอลเพ่ือการสื่อสารระหวาง

ระบบก็เปรียบเสมือนเปนกฏจราจรที่ผูขับข่ียานยนตทั้งหลายจะตองยอมรับและปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกันเพื่อไมให

เกิดอุบัติเหตุ แตลําพังแคยานยนตกับกฏจราจรน้ันยอมไมสามารถจะทําใหการสื่อสารเกิดข้ึนไดเลย หากไมมีชองทาง

การสื่อสารโทรคมนาคมที่เปรียบเหมือนถนนใหสัญญาณขอมูลตางๆ ขับเคลื่อนผานไป

เรื่องชองทางนําสัญญาณน้ีก็นับเปนอุปสรรคสําคัญอีกอยางหน่ึงของการประชุมทางไกล

videoconference ดวยยังเปนเทคโนโลยีที่ใหมมากเมื่อเทียบกับการสื่อสารรูปแบบอื่นๆ ทําใหจําเปนตองใชชองทางนํา

สัญญาณหลายๆ ชองทางประกอบเขาดวยกัน (mixed channel) เพียงเพ่ือจะใหการประชุมดําเนินไปไดอยางสมบูรณ

ซ่ึงก็สงผลใหโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด หรือความไมเขากันระหวางระบบไดมากขึ้น เวลาเกิดปญหาก็ยากที่จะ

7

วิเคราะหถึงสาเหตุอันแทจริงของปญหาตามลักษณะของเรื่องที่มากหมอมากความ จนตองมีการเผื่อชองทางไวสําหรับใน

กรณีทีมี่ปญหาเกิดในระหวางการประชุมอีกตางหาก

นอกจากปญหาวาจะหาชองทางนําสัญญาณอะไรมารองรับระบบแลว ยังมีปญหาเรื่องความเขากันได

ระหวางอุปกรณ videoconference กับอุปกรณสื่อสารอยาง ตูชุมสาย PBX และ อุปกรณสวิทซสัญญาณ (central

office switching) ที่มีอยูอีกตางหาก เพราะบอยคร้ังที่เราพบวาผลิตภัณฑ videoconference บางชนิดจะเขากันไดกับ

อุปกรณสื่อสารเพียงบางชนิดบางย่ีหอเทาน้ัน ยกตัวอยางเชนการใชอุปกรณ Visit Video System จากบริษัท

Northern Telecom น้ัน หากมิไดใชรวมกับอุปกรณสื่อสารของ

บริษัท Northern Telecom เอง ก็จะทําใหสูญเสียความสามารถ

ในการทํางานบางอยางไป

ปญหาเรื่องความไมเขากัน (Incompatible)

ระหวางอุปกรณ videoconference กับอุปกรณสื่อสารน้ีจะย่ิงทวี

ความสําคัญมากยิ่งขึ้น หากรูปแบบการประชุมทางไกลน้ันมีความ

สลับซับซอนมากขึ้น และเปนการสื่อสารผานระยะทางที่ไกลขึ้น

เชนใน wide-area multipoint conferencing ซ่ึงตองมีการโยงสายจากผูรวมประชุมหลายๆ สายผานอุปกรณสื่อสาร

MCU น้ัน การประชุมจะดําเนินไปไดอยางลําบากมาก เพราะสัญญาณขอมูลที่ถูกสงมาจากผูรวมประชุมแตละรายจะถูก

สงผานมาดวยความเร็วต่ําสุดเทาที่ชองทางนําสัญญาณจะรองรับได

ฉน้ัน หากตองการใหการประชุมระหวางผูรวมประชุมหลายๆ รายที่อยูหางจากกันมากๆ เชนน้ี

ทางออกที่ดีก็คือการใชบริการจากธุรกิจบริการดานสื่อสารโทรคมนาคมทางไกล (long-distance service provider) ที่

มีความชํานาญดานน้ีโดยเฉพาะ เชนในอเมริกานั้น งานประเภทน้ีก็ตองปลอยใหเปนหนาที่ของบริษัท AT&T's Global

Business Services หรือ the Sprint Video Group ไป

และหากตองการใหการประชุมทางไกลแบบ videoconference ภายในหนวยงานสามารถดําเนินไปได

ทั้งภายใน LANs และระหวาง LANs (Long-distance) ผูบริหารที่ติดต้ังระบบ videoconference ก็ควรที่จะเลือก

ผลิตภัณฑที่ประกอบไปดวยโปรแกรมซอฟทแวรซึ่งสามารถทํางานรวมกับอุปกรณ codec ไดอยางกวางๆ ไมเก่ียงชนิด

หรือยี่หอของ codec เชน อาจจะเลือกผลิตภัณฑ point-to-point Desktop Video/Document Conferencing

System (DV/DCS) package ของบริษัท InVision Systems ซ่ึงสามารถรองรับการทํางานของอุปกรณ codec ย่ีหอ

หลักๆ ไดทุกย่ีหอ และมาตรฐานการสื่อสารแทบทุกมาตรฐาน

นอกเหนือจากสวนซอฟทแวรที่ครอบคลุมระบบกวางๆ แลว การประชุมทางไกลบน LANs ควบคูไป

กับ WANs ยังอาจกอใหเกิดใหเกิดปญหาความไมเขากันระหวางอุปกรณฮารดแวร (hardware incompatible) ได

เชนกัน ทางออกของปญหานี้ก็คือ การติดต้ังอุปกรณ codec ใหกับเครื่องคอมพิวเตอรไวสองตัวไปเลย ตัวหนึ่งใช

มาตรฐาน H.320 สําหรับการสื่อสารบน WAN สวนอีกตัวก็ใชมาตรฐาน non-H.320 เพ่ือการสื่อสารบน LAN เวลา

ติดตอกับคนนอก LAN ก็เลือกใช codec ตัวแรก เวลาติดตอกับคนภายใน LAN ก็ติดตอผานอุปกรณ codec ตัวที่สอง

อยางไรก็ตาม ผูติดตั้งเครือขายการประชุมทางไกลแบบ videoconference อาจไมจําเปนตองวุนวาย

