ค...

Preview:

Citation preview

ค าประพันธ์ประเภทกลอน

แม้มิได้เป็นดอกกุหลาบหอม ก็จงยอมเป็นเพียงลดาขาว แม้มิได้เป็นจันทร์อันสกาว จงเป็นดาวดวงแจ่มแอร่มตา แม้มิได้เป็นหงส์ทะนงศักดิ์ ก็จงรักเป็นโนรีที่หรรษา แม้มิได้เป็นน้ าแม่คงคา จงเป็นธาราใสที่ไหลเย็น

วิเคราะห์ฉันทลักษณ ์

ลักษณะต่างๆของกลอน

๑. คณะ แม้มิได้เป็นดอกกุหลาบหอม ก็จงยอมเป็นเพียงลดาขาว

แม้มิได้เป็นจันทร์อันสกาว จงเป็นดาวดวงแจ่มแอร่มตา แม้มิได้เป็นหงส์ทะนงศักดิ ์ ก็จงรักเป็นโนรีที่หรรษา แม้มิได้เป็นน้ าแม่คงคา จงเป็นธาราใสที่ไหลเย็น

๒. สัมผัส สัมผัสสระ ๑) เป็นค าที่มีเสียงสระเดียวกัน เช่น ตา – ลา , ใจ – ไป ๒) ถ้ามีตัวสะกดจะต้องเป็นค าที่มีตัวสะกดมาตราเดยีวกนั เช่น กาล – หวาน , จิต – ผิด *** ข้อควรระวัง ห้ามใช้สระเสียงสั้นกับสระเสียงยาวมาสัมผัสกนั เช่น ค า – คร้าม , กิน - ศีล

สัมผัสพยัญชนะเป็นสัมผัสระหว่างค าที่ใช้พยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงพยัญชนะพ้องกัน โดยไม่จ ากัดสระและวรรณยุกต ์ เช่น กก กอ กิ่ง แก้ว เป็นต้น

สัมผัสพยัญชนะ

ลางลิงลงิลอดเลี้ยวลางลิง แลลูกลิงชิงลูกไม้

สัมมผัสนอก จะใช้สัมผัสสระเท่านั้น

สัมมผัสใน จะเป็นสัมผัสสระหรือพยัญชนะก็ได้ เป็นสัมผัสไม่บังคับ

แม้มิได้เป็นดอกกุหลาบหอม ก็จงยอมเป็นเพียงลดาขาว แม้มิได้เป็นจันทร์อันสกาว จงเป็นดาวดวงแจ่มแอร่มตา แม้มิได้เป็นหงส์ทะนงศักดิ ์ ก็จงรักเป็นโนรีที่หรรษา แม้มิได้เป็นน้ าแม่คงคา จงเป็นธาราใสที่ไหลเย็น

การเรียกชื่อกลอน

๑. กลอนสี่ ๒. กลอนหก ๓. กลอนแปด ๔. กลอนสักวา ๕. กลอนดอกสร้อย ๖. กลอนบทละคร

๑. กลอนสี ่

รักเมืองไทย ชาติไทย/รุ่งเรือง เป็นเมือง/เก่าแก่ ประเพณ/ีงามแท ้ ไม่แพ/้ชาติใด วัดวา/อาราม งดงาม/ยิ่งใหญ่ มีภา/ษาไทย คิดใช้/ขึ้นเอง (นภาลัย สุวรรณธาดา)

๒. กลอนหก

เมืองกังวล เมืองใด/ไม่ม/ีทหาร เมืองนั้น/ไม่นาน/เป็นข้า เมืองใด/ไร้จอม/พารา เมืองนั้น/ไม่ช้า/อับจน เมืองใด/ไม่ม/ีพาณิชเลิศ เมืองนั้น/ย่อมเกิด/ขัดสน เมืองใด/ไร้ศิลป์/โสภณ เมืองนั้น/ไม่พ้น/เสื่อมทราม ถนอม อัครเศรณี

