กิจกรรม 10...

Preview:

Citation preview

กิจกรรม 10 โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นอย่างไร

วัตถุประสงค ์ 1. อธิบายความหมายและขั้นตอนการท าโครงงานวิทยาศาสตร ์ 2. อธิบายสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ในรูปแบบแผนผังแนวความคิดหลัก (concept map) 3. ยกตัวอย่างคุณค่าการท าโครงงานวิทยาศาสตร์

ระดมความคิดช่วยกันเรียงบัตรภาพ เกี่ยวกับกระบวนการหาค าตอบด้วยการท าโครงงานวิทยาศาสตร์

น าตัวอักษรท่ีบัตรภาพเขียนลงในช่องเรียงภาพ เสนอบน response board

คิดคนเดียว คิดคู่ และคิดกลุ่ม

ในประเด็นความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ เขียนลงในใบบันทึกกิจกรรม

หลอมรวมเป็นแนวคิดของกลุ่ม response board

ทบทวนเกี่ยวกับการเขียนแผนผังแนวความคิดหลัก

ทุกกลุ่มดูคลิปวีดีโอเกี่ยวกับการท าโครงงานของ

นักเรียนจากนั้นระดมความคิดเกี่ยวกับ “โครงงานวิทยาศาสตร์เป็นอย่างไร” โดยเขียนเป็นแผนผังแนวความคิดหลักลงในกระดาษปรู๊ฟ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเขียนจ านวน เขียนข้อเสนอแนะตามความคิดเห็นของกลุ่ม ที่ผลงานของกลุ่มอ่ืน (ยกเว้นกลุ่มของตนเอง) ดังนี้ ถ้าเขียนแผนผังแนวความคิดหลักอธิบายสิ่งส าคัญได้ครอบคลุมและถูกต้องทั้งหมด ถ้าเขียนแผนผังแนวความคิดหลักอธิบายสิ่งส าคัญได้ครอบคลุมและถูกต้องส่วนใหญ่ ถ้าเขียนแผนผังแนวความคิดหลักอธิบายสิ่งได้ครอบคลุมและถูกต้องเป็นส่วนน้อย

นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลในเรื่องท่ีตนเองสนใจ ตั้งหัวข้อวิจัย เขียนและเสนอเค้าโครงโครงงานหรือวิจัย ออกแบบการทดลองหรือวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ ด าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และแปลผล จัดท ารายงานโครงงานหรือวิจัย ได้รู้จักและเข้าใจตนเองดีขึ้นโดยทราบข้อดีและข้อบกพร่องของตนเอง

นักเรียนได้ฝึกทักษะในการน าเสนอผลงานโครงงานหรือวิจัย ในรูปแบบของการบรรยายแบบปากเปล่าและแบบโปสเตอร์ รวมทั้งสามารถอธิบายโครงงานของตนเองให้กับนักเรียนและผู้อื่นได้ เช่น การเป็นวิทยากรและวิทยากรพ่ีเลี้ยงในการอบรมการท าโครงงานให้กับโรงเรียนต่าง ๆ และน าเสนอผลงานในการประชุมวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ

นักเรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะส าคัญ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดและวางแผน ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ท าให้กล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผลมากขึ้นเป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี ท าให้เป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอ่ืนมากขึ้น และรู้จักการเป็นผู้ให้โดยเรียนรู้ว่าการให้เป็นความสุขอย่างหนึ่ง รู้จักการเคารพตนเองและผู้อ่ืน จากการท างานร่วมกันในบรรยากาศที่เป็นกันเอง มีความเป็นมิตร มีระเบียบวินัยในตนเองมากขึ้น

นักเรียนได้น าประสบการณ์ ความรู้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการกับการท าโครงงานหรืองานวิจัยได้

นักเรียนรู้จักคิดอย่างมีระบบมากขึ้น เพราะการเรียนรู้จากการท างาน ท าให้ต้องพยายามคิดพิจารณาหาค าตอบและวิธีการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักวิธีการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น รู้ว่าจะแสวงหาความรู้ตามแนวทางที่เหมาะสมกับตนเองได้อย่างไร

นักเรียนรู้จักแก้ปัญหาและตัดสินปัญหาอย่างมีเหตุผลมากข้ึน จากการฝึกฝนการวิเคราะห์ปัญหาและข้อมูลต่างๆที่พบในระหว่างการลงมือปฏิบัติ อันจะน าไปสู่การแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้

นักเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากการท างานที่มีโอกาสได้คิดสร้างสิ่งต่างๆ มีโอกาสได้ลองผิดลองถูก หรือการที่ได้พยายามแก้ปัญหาด้วยวิธีการคิดที่หลากหลายพยายามแก้ปัญหาโดยไม่ตีกรอบความคิดตนเองมากเกินไป

นักเรียนสามารถเผยแพร่ความรู ้ เป็นผู้น าด้านวิชาการ หรือให้ค าแนะน าในการท าโครงงานกับนักเรียนคนอื่นได้

นักเรียนที่จบการศึกษาของโรงเรียน สามารถน าประสบการณ์จากการท าโครงงานหรือวิจัยไปใช้ในการเรียนระดับที่สูงข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพ

Recommended