ไปกับเรื่องการเขากันระหวางโปรแกรมซอฟทแวร และอุปกรณ codec มากนัก หากจะยอมเสียเวลา และเงินทอง

เพ่ิมข้ึนอีกหนอยดวยการติดตั้งผลิตภัณฑ software-only Person-to-Person cideoconferencing sysystem ของ

8

บริษัท IBM ซ่ึงอนุญาตการประชุมทางไกลแบบ videoconference สามารถดําเนินไปไดทั้งบน ISDN, LAN, และ APC

ใหกับระบบ

การประชุมผานเครือขายบริการส่ือสารทางไกล

สําหรับการประชุมผานเครือขายที่ครอบคลุมระยะทางไกลมากๆ โดยอาศัยธุรกิจบริการโทรคมนาคม

ทางไกล (long-distance service) นั้น ปญหาอุปสรรคตางๆ ที่ผูใชจะตองประสบก็มีไมนอยเชนกัน เพราะถาใชการ

สื่อสารผานทางเครือขายระบบโทรศัพทอนาล็อก และใชโมเด็มขาดความเร็ว 28.8 Kbps เปนชองทางในการสื่อสาร มันก็

เปนชองทางที่มีความเร็วตํ่าไปสักหนอยจนไมสามารถแสดงภาพวิดีโอซึ่งเคลื่อนที่ตอเน่ืองกันไดอยางสมจริง (full-

motion picture) อีกทั้งยังตองประสบกับปญหาการแยกสัญญาณภาพออกจากสัญญาณสื่อตัวกลางอีกดวย

ปญหาลักษณะนี้ถาเกิดขึ้น

ในสหรัฐอเมริกาก็คงจะไมมีปญหา เพราะมี

เทคโนโลยีบริการดานสื่อสารคมนาคม

สมัยใหมอยาง AT&T Paradyne's

VoiceSpan และ Workstation

Technologies' Audio Communication Processor ไวคอยใหบริการ ทําใหผูรวมประชุมสามารถสงสัญญาณขอมูล

และสัญญาณเสียงรวมไปในชองทางนําสัญญาณเดียวกันได ซ่ึงก็หมายความวาผูใชบริการระบบดังกลาวจะสามารถใชการ

สื่อสารทางโทรศัพทพรอมไปกับการประชุมทางไกลแบบ Videoconference โดยผานทางสายสัญญาณโทรศัพทชนิด

อนาล็อกที่มีอยูได

คุณภาพของสัญญาณวิดีโอภายใตการประชุมผานเครือขายสื่อสารทางไกล จะดีขึ้นอยางเห็นไดชัด หาก

เปลี่ยนไปใชชองทางบริการแบบดิจิตัล 128-Kbps ISDN services แตเน่ืองจากบริการแบบดิจิตัลน้ียังเปนเทคโนโลยีที่

คอนขางใหมอยู ฉนั้นอุปกรณตางๆ ที่จะนํามาใชประกอบระบบอยาง เคร่ืองพวงโทรศัพท หรือแผงวจรอินเทอรเฟซก็

ยังคงมีราคาคอนขางแพงอยู อีกทั้งวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญในระบบการประชุมทางไกลผานเครือขาย ISDN ก็ยังคงหา

ไดยาก เกิดจับพลัดจับพลูเคร่ืองเสียข้ึนมาก็จะหาคนซอมไดยาก ฉน้ัน หากไมรีบจนเกินไปก็นาจะรอจนระบบดังกลาว

ไดรับการยอมรับใชงานอยางกวางขวางโดยทั่วไปเสียกอน

การติดตั้งอุปกรณเสริม

ดวยรูปแบบที่เฉพาะตัวของผลิตภัณฑ Personal Videoconferencing systems แตละย่ีหอน้ัน ทําให

การติดต้ังระบบกลายเปนเร่ืองยุงยากวุนวายนารําคาญอยางมากสําหรับบางหนวยงาน เพราะผูใชบริการภายใน

หนวยงานจะคอยมีคําถามใหกับผูติดตั้งอยูเร่ือยวาทํางานอยางน้ีไดไหม? ทํางานอยางน้ันไดไหม? และก็ใหบังเอิญวา

คําถามเหลานั้นมักจะไดรับคําตอบวาทําไมไดเสียดวยสิ ! ยกตัวอยางเชน การที่จะติดตั้งเครื่องเลนวิดีโอเพ่ือบันทึก

(VCR) ภาพการประชุมบางขณะน้ันก็เปนเรื่องที่ไมสามารถกรทําไดในหลายๆ ผลิตภัณฑ ดวยสวนใหญมักจะไมไดถูกการ

ออกแบบมาใหรองรับสัญญาณ video output แบบ NTSC (National Television Standards Committee) และ

ถึงแมวาจะออกแบบมาใหรองรับก็มักจะมีราคาแพงมาก (อยางผลิตภัณฑ Vistium Personal Video 13000 ของบริษัท

AT&T)

9

อยางไรก็ตาม แมวาอุปกรณที่มากับระบบ videoconference จะมีขอจํากัด แตตัวเครื่อง

คอมพิวเตอรพีซีที่รองรับมันก็ยังมีลักษณะที่เปดกวางอยูมาก เปดโอกาสใหผูใชสามารถเสริมอุปกรณตางๆ เขามาชวย

เพ่ิมประสิทธิภาพของการประชุมทางไกลไดคอนขางอิสระ เชนอาจจะเสริมอุปกรณแสกนเนอรเขามาแสกนภาพเปนไฟ

ลลกราฟฟกที่จะจัดสงไปยังผูรวมประชุมอื่น, อาจจะเสริมกลองถายรูปเขามาสําหรับการเก็บภาพน่ิง ฯลฯ โดยในเรื่อง

กลองถายรูปน้ี หลายๆ ผลิตภัณฑมีใหมากับตัวสินคาอยูแลว อยางเชน VTEL 115 และ AT&T's Vistium Personal

