หน่วยการเรียนที่ ๕...

Preview:

Citation preview

หน่วยการเรียนท่ี ๕ การเขียนบทความแสดงความคิดเหน็

GEL2001 ภาษาไทยเชิงวิชาการ

ผูส้อน

อ.อาทิมา พงศไ์พบลูย ์

ความรู้พืน้ฐานเรื่องการเขียนบทความ

๑. ความหมายของบทความ

พจนานุกรมฉบบัราชบณัฑิตยสถาน (๒๕๔๒, หน้า ๖๐๒) ได้ให้ความหมายของบทความว่า “น. ข้อเขียนซ่ึงอาจจะเป็นรายงานหรือการแสดงความคิดเหน็ มกัตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ ์ วารสาร สารานุกรม เป็นต้น”

ความหมายของบทความ

ธิดา โมสิกรตัน์ (๒๕๕๒, หน้า ๑๐๙) ได้กล่าวถึงความหมายของบทความไว้ว่า

บทความเป็นงานเขียนท่ีมีการเรียบเรียงเน้ือหาสาระด้วยภาษาท่ีเป็นร้อยแก้ว ใช้สาํนวนโวหาร และลีลาการเขียนท่ีชวนอ่าน ให้ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบัข้อเท็จจริง เหตุการณ์ เรื่องราว ฯลฯ และความคิดเห็นในสาระเน้ือหาท่ีนําเสนอ โดยการอธิบายขยายความ การสนับสนุน การโต้แย้ง การแสดงเหตผุล ตวัอย่าง ฯลฯ

ความหมายของบทความ จนัทนา ทองประยรู และคณะ (๒๕๔๘, หน้า ๓๐๑) ได้

กล่าวถึงความหมายของบทความไว้ว่า

บทความเป็นความเรียงท่ีผูเ้ขียนพยายามเรียบเรียงเน้ือหา

ความคิด แล้วถ่ายทอดอย่างมีระบบ ด้วยลีลาภาษาท่ีเหมาะสม

บทความจึงเป็นข้อเขียนท่ีประกอบด้วยข้อเทจ็จริงบวกกบั

ข้อคิดเหน็และเหตผุลท่ีเช่ือถือได้ท่ีผูเ้ขียนแสดงออกเก่ียวกบั

เรื่องราวใดๆ น้ําหนักเน้ือหาของบทความอยู่ท่ีความน่าเช่ือถือ

ในความคิดเหน็ท่ีผูเ้ขียนนําเสนออย่างสมเหตสุมผลบนรากฐาน

ของข้อเทจ็จริงต่อเหตกุารณ์ใดเหตกุารณ์หน่ึงมากกว่าจะ

มุ่งรายงานข้อเทจ็จริง หรือให้ความรู้เพียงประการเดียวเท่านัน้

ความหมายของบทความ

ชลธิรา กลดัอยู่ และคณะ (๒๕๑๗, หน้า ๑๗๒) ได้

อธิบายความหมายของบทความไว้ว่า

บทความเป็นความเรียงแบบหน่ึงท่ีมีเรื่องราวจาก

ความจริง เป็นเรื่องท่ีกาํลงัอยู่ในความสนใจของคนทัว่ไป

ในขณะนัน้ หรือไมก่มี็เจตนาเขียนเพ่ือให้คนสนใจในเรื่อง

นั้นๆ โดยทันที เรื่องท่ีเขียนอาจมีลักษณะเป็นการ

วิเคราะห์ข้อขดัแย้งต่างๆ โดยมีการกล่าวถึงแหล่งอ้างอิง

ข้อมูล ท่ีสําคัญต้องมีการเสนอทัศนะข้อคิดเห็นบาง

ประการของผูเ้ขียนเองด้วย

ความหมายของบทความ

โดยสรปุแล้ว บทความ หมายถึง งานเขียน

ประเภทความเรียงร้อยแก้ว ท่ีมีการเรียบเรียง

เน้ือหาขึน้จากข้อเทจ็จริง โดยมีการแสดง

ความคิดเหน็ประกอบ อย่างสมเหตสุมผลและ

มีมุมมองท่ีแปลกใหม่น่าสนใจ

๒. ลกัษณะเฉพาะของบทความ

๒.๑ มีขนาดสัน้ บทความท่ีดีควรจบเป็น

ตอนๆ มีขนาดไม่ยาวจนเกินไป การเขียน

ย่อหน้าในบทความกค็วรมีขนาดสัน้ด้วย

๒. ลกัษณะเฉพาะของบทความ

๒.๒ เป็นเรื่องท่ีกําลงัได้รบัความสนใจ

มีเน้ือหาเก่ียวกบัเหตุการณ์หรือเรื่องราวท่ีกาํลงั

ได้รบัความสนใจในขณะนัน้ เช่น ไข้หวดัใหญ่

สายพนัธุ์ใหม่ ๒๐๐๙, เหตุการณ์แผ่นดินไหวท่ี

เฮติ, ภาวะโลกร้อน เป็นต้น

๒. ลกัษณะเฉพาะของบทความ

๒.๓ เป็นการวิเคราะห ์ การเขียนบทความ

ไม่ใช่การอธิบายให้ความรู้เท่านัน้ แต่ผูเ้ขียน

จะต้องแทรกความคิดเหน็ท่ีน่าเช่ือถือและเป็น

เหตเุป็นผลประกอบการเขียนบทความด้วย

ความคิดเหน็ดงักล่าว ต้องมีการคิดวิเคราะห ์

มาแล้วเป็นอย่างดี

๓. จดุมุ่งหมายของการเขียนบทความ

๓.๑ ให้ความรู้ การเขียนบทความอาจมีเน้ือหาท่ี

มุ่งให้ความรู้เฉพาะสาขาหรือความรู้ทัว่ไปกไ็ด้ บทความ

ท่ีมุ่งให้ความรู้เฉพาะสาขามกัมีลกัษณะเน้ือหาเฉพาะ

ทางเก่ียวกบัเรื่องใดเรื่องหน่ึง ผู้อ่านจึงควรมีพื้นความรู้

และความสนใจในเรื่องนั้นอยู่แล้ว จึงสามารถเข้าใจ

อย่างถ่องแท้ เพราะบางบทความอาจมีการใช้คาํศพัท์

เฉพาะด้านและคาํศพัทวิ์ชาการในเน้ือหาด้วย

ตวัอย่างเน้ือหาท่ีมุ่งให้ความรู้เฉพาะทาง เช่น

การแปรคาํศพัทภ์าษาไทยถ่ินใต้, บทพิโรธวาทงัใน

เรื่อง ขนุช้างขนุแผน, GMO พนัธวิุศวกรรมศาสตร ์

ให้คณุหรือโทษ เป็นต้น

๓. จดุมุ่งหมายของการเขียนบทความ

ส่วนเน้ือหาท่ีมุ่งให้ความรู้ทัว่ไป มกัมีเน้ือหาท่ี

มีเน้ือหาท่ีเข้าใจง่าย ผู้คนทัว่ไปสามารถอ่านได้

เป็นการเพ่ิมพนูความรู้ทัว่ไปในชีวิตประจาํวนั

ตวัอย่างเช่น มหศัจรรยช์าเขียว, น้ําเล้ียงข้อเข่า

สาํคญัอย่างไร, ความเครียดทาํให้อ้วนได้, ขมุทรพัย์

แห่งท้องทะเลตรงั เป็นต้น

๓. จดุมุ่งหมายของการเขียนบทความ

๓.๒ ให้ข้อมูล ผู้เขียนบทความอาจมีจดุมุ่งหมาย

ในการให้ข้อมูล นําเสนอข้อเทจ็จริงต่างๆ เช่น

วิธีออมเงินในยคุเศรษฐกิจฝืดเคือง, การออกกาํลงักาย

ให้เหมาะกบัรปูร่าง, โรคอบุติัใหม่และวิธีป้องกนั,

สร้างความเข้าใจ รู้จกัใช้น้ํามนัและกา๊ซธรรมชาติ

เป็นต้น

๓. จดุมุ่งหมายของการเขียนบทความ

๓.๓ ให้ความคิดเหน็ นอกจากการแสดง

ข้อเทจ็จริงในบทความ ผูเ้ขียนอาจมีจดุมุ่งหมาย

ในการแสดงความคิดเหน็หรือเสนอแนวคิดต่างๆ

ท่ีเป็นประโยชน์ต่อสงัคม อาจเป็นการ

วิพากษ์วิจารณ์ สนับสนุน โต้แย้ง เสียดสี หรือ

กระตุ้นให้คิด เช่น “แพนด้าฟีเวอร”์ กระแสท่ีเกิน

พอดีของคนไทย, กีฬา “สี” การเมืองไทย ไร้น้ําใจ

นักกีฬา, สอบเข้ามหาวิทยาลยัวิธีใหม่ ไฉไลหรือ

ถอยหลงัเข้าคลอง เป็นต้น

๓. จดุมุ่งหมายของการเขียนบทความ

๓.๔ ให้ความเพลิดเพลิน บทความบางเรื่อง

นอกจากให้ความรู้ความคิดแล้ว ยงัให้ความเพลิดเพลิน

อีกด้วย มกัปรากฏในบทความสารคดีท่องเท่ียว

ประวติัสถานท่ี ประวติับุคคล บทความสมัภาษณ์ เช่น

“เพลินวาน” วนัวานแสนหวานท่ีหวนคืน, บทสนทนา

“ภราดร” ทาํอะไร..ในวนัพกัผ่อน ก่อนหวนคืนสงัเวียน,

เซเลบ สไตล ์ เป็นต้น

๔. ประเภทของบทความ

๔.๑ บทความวิชาการ (Academic Article)