แม้มิได้เป็นดอกกุหลาบหอม ก็จงยอมเป็นเพียงลดาขาว แม้มิได้เป็นจันทร์อันสกาว จงเป็นดาวดวงแจ่มแอร่มตา แม้มิได้เป็นหงส์ทะนงศักดิ์ ก็จงรักเป็นโนรีที่หรรษา แม้มิได้เป็นน้ าแม่คงคา จงเป็นธาราใสที่ไหลเย็น (ฐะปะนีย์ นาครทรรพ)

๓. กลอนแปด

๔. กลอนสักวา

สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดูดดื่มบอระเพ็ดต้องเข็ดขม ผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอารมณ ์ ใครฟังลมเมินหน้าระอาเอย (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ)

๕. กลอนดอกสร้อย

วังเอ๋ยวังเวง หง่างเหง่ง! ย่ าค่ าระฆังขาน ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวเอย (พระยาอุปกิตศิลปสาร)

๖. กลอนบทละคร

มาจะกล่าวบทไป ถึงท้าวยศวิมลไอศวรรย์ ไร้บุตรสุดวงศ์พงศ์พันธ์ุ วันหนึ่งนั้นไปเลียบพระนคร

เมื่อนั้น พระสังข์ฟังค ายักษี บอกพลางทางยกมือชี้ เห็นเหาะไปทิศนี้นะขุนมาร

บัดนั้น ยักษาได้ฟังว่าขาน ดีใจเสือกสนลนลาน เหาะทะยานติดตามไปพลัน

๗. กลอนนิราศ

เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวสา รับกฐินภิญโญโมทนา ชุลีลาลงเรือเหลืออาลัย ออกจากวัดทัศนาดูอาวาส เมื่อตรุษสารทพระวสาได้อาศัย สามฤดูอยู่ดีไม่มีภัย มาจ าไกลอารามเมื่อยามเย็น ........................... จงทราบความตามจริงทุกสิ่งสิ้น อย่านึกนินทาแกล้งแหนงไฉน นักเลงกลอนนอนเปล่าก็เศร้าใจ จึ่งร่ าไรเรื่องร้างเล่นบ้างเอยฯ

๘. กลอนเสภา

เจ้าพลายงามความแสนสงสารแม่ ช าเลืองแลดูหน้าน้ าตาไหล แล้วกราบกรานมารดาด้วยอาลัย ลูกเติบใหญ่คงจะมาหาแม่คุณ แต่ครั้งนี้มีกรรมจะจ าจาก ต้องพลัดพรากแม่ไปเพราะอ้ายขุน เที่ยวหาพ่อขอให้ปะเดชะบุญ ไม่ลืมคุณมารดดาจะมาเยือน (เสภาขุนช้างขุนแผน)

แบบทดสอบ

๑. ข้อคิดจากเรื่อง “พอใจให้สุข” คืออะไร

เราเพลี่ยงพลั้งลังกาอาณาเขต เป็นของเชษฐาสิ้นทุกถิ่นฐาน เราชนะจะเอาสัตย์ปฏิญาณ แล้วปล่อยไปไม่สังหารผลาญชีวา ถึงวอดวายภายหลังได้สรรเสริญ จะอยู่กินกัปกัลป์ชันษา แม้ไม่สู้ผู้หญิงทิ้งศัสตรา ก็เลิกทัพกลับไปหานางมาลี

๒.ค าประพันธ์ต่อไปนี้ มีจ านวนกี่บท ก่ีบาท และกี่วรรค พร้อมระบุค าที่เป็นสัมผสัระหว่างบท

๓. ยกตัวอย่างวรรณคดีที่แต่งด้วยกลอนนิราศและกลอนบทละครอย่างละ ๑ เรื่อง ๓. สัมผัสในคืออะไร ๔. สัมผัสนอกคืออะไร ๕. กลอนสักวามีลักษณะอย่างไร

สวัสดีค่ะ

Recommended