Video 1300

โดยกลองของ VTEL 115 น้ันจะมีคุณภาพอยูในเกณฑดี จนไมจําเปนตองไปเปลี่ยนอะไรอีกแลว แต

สําหรับผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300 น้ัน ผูใชอาจจะจําเปนตองเปลี่ยนกลองบางหากตองการให

ภาพที่ออกมามีคณภาพดีจริงๆ เชนเปลี่ยนไปใชกลอง TeleCamera ของบริษัท Howard Enterprises หรือกลอง

DigitalMedia Color Camera ซึ่งรวมกันผลิตขึ้นโดยบริษัท Hitachi Home Electronics และบริษัท Workstation

Technologies แทน โดยเฉพาะในกลอง DigitalMedia Color Camera น้ันจะมีขอเดนเปนพิเศษตรงที่มีการนําเอาไม

โครโพรเซสเซอร DSP (Digital Sinal Processor) มาใชจัดการกับสัญญาณวิดีโอ, ลดสัญญาณรบกวนอันเนื่องมาจากตัว

วงจรอิเล็กทรอนิกส, และเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับภาพใหชัดเจนไดโดยอัตโนมัติ

นอกเหนือจากแสกนเนอร และกลองถายรูปแลว ผูติดต้ังระบบ videoconference บางรายอาจจะมี

การเสริมเอากลองถายวิดีโอเขามาติดต้ังบนมอนิเตอรเพื่อถายเอาอริยาบทของผูที่กําลังติดตอสื่อสารกันดวย ตรงจุดน้ีมี

ขอนาสนใขอยูนิดวาควรจะเลือกใชกลองถายวิดีโอซ่ึงออกแบบมาเพื่อการใชงานกับระบบคอมพิวเตอรระดับเดสกท็อป

โดยเฉพาะจะเปนการดีกวา และควรใหความสนใจเปนพิเศษตอความไวแสง (light sensitivity) ของกลอง และขนาด

ความแรงของสัญญาณภาพ (output voltage level) ที่กลองสรางข้ึนดวยวาเพียงพอสําหรับที่อุปกรณ codec จะ

รองรับได มิฉนั้นภาพผูรวมประชุมที่ไปปรากฏออกมาอาจจะดําปดป หรือซีดจางเหมือนผีหลอก จนเพ่ือนอาจจะอยาก

ทุบจอทิ้งก็ได

และถาหากภาพที่ติดตอถึงกันระหวางผูรวมประชุมสวนใหญเปนงานเอกสารซึ่งตองการรายละเอียด

ความคมชัดจนสามารถอานรายละเอียดได กลองที่ใชก็อาจจะตองเปลี่ยนไปอีกอยางเปนกลอง document camera

แทน ดวย กลอง Documant camera ซึ่งประกอบไปดวยตัวเลนส, วงจรควบคุม และฐานรองเอกสารพรอมกลไกปรับ

ระดับน้ีจะสามารถถายเอกสารซึ่งมีความนูนความลึกบนโตะใหออกมาชัดเจนทุรายละเอียด ไมมีการสั่นไหว จึงเหมาะ

สําหรับงานดานน้ีโดยเฉพาะ (ถาใชเอกสารไมมากอาจไมจําเปน แคกลองธรรมดาก็นาจะถูๆ ไถๆ ไปได)

สวนในกรณีที่ตองการแสดงทั้งภาพผูรวมประชุม และภาพเอกสารไปดวยกันโดยไมจําเปนตองคอย

สับเปลี่ยนแจ็คไปมาระหวางกลองถายวิดีโอ และกลองถายเอกสาร ผลิตภัณฑ Personal videoconference system

หลายๆ ยี่หอ อยางเชน VideoLabs' Flexscan document cameraและ PictureTel's innovative FlipCam ก็มี

การติดต้ังมาดวยสวนเชื่อมตอ video pass-through connector ซ่ึงอนุญาตใหผูใชเสียบแจ็คสองแจ็ค (ของทั้งกลอง

ถายวิดีโอ และกลองถายเอกสาร) เขากับรูปลั้ก video jack ที่มีอยูเพียงรูเดียวได

การติดตั้งระบบสําหรับมุมมองท่ีเหมือนหองประชุมจริงๆ

จากที่ไดกลาวๆ มาแตตนนั้น จะเห็นไดวารูปแบบที่ไดยกขึ้นมากลาวถึงสวนใหญมักจะเปนไปใน

ลักษณะของการสื่อสารแบบตัวตอตัว (point-to-point meeting) มากกวาที่จะเปนการประชุมเปนหมูคณะ

(boardroom meeting) ทั้งน้ีก็เปนผลสืบเน่ืองมาจากอิทธิพลของเครื่องคอมพิวเตอรพีซี ซึ่งโดยสามัญสํานึกทั่วไปของ

10

ผูใชน้ันคอนขางจะจํากัดไวที่การใชงานเฉพาะบุคคลมากกวา (ถึงจะเปนเครื่องที่ใชรวมกันระหวางหลายๆ คนใน

หนวยงาน แตถึงเวาใชก็ตองผลัดกัน หรือเขาคิวกัน)

อยางไรก็ตาม สิ่งที่ไมไดรับการกลาวถึงไมจําเปนวาจะตองไมมี และระบบ Personal

videoconference เองก็พรอมเสมอสําหรับการนําไปใชกับการประชุมแบบเปนหมูคณะ เพียงแตอาจจะตองมีการ

เสริมอุปกรณประกอบระบบเพ่ิมเติมเขามาตามความเหมาะสม เชน อาจจะเสริมเอาจอมอนิเตอรขนาดใหญๆ เขามา,

หรืออาจจะใชกระดานอิเล็กทรอนิกสขนาดใหญที่ไวตอการกดสัมผัสของปากกา (touch-screen whiteboard) เขามาใช

เพ่ือวาเวลาที่ผูบรรยายขีดเขียนขอความไปบนกระดาน แรงกดปากกาที่กดลงบนกระดานจะถูกสงไปในลักษณะของรูป