มีเน้ือหา เรื่องราวท่ีเสนอสาระความรู้และทรรศนะทาง

วิชาการ โดยตีพิมพใ์นวารสารต่างๆ ส่วนใหญ่เป็น

วารสารวิชาการของสถาบนัการศึกษา ซ่ึงวารสาร

วิชาการเหล่าน้ีมกัมีการตีพิมพเ์ป็นระยะสมํา่เสมอ

โดยมีผู้เช่ียวชาญเป็นผู้ตรวจคณุภาพของบทความ เช่น

วารสารภาษาและวรรณคดีไทย ของภาควิชาภาษาไทย

คณะอกัษรศาสตร ์ จฬุาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

ตวัอย่างวารสารวิชาการ

๔. ประเภทของบทความ

๔.๒ บทความวิเคราะห ์(Analytical Article) มีเน้ือหา

เก่ียวกบัการวิเคราะหเ์รื่องราว เหตกุารณ์ ปัญหา หรือ

วิกฤติการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงในสงัคม โดยผู้เขียนต้อง

ใช้หลกัวิชาการหรือทฤษฎีในการวิเคราะห ์ เพ่ือนําเสนอ

ข้อมูลอย่างมีน้ําหนัก เป็นเหตเุป็นผล ไม่มีอคติ ทาํให้

ผู้อ่านเกิดความเช่ือถือและยอมรบั

ผู้เขียนบทความวิเคราะหจึ์งควรมีความรู้

ความเช่ียวชาญในเรื่องท่ีเขียนอย่างแท้จริง รวมทัง้

รู้จกัเลือกใช้หลกัวิเคราะหท่ี์เหมาะสม เช่น

บทความวิเคราะหปั์ญหาการเมืองไทย บทความ

วิเคราะหวิ์กฤติการณ์ทางเศรษฐกิจดไูบเวิรล์

๔. ประเภทของบทความ

๔.๓ บทความแสดงความคิดเหน็ (Opinion Article)

บทความประเภทน้ีเขียนขึ้นเพ่ือแสดงความคิดเหน็ท่ีมี

ต่อเหตกุารณ์ เรื่องราว ประเดน็ปัญหาต่างๆ

มีการสาํรวจปัญหา รวบรวมข้อมูล ศึกษาท่ีมาของเรื่อง

แล้วจึงแสดงความคิดเหน็ของตนแทรกลงไป ทัง้น้ี

ความคิดเหน็ดงักล่าวควรเป็นความคิดเหน็ท่ีสร้างสรรค ์

แปลกใหม่ น่าสนใจ น่าเช่ือถือ และยงัไม่มีใครคิดเหน็

ในประเดน็นัน้มาก่อน

๔. ประเภทของบทความ

บทความแสดงความคิดเหน็สามารถตีพิมพใ์น

ส่ือส่ิงพิมพไ์ด้อย่างหลากหลาย ทัง้หนังสือพิมพ ์

นิตยสาร วารสาร เป็นต้น การเขียนบทความแสดง

ความคิดเหน็ ถ้าเขียนโดยผู้จดัพิมพจ์ะเรียกว่า บทนํา

หรือบทบรรณาธิการ นอกจากน้ียงัมีคอลมัน์ต่างๆ ท่ี

มีจดุเด่นท่ีแตกต่างกนั บางคอลมัน์มีนักเขียนหรือ

บุคคลท่ีมีช่ือเสียงเขียนบทความอยู่แล้วเป็นประจาํ

แต่บางคอลมัน์เปิดโอกาสให้ผู้สนใจส่งบทความไป

ตีพิมพไ์ด้

๔. ประเภทของบทความ

๔.๔ บทความเชิงวิจารณ์ (Critical Article)

มีเน้ือหาท่ีติชมและวิพากษ์วิจารณ์เรื่องใดเรื่องหน่ึง

ส่วนใหญ่มกัเป็นเรื่องเก่ียวกบัวรรณกรรม ศิลปะ

ดนตรี ภาพยนตร ์และการแสดงต่างๆ ผู้เขียนควรมี

หลกัการและทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องมาใช้ประกอบการ

วิจารณ์และการประเมินคณุค่า

๔. ประเภทของบทความ

บทความวิจารณ์ท่ีได้รบัความนิยมมาก

ได้แก่ บทวิจารณ์หนังสือ ถ้าเขียนในเชิงประเมิน

คณุค่า เรียกว่า บทวรรณกรรมวิจารณ์ ถ้าเขียน

ในเชิงแนะนําหนังสือ เรียกว่า บรรณนิทศัน์

(book review)

ตวัอย่างบทบรรณนิทศัน์ (บทแนะนําหนังสือ)

ความสขุของกะทิ เป็นเร่ืองของเดก็ผูห้ญิงวยั 10 ปี ช่ือกะทิ ซ่ึงใช้ชีวิตอยู่กบัตายาย โดยมีปริศนาแต่ต้นเร่ืองว่า พ่อกบัแม่ของเธออยู่ท่ีไหน วนัหน่ึงตายายกพ็ากะทิไปพบกบัแม่ซ่ึงกาํลงัป่วยหนัก กะทิได้มีโอกาสอยู่กบัแม่ในระยะเวลาอนัสัน้ แต่เป็นช่วงท่ีกะทิมีความสขุ กบัการอยู่กบัธรรมชาติ และความรกัท่ีได้รบัจากตายาย และญาติของแม่ และวนัหน่ึงแม่ได้จากกะทิไป

ปริศนาเร่ืองท่ีกะทิยงัสงสยัอีกเร่ืองหน่ึงกคื็อ เร่ืองของพ่อ และหลงัจากแม่ตายแล้วน้าและลงุได้พากะทิไปยงัสถานท่ีท่ีแม่เคยอาศยัอยู่กบักะทิก่อนท่ีแม่จะป่วย และได้เล่าเร่ืองราวของพ่อแม่ของกะทิให้ฟัง และมอบจดหมายท่ีแม่เขียนไว้ก่อนตาย เพ่ือให้กะทิตดัสินใจว่าจะไปอยู่กบัพ่อ หรือจะอยู่กบัตายายเหมือนเดิม โดยให้กะทิตดัสินใจท่ีจะส่งจดหมายไปหรือไม่ ตอนท้ายกะทิกต็ดัสินใจเลือกส่ิงท่ีตวัเองต้องการได้.....