หรือตัวอักษรไปยังผูรวมประชุมที่อยูหางไกลออกไปเลย ในขณะที่ผูรวมประชุมในหองก็เห็นรายละเอียดบนกระดานได

ตามปรกติ

อยางไรก็ตาม มีคําเตือนสําหรับการเลือกใชอุปกรณขนาดยักษๆ เหลาน้ีไวนิดหน่ึง คือ ผูติดต้ังควรจะ

ไดทดลองระบบการประชุมทางไกลของตนกับอุปกรณเหลาน้ีอยางจริงๆ จังๆ เสียกอนกอนที่จะตกลงปลงใจเลือกซ้ือหา

มาใชงาน เพราะบอยคร้ังที่เราพบวาคุณภาพของภาพที่วาดีๆ บนจอมอนิเตอรที่เราเห็นน้ัน เม่ือมาปรากฏบนจอขนาด

ใหญๆ อาจจะกลายเปนภาพที่ไมไดเรื่อง ไมเห็นรายละเอียดเทาที่มันควรจะเปน ฉน้ันถาเปนไปไดระบบสัญญาณภาพ

สัญญาณวิดีโอที่ใชควรจะใหรายละเอียดจุดภาพมากที่สุดเทาที่เงินในกระเปาจะรองรับได

นอกเหนือจากระบบแสดงภาพขนาดใหญแลว อีกระบบหน่ึงที่จําเปนตองมีสําหรับการประชุมทางไกล

แบบหมูคณะก็คือ ระบบเสียงที่สามารถไดยินอยางทั่วถึงทั้งหองประชุม ซ่ึงผลิตภัณฑ Personal videoconference

ที่จําหนายๆ กันหลายๆ ยี่หอก็มักจะมีการพวงหูโทรศัพท (handset) หรือมีการตอเช่ือมสัญญาณไปยังลําโพงที่ติดต้ังอยู

ภายในเครื่องคอมพิวเตอร (internal speaker) อยูแลว สิ่งที่ผูติดตั้งระบบตองทําก็เพียงแตเปลี่ยนชองทางสัญญาณเสียง

ใหมาออกที่ลําโพงซึ่งติดตั้งอยูภายในหองประชุมแทน (ควรพิจารณาติดตั้งเพาเวอรแอมปดวย เมื่อตองการใหเสียงที่ไดมี

คุณภาพดีพอ หรืออาจจะติดต้ังระบบเซอรราวนเพ่ือใหมิติของเสียงดวยก็คงไมเลวถาเงินถึง)

แตไมวาสิ่งที่ถูกติดตั้งเสริมเขามาใหกับระบบการประชุมทางไกล videoconference จะเปนอะไร จะ

เปนจอมอนิเตอรขนาดใหญ, ระบบเสียงสเตริโอ, หรือกระดานอิเล็กทรอนิกส ฯลฯ สิ่งที่ผูติดต้ังระบบจะตองคํานึงถึงไว

เปนอยางมากก็คือ แผงวงจรระบบการประชุมทางไกลของตนน้ันมีการออกแบบรูแจ็กไวรองรับอุปกรณเหลาน้ีดวย

หรือไม เพราะถาจะเสริมจอมอนิเตอรเขามาก็ตองมี video output jack ไวรองรับ, ถาเสริมกลองถายรูปเขามาอีกก็

จะตองมี input connector เพ่ิมข้ึนมาอีกตัว, และถาจะเสริมลําโพง และไมโครโฟนเพิ่มก็ตองมีทั้ง input audio jack

และ output audio jack ฯลฯ

ตัวอยางของผลิตภัณฑ Personal videoconference

ที่มีการออกแบบมาเพ่ือการติดตั้งอุปกรณเสริมไวคอนขางดีก็ไดแก

ผลิตภัณฑ Vistium Personal Video 1300 ของบริษัท AT&T ที่

ออกแบบสวนโปรแกรมซอฟทแวรมาใหผูใชสามารถสับเปลี่ยนไปมา

ระหวางสัญญาณวิดีโอที่เขามาจากแหลงกําเนิดสัญญาณสองชนิดไดดวย

toggle swich ทําใหไมตองมาเสียถอดแจ็กสับไปสับมา เชน ถาใน

ระหวางการประชุมทางไกลตองการแสดงอิริยาบทของผูรวมประชุมก็

สับสวิทซไปที่กลองถายภาพ พอเวลาที่ตองการแสดงขอมูเปนลายลักษณอักษรก็สับสวิทซไปยังกลอง document

camera เชนน้ีเปนตน

11

การเพ่ิมประสิทธิภาพใหกับสวนแสดงสัญญาณภาพ

ปญหาสําคัญอยางหน่ึงที่อาจจะถูกมองขามไปในระบบการประชุมทางไกล Personal

videoconference ก็คือคุณภาพของสัญญาณวิดีโอ เพราะมีเพียงไมก่ีผลิตภัณฑเทาน้ันที่สามารถแสดงภาพซ่ึงชัดเจน

คุณภาพสูงๆ และผลิตภัณฑประเภทนี้ก็มักจะมีราคาคอนขางแพงเปนพิเศษ อยางเชน ผลิตภัณฑ the PictureTel Live

PCS 100, และผลิตภัณฑ VTEL 115 ก็มีราคาถึง $5,995 และ $9,995 ตามลําดับ โดยคุณภาพระดับดังกลาวน้ันจะ

ไดมาจากการสงผานสัญญาณไปตามเคือขายบริการ Basic Rate ISDN lines

ผลิตภัณฑ Personal Videoconference สวนใหญที่มีขายๆ กันอยูในขณะน้ีสวนใหญมักจะแสดงภาพ

สัญญาณวิดีโอที่มีคุณภาพไมสูงนัก ภาพที่ไดมักมีขนาดเล็ก, เม็ดสีที่แสดงมักมีขนาดใหญจนทําใหภาพมีเกรนหยาบๆ และ

จะย่ิงหยาบข้ึนไปอีกหากแสดงภาพใหใหญขึ้น, ย่ิงถาเปนภาพเคลื่อนไหวก็จะย่ิงหนักข้ึนไปอีก เพราะการเคลื่อนไหวก็จะ