หนังสือเล่มน้ี อ่านช่ือเรื่องแล้ว

เหมือนเป็นวรรณกรรมสาํหรบัเดก็ แต่

จริงๆแล้วแฝงไว้ด้วยแง่คิด ในการดาํเนิน

ชีวิตหลายเรื่อง ถ้อยคาํในหนังสือ ใช้คาํท่ี

ง่ายๆ แต่กินใจ เตม็ไปด้วยอารมณ์ และ

ความรู้สึก อ่านแล้วรู้สึกอ่ิมใจ

มีถ้อยคาํหลายคาํในหนังสือ ท่ีให้ทัง้

ความรู้สึกสะเทือนใจ และสขุใจ

ตวัอย่างบทวิจารณ์หนังสือ (บทวรรณกรรมวิจารณ์) ความสขุของกะทิ: การเขียนของผูห้ญิงในร่างแหอาํนาจของผูช้าย

นัทธนัย ประสานนาม

คงไม่ถกูตาํหนิว่าล้าสมยัเกินไปหากจะหยิบนวนิยายเร่ือง ความสขุของกะทิ ผลงานของงามพรรณ เวชชาชีวะท่ีได้รบัรางวลัซีไรต์มาวิจารณ์อีกครัง้ สืบเน่ืองมาจากบทวิจารณ์ของอาจารยพ์รธาดา สวุธันวนิช ใน มติชนสดุสปัดาห ์ท่ีกล่าวว่า ความสขุของกะทิ ทัง้เล่มท่ีได้รางวลัและ ตอนตามหาพระจนัทร ์เป็นการเขียนของผูห้ญิง (Woman Writing) เพราะเสนอมิติทางอารมณ์อนัละเอียดอ่อนลึกซ้ึงของผูห้ญิง การตดัสินใจเลือกทางเดินชีวิตของตนเองโดยผูห้ญิงท่ีแสดงให้เหน็ว่าอารมณ์นัน้เป็นฐานของเหตผุล ตลอดจนอธิบายความรกัรปูแบบต่างๆท่ีปรากฏในเร่ือง

บทวิจารณ์ท่ีอ้างถึงข้างต้นน่าจะเข้าข่ายเป็นการ

วิจารณ์แนวสตรีนิยมเพราะกล่าวถึงการเมืองของผูห้ญิง ใน

ท่ีน้ีผูวิ้จารณ์จึงขออ่านงานเขียนของงามพรรณด้วย “แว่น”

ของสตรีนิยมเช่นกนั แต่แทนท่ีจะมุ่งแสวงหาตวัตนของ

ผูห้ญิง ผูวิ้จารณ์จะขอเปิดโปงระบบคิดท่ีอยู่ภายใต้อาํนาจ

ชายเป็นใหญ่หรือปิตาธิปไตย (Patriarchy) ในนวนิยายทัง้

สองเล่มน้ี

ตวัอย่างบทวิจารณ์ภาพยนตร ์

“วนัไหน ๆ หวัใจกมี็ความสขุ” ประโยคข้อความเลก็ ๆ บน

โปสเตอรใ์บใหญ่ยกัษ์ พร้อมด้วยหน้าตาเดก็หญิงวยัใส ย้ิมแย้ม

แววตาบง่บอกถึงความสขุในแบบฉบบัป่ินโตท่ีบรรจไุว้ทกุชัน้

ความสขุของกะทิ โดย กลุ่มผู้สร้างภาพยนตรน้์องใหม่

ภาพยนตรช์ูใจ ผลงานกาํกบัของ เจนไวย ์ทองดีนอก

ผลงานภาพยนตรท่ี์ใครหลาย ๆ คนอาจคุ้นเคยกบัช่ือ

เรื่องท่ีคุ้นห ูจากสดุยอด นวนิยายเรื่องสัน้รางวลัซีไรทปี์

๒๕๔๙ ผลงานเขียนของ คณุงามพรรณ เวชชาชีวะ

ท่ีสร้างความสนุกบนหน้าหนังสือท่ีทาํให้ใครหลายต่อ

หลายคนหลงรกัมาแล้ว

วนัน้ีกลายเป็นภาพยนตรท่ี์สร้างรอยย้ิม

ต้อนรบั วนัเดก็แห่งชาติ ของขวญัท่ีทาํเอาผูใ้หญ่

บางคนถึงกลบัหลัง่น้ําตาแห่งภาพความประทบัใจ

ของหนูน้อย กะทิ รบับทโดย น้องพลอย ภสัสร

คงมีสขุ นักแสดงวยัใสท่ีทาํเอาผมหลงรกัในความ

น่ารกัของเธอตัง้แต่แรกเหน็

แม้ว่าน่ีจะเป็นการแสดงของเธอครัง้แรก การถ่ายทอดความเป็น กะทิ ในฉบบัภาพยนตร ์อาจจะดูเรียบง่าย ธรรมดา แต่ในความเรียบง่ายกลบัทาํให้ผม และคอหนังบางคนร่วมเข้าสู่วยัเดก็อีกครัง้ วยัท่ีต้องการความเอาใจ ความอยากรู้ และการเกบ็งาํความรู้สึกลึก ๆ ต่อโชคชะตาท่ีอาจจะต้องสญูเสียคนท่ีรกั แต่ในความมืดมนกม็กัจะมีแสงแห่งความสขุจากคนท่ีรกัเราเช่นกนั

ด้วยเรื่องราวชวนอบอุ่นในความรกัท่ีเกิดจาก

ผู้เป็นตา และยายท่ีโอบอุ้มเดก็น้อยท่ีปราศจากความ

ใกล้ชิดจากแม่ พ่อ ด้วยเหต ุและผลท่ีใครกมิ็อาจล่วงรู้

แต่ความรู้สึกของเดก็หลาย ๆ คนอาจเฝ้าแต่ตัง้

คาํถามว่า แม่ไปไหน แม่จะกลบัมาเมื่อไหร่ อีกสารพดั

เพราะเดก็คือ พลงับริสทุธ์ิท่ีต้องถกูหล่อเล้ียงด้วย

ความรกั มากกว่าการป้อนความรกัท่ีไม่เคยเอ่ยถาม

กะทิ จึงเป็นตวัละครท่ีบ่งบอกถึงความรู้สึกท่ีอยู่

ภายในใจ คาํถามท่ีเฝ้าเวียนวน แต่ไม่เคยได้เอ่ย อาจ

ด้วยเพราะสภาพแวดล้อมแห่งบ้านหลงัน้ี ธรรมชาติท่ี

ปกคลมุให้ได้รบัไออุ่น ท้องนาสีเขียวขจี และการถกู

เรียกหาทุกเช้าจากยาย เพ่ือให้ทาํกิจวตัร ตกับาตร

ตามแบบวฒันธรรมไทยดัง้เดิม ซึมซบัจนกลายเป็น

เกราะภมิูคุ้มกนัให้แขง็แรง

และน่ีคือ ความรกั ท่ี กะทิ ได้รบั แต่ในอีกมุม

หน่ึงเดก็ อาจต้องการบอกส่ิงท่ีอยู่ในใจนัน่คือ

การได้เจอแม่ผูเ้ป็นท่ีรกั รบับทโดย รชันก แสงชูโต

ท่ีแสดงได้ถึงอารมณ์ความรกัของแม่

ย่ิงภาพลกูนอนหนุนตกั แต่แม่ไม่สามารถ

แม้แต่เอ้ือมมือสมัผสัลกู ทาํได้เพียงส่งสายตาท่ี

เอ่อล้นด้วยความรกั ย่ิงเหน็แล้วน้ําตาไหลลงมา

อาบแก้มจนผมต้องเบอืนหน้าหนี ใช่ว่าความ

ประทบัใจของภาพยนตรเ์รื่องน้ี จะเป็นความ

สดใส น่ารกัของ หนูน้อย กะทิ เท่านัน้

แต่คนรอบกายท่ีร่ายล้อม คณุตา ท่ีเสมือนเป็นดัง่แสงอาทิตยค์อยสาดส่องทุกอณูของหวัใจให้เดก็หญิงเข้มแขง็ รบับทโดย สะอาด เป่ียมพงษ์สานต ์นักแสดงรุ่นเก๋าท่ีฝีมือฉกาจหาตวัจบัยากท่านหน่ึง การถ่ายทอดความรกัระหว่างตากบัหลาน ทาํให้ผมรู้สึกถึงความอบอุ่นได้อย่างสขุใจ ผสมผสานกบัคาํพดูท่ีชวนให้อมย้ิม อย่าง ตอนท่ีตาบอกหลานว่า สงสยัคณุยายหวงย้ิมไว้อดักระป๋องส่งนอก เป็นประโยคเดด็ท่ีทาํเอาคอหนังทัง้หลายอมย้ิมทุกครัง้เมื่อได้ฟัง

ความเรียบง่ายของฉาก ภาพบรรยากาศ

บา้นทรงไทย ทุ่งหน้าสองข้างทาง หรือแม้กระทัง่

ศาลาริมน้ํา ต้องบอกได้เลยว่า น่ีคือธรรมชาติใน

ชนบทท่ียงัคงอดุมไปด้วยต้นไม้ใบหญ้าท่ีเขียวขจี

บอกได้คาํเดียวว่า เลือกสถานท่ีได้ตรงกบัตวัของ

กะทิ จริง ๆ

การดาํเนินเรื่องค่อนข้างเป็นไปอย่างช้า ๆ

วิถีชีวิตของคนในท้องถ่ินชนบท ไม่ฟุ้ งเฟ้อ ความสขุท่ี

ก่อตวัเกิดขึน้ตามสภาพแวดล้อมท่ีเป็นอยู่ อาจจะ

ติดขดัในบางฉากดแูล้วอาจขดัตาสกัเลก็น้อย เพราะ

ไม่ปะติดปะต่อเท่าไร จดุน้ีจึงทาํให้เสียอรรถรส

เน่ืองจากบางตอนดแูล้วไม่ล่ืนไหล

ความพอดีของเน้ือเรื่อง หากใครหลายต่อหลายคน

ได้อ่านในแบบฉบบัหนังสือมาก่อนหน้าน้ี อาจผิดหวงั

เลก็น้อยในส่วนของตวั กะทิ ซ่ึงในหนังสือ กะทิเป็นเดก็

ร่าเริงสดใส แม้จะมีคาํถามเวียนวนภายในใจ แต่

ความสขุกมี็ได้ในตามวิถีทางท่ีเป็น น่ีจึงเป็นส่ิงท่ีท้าทาย

ในการนํามาทาํเป็นภาพยนตร ์เพราะต้องทาํอย่างไรกบั

คนดท่ีูได้อ่านเน้ือเรื่องจากหนังสือ และคนท่ียงัไม่เคยได้

อ่านให้เกิดความประทบัใจได้

แต่โดยรวม ๆ แล้วยงัทาํออกมาได้ดี ความ

เรียบง่าย แสนธรรมดา กลบัเป็นจดุเร่ิมต้นท่ีทาํให้

ผู้ใหญ่บางคนได้กลบัไปหวนคิด คาํนึงในความรู้สึก

ของเหล่าเดก็ตวัน้อย ความใสซ่ือบริสทุธ์ิมกัจะถกู

ฉาบไปด้วยความรกั ความปรารถนาดี แต่บางครัง้

ผู้ใหญ่อย่างเรา ๆ ต้องเปิดหวัใจและรบัฟังเสียงเลก็ ๆ

ของเดก็ ๆ ดบู้าง

เพราะความสขุเกิดขึน้ได้ทุกเมื่อ แม้จะอยู่บนพื้นท่ีแห่งใดในโลกใบน้ี ส่ิงท่ีสาํคญัคือ การเอียงห ูแล้วถามกลบัไปว่า วนัน้ีหนูมีความสขุแล้วหรือยงั

"ไม่ว่าจะยืนอยู่มุมไหนบนโลกใบน้ี แต่อย่างน้อยกย็งัได้มองพระจนัทรด์วงเดียวกนั"

โดย นายมูฟว่ี

๔. ประเภทของบทความ

๔.๕ บทความสารคดี (Feature Article) มี

เน้ือหาท่ีเป็นความรู้และประสบการณ์ตรงของผู้เขียน

อาจเป็นข้อมูลท่ีได้จากการประสบพบเจอด้วยตนเอง

หรือจากการศึกษาค้นคว้าหรือสมัภาษณ์ แล้วนํามา

รวบรวมเรียบเรียงให้เป็นเรื่องท่ีสมบูรณ์ แปลกใหม่

และน่าสนใจ

๔. ประเภทของบทความ

การใช้ภาษาในบทความสารคดี มกัใช้ภาษา

ไม่เป็นทางการ ทาํให้เกิดความรู้สึกเป็นกนัเอง

เสมือนการเล่าสู่กนัฟัง ทัง้น้ีอาจใช้ภาพประกอบเพ่ือ

ช่วยเพ่ิมความเข้าใจ และน่าสนใจย่ิงขึ้น ตวัอย่าง

บทความสารคดี เช่น บทความสารคดีท่องเท่ียว

บทความสารคดีชีวประวติับุคคล บทความสารคดี

เกรด็ความรู้ต่างๆ เป็นต้น

๔. ประเภทของบทความ ๔.๖ บทความสมัภาษณ์ (Interview Article)

มีเน้ือหาท่ีได้ข้อมลูจากการสมัภาษณ์ ส่วนมากมกั

มีเน้ือหาสาระเก่ียวกบัการแสดงความคิดความเหน็

ของบุคคลท่ีมีต่อเหตกุารณ์ เรื่องราว ประเดน็

ปัญหา หรือสถานการณ์ในขณะนัน้ ผู้ให้สมัภาษณ์

อาจเป็นบุคคลท่ีมีช่ือเสียง เป็นผู้รู้ในเรื่องนัน้ๆ

เป็นผู้ประสบปัญหา หรอืมีมุมมองท่ีแปลกใหม่

เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือและเหมาะสมกบัเรื่อง

ท่ีเขียน

ตวัอย่างบทความสมัภาษณ์ เช่น

สมัภาษณ์ สทุธิ อชัฌาศยั “มาบตาพดุจะต้องไม่

ขยายอีกต่อไป”

ลกัษณะของ

ผูเ้ขียนบทความท่ีดี

ควรเป็นอย่างไร

๕. ลกัษณะของผูเ้ขียนบทความท่ีดี

เจือ สตะเวทิน (๒๕๐๙,หน้า ๓๙๔) ได้กล่าวถึง

การเขียนบทความว่า “ผู้เขียนบทความต้องกล้าแสดง

ความคิดเหน็ส่วนตวัของผู้เขียนอย่างไม่หวาดหวัน่ว่า

คนอ่ืนเขาจะไม่เหน็ด้วย ให้เขียนออกมาเถิด ผู้อ่าน

อยากเหน็บุคลิกลกัษณะของผู้เขียน ผู้เขียนเป็นตวั-

ของตวัเองได้มากเท่าใด บทความกจ็ะมีค่ามากย่ิงขึ้น

เท่านัน้”

๕. ลกัษณะของผูเ้ขียนบทความท่ีดี

ชลอ รอดลอย (๒๕๕๑, หน้า ๗๒ - ๗๓) ได้ให้

คาํแนะนําสาํหรบัผู้เขียนบทความท่ีดี สรปุได้ดงัน้ี

๑) ผู้เขียนบทความท่ีนําข้อเทจ็จริงท่ีมีลกัษณะ

เป็นตวัเลข สถิติและแผนภมิูมาแสดง จะต้อง

ระมดัระวงัมิให้ฟุ่ มเฟือย มิฉะนัน้จะทาํให้ผู้อ่านเบื่อ

๕. ลกัษณะของผูเ้ขียนบทความท่ีดี

๒) ผู้เขียนบทความควรใช้เรื่องเกรด็ความรู้

ท่ีเหมาะสมมาประกอบ แต่ทฤษฎีน้ีต้องอาศยั

ความฉลาดของผู้เขียน ความสาํคญัอยู่ท่ีว่า ผู้เขียน

ต้องใคร่ครวญให้เหมาะว่าควรนําเกรด็ความรู้ไว้

ตรงส่วนใด

๕. ลกัษณะของผูเ้ขียนบทความท่ีดี

๓) ผู้เขียนบทความควรอ้างคาํพดูของ

เจ้าของตาํราหรือผู้เช่ียวชาญในวิชาเฉพาะต่างๆ

การเขียนบทความท่ีดีต้องอาศยัการอ้างคาํพดูของ

ผู้ท่ีมีช่ือเสียงหรือมีความเช่ียวชาญในด้านนัน้ๆ

เพราะผู้เขียนเองอาจเป็นเพียงนักเขียนธรรมดา

ไม่ใช่ผู้เช่ียวชาญในวิชาเฉพาะอย่างใดเป็นพิเศษ

๕. ลกัษณะของผูเ้ขียนบทความท่ีดี

๔) ผู้เขียนบทความควรใช้การแปรเรื่อง หรือ

วิธีการยกัย้ายความคิดแง่อ่ืนบ้าง กล่าวคือ ใช้วิธีการ

ตัง้คาํถามแก่ผู้อ่านไว้เสมอ แล้วจึงคล่ีคลายคาํตอบ

ไว้เป็นชัน้ๆ โดยปกติคาํถามเพ่ือแปรเรื่องเช่นน้ี

มกัทาํให้บทความดีขึ้นเพราะทาํให้เกิดย่อหน้าขึ้น

อย่างน้อย ๒ – ๓ ย่อหน้า

๕. ลกัษณะของผูเ้ขียนบทความท่ีดี

๕) ผู้เขียนบทความควรให้ความสาํคญักบั

การลงท้าย ส่วนลงท้ายของบทความเขียนได้ยาก

มาก ผู้เขียนต้องศึกษาจากบทความของตนอย่าง

รอบคอบ การลงท้ายทาํได้หลายวิธี เช่น วิธีสรปุ

อย่างรวบรดั วิธีตะล่อมให้ผู้อ่านเหน็จดุเด่นท่ี

ปรารถนา หรือวิธีท้ิงท้ายให้คิด

๖. องคป์ระกอบของบทความ

๖.๑ เน้ือหา การเขียนบทความสามารถเลือกเขียนเน้ือหาได้หลากหลาย เช่น ศิลปวฒันธรรม ประวติัศาสตร ์ โบราณคดี ภาษาศาสตร ์ การศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สงัคม เป็นต้น เน้ือหาของบทความควรเป็นสาระเรื่องราวท่ีชดัเจน มีข้อมูลท่ีถกูต้อง ไม่บิดเบือนข้อมูล ผู้เขียนอาจศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลได้จากหลายแหล่ง เช่น ส่ือส่ิงพิมพ ์ ส่ืออิเลก็ทรอนิกส ์ การสมัภาษณ์ การสงัเกต หรือจากประสบการณ์ของผู้เขียนเอง