กระตุกๆ เหมือนกับวาเพ่ือนผูรวมประชุมเปนโรคลมชัก (jerky motion) เพราะการเปลี่ยนภาพหนาจอตอวินาทีเปนไป

อยางเชื่องชาจนไมเกิดความตอเน่ือง

อยางไรก็ตาม ถึงแมวาตัวผลิตภัณฑ Personal Videoconference จะมีขอจํากัดดานสัญญาณวิดีโอ

เหลานี้อยู แตผูใชอาจจะบรรเทาขอบกพรองเหลาน้ีลงไปไดบาง ดวยการเพ่ิมประสิทธิภาพของสวนหนวยประมวลผล

กลางดวยการเปลี่ยนไปใชไมโครโพรเซสเซอรรุน Pentium หรือ Power PC CPU แทน, และเปลี่ยนไปใชบัสนํา

สัญญาณแบบ 32 บิทอยาง PCI (Personal Computer Interface) หรือ VL-Bus แทนที่จะเปนขนาด 16 บิท เชนที่ใช

อยู ISA bus ในกรณีที่เปนการประชุมทางไกลผานเครือขาย LANs เพราะสวนของ ISA NICs อาจจะเปนสวนสําคัญที่

กอใหเกิดปญหาการจราจรคับค่ัง (bottleneck) ของสัญญาณขอมูลได ดังจะเห็นไดจากการที่มีผลิตภัณฑ Personal

Videoconference บางชนิด เชน ActionMedia II มีการแยกจําหนายเปนสองเวอรช่ัน เปน Micro Channel version

สําหรับระบบบัสแบบ 32 บิท และเวอรชั่น 16-bit ISA version

สําหรับการเพ่ิมประสิทธิภาพ

ของหนวยประมวลผลกลางน้ี ผูรูหลายทาน

อาจจะแยงวาไมนาจะเพ่ิมประสิทธิภาพใหกับ

การสงผานสัญญาณวิดีโอไดมากนัก เพราะ

ปรกติตัวอุปกรณ Codec จะทําหนาที่อัดยอ

สัญญาณใหมีขนาดเล็กลงอยูแลว แตการอัดยอ

สัญญาณของอุปกรณ Codec น้ัน เปนการอัด

สัญญาณระดับฮารดแวร hardware-based

data compression ในขณะที่ผลิตภัณฑ

Personal Videoconference บางประเภท

อยาง Intel's Smart Video Recorder น้ันจะอนุญาตใหหนวยประมวลผลกลางเปนตัวทําหนาที่อัดไฟลลสัญญาณวิดีโอ

ระดับซอฟทแวร Software-based data compression ไดดวย

ซึ่งปรกติแลว ผลิตภัณฑ Personal Videoconference ที่ใชการอัดไฟลลระดับซอฟทแวรมักจะให

คุณภาพของภาพที่ไมดีนักเมื่อเทียบกับการอัดสัญญาณวิดีโอดวยอุปกรณ Codec แตเมื่อเราใชหนวยประมวลผลกลางที่มี

ประสิทธิภาพสูงๆ ก็สามารถเพ่ิมคุณภาพของภาพสัญญาณวิดีโอที่ไดใหขึ้นมาเทียบกับผลงานของอุปกรณ Codec ได อีก

12

ทั้งยังทําใหระบบการประชุมทางไกลแบบ Multipoint session สามารถเพิ่มจุดตอเช่ือม และจํานวนผูรวมประชุมขึ้น

จากเดิมไดอีก

ปจจัยประกอบของ videoconference

กอนที่จะนําเอาการประชุมทางไกลแบบ videoconference เขาไปใชในหนวยงานใดหนวยงานหน่ึงนั้น

ผูบริหารหนวยงานควรที่จะไดสํารวจปจจัยตางๆ ที่เก่ียวของใหรอบคอบเสียกอน เพ่ือใหระบบการสื่อสารภายในองคกรที่

มีประสิทธิภาพคุมคาคุมราคามากที่สุด สําหรับปจจัยที่ควรจะไดรับการสํารวจก็ไดแก

สภาพการสื่อสาร และการประชุมที่เปนอยูในปจจุบัน : เร่ิมดวยการสํารวจรูปแบบการสื่อสาร และ

การประชุมที่เกิดข้ึนภายในหนวยงานเสียกอน ดูวามีการประชุมถี่หางแคไหน, การสื่อสารแบบ

ตัวตอตัวเกิดขึ้นมากนอยเพียงไรเม่ือเทียบกับการประชุมเปนหมูคณะ, สภาพพ้ืนที่และ

ระยะทางที่ขาวสารจะตองเดินทางไปเมื่อตองมีการประกาศหรือเผยแพรขาวสารเกิดข้ึน, การ

สื่อสารที่เกิดขึ้นน้ันดําเนินไปโดยผานสื่อแตละรูปแบบมากนอยเพียงไร เชน เปนการสื่อสาร

ดวยเอกสารเปนรายลักษณอักษร (document) เปนไฟลลขอมูลคอมพิวเตอร (file transfer)

เปนเสียงพูดที่ถายทอดไปทางโทรศัพท (voice telephone) หรือตองไปบอกกลาวดวยตนเอง

(meeting) ฯลฯ

สภาพ และสมรรถนะของบริการดานการสื่อสารโทรคมนาคมที่มีอยู : เม่ือไดสํารวจตรวจสอบดูสภาพ

และความตองการภายในหนวยงานแลว สิ่งตอมาที่ผูบริหารจะตองพิจารณาก็คือ สภาพและ

สมรรถนะของเครือขายบริการโทรคมนาคมที่รองรับการสื่อสารของหนวยงานทั้งภายในและ

ภายนอกพ้ืนที่วามีสมรรถนะขนาดไหน เวลาที่จําเปนตองติดตอออกนอกหนวยงานไปยังที่ไกลๆ

นั้น ระบบโครงสรางพ้ืนฐานที่องคการโทรศัพทฯ, การสื่อสาร หรือบริการดานโทรคมนาคม

ภาคเอกชนมีใหนั้นเพียงพอหรือยังสําหรับการสงผานสัญญาณขอมูลปริมาณมากๆ อยาง

สัญญาณวิดีโอ หรือสัญญาณกราฟฟกขนาดใหญ

เรื่องเครือขายโทรคมนาคมที่รองรับนี้สําคัญมาก เพราะถายังเปนเชนในเมืองไทยที่

กวาจะสรางรถไฟฟาสักสายตองเถียงกันสิบย่ีสิบปถึงไดสราง, จะติดต้ังโทรศัพทสักสายก็ตองรอ