๖. องคป์ระกอบของบทความ

๖.๒ ความคิดเหน็ ผู้เขียนบทความควร

นําเสนอความคิดเหน็ท่ีแปลกใหม่ สร้างสรรค ์ น่าสนใจ

เท่ียงตรง มีเหตผุล และไม่มีอคติในการนําเสนอข้อมูล

ผู้เขียนอาจถ่ายทอดความคิดของตน เพ่ือสะท้อนปัญหา

เปิดประเดน็หรือแง่มุมใหม่ๆ ท่ียงัไม่มีใครเขียนมาก่อน

หรืออาจกระตุ้นให้ผู้อ่านเหน็ความสาํคญัของเรื่องนัน้

กไ็ด้

๖. องคป์ระกอบของบทความ

๖.๓ วิธีการเขียน การเขียนบทความให้

น่าสนใจนัน้ ขึน้กบัองคป์ระกอบหลายประการ

เช่น เน้ือหา ภาษา การลาํดบัความ

ความสร้างสรรค ์ เป็นต้น ผูเ้ขียนจึงควรมี

ความตัง้ใจและเอาใจใส่รายละเอียด เพ่ือให้

เกิดความสละสลวยชวนติดตาม

วิธีการเขียน

ทองคณู หงสพ์นัธุ ์ (๒๕๔๓, หน้า ๓๒ - ๓๓) ได้สรปุ

หลกัการเขียนบทความท่ีสาํคญัไว้ดงัน้ี

– มีจดุมุ่งหมายแน่นอนว่าจะพดูถึงอะไร หวงัผลอย่างไร

– ตวัเร่ืองจะต้องแบง่ออกให้เป็นสดัส่วน ให้คาํนํา

ตวัเร่ือง คาํลงท้ายสอดคล้องกนัอย่างเหมาะสม และ

เป็นเร่ืองให้ความคิดประเทืองปัญญา

หลกัการเขียนบทความ

– สาํนวนภาษาต้องอ่านง่าย ชวนให้ติดใจ ถ้อยคาํ

ไพเราะ ภาษารื่นห ูและมีลกัษณะเป็นของตวัเอง

– อภิปรายไขปัญหาให้แจ่มกระจ่าง

– กล้าท่ีจะแสดงความคิดอย่างตรงไปตรงมาและ

เป็นตวัของตวัเอง

หลกัการเขียนบทความ

– อ้างอิงข้อเทจ็จริงประกอบโดยเอาข้อเทจ็จริง

เป็นข้อพิสจูน์

– มีความฉลาดหลกัแหลมท่ีจะหาเกรด็ท่ี

เหมาะสมมาประกอบ

– อ้างอิงคาํพดูของบุคคลท่ีพอเช่ือถือได้ และ

ตาํราท่ีทุกคนยอมรบั

– แปรประเดน็ให้เหน็แง่คิดต่างๆ หลายแง่มุม

หลกัการเขียนบทความ

– มีคาํท้ิงท้าย เพ่ือให้ผูอ่้านได้คิดได้เหน็

จดุเด่นท่ีเราปรารถนา ซ่ึงโดยปกติจะอยู่

ย่อหน้าสดุท้าย

– เลือกเรื่องเขียนท่ีคนกาํลงัสนใจ

– ตัง้ช่ือให้เหมาะสมและชวนอ่าน

๗. ความแตกต่างระหว่างบทความกบังานเขียนอ่ืน

๗.๑ เรียงความ ตัง้แต่ผูเ้รียน

เรียนหนังสือในวยัเดก็เป็นต้นมา มกั

คุ้นเคยกบัการเขียนเรียงความ การเขียน

เรียงความนัน้มีลกัษณะท่ีแตกต่างจาก

บทความบา้ง กล่าวคือ การเขียน

เรียงความเป็นแบบฝึกการเขียนท่ีผูส้อน

กาํหนดหวัข้อและจาํนวนหน้า ซ่ึงหวัข้อ

มกัไม่ยากเกินไป สามารถหาข้อมลูหรือ

แสดงความคิดได้ง่าย

ตวัอย่างหวัข้อเรียงความ

- วนัแม่แห่งชาติ

- สนุทรภู่ : กวีเอกของโลก

- โรงเรียนของฉัน

- การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

- ความสาํคญัของภาษาไทย

เป็นตน้

ความแตกต่างระหว่างบทความกบัเรียงความ

ด้านเน้ือหาและภาษา

ผูเ้ขียนเรียงความมีหน้าท่ีเรียบเรียงความรู้และ

ประสบการณ์ แล้วถ่ายทอดด้วยภาษาท่ีเป็นทางการหรือ

ก่ึงทางการ แต่การเขียนบทความจะมีอิสระในการเขียน

ทัง้เร่ืองเน้ือหาและภาษามากกว่าเรียงความ

ด้านการแสดงความคิดเหน็

การเขียนบทความจะมีหลกัการเป็นเหตเุป็นผล

และแปลกใหม่มากกว่าเรียงความ

ความแตกต่างระหว่างบทความกบัเรียงความ

ด้านการเผยแพร่

เรียงความมกัเผยแพร่อยู่ในโรงเรียนเป็น

ส่วนใหญ่ อาจมีการเผยแพร่ภายนอกบา้งในกรณี

ท่ีมีการจดัประกวดการเขียนเรียงความ แต่ในการ

เขียนบทความมีการตีพิมพแ์ละเผยแพร่อย่าง

หลากหลาย ทัง้หนังสือพิมพ ์ นิตยสาร วารสาร

ใบปลิว ส่ืออิเลก็ทรอนิกส ์ อินเทอรเ์น็ต เป็นต้น

๗. ความแตกต่างระหว่างบทความกบังานเขียนอ่ืน

๗.๒ ข่าว ข่าวและบทความเป็นการ

นําเสนอข้อเทจ็จริงเหมือนกนั แต่มีเวลาและ

รายละเอียดท่ีต่างกนั กล่าวคือ การเขียนข่าว

ต้องรวดเรว็ทนัเหตกุารณ์ และต้องรวบรวม

รายละเอียดให้มากท่ีสดุ หรืออาจมีการ

สมัภาษณ์ผูท่ี้เก่ียวข้อง แต่การเขียนบทความ

ไม่จาํเป็นต้องรวดเรว็ทนัเหตกุารณ์เหมือนข่าว

ความแตกต่างระหว่างบทความกบัข่าว

บทความอาจเขียนหลงัจากข่าวนัน้เกิด

ขึน้มาสกัระยะหน่ึง ทัง้น้ีเพราะผูเ้ขียนต้องหา

ท่ีมาและข้อมูลต่างๆ มาประกอบ อีกทัง้ต้อง

เสนอความคิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะต่างๆ

ด้วย แต่การนําเสนอข่าวจะเน้นการนําเสนอ

เฉพาะข้อเทจ็จริงเป็นสาํคญั

๘. ประโยชน์ของการเขียนบทความ

๘.๑ เพ่ิมพนูความรู้ความคิดให้กบับุคคลท่ีมี

ความสนใจคล้ายคลึงกนั หรือมีอาชีพ

เดียวกนั

๘.๒ เพ่ิมพนูความรู้ของผู้เขียนให้กระจ่างแจ้ง

ย่ิงขึ้น ทัง้น้ีเพราะในการเขียนบทความ

ผู้เขียนต้องศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพ่ิมเติม

๘. ประโยชน์ของการเขียนบทความ

๘.๓ สร้างผลงานและช่ือเสียงให้กบัตนเอง

และหน่วยงานท่ีตนสงักดัอยู่

๘.๔ เพ่ิมพนูรายได้และสร้าง

ความก้าวหน้าในด้านอาชีพการงาน

ของตนเอง

คาํถามทบทวน

๑. “บทความ” จดัเป็นงาน

เขียนประเภทสารคดีหรือ

บนัเทิงคดี

ตอบ สารคดี

คาํถามทบทวน

๒. การแสดงความคิดเหน็ในบทความ

ควรแสดงความคิดลกัษณะใด

ตอบ แปลกใหม่ สร้างสรรค ์

น่าสนใจ เท่ียงตรง มีเหตผุล

และไม่มีอคติ

คาํถามทบทวน

๓. “บทความ” มกัตีพิมพใ์น

ส่ือส่ิงพิมพใ์ดบ้าง

ตอบ หนังสือพิมพ ์

นิตยสาร วารสาร เป็นต้น

คาํถามทบทวน

๔. ความเรียงหรือข้อเขียน

แสดงความคิดเหน็ท่ี

ปรากฏในอินเทอรเ์น็ต

เรียกว่าเป็น “บทความ”

ได้หรือไม่

ตอบ ได้

บทความแสดงความคิดเหน็

บทความแสดงความคิดเหน็

เป็นบทความท่ีเขียนเพ่ือ

แสดงความคิดเหน็ต่อเรื่องราว

เหตกุารณ์ ปัญหา วิกฤติการณ์

หรือเรื่องใดเรื่องหน่ึง ผูเ้ขียน

ควรมีความคิดเหน็ท่ีน่าสนใจ

แปลกใหม่ มีประโยชน์ในการ

สร้างสรรคส์งัคม

การเขียนบทความแสดงความคิดเหน็ มีทัง้

การนําเสนอข้อเทจ็จริงท่ีเป็นเรื่องราว หรือ

เหตกุารณ์ท่ีกาํลงัได้รบัความสนใจในขณะนัน้

เป็นประเดน็ปัญหา หรือเป็นเรื่องทัว่ไปท่ี

น่าสนใจ โดยมีการแสดงความคิดเหน็ประกอบ

อย่างเป็นเหตเุป็นผล น่าเช่ือถือ

การเขียนบทความแสดงความคิดเหน็

เพ่ือเป็นการสะท้อนปัญหา เสนอแนะแนวทาง

แก้ไข กระตุ้นให้เหน็ความสาํคญั ช้ีให้เหน็คณุและโทษ

เป็นต้น การเขียนบทความแสดงความคิดเหน็สามารถ

แสดงความคิดความเหน็ได้อิสระ โดยไม่จาํเป็นต้องใช้

ภาษาแบบทางการหรือก่ึงทางการเท่านัน้ สามารถใช้

ภาษาปากปนได้บ้าง เพ่ือเน้นอารมณ์ความรู้สึก

สะท้อนตวัตนและอตัลกัษณ์ของผู้เขียน

๑. ลกัษณะของบทความแสดงความคิดเหน็

๑.๑ ผูเ้ขียนเป็นผูแ้สดงความคิดเหน็ของตนเอง การเขียน

บทความลกัษณะน้ีได้รบัความนิยมเป็นจาํนวนมาก เป็นการแสดง

ความคิดเหน็ของผูเ้ขียนเองท่ีมีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงหรือเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง

อาจเหน็ด้วยหรือไม่เหน็ด้วยกไ็ด้ อีกทัง้อาจมีการเสนอแนะ ประเมิน

ค่า และวิพากษ์วิจารณ์ประกอบด้วย

๑.๒ ผูเ้ขียนโต้ตอบหรือโต้แย้งความคิดเหน็ของผูอ่ื้น การเขียน

บทความแบบโต้ตอบความคิดของผูอ่ื้นน้ี เกิดขึ้นจากการท่ีผู้เขียน

บทความมีความเหน็ไม่สอดคล้องกบัผูเ้ขียนบทความท่ีเขียนมาก่อน

หน้า จึงได้เขียนบทความโต้ตอบขึ้น เพ่ือช้ีแจงหรือโต้แย้งด้วยเหตผุล

๒. โครงสรา้งของการแสดงความคิดเหน็

การแสดง

ความคิดเหน็

ท่ีมา ข้อสนับสนุน ข้อสรปุ

๒. โครงสร้างของการแสดงความคิดเหน็

๒.๑ ท่ีมา เป็นการกล่าวถึงเหตท่ีุทาํให้เกิดการ

แสดงความคิดเหน็

๒.๒ ข้อสนับสนุน เป็นการกล่าวถึงเหตผุล ซ่ึง

อาจเป็นหลกัการหรอืข้อเทจ็จริงท่ีนํามาสนับสนุน

หรือเสริมให้ข้อมูลชดัเจนขึ้น

๒.๓ ข้อสรปุ เป็นการแสดงความคิดเหน็ว่าจะ

สนันิษฐาน เสนอแนะ ประเมินค่า วิพากษ์วิจารณ์

วิเคราะห ์ วินิจฉัยเก่ียวกบัเรื่องนัน้ๆ

โครงสร้างของการแสดงความคิดเหน็

ท่ีมา

การตาํหนิเรื่องการใช้ภาษาต่างประเทศปน

ภาษาไทยน้ี ผู้ตาํหนิมกัจะทาํเป็นลืมเรื่องภาษาแขกกบั

ภาษาเขมร แต่หนัมาเล่นงานภาษาองักฤษเป็นหลกั

ในข้อความว่า “การใช้ไทยคาํองักฤษคาํไม่เหมาะ”

บางครัง้กเ็ลยไปถึงเรื่องการตัง้ช่ือว่าไม่จาํเป็นต้องใช้

ภาษาองักฤษกไ็ด้

โครงสร้างของการแสดงความคิดเหน็ ข้อสนับสนุน

“จามจรีุสแควร”์ กเ็ลยต้องมีช่ือไทยควบคู่ไปด้วยว่า “จตัรุสัจามจรีุ” ซ่ึงอนัท่ีจริงน่าจะเป็น “ลานจามจรีุ” เสียมากกว่า เพราะ “จตัรุสั” มาจากภาษาแขก

อนัท่ีจริงการใช้คาํไทยปนองักฤษน้ีกมี็อยู่ในภาษาไทยมาช้านานแล้ว อย่างน้อยเดือนละ ๒ ครัง้ คนไทยต้องนึกถึง “เรียงเบอร”์ คาํน้ีอยู่ในลกัษณะ “ไทยคาํองักฤษคาํ” อย่างชดัเจนมาก บางครัง้เรากนํ็าคาํองักฤษ ๒ คาํมาสร้างเป็นคาํไทยได้อย่างแนบเนียน เช่น “เชค็บิล” ท่ีฝรัง่ต้องงงว่ามนัแปลว่า “เกบ็เงิน” ได้อย่างไร

ลกัษณะเช่นน้ีเป็นลกัษณะธรรมชาติของภาษาท่ียงัไม่ตาย ญ่ีปุ่ นก็ยงันําคาํองักฤษ ๒ คาํ มาสร้างเป็นคาํญ่ีปุ่ นได้อย่าง “salaryman” ท่ีคนไทยเอามาแปลต่อว่า “มนุษยเ์งินเดือน”

โครงสร้างของการแสดงความคิดเหน็ ขอกลบัมาท่ี “ทีฆายโุก โหต ุ มหาราชา” และ “ทรงพระเจริญ” อีกครัง้

ตอนน้ีมีการหนีจากแขกและเขมรไปเป็นองักฤษกนัแล้วคือ

“Long Live The King”

หรือท่ีไพเราะอย่างย่ิงเม่ือตอนปลายปี ๒๕๕๒ กคื็อ

“King of Kings”

และ

“The Greatest of the Kings, The Greetings of the

Land”

ประโยคหลงัน้ีมีสมัผสัในตามแบบไทยเสียด้วย

โครงสร้างของการแสดงความคิดเหน็

ข้อสรปุ

เหน็ไหมว่า ถ้าผสมผสานกนัดีๆ ไม่ว่า

ภาษาไหนท่ีแตกต่างกนั กส็ามารถอยู่ร่วมกนั

ได้อย่างราบร่ืนและงดงาม

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๑ การสนับสนุน ผูเ้ขียน

แสดงความคิดเหน็ในเชิงสนับสนุน

เร่ืองราวหรือเหตกุารณ์ท่ีเกิดขึน้ จึง

มีเจตนาเขียนเพ่ือส่งเสริมสนับสนุน

และให้กาํลงัใจต่อเร่ืองนัน้ๆ

ตวัอย่าง

ถึงแม้จะมีหลายฝ่ายไม่เหน็ด้วยกบัการสอบวดั

มาตรฐานท่ีมีเน้ือหาค่อนข้างยากและเกินหลกัสตูร แต่

ผมเหน็ว่าเป็นการสอบท่ีวดัก๋ึน ทัง้ความรู้ ความคิด

รวมทัง้ปฏิภาณไหวพริบในการตดัสินใจ หากเดก็ไทยได้

ฝึกทาํข้อสอบแบบน้ีบ่อยๆ คงจะพฒันาสติปัญญาได้

มาก ผู้เรียนดวงดีท่ีรอการมัว่ถกูคงต้องปรบัปรงุตนเอง

ใหม่ ให้เท่าทนัข้อสอบมาตรฐานในปัจจบุนั

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๒ การโต้แย้งคดัค้าน ผูเ้ขียน