กันเปนปๆ จนสุดทายตองเปลี่ยนไปใชโทรศัพทมือถือ และพอใชโทรศัพทมือถือก็เจอปญหา

ชองสัญญาณไมวางอยางน้ี ผูบริหารองคกรคงตองคิดหนักสักหนอย เพราะบางครั้งลําพังดูแผน

นโยบายของรัฐที่วาจะลงสาธารณูปโภคตรงไหน จะมีเครือขายโทรคมนาคมตรงไหนบางนั้น

อาจจะยังไมพอ ตองดูวาพ้ืนที่ที่จําเปนตองเวนคืนนั้นไปเฉียดเขาไปใกลผูย่ิงใหญรายไหนบาง

และนักแสดงที่เขาไปอยูในรัฐสภาน้ัน ใครจะไดขึ้นมาเลนเปนตัวเอกในคณะรัฐมนตรีบาง สรุป

สุดทายวาคิดมากแลวปวดหัว มีปญญาก็ทําเฉพาะที่เปนการสื่อสารภายในอาคารเด่ียว หรือ

พ้ืนที่ใกลๆ กันโดยผานทาง LANs เปนดีที่สุด อยาเพ่ิงไปคาดหวังถึงขนาดจะตองเช่ือมตอ

ระหวาง LANs เลย

ซ่ึงเมื่อสรุปไดวาจะทําการสื่อสารเฉพาะภายใน LANs ซึ่งติดต้ังอยูหนวยงานเอง ก็

ตองลงมาสํารวจวาทรัพยากร และสมรรถนะตางๆ ที่ LANs ของหนวยงานน้ันมีอยูมากนอย

เพียงไร ชองทางที่รองรับสัญญาณขอมูลที่มีอยูน้ันแคบเกินไปหรือไม ถาแคบไปก็ขยับขยายให

13

ใหญขึ้น เพื่อวาจะไดไมตองเจออุปสรรคเรื่องการจราจรคอขวดของสัญญาณขอมูล, จําเปนตอง

ติดตั้งอุปกรณตอเชื่อมเพ่ิมเติมเขาตรงพื้นที่ใดบาง, และที่สําคัญควรตระหนักวาอุปกรณ

routers ที่รองรับการสงผานไฟลลตัวอักษร (text files) และไฟลลธรรมดาทั่วๆ ไปน้ัน ขีด

สมรรถนะยังไมเพียงพอที่จะรองรับสัญญาวิดีโอที่มีปริมาณมากๆ ไดอยางเพียงพอ หากยังฝน

ใชตอไปก็คงตองไปเปลี่ยนในภายหลัง

สํารวจสมรรถนะและประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอรที่มีอยูภายในหนวยงาน : พนจากการดูชอง

ทางการสงผานสัญญาณขอมูลของระบบโดยรวม ก็ตองลงไปในรายละเอียดของเครื่อง

คอมพิวเตอรทั้งหลายที่ตอพวงกันอยูใน LANs ตอ ดูถีวามีแผงวงจรวิดีโออะไร. มีบัสเชื่อมโยง

ประเภทไหน, ใชหนวยประมวลผลกลางรุนใด, และที่กลาวๆ มาถึงหมดน้ีมีขีดสมรรถนะเพียง

พอที่จะรองรับสัญญาณวิดีโอที่จะวิ่งเขาว่ิงออกเครื่องไดมากนอยแคไหน หากพิจารณาดูแลววา

ไมเพียงพอก็นาจะถือโอกาสยกเครื่องระบบคอมพิวเตอรเสียใหม โละทิ้งอุปกรณลาสมัย

ทั้งหลายไปเขาพิพิธภัณฑ หรือบริจาคเขาสถานศึกษาเพ่ือจะไดเปนประโยชนตอกุลบุตรกุลธิดา

ของชาติ จากน้ัน ก็เอาระบบคอมพิวเตอรที่มีอยูเปนตัวต้ังเพ่ือเลือกหาผลิตภัณฑทั้งหลายทั้ง

ปวงที่จะตองติดต้ังสําหรับการประชุมทางไกลแบบ videoconference ตอไป

สํารวจความพรอมของบุคคลากรภายในหนวยงาน : ในจํานวนปจจัยทั้งสี่ประการที่ยกข้ึนมากลาวนั้น

ปจจัยเรื่องคนน้ีนับเปนเร่ืองสําคัญที่สุด เพราะถึงจะมีระบบดีเพียงไรถาไมมีคนใชเสียอยางแลว

ก็คงไมมีประโยชนอะไร (เปรียบเสมือนการเอารถเฟอราร่ีมาจอดทิ้งไวในโรงรถเฉยๆ รอจนผุพัง

ไปเอง) ฉน้ัน กอนที่จะยกเครื่องอะไรในหนวยงานน้ัน ผูบริหารจะตองจัดเตรียมบุคคลากรไว

รองรับดวย ตองมีการกําหนดเปาหมายไวในใจวาจะใหใครทําอะไร และมีบทบาทอยางไรบาง

ในระบบที่สวมเขามาน้ี

ตองใหการศึกษา และทําความเขาใจในเรื่องประโยชน และความจําเปนที่หนวยงาน

จะตองนําระบบใหมเขามาใช ผลดีที่บุคลากรทั้งหลายจะไดรับ (ระวังบุคลากรบางประเภท

อาจจะนึกวาตั้งระบบใหมข้ึนมาจับผิด เพราะมีทั้งกลองมีทั้งระบบบันทึกเสียง) ที่สําคัญ จะตอง