แสดงความคิดเหน็ในเชิงโต้แย้ง

คดัค้านกบัเร่ืองราวหรือเหตกุารณ์ท่ี

เกิดขึน้ จึงเขียนโต้แย้ง เพ่ือคดัค้าน

และกระตุ้นให้หนัมาพิจารณา

ไตร่ตรองใหม่

ตวัอย่าง โปรดอย่าลืมว่าเคร่ืองด่ืมเหล่าน้ีมีข้อมลูและแง่มมุ

เชิงลบท่ีไม่ถกูหยิบยกมาพดูในโฆษณา บางชนิดแคลอรี

ตํา่เกือบเป็นศนูย ์แต่กลบัอดุมไปด้วยคาเฟอีนและสาร

ให้ความหวานเทียมท่ีเป็นอนัตรายต่อสขุภาพ เช่น ไดเอ

ทโค้กท่ีให้พลงังานเพียง ๑ แคลอรี แต่มีแอสปาแตมสงู

ถึง ๑๒๕ มิลลิกรมั เปรียบเทียบกบัโค้กคลาสสิกท่ีให้

พลงังาน ๙๗ แคลอรี แต่แอสปาแตมเป็นศนูย ์ เป็นต้น

เช่นเดียวกบัเป๊ปซ่ีแมก็ซท่ี์ใช้สโลกแกน Don’t Worry, No

Sugar … แต่ไม่ได้บอกว่ามีอะไรมาแทนท่ีน้ําตาล

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๓ การวิพากษ์วิจารณ์ ผูเ้ขียน

แสดงความคิดเหน็ในเชิงติชมกบั

เรื่องราวหรือเหตกุารณ์ท่ีเกิดขึน้ จึง

กล่าวถึงข้อดีข้อเสียของเรื่องนัน้ๆ

การเขียนวิพากษ์วิจารณ์ควรแสดง

ความคิดเหน็ด้วยใจเป็นกลาง ไม่มี

อคติ

ตวัอย่าง ... ท่ีน่าเสียดายคือหนังไม่ได้ให้ความสาํคญักบัการ

พฒันาตวัละครหรือความสมัพนัธร์ะหว่างตวัละครเลย จึงไม่

มีตวัละครตวัอ่ืนใดท่ีตรึงตราหรือแม้แต่ท่ีเราจดจาํได้ แม้แต่

สานุศิษยผ์ูติ้ดตามของขงจ๊ือเป็นใครมาจากไหนบา้ง เรา

แทบไม่ได้รู้อะไรเลย

เป็นช่องโหว่ท่ีน่าเสียดายย่ิงสาํหรบัการสร้างชีวประวติั

บคุคลสาํคญั ซ่ึงถ้าปราศจากความเข้าใจถึงความสมัพนัธ์

กบัคนแวดล้อมแล้ว กเ็หมือนเป็นเร่ืองราวท่ีจบัต้องไม่ได้

ตวัอย่าง (ต่อ) ไม่นับถึงความน่าเช่ือถือของการ

นําเสนอภาพของขงจ๊ือในฐานะนัก

ยทุธศาสตรแ์ละนักการเมือง ซ่ึงปล่อยไว้ให้

เป็นประเดน็ถกเถียงของนักประวติัศาสตร์

จะดีกว่า

ไม่ใช่หนังท่ีไม่สมควรไปเสียเวลา

ด้วย เพราะดจูบแล้วกไ็ม่ได้นึกเสียดายเวลา

ท่ีเสียไป แต่กไ็ม่ใช่หนังท่ีน่าประทบัใจเท่าไร

นัก

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๔ การให้รายละเอียดเพ่ิมเติม

ผูเ้ขียนแสดงความคิดเหน็โดยให้

รายละเอียดเพ่ิมเติมจากประเดน็ท่ี

กล่าวถึง เพ่ือทาํให้เน้ือหามีความ

สมบรูณ์ชดัเจนย่ิงขึน้

ตวัอย่าง

แม้ว่าซีพีเร่ิมต้นก่อนสงครามโลกครัง้ท่ี ๑ แต่

วิวฒันาการทางธรุกิจอย่างจริงจงัเกิดขึน้นอีก ๓ ทศวรรษ

ต่อมา ทศวรรษแรก เร่ิมต้นธรุกิจอย่างจริงจงัหลงั

สงครามโลกครัง้ท่ีสอง การค้าระหว่างประเทศเปิดฉากขึน้

ด้วยเครือข่ายท่ีแขง็แรงของชาวจีนโพ้นทะเล โดยเฉพาะ

ระหว่างจีนแผน่ดินใหญ่ ฮ่องกง และไทย เร่ิมต้น

จาํหน่ายเมลด็พนัธุพื์ช ปุ๋ ย ยาปราบศตัรพืูชและอาหาร

สตัว ์

ตวัอย่าง (ต่อ)

ทศวรรษท่ี ๒ เร่ิมต้นอตุสาหกรรมอาหารสตัวค์รัง้แรก

ในประเทศไทย และทศวรรษท่ี ๓ ได้ค้นพบและสร้าง

โมเดลธรุกิจใหม่ในอตุสาหกรรมการเกษตร สร้างผล

สะเทือนไปทัว่ชนบทไทย ...

... ซีพีปรบัตวัได้อย่างน่าท่ึง ด้วยการสร้างโอกาสใหม่

ในต่างประเทศ ในเวลานัน้ไม่มีใครไม่รู้จกัซีพี ในฐานะ

ผูนํ้าอตุสาหกรรมการเกษตรและอาหารของไทย

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๕ การตัง้ประเดน็เป็นข้อสงัเกต

ผูเ้ขียนตัง้ประเดน็ใหม่ท่ีน่าสนใจ เพ่ือ

ฝากไว้เป็นข้อสงัเกต หรือข้อเสนอแนะ

เพ่ือประโยชน์ในการพฒันาเรื่องนัน้ๆ

ต่อไป

ตวัอย่าง

“ผมคิดว่าจากน้ีไปเกษตรกรรมของไทยจะ

ค่อยๆ กลบัมาได้รบัความสนใจมากขึน้ โดย

มิได้เร่ิมต้นจากพลงัของรฐั หากมาจากเอกชน

ทัง้ระดบัองคก์รและปัจเจก โดยเฉพาะอย่างย่ิง

ในการประเมินศกัยภาพและพฒันาการภาพรวม

ท่ีอาจเรียกว่า บรูณาการเกษตรกรรม”

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๖ การตีความ ผูเ้ขียนไม่ได้

แสดงความคิดเหน็อย่างตรงไปตรงมา

แต่มีการแฝงนัยไว้ให้คิดวิเคราะหแ์ละ

ตีความ ตวัอย่างการแฝงนัยใน

ความหมายของคาํ

ตวัอย่าง

นักเขียนจึงเป็นเกษตรกรในสวนอกัษร เพาะปลกู

ความคิดและตวัหนังสือส่งถึงมือผู้อ่าน

... เร่ิมต้นคอลมัน์ใหม่ ถางหญ้า เตรียมแปลง

สวนให้ร่วนซุย เตรียมปุ๋ ยธรรมชาติ ตระเตรียม

พละกาํลงัพร้อมหว่านเมลด็พนัธุ ์ รดน้ํา ตดัแต่งก่ิง

ก้านใบ โบกมือไล่แมลง ลงมือปลกูผลงานในสวน

อกัษร ปลกูอย่างเบิกบาน ปล่อยให้ผลงานโตตาม

ธรรมชาติ

๓. ลกัษณะของการแสดงความคิดเหน็

๓.๗ การเปรียบเทียบ ผูเ้ขียน

อาจใช้การเปรียบเทียบประกอบ

การแสดงความคิดเหน็เพ่ือให้ผูอ่้าน

จินตนาการตาม แล้วเข้าใจเน้ือหาได้

ชดัเจนย่ิงขึน้

ตวัอย่าง เขม็นาฬิกาเดินไวไม่ต่างจากเท้าของ

เสือชีต้ารท่ี์กาํลงักวดกวางเก้ง อายอุานาม

ของเราเองกเ็ดินหน้าไปอย่างฉับไวไม่ต่าง

อะไรกบัเขม็นาฬิกา

เวลาอาจเป็นมายา ทว่าความชรา

เป็นเร่ืองจริง

ตวัอย่างการแสดงความคิดเหน็

โดยการเปรียบเทียบ เร่ือง ส่ิงท่ีถกูปลกูลงไปใต้สมองของเยาวชน

คนรุ่นผมนัน้ สมองของพวกเราถกูหล่อหลอมด้วยนิยายของพลตรีหลวงวิจิตรวาทการมาตัง้แต่เดก็ ในระหว่างท่ีนัง่เรียนในชัน้ประถมต้นจนถึงชัน้มธัยมปลายมีหลายทีท่ีใจของเราเผลอลอยไกลออกไปจากห้องเรียน ไปราํลึกนึกถึงเร่ืองราวของหลวงเพชรรตัน์สงคราม พระเอกในนิยายสัน้เร่ือง "บชูารกั" สมยัอยู่ ชัน้มธัยมต้น ผมจาํคาํสนทนารกัหวานซ้ึงตรึงใจระหว่างตาบทิพยแ์ละหลวงเพชรรตัน์สงครามได้เกือบทัง้หมด "อย่าลืมตาบทิพยน์ะคะ" "จะไม่ลืมตาบทิพย ์จนวนัตาย" "ชีวิตและร่างกายน้ีทัง้หมดจะมอบไว้แทบเท้าของตาบทิพย"์ ฯลฯ

เดก็ชนบทอย่างผม ถกูหล่อหลอมด้วยเสียงเพลง

อนัไพเราะเพราะพร้ิงจากวิทยทุรานซิสเตอร ์พวกเราจาํ

เพลงแสงเทียน ยามเยน็ สายฝน ใกล้รุ่ง ชะตาชีวิต ดวงใจ

กบัความรกั อาทิตยอ์บัแสง เทวาพาคู่ฝัน รกัคืนเรือน ฯลฯ

ได้อย่างขึน้ใจ ซ่ึงเพลงต่างๆท่ีดงัเข้าไปในความทรงจาํของ

พวกเราตัง้แต่เดก็จนโตนัน้ พระราชนิพนธโ์ดย

พระบาทสมเดจ็พระเจ้าอยู่หวั พวกเราเยาวชนไทยสมยันัน้

จึงได้รบัการหล่อหลอมทางด้านจิตใจด้วยดนตรีท่ีสร้าง

จินตนาการอย่างสงูส่งและงดงามเป็นท่ีสดุ

ทว่าเยาวชนคนไทยรุ่น นายคณุนิติ นวรตัน์ ซ่ึงเกิดใน พ.ศ.2531 พวกน้ีเติบโตมาด้วยสมองของตนท่ีเตม็ไปด้วยคาํพดูของอิโมเจนในภาพยนตร ์เกาหลีเร่ือง Down to You ท่ีว่า "ไม่ใช่เพราะเราไปกนัไม่ได้หรอก เพียงแต่เราเจอกนัเรว็ไป" ครัง้หน่ึงผมจะเดินทางไปทวีปแอฟริกา เจ้ายอดลกูชายคือนายคณุนิติฝากหนังเกาหลีใต้ไปให้ผมดยูามเหงาเร่ือง "Art Museum by the Zoo" เป็นหนังแนวพ่อแง่แม่งอน ซ่ึงพ้นวยัท่ีผมจะด ูสาํหรบัผม หนังพวกน้ีไม่ได้สอนอะไร ให้แต่ความบนัเทิงเริงใจ

คนไทยรุ่นใหม่ท่ีใกล้จะมีอาย ุ30 ปี ในอีก 7 ปี

ข้างหน้า คือ พ.ศ.2560 ถกูหล่อหลอมด้วยภาพยนตร์

เกาหลีท่ีส่ือออกไปในทาํนอง "ชาติหน้ามีจริง...และ

เราจะกลบัมารกักนัอีกครัง้" "กว่าจะถึงเดือนกนัยา..."

"นางรอ" "เหตผุลท่ีละเอาไว้" "รอหน่อย...เพียงอึดใจ

เดียวเท่านัน้" "จะต้องรกัสกัเท่าไหร่" ฯลฯ

ส่วนเยาวชนคนไทยท่ีจะมีอายคุรบ 30 ปี ในอีก

17 ปีข้างหน้า คือ พ.ศ. 2570 อาจจะโตขึ้นไปด้วยความ

ไร้สาระบวกกบัความรนุแรงและหยาบคาย เพราะ

ขณะท่ีเยาวชนบางคนเหล่าน้ีอาย ุ13-14 ปีแล้วใน

ปัจจบุนั กลบัไม่เคยได้ดภูาพยนตร ์หรือสมัผสักบั

ความซาบซ้ึงใจในวรรณกรรมประเภทไหนอะไรเลย

...

(นิติภมิู นวรตัน์)

๔. วิธีใช้ภาษาในการแสดงความคิดเหน็

๔.๑ การใช้คาํหรือกลุ่มคาํท่ีแสดงถึงการ

แสดงความคิดเหน็หรือการแสดงทรรศนะ เช่น

พึง ควร คง คงจะ อาจจะ น่าจะ คิดว่า

คาดว่า เสนอว่า เสนอแนะว่า หวงัว่า เป็นต้น

๔. วิธีใช้ภาษาในการแสดงความคิดเหน็

๔.๒ การใช้สรรพนามบรุษุท่ี ๑ ประกอบคาํหรือ

กลุ่มคาํแสดงความคิดเหน็ จะแสดงให้เหน็ชดัว่าเป็นการ

แสดงความคิดเหน็ เช่น “ดิฉันคาดว่าเศรษฐกิจไทยน่าจะ

ฟ้ืนตวัในช่วงไตรมาสแรกน้ี” “ผมคิดว่าเราควรเร่งส่งเสริม

ให้มีกิจกรรมรกัการอ่านให้เป็นรปูธรรม” “ข้าพเจ้าหวงัว่า

ชาวบา้นจะนําหลกัปรชัญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรบัใช้ใน

การดาํเนินชีวิตมากขึน้”

๔. วิธีใช้ภาษาในการแสดงความคิดเหน็ นอกจากน้ีในการใช้ภาษาในบทความแสดงความคิดเหน็

ควรปฏิบติัตามหลกัต่อไปน้ี

๑) ใช้คาํธรรมดา ท่ีเข้าใจง่าย ไม่จาํเป็นต้องใช้คาํหรหูรา

๒) ใช้ประโยคกระชบั ไม่กาํกวม หลีกเล่ียงการใช้ประโยคยาว

เย่ินเย้อ

๓) ใช้ศพัทเ์ทคนิค หรือศพัทวิ์ชาการเท่าท่ีจาํเป็น

๔) พยายามใช้คาํศพัทภ์าษาองักฤษปนภาษาไทยให้น้อยท่ีสดุ

แบบทดสอบ

๑. ข้อใดไม่ใช่ลกัษณะของบทความ

ก. มีลกัษณะเป็นความเรียง

ข. มีลกัษณะเป็นร้อยกรอง

ค. มีการนําเสนอข้อเทจ็จริง

ง. มีการนําเสนอข้อคิดเหน็

แบบทดสอบ

๒. บทความประเภทใดทาํให้ผูอ่้านรู้สึกผอ่นคลาย

มากท่ีสดุ

ก. บทความวิชาการ

ข. บทความวิเคราะห ์

ค. บทบรรณาธิการ

ง. บทความสารคดีท่องเท่ียว

แบบทดสอบ

๓. บคุลิกลกัษณะใดไม่เหมาะสมในการเขียน

บทความ

ก. มีอคติ

ข. มีเหตผุล

ค. มีความรอบรู้

ง. มีความคิดสร้างสรรค ์

แบบทดสอบ

๔. “การแสดงความคิดเหน็ในเชิงติชมกบัเรื่องราวหรือ

เหตกุารณ์ท่ีเกิดขึ้น”

เรียกว่าเป็นลกัษณะการแสดงความคิดเหน็อย่างไร

ก. การสนับสนุน

ข. การโต้แย้งคดัค้าน

ค. การวิพากษ์วิจารณ์

ง. การให้รายละเอียดเพ่ิมเติม

แบบทดสอบ

๕. ข้อใดไม่มีลกัษณะเป็นการแสดงความคิดเหน็

ก. ฉันชอบทะเล ท่ีจงัหวดัตราด

ข. ฉันคิดว่าในปีหน้า จะมีนักท่องเท่ียวไปท่ี

จงัหวดัตราดเป็นจาํนวนมาก

ค. จงัหวดัตราดน่าจะมีการพฒันาเร่ือง

การคมนาคมให้ทนัสมยักว่าเดิม

ง. จงัหวดัตราดอยู่ทางภาคตะวนัออก

ของประเทศไทย

สวสัดีค่ะ

Recommended