ชี้แจงใหชัดเจนถึงขอจํากัดของระบบการประชุมทางไกล videoconference ที่กําลังจะติดต้ัง

เขามาดวยเพ่ือไมใหผูใชต้ังความคาดหวังไวมากจนเกินไป จนอาจจะผิดหวังแลวพาลเลิกใชไป

เลยเม่ือไมไดตามคาดหวัง ขอจํากัดที่วานั้น ก็อยางเชน เร่ืองคุณภาพของสัญญาณภาพวิดีโอที่

อาจจะไมดีนัก, หรือขอจํากัดของ LAN multipoint connection ที่อนุญาตใหใชงานพรอมๆ

กันไดไมเกิน 4 คน ฯลฯ

ตัวอยางผลิตภัณฑ Personal Videoconference เพื่อใหเขาใจถึงรูปแบบการทํางานของระบบ Personal Videoconference ไดดีย่ิงขึ้นจึงขอยกตัวอยาง

ผลิตภัณฑดังกลาวมาเปนตัวอยางสักสามย่ีหอ อันไดแก ผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300, ผลิตภัณฑ

IBM's Person to Person for Windows 1.0 และ ผลิตภัณฑ Intel ProShare Personal Conferencing Video

System 200 ดวยผลิตภัณฑทั้งสามยี่หอนี้ตางมีจุดเดนรวมกันตรงที่เปนระบบซึ่งสามารถติดต้ังใชงานไดโดยไมยาก

14

AT&T Global Information Solutions

AT&T Vistium Personal Video 1300

Add-in kit $4,995, with 486DX/33 PC $5,995

Add-in videoconferencing and application-sharing system

800-225-5627, 513-445-5000

ผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300 น้ีประกอบไปดวยสวนที่เปนฮารดแวร และ

ซอฟทแวร สวนฮารดแวรไดแก Video overlay, แผงวงจร Codec, แผงวงจรควบคุมสัญญาณเสียง ISDN sound card,

กลองถายรูป, อุปกรณ microphone/speaker box ซ่ึงทําหนาที่เปนทั้งไมโครโฟน และลําโพงในกลองเดียวกัน ซ่ึง

แมวาจะประกอบไปดวยอุปกรณประกอบหลายตัว แตการติดต้ังใชงาน AT&T Vistium Personal Video 1300 ก็

สามารถกระทําไดอยางไมลําบากยากเย็นแตอยางไร

ปญหาในการติดตั้งผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300 นั้นมีอยูบางนิดหนอยก็ตรงที่

แผงวงจรสัญญาณวิดีโอของมันน้ันเปนแผงชนิด double-width card ทําใหตองเปลืองชองสล็อต expansion slot

สําหรับใชติดต้ังระบบไปถึง 3 ชอง และสงผลใหเวลาที่ตองการติดตั้งแผงวงจร VGA adapter ของเคร่ืองคอมพิวเตอรเอง

ก็ตองเชื่อมโยงสัญญาณผานทางพอรต pass-through port ของแผงวงจรสัญญาณวิดีโอ ฉน้ันหากแผงวงจร VGA

adapter ที่ใชไมมีตัวตอเช่ือม pass-through connector มันก็จะไมสามารถใชงานรวมกับผลิตภัณฑ AT&T Vistium

Personal Video 1300 ได

หลังจากติดตั้งระบบ AT&T Vistium Personal Video 1300 ใหกับเครื่องคอมพิวเตอรแลว หากเปน

การประชุมทางไกลแบบ Personal Videoconference ทั่วๆ ไป มันก็จะทํางานไดอยางดีไมมีปญหาอะไร (นอกจากเรื่อง

คุณภาพที่ไมดีนักของภาพสัญญาณวิดีโอ) แตเม่ือไรก็ตามที่มีเรื่องระบบ ISDN เขามาเกี่ยวของ มันอาจจะเกิดขอบกพรอง

บางอยางในการทํางานขึ้นไดเชน อาจจะไมสามารถหมุนเลขหมายโทรศัพทในบางพ้ืนที่ (some area) อันเปนผลสืบ

เน่ืองมาจากการใชเลขรหัสพ้ืนที่แตกตางกัน

สําหรับโปรแกรมซอฟทแวรที่ใหมากับผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300 นั้น ประกอบ

ไปดวยสวนการทํางาน Whiteboard application ที่มีประสิทธิภาพในเกณฑใชได แตมีความโดดเดนเปนพิเศษในสวน

ของการแชรใชโปรแกรมประยุกตรวมกันระหวางผูรวมประชุมหลายๆ ราย (application sharing) และอาจจะกลาวได

วามันเปนผลิตภัณฑเดียวที่เนนการทํางาน application sharing อยางจริงจัง เพราะมันอนุญาตใหผูใชคอมพิวเตอรสอง

เครื่องแกไขเอกสารเดียวไปพรอมๆ กันได

รูปที่ 1 แสดงตัวอยางผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300 ซ่ึงอนุญาตใหผูรวมประชุมสามารถแชร

การใชงานโปรแกรมประยุกตรวมกันไดอยางแทจริง

IBM

15

Person to Person 1.0.3 for Windows $280 Videoconferencing software

800-426-9402; fax, 512-823-1864

ในจํานวนผลิตภัณฑ Personal Videoconference ทั้งสามชนิดที่ยกมาเปนตัวอยางน้ี มีเฉพาะ

ผลิตภัณฑ Person to Person 1.0.3 for Windows เทานั้นที่จําหนายมาเฉพาะสวนที่เปนโปรแกรมซอฟทแวร หากผูใช

คอมพิวเตอรรายใดตองการสวนฮารดแวรดวยก็ตองหาซ้ือมาติดต้ังเพิ่มเติมตางหาก ไมวาจะเปน Micro Channel PS/2,

แผงวจร Token-Ring network interface card, กลองถายรูป หรืออุปกรณ IBM/Intel Action-Media II Codec ฯลฯ

แตไมมีการรองรับสวนฮารดดานสัญญาณเสียง ทําใหเวลาใชงานระบบตองมีการหมุนโทรศัพทติดตอถึงผูรวมประชุมเพ่ือ

การสื่อสารดานเสียงอีกตางหาก

สําหรับเร่ืองการติดตั้งใชงานน้ัน เน่ืองจากผลิตภัณฑ Person to Person 1.0.3 for Windows มี

ลักษณะเปนโปรแกรมซอฟทแวร มันจึงติดต้ังไดอยางสะดวกงายดายไมตองใชเวลามากมายอะไรนัก สวนรูปแบบการ

ทํางานน้ันประกอบไปดวยโมดูล 8 ชนิดซ่ึงมีลักษณะเปนชองหนาตางหลายๆ ชอง อันไดแก การแสดงภาพที่กําลังดําเนิน

จริงในชั่วขณะนั้น (live video display), ชองสําหรับสนทนาเจาะแจะระหวางผูรวมประชุม (chat box), ชองคลิปบอรด

สําหรับการใชงานรวมกันระหวางผูรวมประชุม (remote clipboard sharing), การจับภาพน่ิง (capturing still

image), การสงผานไฟลลระหวางเครื่องคอมพิวเตอร (file transfering), และสวนไวทบอรดที่ใชติดตอรวมกันระหวางผู

รวมประชุมหลายๆ คน ฯลฯ

จากจํานวนโมดูลที่อยูถึง 8 ชนิดน้ัน ทําใหการเรียนรูวิธีใชงานคอนขางยากสักนิดเม่ือเทียบกับอีกสอง

ผลิตภัณฑที่เหลือ อยางไรก็ตาม เม่ือเขาใจถึงการทํางานของมันแลวผูใชจะพบวามันเต็มไปดวยการทํางานที่มี

ประสิทธิภาพ ผูรวมประชุมแตละรายสามารถจะเปดหนาตางของการทํางานแตละโมดูลข้ึนสักก่ีหนาตาง/กี่ชนิดก็ได

และในแตละหนาตางน้ันก็สามารถใชงานรวมกันระหวางผูรวมประชุมมากกวาหนึ่งรายได (ยกเวนสวนหนาตางที่แสดง

ภาพเคลื่อนไหวเทาน้ันที่เปดข้ึนไดเพียงหน่ึงหนาตางตอคร้ัง) ที่สําคัญ ผลิตภัณฑ Person to Person 1.0.3 for

Windows ยังรองรับการทํางานแบบ multipoint Personal Videoconference และอนุญาตใหผูใชสื่อสารผาน

เครือขายเน็ตเวิรก LAN และ WAN ไปพรอมๆ กันไดดวย

รูปที่ 2 แสดงตัวอยางการทํางาน White board ของผลิตภัณฑ IBM's Person to Person ซึ่งอนุญาตใหผูรวม

ประชุมสามารถเพ่ิมคําอธิบายรูปที่เปดขึ้นมาดูรวมกันได (shared image annotation)

Intel Corp.

Intel ProShare Personal Conferencing Video System 200 $2,499

800-538-3373

ผลิตภัณฑ Intel ProShare Personal นี้จําหนายมาพรอมดวยอุปกรณฮารดแวรหลายชนิด (แผงวงจร

Codec, กลองถายรูป, ISDN sound card, video overlay) คลายๆ กับ AT&T Vistium Personal Video 1300 แต

16

ตางไปเล็กนอยตรงสวนไมโครโฟนของ Intel ProShare Personal น้ันประกอบมาดวยกันกับตัวหูฟงเลย

(microphone/earphone) แทนที่จะเปนตูลําโพงเหมือน AT&T Vistium Personal Video 1300 ทําใหผูใชที่รูสึก

รําคาญการมีหูฟงเสียบคาไวที่หู อาจจะตองขวนขวายหาลําโพงมาติดตั้งเพ่ิมเติมอีกตางหาก

การติดต้ังใชงาน Intel ProShare Personal นั้นสามารถทําไดอยางสะดวกงายดาย ไมมีปญหาเรื่องการ

กําหนดคาอินเทอรรัพ หรือการกําหนดตําแหนงแอดเดรสของหนวยความจํา (หากจะมีบางก็สามารถแกไขไดอยางงายๆ

ดวยสวนโปรแกรม configuration program ผูใชไมตองไปยุงวุนวายกับสวิทซจัมเปอรบนแผงวงจรควบคุมเลย) การ

ทํางานทั่วๆ ไป ก็คลายๆ กับผลิตภัณฑ AT&T Vistium Personal Video 1300 รวมท฿งมีปญหาเล็กนอยเม่ือ

นําไปใชรวมกับเครือขายบริการ ISDN เชนกัน

สวนโปรแกรมซอฟทแวรที่ติดต้ังมากับผลิตภัณฑ Intel ProShare Personal คือโปรแกรม ProShare

Personal Conferencing Standard Edition 1.5 ซ่ึงถูกออกแบบมาเพื่อความงายตอการใชงาน และประสิทธิภาพของ

การใชทรัพยากรสูงที่สุด รูปแบบที่ติดตอกับผูใชของโปรแกรมมีลักษณะเปนเหมือนสมุดโนต อนุญาตใหผูรวมประชุมแต

ละรายกําหนดพ้ืนที่ใชงานจําเพาะของตนเอง รวมทั้งมีการอนุญาตใหเคลื่อนยายไฟลลในระดับแบ็คกราวน ทําใหการ

ติดตอสื่อสารระหวางผูรวมประชุมดําเนินไปอยางตอเนื่องไมติดขัด

รูปที่ 3 แสดงการทํางานเลียนแบบลักษณะสมุดโนต (notebook metaphor) ของผลิตภัณฑ Intel Proshare

Personal Conferencing Video system 200 ซึ่งสงผลใหการใชงานโปรแกรมของผูรวมประชุมดําเนินไป

ไดอยางสะดวกงายดาย เพราะสมุดโนตเปนสิ่งที่ทุกคนคุนเคยกันอยูแลว